ปีทาโกรัสนักคณิตศาสตร์

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 11

ปีทาโกรัส : Pythagoras

เกิด 582 ก่อนคริสต์ศักราช ที่เมืองซามอส (Samos) ประเทศกรีซ (Greece)


เสียชีวิต 507 ก่อนคริสต์ศักราช ที่เมืองเมตาปอนตัม (Metapontum)
ผลงาน สร้างสูตรคูณหรือตารางปี ทาโกเรียน (Pythagorean Table)
ทฤษฎีบทเรขาคณิตที่ว่า “ในรูปสามเหลี่ยมมุมฉากใด ๆ กาลังสอง
ของความยาวของด้านตรงข้ามมุมฉากเท่ากับผลบวกของกาลังสองของความ
ยาวของด้านประกอบมุมฉาก”
สมบัติของแสง และการมองวัตถุ
สมบัติของเสียง

อาร์คิมีดีส : Archimedes
เกิด 287 ก่อนคริสต์ศักราช ที่เมืองไซราคิวส์ (Syracuse) เกาะซิซิลี (Sicily)
เสียชีวิต 212 ก่อนคริสต์ศักราช ที่เมืองไซราคิวส์ (Syracuse) เกาะซิซิลี (Sicily)
ผลงาน กฎของอาร์คิมีดีส (Archimedes Principle) ที่กล่าวว่า “ปริมาตรของ
วัตถุส่วนที่จมลงในนา้ ย่อมเท่ากับปริมาตรของนา้ ที่ถกู แทนที่ดว้ ยวัตถุ”
ประดิษฐ์เครื่องทุ่นแรง ได้แก่ คานดีดคานงัด รอก ระหัดวิดนา้
ยูคลิด (Euclid)
ยูคลิดเป็ นนักคณิตศาสตร์ที่สาคัญ และเป็ นที่รจู้ กั กันดี ยูคลิดเกิดที่เมืองอ
เล็กซานเดรีย ประเทศอิยิปต์ เมื่อราว 365 ปี ก่อนคริสตกาล เมื่อมีชวี ิตอยู่
จนกระทัง่ ประมาณปี 300 ก่อนคริสตกาล สิ่งที่มีชอื่ เสียงคือผลงานเรื่อง The
lements

เลออนฮาร์ด ออยเลอร์
เป็ นนักคณิตศาสตร์และนักฟิ สิกส์ชาวสวิส เขาได้ชอื่ ว่าเป็ น
นักคณิตศาสตร์ที่ยิ่งใหญ่ที่สดุ คนหนึง่ เท่าที่เคยมี เกิดวันที่ 15 เมษายน ค.ศ.
1707 ที่เมือง Basel ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ เลออนฮาร์ด ออยเลอร์ เป็ นคน
แรกที่ใช้คาว่า “ฟั งก์ชนั ” (ตามคานิยามของไลบ์นิซ ใน ค.ศ.1694) ในการ
บรรยายถึงความสัมพันธ์ที่เกี่ยวข้องกับตัวแปร เช่น y = F(x) เขายังได้ชอื่ ว่า
เป็ นคนแรกที่ประยุกต์แคลคูลสั เข้าไปยังวิชาฟิ สิกส์
โยฮันน์ คาร์ล ฟรีดริช เกาส์
นักคณิตศาสตร์ชาวเยอรมัน เกิดเมื่อวันที่ 30 เมษายน พ.ศ. 2302 เป็ น
หนึง่ ในตานานนักคณิตศาสตร์ผยู้ ิ่งใหญ่ที่สดุ ในประวัติศาสตร์ ได้รับฉายาว่า
“เจ้าชายแห่งคณิตศาสตร์” (Prince of Mathematics) เนือ่ งจากอุทิศผลงานในทุก
ๆ ด้านของคณิตศาสตร์ในยุคสมัยของเขา นอกจากนีเ้ กาส์ยังมีผลงานสาคัญ
ทางด้านฟิ สิกส์ โดยเฉพาะด้านดาราศาสตร์อีกด้วย

อันเดรย์ นิโคลาเยวิช คอลโมโกรอฟ


เกิดเมื่อวันที่ 25 เมษายน ค.ศ. 1903 เสียชีวิต 20 ตุลาคม ค.ศ. 1987,
เป็ นนักคณิตศาสตร์ชาวรัสเซีย ยักษ์ใหญ่ในวงการคณิตศาสตร์ใน
คริสต์ศตวรรษที่ 20 โดยมีผลงานโดดเด่นมากในงาน ทฤษฎีความน่าจะเป็ นและ
ทอพอโลยี.
จอห์น เฮอร์เชล (John Herschel)
นักคณิตศาสตร์ และดาราศาสตร์ชาวอังกฤษ เป็ นผูค้ ิดค้นกระบวนการไซ
ยาโนไทป์ (Cyanotype) ที่เป็ นต้นแบบของกระบวนพิมพ์เขียว (Blue Print) ที่
พัฒนาต่อกันมาใช้ในการทาสาเนาแบบพิมพ์เขียว หรือกระดาษคาร์บอนพิมพ์ดีด
ที่ใช้กนั ในปั จจุบันนี้

บารอนชอง แบบทิสต์ โจเซฟ ฟูรเ์ ยร์


นักคณิตศาสตร์ได้หันมาสนใจคณิตศาสตร์ประยุกต์เป็ นครั้งแรกในขณะที่
กาลังทดลองเกี่ยวกับการไหลของความร้อน ฟูรเ์ ยร์ก็ได้คน้ พบสมการการไหลนี้
ซึ่งต่อมาได้ตงั้ ชือ่ เป็ น สมการฟูรเ์ ยร์ เพื่อแก้ปัญหาและพิสจู น์สมการนีฟ้ ูรเ์ ยร์ได้
แสดงให้เห็นว่าฟั งค์ชนั หลายฟั งค์ชนั ของตัวแปรเดี่ยวสามารถขยายออกเป็ น
อนุกรมของไซน์ (sines) เชิงซ้อนของตัวแปรที่เรียกในภายหลังว่า อนุกรมฟูรเ์ ยร์
เรอเน เดส์การตส์ (Ren Descartes)
เป็ นทัง้ นักปรัชญาและนักคณิตศาสตร์ นอกจากที่เขาเป็ นผูท้ ี่บกุ เบิก
ปรัชญาสมัยใหม่เขายังเป็ นผูค้ ิดค้นระบบพิกดั แบบคาร์ทีเซียนซึ่งเป็ นรากฐาน
ของการพัฒนาด้านแคลคูลสั ต่อมาเดส์การตส์ได้รับการยกย่องให้เป็ นบุคคลที่
สาคัญที่สดุ คนหนึง่ ในประวัติศาสตร์ตะวันตกสมัยใหม่

กอทท์ฟรีด วิลเฮล์ม ฟอน ไลบ์นิซ


เป็ นนักปรัชญา, นักวิทยาศาสตร์, นักคณิตศาสตร์, นักการทูต
,บรรณารักษ์ และ นักกฎหมายชาวเยอรมันเชือ้ สายเซิบ เขาเป็ นคนที่เริ่มใช้คาว่า
“ฟั งก์ชนั ”สาหรับอธิบายปริมาณที่เกี่ยวกับเส้นโค้ง เช่น ความชันของเส้นโค้ง
หรือจุดบางจุดของเส้นโค้งดังกล่าวไลบ์นิซและนิวตันได้รับการยกย่องร่วมกันว่า
เป็ นผูเ้ ริ่มพัฒนาแคลคูลสั โดยเฉพาะส่วนของไลบ์นิซในการพัฒนาปริพนั ธ์และกฎ
ผลคูณ
ปิ แยร์ เดอ แฟร์มาต์
แฟร์มาต์เกิดใกล้เมือง Toulouse ประเทศฝรัง่ เศส ในปี 1601 และ
ถึง แก่กรรมที่เมือง Castres ในปี 1665
ผลงาน
1. ริเริ่มพัฒนาเรขาคณิตวิเคราะห์ ในระยะเวลาใกล้กนั กับเดส์การ์ตส์
2. ริเริ่มวิธีหาเส้นสัมผัสเส้นโค้ง หาค่าสูงสุดและตา่ สุดของฟั งก์ชนั
3. ริเริ่มพัฒนาทฤษฎีความน่าจะเป็ น ร่วมกับปาสกาล
4. พัฒนาทฤษฎีบทต่าง ในทฤษฎีจานวน

แบลส ปาสกาล
ปาสกาลเกิดที่เมือง Chermont มณฑล Auvergne ประเทศฝรัง่ เศส
1. งานเขียน Essay pour les coniques (1640) ซึ่งสรุปทฤษฎีบท เกี่ยวกับ
เรขาคณิตโพรเจกตีฟ ที่ท่านได้พฒ ั นามาแล้วเมื่ออายุได้ 16 ปี
2. งานเขียน Traite du traingle arithmetique
3. ริเริ่มพัฒนาทฤษฎีความน่าจะเป็ น
4. ศึกษาเส้นโค้ง Cycloid
พอล แอร์ดิช
เมื่อ Paul Erdos (พอล แอร์ดิช) ถึงแก่กรรม หนังสือพิมพ์ The New York Times
ฉบับวันที่ 20 กันยายน พ.ศ. 2539 ลงข่าวหน้าหนึ่งว่า วันนีเ้ ป็ นวันที่เราได้
สูญเสียนักคณิตศาสตร์ผยู้ ิ่งใหญ่ที่สดุ คนหนึง่ ของโลกไป วงการคณิตศาสตร์รดู้ ี
ว่าเป็ นอัจฉริยะ ที่มีผลงานมากถึง 1,500 เรื่อง

จอห์น แนช จูเนียร ( John nash junior )


จอห์น แนช จูเนียร์ เป็ นนักคณิตศาสตร์ชาวอเมริกนั ที่สร้างผลงานต่อโลก
มากมาย โดยคิดทฤษฎีดลุ ยภาพซึ่งสาคัญกับเศรษฐศาสตร์สมัยใหมjมีผลต่อ
การ ค้าและการทหาร ซึ่งเป็ นประโยชน์ตอ่ มวลมนุษย์ชาติ ชีวิตของเขาน่าสนใจ
ซึ่งได้สอนให้เรารูจ้ กั คุณค่าของการฉกฉวยการใช้ความคิดในขณะที่ยงั เป็ นหนุม่
สาว
อัลเบิรต์ ไอน์สไตน์ ( Albert Einstein )
อัลเบิรต์ ไอน์สไตน์ เป็ นทั้งนักคณิตศาสตร์และนักฟิ สิกส์ที่มีชอื่ เสียงโด่งดัง
มาก เป็ นนักคิดค้นที่ไม่ยอมหยุดนิ่ง เขาศึกษาเรขาคณิตจากหนังสือของยูคลิด
อายุเพียง 12 ปี เขาทาความเข้าใจในเรื่องเรขาคณิตของยูคลิดเป็ นอย่างดี ครั้ง
เมื่อ เติบโตขึน้ จนอายุเข้า 16 ปี เขาก็สามารถเรียน รูห้ ลักการทางคณิตศาสตร์
ชัน้ สูงหลายอย่าง
นักคณิตศาสตร์โลก
ผูจ้ ดั ทา

นายเจตนิพทั ธ์ แก้วดก
นักศึกษาฝึ กประสบการณ์วิชาชีพครู

You might also like