Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 6

การแจกแจงพัวซอง (Poisson Distribution)

5.1 แบบแผนของการแจกแจงพัวซอง
1. เราสามารถแบ่งช่วงเวลา หรื อขอบเขตใดให้ส้ นั มากๆได้ โดยที่ความน่าจะเป็ นของการเกิด
ความสาเร็ จหนึ่งๆในช่วงเวลานั้นจะเป็ นสัดส่ วนโดยตรงกับความยาวของช่วงเวลาหรื อขอบเขต
ทั้งหมด
2. ความน่าจะเป็ นที่ความสาเร็ จจะเกิดขึ้นมากกว่าหนึ่งครั้งในช่วงเวลานั้น หรื อในขอบเขตนั้นจะ
ประมาณได้ดว้ ยศูนย์ (มีค่าน้อยมาก)
3. จานวนของความสาเร็ จที่เกิดขึ้นในช่วงเวลาใดเวลาหนึ่ง หรื อในขอบเขตหนึ่ง จะไม่มีผลต่อ
การเกิดหรื อไม่เกิดของความสาเร็ จในช่วงเวลาอื่น
เรี ยกตัวแปรสุ่ ม x ที่แสดงถึงจานวนครั้งของการเกิดความสาเร็ จ (Success) ในช่วงเวลา หรื อใน
ขอบเขตที่กาหนดจากแบบแผนการแจกแจงแบบพัวซอง เรี ยกว่า ตัวแปรสุ่ มพัวซอง (Poisson
Random Vaiable)
นิยาม ถ้า x เป็ นจานวนของความสาเร็ จในการทดลองแบบพัวซอง x จะมีการแจกแจงแบบพัว
ซอง ซึ่ งมีค่าเฉลี่ยของจานวนความสาเร็ จที่เกิ ดขึ้นในช่วงเวลา หรื อในขอบเขตดัง กล่าว เป็ น  และ
ความแปรปรวนเป็ น  แล้วฟังก์ชนั ความน่าจะเป็ นของ x กาหนดโดย
e   x
(   x )  , x =0,1,2,…
x!
และ e  2.71828 โดยประมาณ
เขียนแทนโดยใช้สัญลักษณ์  ~ ( ,  )
วิธีการของพัวซองมีบทบาทในงานหลายๆด้าน เช่น ทางด้านประกันภัย และการทอลองด้าน
ฟิ สิ กส์

Example 1 ถ้าจานวนเด็กในภาคใต้ที่ถูกจับเรี ยกค่าไถ่ในรอบ 10 ปี ที่ผา่ นมา โดยเฉลี่ยเป็ น 4 คน


จงหาเปอร์ เซ็นต์ที่เด็กในภาคใต้จะถูกเรี ยกค่าไถ่ 6 คน
วิธีทา ให้ x เป็ นจานวนเด็กที่ถูกจับเรี ยกค่าไถ่
 ~ (4,4)
จากตารางแสดงค่าของ e   เมื่อ  4

e    0.01832
e 46
 (   6)   0.1042
6!
นัน่ คือ เปอร์ เซ็ นต์ที่เด็กภาคใต้ถูกจับเรี ยกค่าไถ่ 6 คน  10.42
5.2 มัชฌิมเลขคณิต และความแปรปรวนสาหรับการแจกแจงพัวซอง
( The Mean and Variance of the Poisson Distribution)

  ( )   xi p( xi )
x 1

e   x 
e   x
  xi   x
x 0 x! x 1 x!
  x 1

e  
e   x 1
    (   1)
x 1 ( x  1)! x 1 ( x  1)!

( x)( x  1)   x( x  1) p( x)
x 0

e   x
  x( x  1)
x 0 x!

e   x 
e   x  2   e   x  2 
  2   2    1
x  2 ( x  2)! x  2 ( x  2)!  x 2 ( x  2)! 
ดังนั้น Var ( x)  ( x 2 )  x 
2

 ( x)( x  1) ( x)  x 


2

 2    2


Example 2 บริ ษทั แห่งหนึ่ง จะมีผโู ้ ทรศัพท์เข้ ามาเฉลี่ย 3 ครั้งต่อนาที ให้สร้างคารางแจกแจงความ


น่าจะเป็ น ที่จะมีผใู ้ ช้โทรศัพท์เข้ามาในช่วงระยะเวลา 9.00-9.01 น. โดยแสดงอย่างน้อย 5 ค่า
(กาหนดค่า e 3  0.0498 ) จาตารางจงสร้างและคานวณความน่าจะเป็ นที่ได้
ก) ไม่มีผโู ้ ทรศัพท์เข้ามาเลย
ข) มีผโู้ ทรศัพท์เข้ามาอย่างน้อย 3 ครั้ง
ค) มีผโู ้ ทรศัพท์เข้ามามากกว่า 3 ครั้ง
ง) มีผโู ้ ทรศัพท์เข้ามาตั้งแต่ 2 ถึง 4 ครั้ง
วิธีทา ให้ x เป็ นจานวนครั้งที่มีผโู ้ ทรศัพท์เข้ามาในช่วงเวลา 1 นาที
e  x
x ( )    x 
x!
e 3 30
0  ( )   0.0498
0.0498
0!
e 3 31
1 ( )   3  0.0498  0.1494 0.1992
1!
e 3 32 3
2  ( )    0.1494  0.2241 0.4233
2! 2
e 3 33 3 0.6474
(  )    0.1494  0.2241
3 3! 2
3 4 0.8155
e 3 3
4  ( )    0.2241  0.1681
4! 4
1.000
มากกว่า 4   4  1    4  1  0.8155  0.1845
 ก)   0  0.0498
ข)   3  0.6474
ค)   3  1    3  1  0.6474  0.3526
ง) 2    4    2    3    4
 0.2241  0.2241  0.1681  0.6163

5.3 การประมาณค่ าของการแจกแจงทวินามโดยใช้ การแจกแจงพัวซอง


(Poisson Approximation to Binomial Distribution)
ในกรณี ที่การแจกแจงทวินาม มีค่า p น้อยมาก p  0 และ n มีค่ามาก n   เราสามารถ
แปลงรู ปของการแจกแจงมวินาม p( x) nC x p x q n x เป็ นรู ปของการแจกแจงพัวซองได้ดงั นี้
n(n  1)( n  2)...(n  x  1) x n x
 p q
x!
n(n  1)( n  2)...(n  x  1) x x n  x
 n  p q
x!n x
n(n  1)( n  2)...(n  x  1) x n x
 np  q
(n  n  n...n) x!
 n  n  1  n  2   n  x  1  
x
       q
n x
(ให้   np )
 n  n  n   n  x!
 1  2   x  1  
x
x
 11  1      1   q q
n

 n  n   n  x!

 
n x  x n  x 
lim C
n
p q
x
 11...1 lim q q
n 
x
 n x! 
p 0  p0 
 np
  1p  x
 lim  q  qx
  x!
p 0  
n 


  
1
x
 lim (1  q ) p  (1  q )  x

  x!
p 0  
n 
1

lim (1  z) z e
z 0

ให้ z  p
1

x
 lim (1  q)
p
e , lim (1  q) 1
n  n 
p 0 p 0

C   x
lim
n
Cx p x  q n x  , x  0,1,2,...
n  x!
p 0

ฉะนั้น การแจกแจงทวินามใดที่มี p  0 และ n   , เราอาจนาแบบของการแจกแจงพัวซองมา


ใช้ได้ จะทาให้เวลาที่ใช้ในการคานวณลดน้อยลงไปมาก

Example 3 เครื่ องจักรอัตโนมัติเครื่ องหนึ่ง จะผลิตตะปูเกลียวมีคุณภาพใช้ได้ถึง 98% จงหาความ


น่าจะเป็ นที่จะมีตะปูเกลียวใช้ได้ต้ งั แต่ 98 ตัว จากการผลิตตะปูเกลียว 100 ตัว
วิธีทา ให้ x เป็ นจานวนตะปูเกลียวที่ใช้ไม่ได้
x จะมีการแจกแจงทวินามที่มี p  0.02 , n  100
  np  100 (0.02 )  2  
ต้องการหาความน่าจะเป็ นที่จะมีตะปูเกลียวที่ใช้ได้ต้ งั แต่ 98 ตัว ก็คือ การหาความน่าจะเป็ น
ที่จะมีตะปูเกลียวใช้ไม่ได้ไม่เกิน 2 ตัวนัน่ เอง
2
(   2)   100C x (0.02) x (0.98)100 x
x 0
2
e 2 2 x

x 0 x!
จากตาราง e 2  0.13534
e 2 2 0
2
 (   0)    0.13534
x 0 0!
2
e 2 21
(   1)  
x 0 1!
2
e 2 2 2
 (   2)  
x 0 2!
 (   2)  (   0)  (   1)  (   2)

 0.13534  0.27068  0.27068  0.6767


ความน่าจะเป็ นที่มีตะปูเกลียวที่ใช้ได้ต้ งั แต่ 98 ตัว  0.6767
Example 4 ในการลงทะเบียนล่วงหน้าเรี ยนวิชาหนึ่ง เฉลี่ยแล้วจะมีนกั ศึกษาถอนวิชานี้ก่อนที่จะ
เปิ ดเรี ยน 1 คน ทุกๆ 20 คนที่ลงทะเบียน สมมติวา่ มีนกั ศึกษา ลงทะเบียนล่วงหน้า 60 คน แต่มีที่นงั่
สาหรับนักเรี ยนในชั้นเพียง 57 คนเท่านั้น จงหาความน่าจะเป็ นที่นกั ศึกษาทุกคนจะมีที่นงั่ เรี ยน
วิธีทา ให้ x เป็ นจานวนนักศึกษาที่ถอนวิชาเรี ยน
1
x จะมีการแจกแจงทวินามที่มี p , n  60
20
 1 
   np  60( )  3 
 20 
ต้องการหาความน่าจะเป็ นที่ นกั ศึกษาทุกคนมีที่นงั่ เรี ยน
นักศึกษาทุกคนจะมีที่นงั่ เรี ยน ถ้ามีนกั ศึกษาถอนวิชานี้ต้ งั แต่ 3 คนขึ้นไป
 (   3)  1   (   3)
 1  (   2)  (   1)  (   0)
30 e 3 31 e 3 32 e 3
1   
0! 1! 2!
9(0.04979 )
 1  0.04979  3(0.04979 ) 
2
 1  0.423  0.577
นัน่ คือ ความน่าจะเป็ นที่นกั ศึกษาทุกคนจะมีที่นงั่ เรี ยน  0.577
แบบฝึ กหัด
1) จากการสารวจจานวนผูป้ ่ วยเป็ นโรคไข้หวัดสายพันธุ์ใหม่ ต่อวัน ณ โรงพยาบาลแห่งหนึ่งเมื่อ
เดือน ตุลาคม 2552 ปรากฎผลดังนี้
จานวนผูป้ ่ วยเป็ นโรคไข้หวัดสายพันธุ์ใหม่ 0 1 2 3 4
จานวนวัน 15 6 5 2 2
ก) จงปรับตารางที่ได้ให้เป็ นการแจกแจงของพัวซอง โดยหา Expected Frequency
ข) ถ้า p เป็ นความน่าจะเป็ นของการป่ วยเป็ นโรค จงประเมินค่าของ p จากตารางที่ได้แล้วใช้ค่าของ p
นั้นปรับตารางให้เป็ นการแจกแจงแบบทวินาม โดยหา Expected Frequency แล้วเปรี ยบเทียบ
คาตอบกับข้อ ก.

2) ตารวจจราจรได้บนั ทึกอุบตั ิเหตุที่เกิดบนถนนวิภาวดีรังสิ ตไว้ดงั นี้


จานวนอุบตั ิเหตุ (ครั้ง) 0 1 2 3 4
จานวนวัน 20 19 8 2 1
ให้ x แทนจานวนครั้งที่เกิดอุบตั ิเหตุ
ก) x เป็ นตัวแปรสุ่ มชนิดใด และมีการแจกแจงแบบใด
ข) จงสร้างตารางแจกแจงความน่าจะเป็ นของ x
ค) จงคานวณหาจานวนอุบตั ิเหตุ โดยเฉลี่ยต่อวันที่เกิดขึ้นบนถนนนี้ และหาความแปรปรวนของ
จานวนอุบตั ิเหตุที่เกิดขึ้นต่อวันด้วย

3) ความน่าจะเป็ นที่คนไข้ในวัยหนึ่งจะแพ้ยาปฏิชีวนะชนิดหนึ่งเป็ น 0.001 สุ่ มคนไข้ที่ใช้ยาชนิดนี้


มา 1,000 คน ถ้าให้ x เป็ นจานวนคนไข้ที่แพ้ยาปฏิชีวนะนี้
ก) จงบอกชนิดของตัวแปรสุ่ ม และการแจกแจงของตัวแปรสุ่ มชนิดนี้
ข) เฉลี่ยแล้วมีผแู ้ พ้ยานี้กี่คน
ค) จงหาความน่าจะเป็ นที่มีคนไข้แพ้ยาปฏิชีวนะชนิดนี้ไม่เกิน 3 คน
ง) จงหาความน่าจะเป็ นที่มีคนไข้แพ้ยาชนิดนี้มากกว่า 1 คน

You might also like