Present 8

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 50

3.

การจําแนกประเภทและชนิดกากของเสียที่เกิดจาก
โรงงานอุตสาหกรรมเพื่อการจัดการอยางเหมาะสม

33.22 หลกการจดการกากอุ
หลักการจัดการกากอตสาหกรรม
ตสาหกรรม
และเงื่อนไขที่ตองพิจารณาสําหรับแตละวิธีจัดการ

โดย คุคณเอกบตร
ณเอกบุตร อุอตมพงศ
ตมพงศ
สวนกํากับและตรวจสอบโครงการ
สํานักบริหารจัดการกากอุตสาหกรรม
วัตถุประสงคของหัวขอนี้/ลําดับการบรรยาย

เพื่อใหทราบ
1) หลั ก การจั ด การกากอุ ต สาหกรรมและวิ ธี จั ด การ
ของเสียในปจจุบัน
2) การคัดเลือกวิธีจัดการที่เหมาะสมสําหรับกากของเสีย
3) หลกเกณฑและเงอนไขทตองพจารณาสาหรบแตละ
หลักเกณฑและเงื่อนไขที่ตองพิจารณาสําหรับแตละ
วิธีจัดการกากของเสีย
1. หลักการจัดการกากอุตสาหกรรม

การลดการเกิดของเสีย

การใช
ใ ซาํ้ การปองกันมลพิษ
การปองกนมลพษ
การนํากลับมาใชใหม

การบําบัด
การจัดั การทีี่ปลายเหตุ
การกําจัด
1. หลักการจัดการกากอุตสาหกรรม (ตอ)
วิธีการจัดการกากของเสีย

การลดการ การนากลบ
การนํากลับ การกําจัด
การกาจด การใชซา้ํ
การใชซา การบําบัด
การบาบด
เกิดของเสีย มาใชใหม - ฝงกลบตามหลัก สงกลับผูขายเพื่อ - บําบัดดวยวิธีชวี ภาพ
- บําบัดดวยวิธีทางเคมี
สุขาภิบาล นํ า กลั บ ไปบรรจุ - บาบดดวยวธทางกายภาพ
บําบัดดวยวิธีทางกายภาพ
- เปลยนแปลงผลตภณฑ
ป ี่ ป ิ ั  - เปนวัตถุดิบทดแทน - ฝงกลบอยางปลอดภัย ใหมหรือใชซ้ํา - บําบัดดวยวิธีทางเคมีกายภาพ
- ควบคุมที่แหลงกําเนิด - เปนเชื้อเพลิงทดแทน - ฝงกลบอยางปลอดภัย นํ า กลั บ มาใช ซ้ํ า - บําบัดน้าํ เสียดวยวิธีทางเคมี
- ทําเชื้อเพลิงผสม เมื่อทําการปรับเสถียร กายภาพ
- เผาเพือื่ เอาพลังั งาน
ดวยวิธีอื่นๆ
หรือทําใหเปนกอนแข็งแลว - เขาระบบบําบัดน้าํ เสียรวม
-เปนวัตถุดิบทดแทนในเตาเผา - ปรับเสถียรดวยวิธีทางเคมี
ปูนซีเมนต - ปรับเสถียร/ตรึงทางเคมีโดยใช
- เขากระบวนการนาตวทาละลายกลบมาใหม
เขากระบวนการนําตัวทําละลายกลับมาใหม ซีเมนตหรือวัสด pozzolanic
ซเมนตหรอวสดุ
- เขากระบวนการนําโลหะกลับมาใหม - เผาทําลายในเตาเผาขยะทั่วไป
- เผาทําลายในเตาเผาเฉพาะ
- เขากระบวนการคืนสภาพกรด/ดาง
สําหรับของเสียอันตราย
- เขากระบวนการคนสภาพตวเรงปฏกรยา
เขากระบวนการคืนสภาพตัวเรงปฏิกิริยา - เผาทําลายรวมในเตาเผา
ปูนซีเมนต
1. หลักการจัดการกากอุตสาหกรรม (ตอ)
1. การลดการเกิดของเสีย
เปนการลดการเกิดกากอุตสาหกรรมที่สําคัญที่สุด ทําไดโดย
‹ ป ีย่ นผลิติ ภััณฑใ หม
‹การเปลี ‹
‹การควบคุ มทีแี่ หลง กําํ เนิิด
‹เปลี่ยนชนิดผลิตภัณฑใหมที่จะเกิดของ ‹เปลี่ยนแปลงวัตถุดิบที่ใชผลิต : การใช
เสีย(อันตราย)จากกระบวนการผลิต วัตถุดิบที่มีความบริสุทธิม์ ากขึ้นจะทําให
นอยลง เกิดของเสียนอยลง
‹เปลี่ยนองคประกอบของผลิตภัณฑ ‹เปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีการผลิต : การ
เพื่อใหมีการใชสารเคมีหรือวัตถดิุ บตางๆๆ ปรับปรงประสิ
ุ ทธิภาพการผลิตหรือ
นอยลง ซึ่งจะทําใหเกิดของเสีย(อันตราย) เปลี่ยนเครื่องจักรที่ใชผลิต จะทําใหเกิด
นอยลงดวย ของเสียนอยลง
รายละเอียดทางเทคนิคของวิธีการลดของเสีย ใชซา้ํ ใชใหมเปนหัวขอ 4.3
1. หลักการจัดการกากอุตสาหกรรม (ตอ)

2 การใชซา
2. การใชซ้ํา
1 สสงกลบผู
1. งกลับผขายเพอนากลบไปบรรจุ
ายเพื่อนํากลับไปบรรจใหม ใหมหรอใชซา
หรือใชซ้ํา (reuse container ; to be
refilled) หมายถึง การสงภาชนะบรรจุคืนโรงงานผูผลิตเพื่อนํากลับไปบรรจุ
ใหมหรือใชซ้ํา เช
ใหมหรอใชซา เชนน กรณี
กรณการสงถงบรรจุ
การสงถังบรรจกรด/ด
กรด/ดางคนโรงงานผู
างคืนโรงงานผผลต
ลิต หรอ
หรือ
โรงงานผลิตหรือแบงบรรจุสารเคมีนั้นๆ
2. นํากลับมาใชซ้ําดวยวิธีอื่นๆ (other reuse method) หมายถึง การนํากลับไป
ใชซ้ําดวยวิธีอื่นๆ ที่ไมใชกรณีเปนวัตถดิุ บทดแทนหรือนํากลับไปบรรจใหม
ุ เชน
การนําแกนสายไฟ หรือดายกลับไปใชซ้ําในโรงงานผูผลิต
1. หลักการจัดการกากอุตสาหกรรม (ตอ)

3. การนํากลับมาใชใหม
1. เปนวัตถุุดิบทดแทน (use as raw material substitution) หมายถึง วัสดุุที่ไม
ใช แ ล ว ที่ มี คุ ณ ลั ก ษณะหรื อ คุ ณ สมบั ติ เ หมาะสมที่ ใ ช เ ป น วั ต ถุ ดิ บ ทดแทนใน
กระบวนการผลิ ต ของโรงงาน เชน
กระบวนการผลตของโรงงาน เช น การนํ
การนาเศษรมผา
า เศษริ ม ผ า หรื หรอเศษดายจาก
อ เศษด า ยจาก
โรงงานทอผาไปใชเปนวัตถุดิบทดแทนในโรงงานปนดาย การนําเศษกระดาษไป
เปนวตถุ
ป ั ดิบทดแทนในโรงงานผลตกระดาษ
ใ โ ิ การนาเศษเหลกไปหลอมหลอใหม
ํ ศ ็ ไป  ใ 
ในโรงงานหลอมเหล็ก การนําเศษพลาสติกไปหลอมหลอใหมในโรงงานหลอม
เศษพลาสติก การนําเศษแกวไปหลอมใหมในโรงงานผลิตแกว หรือการนํา
เถาลอยจากการใชถานหินเปนเชื้อเพลิงไปใชเปนวัตถุดิบทดแทนปูนซีเมนตใน
โรงงานคอนกรีตผสมเสร็จ ฯลฯ
1. หลักการจัดการกากอุตสาหกรรม (ตอ)

3. การนํากลับมาใชใหม ((ตอ)
2. เปนเชื้อเพลิงทดแทน (use as fuel substitution or burn energy recovery)
หมายถึง การนําของเสียที่มีคาความรอนและมีสภาพเหมาะสมไปเปนเชื้อเพลิง
ทดแทนในเตาเผาปนซี
ทดแทนในเตาเผาปู นซเมนต
เมนต
3. ทําเชื้อเพลิงผสม (fuel blending) หมายถึง การนําเอาวัสดุที่ไมใชแลวมาผาน
กระบวนการปรับคุณภาพ หรือผสมกันเพื่อให ใ เปนเชื้อเพลิงสังเคราะห ซึึ่ง
ไดแก การขายหรือสงใหโรงงานลําดับที่ 106 นําน้ํามันหรือตัวทําละลายที่ใช
งานแลวไปผลิตเปนเชื้อเพลิงผสม
4 เผาเพอเอาพลงงาน
4. เผาเพื่อเอาพลังงาน (burn for energy recovery) ใหระบุ
ใหระบลัลกกษณะการเผา
ษณะการเผา
1. หลักการจัดการกากอุตสาหกรรม (ตอ)

3. การนํากลับมาใชใหม ((ตอ)
5. เปนวัตถุดิบทดแทนในเตาเผาปูนซีเมนต (use as co-material in cement kiln
or rotary kiln) ใหระบุผลิตภัณฑ ทั้งนี้ วัสดุที่ไมใชแลวที่จะนําไปเปนวัตถุดิบ
ทดแทนในเตาเผาปููนซีเมนตจะตองมีองคประกอบของวัตถุุดิบที่ใชในการผลิต
ปูนซีเมนต ไดแก แคลเซียม อะลูมินา เหล็ก หรือซิลิกา เชน ทรายขัดผิวที่ใช
แลว Scale เหลกจากกระบวนการรดรอน
แลว เหล็กจากกระบวนการรีดรอน
6. เขากระบวนการนําตัวทําละลายกลับมาใหม (solvent reclamation/
regeneration) หมายถึง การนําวัสดุที่ไมใชแลวประเภทตัวทําละลายไปโรงงาน
ลําดับที่ 106 เพื่อกลั่นและนํากลับมาใชใหม ไดแก ทินเนอร โทลูอีน ไซลีน
เมธิลีนคลอไรด อะซีโดน ไตรคลอโรเอทธิลีน ฯลฯ
1. หลักการจัดการกากอุตสาหกรรม (ตอ)

3. การนํากลับมาใชใหม ((ตอ)
7. เขากระบวนการนําโลหะกลับมาใหม (reclamation/regeneration of metal
and metal compound) หมายถึง การนําวัสดุที่ไมใชแลวที่มีองคประกอบ
ของโลหะมาผานกระบวนการสกัดหรือนําโลหะกลับมาใชใหม เชน การนําน้ํายา
ลางฟลมมาผานกระบวนการสกัดเงิน การนําเถาจากการหลอมโลหะมีคาของ
โรงงานผลิตเครื่องประดับไปสกัดโลหะมีคา ฯลฯ
โรงงานผลตเครองประดบไปสกดโลหะมคา
8. เขากระบวนการคืนสภาพกรด/ดาง (acid/base regeneration)
9. เขากระบวนการคืนสภาพตัวเรงปฏิกิริยา (catalyst regeneration)
1. หลักการจัดการกากอุตสาหกรรม (ตอ)
4. การบําบัด
การบําบัด (Treatment) สามารถดําเนินการไดหลายวิธี ดังตอไปนี้
1 บาบดดวยวธชวภาพ
1. บําบัดดวยวิธีชีวภาพ (biological treatment) หมายถง
หมายถึง การบาบดโดยใชวธ
การบําบัดโดยใชวิธี
ระบบตะกอนเรง (Activated sludge) ระบบยอยสลายแบบไรอากาศ
(A
(Anaerobic
bi di
digestion)
ti ) การหมก
การหมัก (Composting)
(C ti ) ระบบบอผง
ร บบบอผึ่ง
(Stabilization pond) ฯลฯ
2. บําบัดดวยวิธีทางเคมี (Chemical treatment) หมายถึง การบําบัดโดยใช
วิธีการปรับคาความเปนกรดดางและทําใหเปนกลาง (Neutralization and pH
adjustment) การทํ า ปฏิกิ ริยาออกซิเ ดชั่ น/รีดักชั่น (Oxidation/reduction
reaction) ก า ร แ ย ก ดด ว ย ไ ฟ ฟ
ฟ า ( Electrodialysis) ก า ร ต ก ต ะ ก อ น
(Preciptation) การทําลายสารประกอบฮาโลเจน (Dehalogenation) ฯลฯ
1. หลักการจัดการกากอุตสาหกรรม (ตอ)
4. การบําบัด (ตอ)
3. บําบัดดวยวิธีทางกายภาพ (physical treatment) หมายถึง การบําบัดโดยใช
วิ ธี ก ารเหวี่ ย งแยก (Centrifugation) การกลั่ น แยกด ว ยไอน้ํ า (Steam
Distillation and Steam stripping) การกรองผานตัวกรองหลายชั้น
((Multi-media filtration)) การทําระเหย ((Evaporation)
p ) การแยกดวยแรงโนม
ถวง (Gravity thickening) การแยกดวยเครื่องแยกน้ําและน้ํามัน (Oil/water
separator or Coalescence separator) ฯลฯ
4. บําบัดดวยวิธีทางเคมีกายภาพ (physico-chemical treatment) หมายถึง
การดูดซัับดวยถานกััมมัันต (Actavated
(A d carbon
b adsorption)
d i ) การ
แลกเปลี่ยนประจุ (Iron exchange) การกรองรีดน้ํา (Filter press,
Dewatering Vacumm filtration and belt-press filtration) การสกัด
ของเหลวดวยของเหลว (Liquid/liquid extraction) ฯลฯ
1. หลักการจัดการกากอุตสาหกรรม (ตอ)

4. การบาบด
การบําบัด (ตอ)
(ตอ)
5. บําบัดน้ําเสียดวยวิธีทางเคมีกายภาพ (physico-chemical
py treatment of
wastewater) หมายถึ ง การนํ า เอาวั ส ดุ ที่ ไ ม ใ ช แ ล ว ที่ เ ป น ของเหลว (Liquid
waste or aqueous waste) หรอนาเสย
หรือน้ําเสีย (wastewater) ไปบาบดทางเคมหรอ
ไปบําบัดทางเคมีหรือ
กายภาพเพื่ อ ทํ า ลายฤทธิ์ ได แ ก การส ง น้ํ า เสี ย ไปบํ า บั ด ด ว ยวิ ธี ก ายภาพที่

โรงงานลาดบทํ ั ี่ 101 ระบบบาบดนาเสยรวมซงอยู
ํ ั ้ํ ี ึ่ นอกบรเวณโรงงาน ิ โ
6. เขาระบบบําบัดน้ําเสียรวม (direct discharge to central wastewater
treatment plant)
7 ปรบเสถยรดวยวธทางเคม
7. ปรับเสถียรดวยวิธีทางเคมี (chemical stabilization)
1. หลักการจัดการกากอุตสาหกรรม (ตอ)
4. การบําบัด (ตอ)
8. ปรับเสถียร/ตรึงทางเคมีโดยใชซีเมนตหรือวัสดุ pozzolanic (chemical
f
fixation using cementitious and/or d/ pozzalanicl material)l หมายถึง การ
บําบัดดวยวิธีการตรึงดวยสารเคมี (chemical fixation) การทําใหเปนกอน
แข็งดวยสารประสาน (Pozzalanic and cement base solidification)
9 เผาทาลายในเตาเผาขยะทวไป
9. เผาทําลายในเตาเผาขยะทั่วไป (burn for destruction) เฉพาะสงปฏกู
เฉพาะสิ่งปฏิกลลหรื
หรออ
วัสดุที่ไมใชแลวที่ไมเปนของเสียอันตรายเทานั้น
10. เผาทําลายในเตาเผาเฉพาะสําหรับของเสียอันตราย (burn for destruction in
hazardous waste incinerator)
1. หลักการจัดการกากอุตสาหกรรม (ตอ)

4. การบาบด
การบําบัด (ตอ)
(ตอ)
11. เผาทําลายรวมในเตาเผาปูนซีเมนต (co-incineration in cement kiln)
หมายถึ ง การนํ า วั ส ดุ ที่ ไ ม ใ ช แ ล ว ซึ่ ง ไม มี คุ ณ ลั ก ษณะหรื อ คุ ณ สมบั ติ เ ป น
วัตถดิุ บทดแทนหรือเปนเชื้อเพลิงทดแทนสําหรับใชเผาในเตาปนซี ู เมนตไปผาน
กระบวนการปรับสภาพ เพื่อใหอยูในรูปที่สามารถนําไปเผาทําลายในเตาเผา
ปูปนซี
นซเมนต
เมนต กอนสงไปเผาทาลายในเตาเผาปู
กอนสงไปเผาทําลายในเตาเผาปนซี นซเมนตเมนต
1. หลักการจัดการกากอุตสาหกรรม (ตอ)
5. การกําจัด
การกําจัด (Disposal) สามารถดําเนินการไดหลายวิธี ดังตอไปนี้
1. ฝงกลบตามหลักสุุขาภิบาล ((Sanitaryy landfill)) เฉพาะสิ่งปฏิฏกูลหรือวัสดุุที่ไม
ใชแลวที่ไมเปนของเสียอันตรายเทานั้น
2 ฝงกลบอยางปลอดภย
2. ฝงกลบอยางปลอดภัย (Secure landfill) หมายถง หมายถึง การฝงกลบวสดุ
การฝงกลบวัสดทีท่ไมใช
ไมใช
แลวที่เปนของเสียอันตรายที่อยูในรูปที่คงตัว (เสถียร) ไปฝงกลบในหลุมฝง
กลบแบบ SecureS landfill
l df ll โดยไม
โ ไ ตองนํําไปป
ไปปรัับเสถีียรกอ น
3. ฝงกลบอย างปลอดภั ย เมื่ อ ทํ า การปรั บ เสถี ย รหรือทํ า ใหเ ป นก อนแข็ งแล ว
(Secure landfill of stabilized and/or solidified wastes) หมายถึง การ
นําเอาวัสดุุที่ไมใชแลวที่เปนของเสียอันตรายที่ผานการปรับเสถียรเพื่อทําลาย
ฤทธิ์และใหอยูในรูปที่คงตัวแลวไปฝงกลบในหลุมฝงกลบแบบ Secure landfill
2. การคัดเลือกวิธีจดั การที่เหมาะสมสําหรับกากของเสีย
แนวทางการคัดเลือกวิธีจัดการที่เหมาะสมสําหรับของเสียแตละชนิด
‹ ควรจัดลําดับความสําคัญกับเทคโนโลยีในการจัดการ
‹ เปนวธจดการทเหมาะสมกบประเภทและลกษณะสมบตของของเสย
ป ิ ี ั ี่ ัป ั ั ิ ี
‹ เลือกใชวิธกี ารจัดการที่มีในปจจุบนั
„ สงดําเนินการในประเทศ : โรงงาน 101 105 และ 106

„ สงออกไปดาเนนการยงตางปร
ส ง ออกไปดํ า เนิ น การยั ง ต า งประเทศ
เทศ เชน
เช น การบํ
การบาบด/กาจด
า บั ด /กํ า จั ด PCBs
และ Hg (การสงออกของเสีย จะตองทําตามอนุสัญญาบาเซล และ
พรบ วตถุ
พรบ. วัตถอัอนนตราย
ตราย พ.ศ.
พ ศ 2535)
‹ วิธีจัดการมีความปลอดภัยตอสิ่งแวดลอมและผูป ฏิบัตงิ าน
‹ ราคาในการบําบัด/กําจัดเหมาะสม
17
2. การคัดเลือกวิธีจัดการที่เหมาะสมสําหรับกากของเสีย (ตอ)
ประเภทและชนิดโรงงานผูรับบําบัด กําจัดกากอุตสาหกรรมในปจจุบัน
Industrial waste
105 (Sorting)
106 (Blending)

Recycling/R
y g/ Thermal
e a Treatment
ea e Landfill Treatment
ecovery 101 105 - Chemical
106 Co-incineration Incineration - Physical
Ph i l
- Biological
Cement Kiln Boilers and Industrial 101
Furnaces (BIF) 18
2. การคัดเลือกวิธีจัดการที่เหมาะสมสําหรับกากของเสีย (ตอ)

โรงงานคัดแยก
โรงงานที่ใชเครื่องจักร หรือคนงานในการแบงแยกของเสีย

โดยของเสยทสามารถใชประโยชนไดอกจะถู
สี ี่ส ใ ป โ ไ  ี กสงไปยงโรงงานตางๆ
ส ไป ั โ 
เพื่ อ นํ า กลั บ มาใช ป ระโยชน อี ก ส ว นที่ เ หลื อ จากการคั ด แยก
จะถูกสงไปบําบัด/กําจัดอยางถูกตองตอไป
2. การคัดเลือกวิธีจัดการที่เหมาะสมสําหรับกากของเสีย (ตอ)

การปรับคณภาพของเสี
การปรบคุ ณภาพของเสยย (Waste Blending)
ทาไม
ํ ไ ตอง
 Blend
Bl d ?
y เปนเงื่อนไขใน Requirements ของ Next users
(BIFs Incinerator)
(BIFs,
y ลดความเปนอันตราย
(Handling + Emission)
2. การคัดเลือกวิธีจัดการที่เหมาะสมสําหรับกากของเสีย (ตอ)

โรงงาน Recycle/Recovery
y / y
โรงงานที่นําของเสียจากโรงงานอื่นมาใชเปนวัตถุุดิบหรือ
ผลิตภัณฑใหมโดยผานกรรมวิธีการผลิตทางอุตสาหกรรม
(Recycle)
2. การคัดเลือกวิธีจัดการที่เหมาะสมสําหรับกากของเสีย (ตอ)

โรงงานปรับคุณภาพของเสียรวม
โรงงานบําบัดน้ําเสียรวม
(W t W
(Waste Water
t TTreatment
t t Plant)
Pl t)
เปนการเปลยนรู
เป น การเปลี่ ย นรปมลพิ
ป มลพษทมอยู
ษ ที่ มี อ ย ใ น
น้ํ า เสี ย ไปเป น แก ส หรื อ กากตะกอน จากนั้ น
ก็็จะสงกากตะกอนไปกํ ไ าจัดอยางถูกวิธีตอไไป
2. การคัดเลือกวิธีจัดการที่เหมาะสมสําหรับกากของเสีย (ตอ)

โรงงานปรับคุุณภาพของเสียรวม
โรงงานเผาของเสียรวม เตาเผาเฉพาะ/เตาเผารวม
(Specific Incinerator/Co Incinerator)
เปนการบําบัดของเสียโดยการใชความรอน เพื่อทําลาย
มลพิษบางชนิด และลดความเปนอนตรายของสาร
มลพษบางชนด และลดความเปนอันตรายของสาร
บางอยาง โดยการเปลี่ยนรูปของเสียตางๆ
ใหเปนเถา เพื่อสงไปฝงกลบตอไป
2. การคัดเลือกวิธีจัดการที่เหมาะสมสําหรับกากของเสีย (ตอ)

การบําบัดของเสียดวยความรอน
€ วัตถุประสงคในการเผาของเสีย
ƒ เผาเปนวัตถุดิบทดแทน (Substitute Material)
ƒ เผาเปนเชื้อเพลิงทดแทน (Substitute Fuel)
ƒ เผาทาลายํ (B ffor DDestruction)
(Burn t ti )

24
2. การคัดเลือกวิธีจัดการที่เหมาะสมสําหรับกากของเสีย (ตอ)

Co-Incineration (Cement kiln)


€ ใช High temperature (> 1,450°C ; เผาเป็ นเชื้อเพลิงทดแทน
GRT ≈ 10 sec.)) เผาเป็ป็ นวัตั ถุดบิ ทดแทน
€ ใช Limestone เปน Neutralizing agent
€ เ ถ า ที่ เ กิ ด จ า ก ข อ ง เ สี ย ก ล า ย เ ป น
Raw material (No secondary waste)
€ โลหะหนักจะถูกจับไวในเนื้อซีเมนต
€ มีกาํ ลังการผลิตสูง
((Hugeg pproduction capacity) p y)
25
2. การคัดเลือกวิธีจัดการที่เหมาะสมสําหรับกากของเสีย (ตอ)

เตาเผาของเสียอันตราย (Hazardous Waste Incinerator)


เตาเผาของเสยอนตราย
€ สําหรับเผาทําลาย (Burn for Destruction)
€ High temperature
€ แบงหองเผาเปน 2 สวน
แบงหองเผาเปน สวน คืคออ
1) เผาของเสียใหแตกตัวเปนไอ (800-850 ºC)
2) เผาไอ (1 100 1 400 ºC;
ไ (1,100-1,400 ºC GRT ≈ 2 sec.))

26
2. การคัดเลือกวิธีจัดการที่เหมาะสมสําหรับกากของเสีย (ตอ)

27
2. การคัดเลือกวิธีจัดการที่เหมาะสมสําหรับกากของเสีย (ตอ)

การฝงกลบ (Landfill)
€ การนําของเสียไปปรับเสถียรหรือทําลายฤทธิ์และนําไปฝงกลบ
ƒ เปนการกาจดของเสยขนสุ
ป ํ ั สี ั้ สดทาย
ƒ คาใชจา ยในการดําเนินการต่ํา
ƒ ตองจัดหาพืน้ ที่เปนบริเวณกวางไวรองรับ
ƒ ตองมีการดูแลและอาจตองฟนฟูพื้นทีใ่ นอนาคต (คาใชจา ย)
ƒ ตองมีการตรวจวัดและจัดการ
| นาชะขยะ
น้ําชะขยะ (Landfill leachate)
| Landfill gases (เชน CO2 CH4 VOCs)

28
2. การคัดเลือกวิธีจัดการที่เหมาะสมสําหรับกากของเสีย (ตอ)

ระบบหลมฝ
ระบบหลุ มฝงกลบของเสย
งกลบของเสีย
ƒ ระบบกนซม
ร บบกันซึม (ใตหลุ
(ใตหลม)
ม)
ƒ ระบบรวบรวมน้ําชะ
ƒ ระบบรวบรวมกาซ
ƒ ระบบปดคลุม (บนหลุม)
ƒ ระบบติดตามการ
ปนเปอ นน้ําใตดิน
Ref : www.eia.doe.gov 29
3. หลักเกณฑและเงื่อนไขทีต่ องพิจารณาสําหรับ
แตละวิธีจดั การกากของเสีย
แตละวธจดการกากของเสย
รหัสวิธีจัดการกากของเสียตามประกาศฯ
รหสวธจดการกากของเสยตามปร กาศฯ ปป 2548
ประเภท 01 การคัดแยก (Sorting)
ประเภท 02 การกักเก็บภาชนะบรรจุ (storage)
ประเภท 03 การนากลบมาใชซา
การนํากลับมาใชซา้ํ (Reuse)
ประเภท 04 การนํากลับมาใชประโยชนอีก (Recycling)
ประเภท 05 การนํากลับคืนมาใหม (Recovery)
ประเภท 06 การบาบด
การบําบัด (Treatment)
ประเภท 07 การกําจัด (Disposal)
ประเภท 08 การกําจัดโดยวิธีอื่น
30
3. หลักเกณฑและเงื่อนไขที่ตองพิจารณาสําหรับ
แตละวิธีจัดการกากของเสีย (ตอ)
แตละวธจดการกากของเสย (ตอ)
รหัสวิธีจัดการกากของเสียตามประกาศฯ ป 2548
011 คัดแยกประเภทเพื่อจําหนายตอ (sorting)
031 เปปนวััตถุดิบทดแทน (use
( as raw material
i l substitution)
bi i )
033 สงกลับผูขายเพื่อนํากลับไปบรรจุใหมหรือใชซ้ํา (reuse container, to be refilled)
041 เปนเชื้อเพลิงทดแทน (use as fuel substitution or burn for energy recovery)
042 ทําเชื้อเพลิงผสม (fuel blending)
ทาเชอเพลงผสม
043 เผาเพื่อเอาพลังงาน (burn for energy recovery)
044 เปนวัตถุดิบทดแทนในเตาเผาปูนซีเมนต
(use as co-material in cement kiln or rotary kiln)
049 นํากลับมาใชประโยชนอีกดวยวิธอี ื่นๆ (other recycle methods)
31
3. หลักเกณฑและเงื่อนไขที่ตองพิจารณาสําหรับ
แตละวิธีจัดการกากของเสีย (ตอ)
แตละวธจดการกากของเสย (ตอ)
รหัสวิธีจัดการกากของเสียตามประกาศฯ ปป 2548 (ตอ)
รหสวธจดการกากของเสยตามประกาศฯ (ตอ)
051 เขากระบวนการนําตัวทําละลายกลับมาใหม
(solvent reclamation/ regeneration)
052 เขากระบวนการนําโลหะกลับมาใหม
(reclamation/regeneration of metal and metal compounds)
053/ เขากระบวนการคนสภาพกรด/ดาง
เขากระบวนการคืนสภาพกรด/ดาง หรอสภาพตวเรงปฏกรยา
หรือสภาพตัวเรงปฏิกิริยา
054 (acid/base/catalyst regeneration)
082 ถมทะเลหรอทลุ
ถมท เลหรือที่ลม (land
(l d reclamation)
l ti )
083 หมักทําปุยหรือสารปรับปรุงคุณภาพดิน (composting or soil conditioner)
084 ทําอาหารสัตว (animal feed)
32
3. หลักเกณฑและเงื่อนไขที่ตองพิจารณาสําหรับ
แตละวิธีจัดการกากของเสีย (ตอ)
แตละวธจดการกากของเสย (ตอ)
เงื่อนไขที่ควรพิจารณาสําหรับแตละวิธีจัดการของเสีย
¾ การคัดแยกประเภทเพื่อจําหนายตอ
แนวทางสําหรับผขออนุ
แนวทางสาหรบผู ออนญาต
ญาต แนวทางสําหรับผใหหอนุ
แนวทางสาหรบผู อนญาต
ญาต
เฉพาะวัสดุที่ไมใชแลวที่ไมเปนของเสียอันตราย ¾บ า ง ก ร ณี อ า จ ต อ ง แ ส ด ง จุ ด ที่ เ กิ ด
เชน วัั ส ดุ ที่ ไ ม ใ ช แ ล ว นัั้ น เพืื่ อ แสดงว า ไไม มี ก าร
‹ เศษไม เศษกระดาษ เศษผา ปนเปอนดวยของเสียอันตราย
‹ เศษพลาสติกหรือ ื ยางสังั เคราะห ¾ตองมีสัญญาซื้อขายหรือหนังสือรับรอง
‹ เศษโลหะตางๆ ที่ไมอยูในรูปของเกลือ จากโรงงานผูรับดําเนินการปลายทางที่ระบุ

โลหะ ระยะเวลาในการรับซื้อจากรานคาของเกา
โดยจัดสงของเสียใหกับโรงงานลําดับที่ 105 ¾แบบคําขออนุญาต (สก.2) จะตองระบุเลข
คัดั แยกวััสดุที่ไมใชแลวทีี่ไมเ ปนของเสีียอัันตราย ทะเบียนโรงงานของโรงงานผูรับดําเนินการ
ปลายทาง
เงื่อนไขที่ควรพิจารณาสําหรับแตละวิธจี ัดการของเสีย (ตอ)

¾ การขายหรื
การขายหรอบรจาคใหกบบุ
อบริจาคใหกับบคคลธรรมดา
คคลธรรมดา กลุ
กลมชาวบาน
ชาวบาน
กลุมแมบาน กลุมเกษตรกร ฯลฯ
แนวทางสําํ หรับั ผูขออนุญาต แนวทางสําํ หรับั ผูใหอ นุญาต
เฉพาะกับวัสดุที่ไมใชแลวที่ไมเปนของเสียอันตรายที่ ¾ อนุ ญ าตให เ ฉพาะวั ส ดุ ที่ ไ ม ใ ช แ ล ว ที่ ไ ม เ ป น
สามารถนําไปใช
ไ ใ ประโยชน
โ ในรูปแบบตางๆ ไไดแก ของเสียอันตรายเทานั้น
‹ เศษผ า หรื อ เศษด า ยหรื อ เศษฟองน้ํ า ¾ ตองพิจารณาความเหมาะสมของปริมาณที่
นําไปใชทําพรมเช็ดเทา ยัยดตุ
นาไปใชทาพรมเชดเทา ดตกตาหรืตาหรอทนอน
อที่นอน ขออนุญาตนําํ ไปใช
ไปใ ประโยชน
โ ดวย
‹ เศษไม ห รื อ ขี้ เ ลื่ อ ยที่ ไ ม ป นเป อ นของเสี ย
อันตรายใชเปนเชื้อเพลิงทดแทน
‹ เศษอิฐ หิน ปูน กระเบื้อง นําไปถมที่ลุม
‹ แกนกระดาษ หรื อ กล อ งบรรจุ ภั ณ ฑ
นําไปใชทําสิ่งประดิษฐตางๆ
เงื่อนไขที่ควรพิจารณาสําหรับแตละวิธจี ัดการของเสีย (ตอ)

¾ การใช
การใชเปนวตถุ
เปนวัตถดิดบทดแทน
บทดแทน (use as raw material substitution)
แนวทางสําหรับผูขออนุญาต แนวทางสําหรับผูใ หอนุญาต
เฉพาะกั บ วัส ดุ ท่ี ไ ม ใ ช แล ว ที่ ไ ม เ ป น ของเสี ย อั น ตราย โดย ¾ อนุ ญ าตให
ใ เ ฉพาะวั ส ดุ ท่ี ไ ม ใ ช แ ล ว ที่ ไ ม เ ป น
รูปแบบการนําวัสดุที่ไมใชแลวไปใชเปนวัตถุดิบทดแทน เชน ของเสียอันตราย
‹ การสงเศษกระดาษใหโรงงานประกอบกจการอด
การสงเศษกระดาษใหโรงงานประกอบกิจการอัด ¾ ตองพจารณา
ตองพิจารณา
เศษกระดาษหรือโรงงานผลิตกระดาษ o ความเหมาะสมของปริ มาณที่ ข อ
‹ การสงเศษโลห
การสงเศษโลหะให ใหโรงงานปร
โรงงานประกอบกิ กอบกจการอดเศษ
จการอัดเศษ อนญาตนํ
อนุ ญาตนาไปใชปร
าไปใชประโยชน
โยชนดวย
ดวย
โลหะหรือโรงงานหลอมหลอโลหะ o ประเภทกิ จ การของโรงงานผู รั บ
‹ การนํ า เถ า ลอยจากการเผาไหม ถ า นหิ น ไปใช แ ทน วัสดุที่ไมใชแลว และประเภทของวัตถุดิบที่
ปูนซีเมนตในโรงงานคอนกรีตผสมเสร็จ ใชในการผลิต
‹ การสงเศษแกว ใหโรงงานทําผลิตภัณฑจากเศษแกว o เงื่อนไขการอนุญาตใหประกอบกิจการ
ของโรงงานผู
โ รับดําเนินการแตละราย
เงื่อนไขที่ควรพิจารณาสําหรับแตละวิธจี ัดการของเสีย (ตอ)

¾ การสงกลับผูขายเพื่อนํากลับไปบรรจุใหมหรือใชซา้ํ
แนวทางสําหรับผขออนุ
แนวทางสาหรบผู ออนญาต
ญาต แนวทางสําํ หรัับผูใ หอนุญาต
เฉพาะกั บ การส ง ภาชนะบรรจุ คื น โรงงาน อนุญาตใหเฉพาะการสงภาชนะบรรจุคืน
ผูผลิต เพื่อนํากลับไปบรรจุใหมหรือใช เชน โรงงานผูผลิต เพื่อนํากลับไปบรรจุใหม
‹ การสงถังบรรจุกรด-ดางคืนโรงงาน หรือใชซ้ํา เทานั้น
ผูผลิตหรือผูแบงบรรจุ
‹ การส ง ถั ง บรรจุ น้ํ า มั น หล อ ลื่ น คื น
โรงงานผูผลิต
เงื่อนไขที่ควรพิจารณาสําหรับแตละวิธจี ัดการของเสีย (ตอ)

¾ การใช
ใ เ ปนเชืือ้ เพลิงิ ทดแทน
(use as fuel substitution or burn for energy recovery)
แนวทางสําหรับผูขออนุญาต แนวทางสําหรับผูใ หอนุญาต
นํนาวสดุ
า วั ส ดทีท่ ไมใชแลวทมคาความรอนและ
ไ ม ใ ช แ ล ว ที่ มี ค า ความร อ นแล สิสงทตองพจารณาในการใหอนุ
่งที่ตองพิจารณาในการใหอนญาตญาต ได
ไดแก
แก
มีสภาพเหมาะสมไปเปนเชื้อเพลิงทดแทนใน ‹ ประเภทกิ จ การของโรงงานผู รั บ
เตาเผาปนซี
เตาเผาปู นซเมนต เมนต เชน เชน วัสดุที่ไมใชแลว
‹ น้ํามันเครื่องหรือน้ํามันหลอลื่นใชแลว
‹ เงื่อนไขการอนุญาตใหประกอบกิจการ
‹ เศษผาปนเปอนนามน
เศษผาปนเปอนน้ํามัน ของโรงงานผูรับดําเนินการแตละราย
เงื่อนไขที่ควรพิจารณาสําหรับแตละวิธจี ัดการของเสีย (ตอ)

¾ การใชเปนเชื้อเพลิงผสม (fuel blending)


แนวทางสําํ หรัับผูขออนุญาต แนวทางสําํ หรัับผูใ หอนุญาต
นํ า วั ส ดุ ที่ ไ ม ใ ช แ ล ว มาผ า นกระบวนการปรั บ สิ่งที่ตองพิจารณาในการใหอนุญาต ไดแก
คุณภาพ หรือผสมกันเพื่อใหเปนเชื้อเพลิงผสม ‹ เงื่ อ นไขการอนุ ญ าตให ป ระกอบ
เชน กิจการของโรงงานผูรับดําเนินการแต
‹ กระดาษหรื อ ผ า ปนเป อ นสี หรื อ น้ํ า มั น ละราย
หรือตัวทําละลาย
‹ สี หรือตัวทําละลายหมดอายุใชงาน
‹ น้ํามันหลอลื่นใชแลว
เงื่อนไขที่ควรพิจารณาสําหรับแตละวิธจี ัดการของเสีย (ตอ)

¾ เผาเพือ่ เอาพลังงาน

แนวทางสําหรับผูขออนุญาต แนวทางสําหรับผูใ หอนุญาต


นํนาวสดุ
าวัสดทีท่ไไมใชแลวทมสภาพเหมาะสมไป
มใชแลวที่มีสภาพเหมาะสมไป สิ่ ง ที่ ค วรพิ จ ารณาในการให อ นญาต
สงทควรพจารณาในการใหอนุ ญ าต
เปนเชื้อเพลิง เชน ไดแก
‹ กะลาและเสนใยปาลม
กะลาและเส น ใยปาล ม นํนามาเปน า มาเป น ‹ องคประกอบของวัสดุทไ่ี มใชแลว
เชื้อเพลิงในหมอไอน้ํา
‹ ปริมาณที่ขออนุญาต และแหลงที่นํา
‹ ขเลอย
ขี้เลื่อย เศษไม
เศษไม เศษไมพาเลท
เศษไมพาเลท
วัสดุที่ไมใชแลวไปใชประโยชน
เงื่อนไขที่ควรพิจารณาสําหรับแตละวิธจี ัดการของเสีย (ตอ)

¾ เปปนวััตถุดิบทดแทนในเตาเผาปู
ใ ปนซีีเมนต
แนวทางสําหรับผูขออนุญาต แนวทางสําหรับผูใ หอนุญาต
เ ฉ พ า ะ กั บ วั ส ดุ ที่ ไ ม ใ ช แ ล ว ที่ มี สิ่งที่ควรพิจารณาในการใหอนุญาต ไดแก
องคประกอบของวัตถุุดิบที่ใชในการผลิต ‹ องคประกอบมลสารอนในวสดุ
องคประกอบมลสารอื่นในวัสดทีทไมใชแลว ่ไมใชแลว
ปูนซีเมนต ไดแก แคลเซียม อะลูมินา เหล็ก ‹ ป ร ะ เ ภ ท กิ จ ก า ร ข อ ง โ ร ง ง า น ผู รั บ
หรือซิลิกา เชน วัสดทีทไมใชแลว
วสดุ ่ไมใชแลว
‹ ทรายขัดผิวที่ใชแลว
‹ เงื่ อ นไขการอนุ ญ าตให ป ระกอบกิ จ การ
‹ Scale เหล็กจากกระบวนการรีดรอน
ของโรงงานผู
โ รับดํําเนินการแตละราย
‹ ฝุนเหล็ก ผงเหล็กจากการขัด หรือ
การเจียร
‹ กากตะกอนซิลิคอน
เงื่อนไขที่ควรพิจารณาสําหรับแตละวิธจี ัดการของเสีย (ตอ)

¾ การนําํ กลัับไปใ
ไปใชป ระโยชน
โ ดวยวิธีอืน่ ๆ
แนวทางสําหรับผูขออนุญาต แนวทางสําหรับผูใ หอนุญาต
นําวัสดุที่ไมใชแลวไปใชประโยชนดวย พิจารณาวากระบวนการหรือวิธีการนํากลับไปใช
วิธีอื่นๆ นอกเหนือจากที่กลาวแลว เชน ประโยชน ที่ ข ออนุุ ญ าตสามารถดํ า เนิ น การได จ ริ ง
‹ ก า ร ส ง น้ํ า มั น เ ค รื่ อ ง ห รื อ ดังนั้น สิ่งที่ควรพิจารณาในการใหอนุญาต ไดแก
น้ํามันหลอลื่นใชแลวใหโรงงานผลิตสีทา ‹ เอกสารหรื อ หลั ก ฐานทางวิ ช าการที่
บานหรือสีน้ํามัน เกี่ยวของแสดงวาสามารถนําไปดําเนินการไดจริง
‹ การส ง ยางรถยนต ห มดสภาพให ‹ ผั ง กระบวนการนํ า ไปใช ป ระโยชน ใ หม และ
โรงงานสกัดน้ํา้ มันดีเซล ผังแสดงแหลงกําเนิดของวัสดุที่ไมใชแลว
‹ ในบางกรณีเจาหนาที่อาจตองมีการไปตรวจ
โรงงาน
เงื่อนไขที่ควรพิจารณาสําหรับแตละวิธจี ัดการของเสีย (ตอ)

¾ การนําเขากระบวนการนําสารตัวทําละลายกลับมาใหม
แนวทางสําหรับผขออนุ
แนวทางสาหรบผู ออนญาต
ญาต แนวทางสําหรับผใหหอนุ
แนวทางสาหรบผู อนญาต
ญาต
เปนการนําวัสดุที่ไมใชแลวประเภทสาร สิ่ ง ที่ ค วรพิ จ ารณาในการให อ นุ ญ าต
ตั ว ทํ า ละลายส ง ให โ รงงานลํ า ดั บ ที่ 106 ไดแก
เพื่อกลั่นและนํากลับมาใชใหม เชน โทลูอีน ‹ ประเภทกิ จ การของโรงงานผู รั บ
ไ ซ ลี น เ ม ธิ ลี น ค ล อ ไ ร ด อ ะ ซิ โ ต น วัสดุที่ไมใชแลว
ไตรคลอโรเอทธิลีน ฯลฯ ‹ เงื่ อ นไขการอนุ ญ าตให ป ระกอบ
กิจการของโรงงานผูรับดําเนินการแตละ
ราย
เงื่อนไขที่ควรพิจารณาสําหรับแตละวิธจี ัดการของเสีย (ตอ)

¾ การนําเขากระบวนการนําโลหะกลับมาใหม
แนวทางสําหรับผูขออนุญาต แนวทางสําหรับผูใ หอนุญาต
นําวัสดุที่ไมใชแลวที่มีองคประกอบของ สิ่งที่ควรพิจารณาในการใหอนุญาต
โลหะส ง ให โ รงงานลํ า ดั บ ที่ 106 เพื่ อ นํ า ไป ไดแก
ผานกระบวนการสกัดหรือนําโลหะกลับมาใช ‹ ประเภทกิจการของโรงงานผูรับ
ใหม เชน วัสดุที่ไมใชแลว
‹ การสกัดเงินจากน้ํายาลางฟลม ‹ เงื่ อ นไขการอนุ ญ าตให ป ระกอบ
‹ ก า ร ส กั ด แ ย ก ดี บุ ก จ า ก น้ํ า ย า Tin กิจการของโรงงานผูรับดําเนินการ
Stripper ที่ใชแลว แตละราย
‹ การสกัดแยกโลหะชนิดตางๆจากเศษโลหะ
บัดกรี หรือ Ag plate หรือ Lead frame
เงื่อนไขที่ควรพิจารณาสําหรับแตละวิธจี ัดการของเสีย (ตอ)

¾ การนําเขากระบวนการคืนสภาพกรดดาง หรือสารตัวเรงปฏิกิริยา
แนวทางสําหรับผูขออนุญาต แนวทางสําหรับผูใ หอนุญาต
นํ า วั ส ดุ ที่ ไ ม ใ ช แ ล ว ประเภทกรดหรื อ สิ่งที่ควรพิจารณาในการใหอนุญาต
ด า ง หรื อ สารตั ว เร ง ปฏิ กิ ริ ย า เช น ไดแก
กรดซัลฟูริก ถานกัมมันต ใชแลว สงให ‹ ประเภทกิจการของโรงงานผูรับ
โรงงานลํ า ดั บ ที่ 106 เพื่ อ นํ า ไปผ า น วัสดุที่ไมใชแลว
กระบวนการปรับคุณภาพเพื่อนํากลับมา ‹ เงื่ อ นไขการอนุ ญ าตให ป ระกอบ
ใชใหม กิจการของโรงงานผูรับดําเนินการ
แตละราย
เงื่อนไขที่ควรพิจารณาสําหรับแตละวิธจี ัดการของเสีย (ตอ)

¾ การนาไปถมท
การนําไปถมที่
แนวทางสํ
แนวทางสาหรบผู
าหรับผขออนุ
ออนญาต
ญาต แนวทางสําหรับผใหหอนุ
แนวทางสาหรบผู อนญาต
ญาต
ใช ไ ด เ ฉพาะกั บ วั ส ดุ ที่ ไ ม ใ ช แ ล ว ที่ ไ ม เ ป น ของเสี ย อนุญาตใหเฉพาะวัสดุที่ไมใชแลวที่ไมเปนของเสีย
อัันตราย ซึึ่งมีีองคประกอบของดิน หิน ปปูน ทราย อันั ตราย และสิ่งทีี่ควรพิจารณาในการให
ใ ใ อ นุญาต
เชน ไดแก
‹ เศษอฐ
เศษอิฐ หิหนน ปูปนน ทราย ‹ องคประกอบของวสดุ
องคประกอบของวัสด ปริ ปรมาณทขออนุ
มาณที่ขออนญาต ญาต
‹ เศษกระเบื้องที่ผานการอบดวยความรอนแลว นําไปถมที่
‹ กากตะกอนจากระบบบําบัดน้ําดี หรือจากการ ‹ หนังสือยินยอมจากเจาของที่ดิน พรอมสําเนา
ผลิตน้ําประปา ฯลฯ โฉนดที่ดิน และรายละเอียดเกี่ยวกับพื้นที่ และ
ลักษณะของที่ดินที่จะนําไปถมทั้งกอนและหลัง
ถมแลว
เงื่อนไขที่ควรพิจารณาสําหรับแตละวิธจี ัดการของเสีย (ตอ)

¾ การหมักทําปุยหรือสารปรับปรุงคุณภาพดิน
(Composting or soil conditioner)

แนวทางสาหรบผู
วทางสําหรั ขออ
ออนุญาต
ญาต แนวทางสาหรบผู
วทางสําหรั ใ หหอนุ
อ ญ ญาต
าต
ใชไดเฉพาะกับวัสดุที่ไมใชแลวที่ไมเปนของเสีย เฉพาะวัสดุที่ไมใชแลวที่ไมเปนของเสียอันตรายเทานั้น
อัน ตราย โดยรู ป แบบการนํ า วั ส ดุที่ ไ ม ใ ช แ ล ว ไป จะตองพิจารณาองคประกอบหรือคุณสมบัติในแงความ
หมักทําปุยหรือสารปรับปรุงคุณภาพดิน เชน เหมาะสมในการใชเปนปุย เชน
‹ เศษชนสวนพช
เศษชิ้นสวนพืช จาพวก
จําพวก ทะลายปาลมเปลา
ทะลายปาลมเปลา ‹ สดสวนของ
สัดสวนของ N-P-K
N P K และมหนงสอรบรองจาก
และมีหนังสือรับรองจาก
เปลือกมันสําปะหลัง หนวยงานที่เกี่ยวของ ไดแก สํานักงานเกษตรอําเภอ
‹ เศษชิ้นสวนสัตว หรือสํานักงานเกษตรจังหวัด หรือกรมวิชาการเกษตร
‹ กากตะกอนจากระบบบําบัดน้ําเสีย ‹ จะตองนําเงื่อนไขที่ผรู ับดําเนินการจะตองเปนโรงงาน
‹ เถาที่เหลือจากการเผาไหม ที่ไดรับอนุญาตประกอบกิจการเกี่ยวกับการทําปุย
อินทรียชีวภาพ
เงื่อนไขที่ควรพิจารณาสําหรับแตละวิธจี ัดการของเสีย (ตอ)

¾ การทําอาหารสัตว
แนวทางสํ
แนวทางสาหรบผู
าหรับผขออนุ
ออนญาต
ญาต แนวทางสําหรับผใหหอนุ
แนวทางสาหรบผู อนญาต
ญาต
ใช ไ ด เ ฉพาะกั บ วั ส ดุ ที่ ไ ม ใ ช แ ล ว ที่ ไ ม เ ป น ของเสี ย จะพิจารณาอนุญาตใหเฉพาะวัสดุที่ไมใชแลวที่ไม
อนตราย
ั โ ปแบบการนาไปใชเปนอาหารสตวม
โดยรู ํ ไปใ  ป สั  ี เปนของเสยอนตรายเทานน
ป สี ั  ั้ โดยสงทควรพจารณา
โ สิ่ ี่ ิ
2 ลักษณะ ในการใหอนุญาตนําไปใชในแตละรูปแบบ มีดังนี้
‹ การนํ รนาไปใช
ป ชเปปนอ
นอาหารเลี ร ลย้ยงสัสตว ตว ไดดแก เศษแป ษ ปง ‹ ผรู บด ับดําเนินนนการจะต
ร ตอองแสดงหลั
สด ลกฐฐานและ
นล
หรือเสนหมี่จากขาว เปลือกและแกนขาวโพด เอกสารรับรองจากสวนราชการที่เกี่ยวของ
เปลือกสับปะรด หรือสหกรณการเลี้ยงสัตว หรือมีอาชีพเปน
‹ การนําไปผลิตหรือผสมอาหารสัตว ไดแก เกษตรกรเลี้ยงสัตว
กางปลา เศษปลา หัวกุง เปลือกกุง ฯลฯ ‹ ผูร ับดําเนินการจะตองประกอบกิจการโรงงาน
เกี่ยวกับการผลิตหรือผสมอาหารสัตว
เกยวกบการผลตหรอผสมอาหารสตว
เงื่อนไขที่ควรพิจารณาสําหรับแตละวิธจี ัดการของเสีย (ตอ)

การฝ
การฝงกลบอยางปลอดภย
งกลบอยางปลอดภัย (secure landfill)
landfill) และ
การฝงกลบอยางปลอดภัย เมื่อทําการปรับเสถียรหรือทําใหเปนกอนแข็งแลว
(secure landfill of stabilized and/or solidified wastes)
wastes)
แนวทางสํ
แนวทางสาหรบผู
าหรับผขออนุ
ออนญาต
ญาต แนวทางสําหรับผใหหอนุ
แนวทางสาหรบผู อนญาต
ญาต
ของเสียที่ไมเหมาะที่จะบําบัดโดยวิธีการฝงกลบ เชน วัสดุที่ไมใชแลวที่ไมอนุญาตใหนําไปฝงกลบอยาง
‹ ของเสียประเภท น้ํามัน ตัวทําละลาย ปลอดภัย และการฝงกลบอยางปลอดภัย เมื่อทําการ
‹ ของเสียที่เปนของเหลว ปรับเสถียรหรือทําใหเปนกอนแข็งแลว ไดแก
‹ ยาปฏิชีวนะ ‹ วัสดุที่ปนเปอนน้ํามัน ตัวทําละลาย ไดแก ผา
‹ ยาฆาแมลง ถุงมือ ขี้เลื่อย ทราย กระดาษ กากสีหรือ
‹ ของเสียที่ขัดตอขอกําหนดทางกฎหมาย กากตะกอนที่ปนเปอน
เงื่อนไขที่ควรพิจารณาสําหรับแตละวิธจี ัดการของเสีย (ตอ)

การฝงกลบอย
กลบอยางปลอดภัย (secure landfill
landfill)) และ การฝงกลบอยางปลอดภัย เมื่อทําการปรับ
เสถียรหรือทําใหเปนกอนแข็งแลว (secure landfill
เสถยรหรอทาใหเปนกอนแขงแลว l dfill off stabilized
t bili d and/or
d/ solidified
lidifi d wastes)
wastes
t ) (ตอ
ตอ)
ตอ)
แนวทางสําหรับผูใ หอนุญาต
‹ น้ําเสียปนเปอนไฮโดรคารบอนหรือ Emulsifier
‹ น้ําเสียปนเปอนน้ํามัน น้ําหลอเย็น น้ําที่ปนเปอนน้ํามันและไขมัน
‹ น้ําเสียที่มีองคประกอบของโลหะหนัก
‹ น้ําเสียหรือสารเคมีเหลวที่มีสภาพเปนกรดหรือดาง
‹ ของเสียี ที่ีเปนสารอนินิ ทรียี หรือื ปนเป
ป ปอนดว ย สารอนิินทรียี ซึ่งมีสี ภาพเปปนของเหลวอิสิ ระ ได
ไ แ ก
ตัวสารเคมี สเกลเหล็กปนเปอนน้ําหลอเย็น (coolant) กระปองสเปรยซึ่งมีสารเคมี (Free liquid) ตองแยก
สารเคมีนั้นออก เพอสงไปกาจดดวยวธอนทเหมาะสม
สารเคมนนออก เพื่อสงไปกําจัดดวยวิธีอื่นที่เหมาะสม จากนนภาชนะบรรจุ
จากนั้นภาชนะบรรจนันนๆ ้นๆ จงจะอนุ
จึงจะอนญาตให
ญาตใหนาไปนําไป
ปรับเสถียรและฝงกลบอยางปลอดภัยได
‹ สารอินทรียที่ปนเปอนโลหะหนัก เชน กระดาษกรองที่ปนเปอนโลหะหนัก
ทั้งนี้ หากผูรับบําบัดหรือกําจัดวัสดุที่ไมใชแลวมีขอโตแยง
สามารถชี้แจงเหตุผลและแสดงเอกสาขอมูลทางวิชาการตอเจาหนาที่ได
เงื่อนไขที่ควรพิจารณาสําหรับแตละวิธจี ัดการของเสีย (ตอ)

การเผารวมในเตาเผาปูนซีเมนต Co
Co--Incineration
แนวทางสําหรับผูขออนุญาต แนวทางสําหรับผูใ หอนุญาต
ของเสียที่ไมเหมาะที่จะบําบัดโดยวิธีการเผา (ยกเวน กรณีของการนํากากตะกอนหรือน้ํ้าเสียที่ไมมีคุณสมบัติ
เตาเผาของเสี ย อั น ตรายของกรมโรงงาน เปนวัตถุดิบทดแทนหรือเชื้อเพลิงทดแทนไปเผาทําลายใน
อุอตสาหกรรม)
ตสาหกรรม) เชน
เชน เตาเผาปนซี
เตาเผาปู นซเมนตจะพจารณาจาก
เมนตจะพิจารณาจาก รายงานการวิ
รายงานการวเคราะห เคราะห
‹ ปริมาณโลหะหนักสูง ผลกระทบสิ่งแวดลอม (Environmental Impact
‹ ปริมาณสารประกอบฮาโลเจนสููง Assessment : EIA) ของผููรับบําบัดหรือกําจัด
‹ ความเปนกรด – ดางสูง วั ส ดุ ที่ ไ ม ใ ช แ ล ว แต ล ะราย ทั้ ง นี้ ห า มนํ า น้ํ า ล า ง
‹ ปริมาณความชื้น และปริมาณน้ํา Boiler/Heat Exchanger หรือน้ําเกลือเขมขนไปเผา
‹ ของเสียที่ตองการกักเก็บที่เปน พิเศษ ทําลายในเตาเผาปูนซีเมนต
(special handling requirement) หากผู รั บ บํ า บั ด หรื อ กํ า จั ด วั ส ดุ ที่ ไ ม ใ ช แ ล ว มี
‹ ของเสยทขดตอขอกาหนดสงแวดลอม
ของเสียที่ขัดตอขอกําหนดสิ่งแวดลอม (EIA) ขอโตแยง สามารถชแจงเหตุ
ขอโตแยง สามารถชี้แจงเหตผลและแสดงเอกสาร
ผลและแสดงเอกสาร
ของเตาเผา ขอมูลทางวิชาการตอเจาหนาที่ได

You might also like