ระบบขับถ่าย2

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 22

ระบบขับถ่ าย

ระบบขับถ่ าย เป็ นระบบที่ร่างกายขับถ่ายของเสี ยออกไป ของเสี ยในรู ปแก๊ส คือ ลม


หายใจ ของเหลว คือเหงื่อและปัสสาวะ ของเสี ยในรู ปของแข็ง คือ อุจจาระ การขับถ่ายของเสี ย
ทางลําไส้ใหญ่
ร่ างกายมนุษย์มีกลไกต่าง ๆ คล้ายเครื่ องยนต์ ร่ างกายต้องใช้พลังงาน การเผาผลาญพลังงานจะ
เกิดของเสี ย ของเสี ยที่ร่างกายต้องกําจัดออกไปมีอยู่ 2 ประเภท
1. สารที่เป็ นพิษต่อร่ างกาย
2. สารที่มีปริ มาณมากเกินความต้องการ
ระบบการขับถ่าย เป็ นระบบที่ร่างกายขับถ่ายของเสี ยออกไป ของเสี ยในรู ปแก๊สคือลมหายใจ
ของเหลวคือเหงื่อและปั สสาวะ ของเสี ยในรู ปของแข็งคืออุจจาระ
 อวัยวะที่เกี่ยวข้องกับการขับถ่ายของเสี ยในรู ปของแข็งคือ ลําไส้ใหญ่(ดูระบบย่อยอาหาร)
 อวัยวะที่เกี่ยวข้องกับการขับถ่ายของเสี ยในรู ปของแก๊สคือ ปอด(ดูระบบหายใจ)
 อวัยวะที่เกี่ยวข้องกับการขับถ่ายของเสี ยในรู ปของเหลวคือ ไต และผิวหนัง
 อวัยวะที่เกี่ยวข้องกับการขับถ่ายของเสี ยในรู ปปั สสาวะ ได้แก่ ไต หลอดไต กระเพาะ
ปัสสาวะ
 อวัยวะที่เกี่ยวข้องกับการขับถ่ายของเสี ยในรู ปเหงื่อ คือผิวหนัง ซึ่ งมีต่อมเหงื่ออยูใ่ นผิวหนัง
ทําหน้าที่ขบั เหงื่อ

 

การขับถ่ ายของเสี ยทางลําไส้ ใหญ่


การย่อยอาหารซึ่ งจะสิ้ นสุ ดลงบริ เวณรอยต่อระหว่างลําไส้เล็กกับลําไส้ใหญ่ ลําไส้ใหญ่ยาว
ประมาณ 5 ฟุต ภายในมี เส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 2.5 นิ้ว
เนื่องจากอาหารที่ลาํ ไส้เล็กย่อยแล้วจะเป็ นของเหลวหน้าที่ของลําไส้ใหญ่ครึ่ งแรกคือดูดซึ ม
ของเหลว นํ้า เกลือแร่ และนํ้าตาลกลูโคสที่ยงั เหลืออยูใ่ นกากอาหาร ส่ วนลําไส้ใหญ่ครึ่ งหลังจะ
เป็ นที่พกั กากอาหารซึ่งมีลกั ษณะกึ่งของแข็ง ลําไส้ใหญ่จะขับเมือกออกมาหลอลื่นเพื่อให้
อุจจาระเคลื่อนไปตามลําไส้ใหญ่ได้ง่ายขึ้น ถ้าลําไส้ใหญ่ดูดนํ้ามากเกินไป เนื่องจากกากอาหาร
ตกค้างอยูใ่ นลําไส้ใหญ่หลายวัน จะทําให้กากอาหารแข็ง เกิดความลําบากในการขับถ่าย ซึ่ ง
เรี ยกว่า ท้องผูก
สาเหตุของอาการท้ องผูก
1. กินอาหารที่มีกากอาหารน้อย
2. กินอาหารรสจัด
3. การถ่ายอุจจาระไม่เป็ นเวลาหรื อกลั้นอุจจาระติดต่อกันหลายวัน
4. ดื่มนํ้าชา กาแฟ มากเกินไป
5. สู บบุหรี่ จดั เกินไป
6. เกิดความเครี ยด หรื อความกังวลมาก
โดยปกติ กากอาหารผ่านเข้าสู่ลาํ ไส้ใหญ่ประมาณวันละ 300-500 ลูกบาศก์เซนติเมตร ซึ่ งจะทํา
ให้เกิด อุจจาระประมาณวันละ 150 กรัม
การย่อยอาหารจะสิ้ นสุ ดลงบริ เวณรอยต่อระหว่างลําไส้เล็กกับลําไส้ใหญ่ เนื่องจาก
อาหารที่ลาํ ไส้เล็กย่อยแล้วจะเป็ นของเหลว หน้าที่ของลําไส้ใหญ่ครึ่ งแรกคือดูดซึ มของเหลว นํ้า
เกลือแร่ และนํ้าตาลกลูโคสที่ยงั เหลืออยูใ่ นกากอาหาร ส่ วนลําไส้ใหญ่ครึ่ งหลังจะเป็ นที่พกั กาก
อาหารซึ่งมีลกั ษณะกึ่งของแข็ง ลําไส้ใหญ่จะขับเมือกออกมาหล่อลื่นเพื่อให้อุจจาระเคลื่อนไป
ตามลําไส้ใหญ่ได้ง่ายขึ้น ถ้าลําไส้ใหญ่ดูดนํ้ามากเกินไป เนื่องจากกากอาหารตกค้างอยูใ่ นลําไส้
ใหญ่หลายวัน จะทําให้กากอาหารแข็งเกิดอาการท้องผูก

 

การขับถ่ ายของเสี ยทางปอด


เราได้ทราบจากเรื่ องระบบหายใจแล้วว่า ปอดคืออวัยวะที่ทาํ หน้าที่แลกเปลี่ยนก๊าซ นํ้า และก๊าซ
คาร์บอนไดออกไซด์ ซึ่งเป็ นสิ่ งที่ร่างกายไม่ตอ้ งการแล้วจะออกจากเซลล์แพร่ เข้าไปในเส้นเลือด
แล้วลําเลียงไปยังปอดเกิดการแพร่ ของนํ้าและก๊าซคาร์ บอนไดออกไซด์เข้าสู่ ถุงลมปอดแล้ว
เคลื่อนผ่านหลอดลมออกจาก ร่ างกายทางจมูก

 

การขับถ่ ายของเสี ยทางผิวหนัง


ผิวหนังของคนเราสามารถขับถ่ายของเสี ยออกจากร่ างกายทางรู ขมุ ขน ซึ่งสิ่ งที่ถูกขับออกมาคือ
เหงื่อ เหงื่อที่ถูกขับออกมาทางต่อมเหงื่อ เหงื่อประกอบด้วยนํ้าประมาณ 99 เปอร์เซ็นต์ สาร
อื่นๆ อีก 1 เปอร์เซ็นต์ เป็ นพวกเกลือโซเดียมคลอไรด์ สารอินทรี ยพ์ วกยูเรี ย และมี
นํ้าตาล แอมโมเนีย กรดแล็กติก และกรดอะมิโนอีกเล็กน้อย

 

การขับถ่ ายของเสี ยทางไต


ไต (Kidney) ทําหน้าที่กาํ จัดของเสี ยในรู ปของนํ้าปัสสาวะ มี 1 คู่ รู ปร่ างคล้ายเม็ดถัว่ ดํา อยูใ่ น
ช่องท้องสองข้างของกระดูกสันหลังระดับเอว ถ้าผ่าตามยาวจะพบว่าไตประกอบด้วยเนื้อเยือ่ 2
ชั้น คือ เปลือกไตชั้นนอกกับเปลือกไตชั้นใน มีขนาดยาวประมาณ 10 เซนติเมตร กว้างประมาณ
6 เซนติเมตร และหนา 3 เซนติเมตร บริ เวณตรงกลางของไตมีส่วนเว้าเป็ นกรวยไต มีท่อไต
ต่อไปยังกระเพาะปั สสาวะ ไตแต่ละข้างประกอบด้วยหน่วยไตนับล้านหน่วย เป็ นท่อที่ขดไปมา
โดยมีปลายท่อข้างหนึ่งตัน เรี ยกปลายท่อที่ตนั นี้วา่ “โบว์แมนส์แคปซูล(Bowman’s
Capsule)” ซึ่งมีลกั ษณะเป็ นแอ่งคล้ายถ้วย ภายในแอ่งจะมีกลุ่มหลอดเลือดฝอยพันกันเป็ น
กระจุก เรี ยกว่า “โกลเมอรู ลสั (Glomerulus)” ซึ่งทําหน้าที่กรองของเสี ยออกจากเลือดที่ไหลผ่าน
ไต

 

ที่บริ เวณของหน่วยไตมีการดูดซึมสารที่เป็ นประโยชน์ต่อร่ างกาย เช่น แร่ ธาตุ นํ้าตาลกลูโคส


กรดแอมิโน รวมทั้งนํ้ากลับคืนสู่ หลอดเลือดฝอยและเข้าสู่ หลอดเลือดดํา ส่ วนของเสี ยอื่นๆ ที่
เหลือก็คือ ปั สสาวะ จะถูกส่ งมาตามท่อไตเข้าสู่ กระเพาะปั สสาวะ ซึ่ งมีความจุประมาณ 500
ลูกบาศก์เซนติเมตร แต่กระเพาะปัสสาวะสามารถที่จะหดตัวขับปั สสาวะออกมาได้ เมื่อมี
ปัสสาวะมาขังอยูป่ ระมาณ 250 ลูกบาศก์เซนติเมตร ในแต่ละวันร่ างกายจะขับปั สสาวะออกมา
ประมาณ 1-1.5 ลิตร
เมื่อไตผิดปกติจะทําให้สารบางชนิดออกมาปนกับปัสสาวะ เช่น เม็ดเลือดแดง กรดแอมิโน
นํ้าตาลกลูโคส ปัจจุบนั แพทย์มีการใช้ไตเทียมหรื ออาจจะใช้การปลูกถ่ายไตให้กบั ผูป้ ่ วยที่ไตไม่
สามารถทํางานปกติได้

 

ประโยชน์ ของการขับถ่ ายของเสี ยต่ อสุ ขภาพ


การขับถ่ายเป็ นระบบกําจัดของเสี ยร่ างกายและช่วยควบคุมปริ มาณของนํ้าในร่ างกายให้สมบูรณ์
ประกอบด้วย ไต ตับและลําไส้ เป็ นต้น
การปฏิบตั ิตนในการขับถ่ายของเสี ยให้เป็ นปกติหรื อกิจวัตรประจําวันเป็ นสิ่ งจําเป็ นอย่างยิง่ ต่อ
สุ ขภาพอนามัยของมนุษย์ เราไม่ควรให้ร่างกายเกิดอาการท้องผูกเป็ นเวลานานเพราะจะทําให้
เกิดเป็ นโรคริ ดสี ดวงทวารหนักได้
การปัสสาวะ ถือเป็ นการขับถ่ายของเสี ยประการหนึ่งที่ร่างกายเราขับเอานํ้าเสี ยในร่ างกายออกมา
หากไม่ขบั ถ่ายออกมา
หรื อกลั้นปัสสาวะไว้นานๆ จะทําให้เกิดเป็ นโรคนิ่วในไตหรื อทําให้กระเพาะปั สสาวะอักเสบ
และไตอักเสบได้
การดื่มนํ้า การรับประทานผักผลไม้ทุกวัน จะช่วยให้ร่างกายขับถ่ายได้สะดวกขึ้นการดื่มนํ้าและ
รับประมานอาหารที่ ถูกสุ ขลักษณะ ตลอดจนการรับประทานอาหารที่มีเส้นใยอาหารเป็ นประจํา
จะทําให้ร่างกายขับถ่ายของเสี ยอย่างปกติ

การปฏิบัตติ นเพือ่ ดูแลรักษาอวัยวะในระบบขับถ่ าย

1. ดื่มนํ้าสะอาดวันละมาก ๆ รับประทานอาหารที่สุกใหม่ ๆ
2. ไม่กลั้นอุจจาระและปัสสาวะเป็ นเวลานาน ๆ
3. ควรอาบนํ้าชําระร่ างกายทุกวัน
4. ออกกําลังกายอย่างเหมาะสม
5. ถ้ามีอาการผิดปกติตอ้ งรี บปรึ กษาแพทย์

 

การย่ อยอาหารของสั ตว์ บางชนิด


สั ตว์ แต่ ละชนิดมีการนําสารอาหารเข้ าสู่ ร่างกายและย่ อยอาหารอย่ างไร
การย่ อยอาหารของสั ตว์ บางชนิด
สัตว์บางชนิด เช่น ฟองนํ้าไม่ มีระบบทางเดินอาหาร แต่จะมีเซลล์พิเศษทําหน้าที่จบั
อาหารเข้าสู่เซลล์แล้วทําการย่อยภายในเซลล์สตั ว์บางชนิดมีระบบทางเดินอาหารไม่
สมบูรณ์ เนื่องจากมีช่องเปิ ดทางเดียว เช่น ไฮดรา พลานาเรี ย
สัตว์บางชนิดเช่น ไส้เดือนดิน แมลงและสัตว์มีกระดูกสันหลังมีระบบทางเดินอาหาร
สมบูรณ์ คือมีปากและทวารหนัก ระบบทางเดินอาหารของสัตว์เหล่านี้จะมีโครงสร้าง
รายละเอียดบางอย่างแตกต่างกัน ทั้งนี้ข้ ึนอยูก่ บั ชนิดของอาหารและพฤติกรรมการกิน

1. การย่ อยอาหารของสั ตว์ บางชนิดทีไ่ ม่ มีกระดูกสั นหลัง


1.1 การย่ อยอาหารของสัตว์ บางชนิดทีไ่ ม่ มีทางเดินอาหาร
ฟองนํา้ (Sponge) เป็ นสัตว์ในไฟลัมพอริเฟอรา ไม่มีปากและทวารหนักที่แท้จริ ง ทางเดิน
อาหารเป็ นแบบร่ างแห (Channel network) ซึ่งไม่ใช่ทางเดินอาหารที่แท้จริ ง เป็ นเพียงรู เปิ ด
เล็กๆ ข้างลําตัว เรี ยกว่า ออสเทีย (Ostia) ทําหน้าที่เป็ นทางนํ้าไหลเข้าสู่ ลาํ ตัวฟองนํ้าเป็ นการ
นําอาหารเข้าสู่ ลาํ ตัว ส่ วนรู เปิ ดด้านบนลําตัว เรี ยกว่า ออสคิวลัม(Osculum) ทําหน้าที่เป็ นทาง
นํ้าออก ผนังด้านในมีเซลล์พิเศษ เรี ยกว่า เซลล์ โคแอนโนไซต์ (Choanocyte) โบกพัดเซลล์อยู่
ตลอดเวลา ทําให้เกิดการไหลเวียนของอาหาร ตัวเซลล์โคแอนโนไซต์นาํ อาหารเข้าสู่ เซลล์
โดยฟาโกไซโทซีส(Phagocytosis)เกิดเป็ นฟูดแวคิวโอลและมีการย่อยอาหารภายในฟูดแวคิวโอ
ลนอกจากนี้ยงั พบเซลล์ บริ เวณใกล้กบั เซลล์โคแอโนไซต์มีลกั ษณะคล้ายอะมีบา เรี ยกว่า อะมี
โบไซต์ (Amoebocyte) สามารถนําสารอินทรี ยข์ นาดเล็กเข้าสู่ เซลล์และย่อยอาหารภายในเซลล์
แล้วส่ งอาหารที่ยอ่ ยแล้วไปยังเซลล์อื่นได้

 

แสดงโครงสร้างภายในของฟองนํ้า เซลล์โคแอโนไซด์ในการจับ
อาหารแบบฟาโกไซโทซีสย่อย แล้วส่ งอาหารต่ออะมีโบไซต์
ที่มา : www.mun.ca/biology/scarr/Porifera.htm

แสดงออสเทีย ( Ostia ) ทําหน้าที่เป็ นทางนํ้าไหลเข้าสู่ลาํ ตัวฟองนํ้า


ส่ วนรู เปิ ดด้านบนลําตัวเรี ยกว่าออสคิวลัม (Osculum) ทําหน้าที่เป็ นทางนํ้าออก

1.2 การย่ อยอาหารของสั ตว์ บางชนิดทีม่ ีทางเดินอาหารไม่ สมบูรณ์


(Incomplete digestive tract)
เป็ นทางเดินอาหารที่มีทางเปิ ดทางเดียว คือ มีปากแต่ ไม่ มีทวารหนัก ปากทําหน้าที่เป็ นทางเข้า
ของอาหารและทางออกของกากอาหาร ระบบทางเดินอาหารยังไม่พฒั นามากนัก
ไฮดรา เป็ นสัตว์ในไฟลัมไนดาเรีย มีทางเดินอาหารเป็ นแบบปากถุง (One hole sac) ไฮดราใช้
อวัยวะคล้ายหนวด เรี ยกว่าหนวดจับ (Tentacle) ซึ่ งมีอยูร่ อบปาก อาหารของไฮดราคือ ตัว
อ่อนของกุง้ ปู และไรนํ้าเล็กๆ และใช้เซลล์ที่มีเนมาโทซิสต์ (Nematocyst) หรื อเข็มพิษที่อยู่
ที่ปลายหนวดจับในการล่าเหยือ่ ต่อจากนั้นจึงส่ งเหยือ่ เข้าปาก ทางเดินอาหารของไฮดราอยู่
กลางลําตัวเป็ นท่อกลวงเรี ยกว่า ช่ องแกสโตรวาสคิวลาร์ (Gastrovascular cavity) ซึ่ งบุดว้ ย
10 
 

เซลล์ทรงสูง เรี ยกว่าชั้นแกสโตรโดรมิส (Gastrodermis) เป็ นเยือ่ ชั้นในบุช่องว่างของลําตัวซึ่ ง


ประกอบด้วย
1. นิวทริ ทิพ เซลล์ (Nutritive cell) บางเซลล์มีแซ่ 2 เส้น เรี ยกว่า แฟลเจลเลตเซลล์ (Flagellate
cell) บางเซลล์คล้ายอะมีบา เรี ยกว่าอะมีบอยด์เซลล์ (Amoebiol cell) ทําหน้าที่ยนื่ เท้าเทียม
ออกมาล้อมจับอาหาร ส่ วนแฟลเจลเลตเซลล์ มีหน้าที่โบกพัดให้เกิดการหมุนเวียนของนํ้า
ภายในช่องแกสโทรวาสคิวลาร์ และโบกพัดให้กากอาหารเคลื่อนที่ออกทางปากต่อไป
2. เซลล์ต่อมหรื อเซลล์ยอ่ ยอาหาร (Gland cell or digestive cell) เป็ นเซลล์ที่สร้างนํ้าย่อยและ
ปล่อยออกมา ซึ่ งการย่อยอาหารโดยเซลล์ต่อม จัดเป็ นการย่อยอาหารแบบนอกเซลล์ ส่ วนการ
ย่อยโดยอะมีบอยด์เซลล์จดั เป็ นการย่ อยอาหารแบบภายในเซลล์

แสดงช่องว่างกลางลําตัวของไฮดรา(Gastrovascular cavity) เซลล์จบั อาหารกิน


(Nematosis )และเซลล์พิเศษที่สร้างนํ้าย่อยของไฮดรา
ที่มา : www.baanlast.th.gs/web-b/aanlastle.htm
11 
 

หนอนตัวแบน เป็ นสัตว์ที่อยูใ่ นไฟลัมแพลทีเฮลมินทิส (Platyhelminthes) ได้แก่


พลานาเรี ย พยาธิ ใบไม้ และพยาธิ ตวั ตืด
1. พลานาเรีย ทางเดินอาหารของพลานาเรี ยเป็ นแบบ 3 แฉก แต่ละแฉกจะมีแขนงของ
ทางเดินอาหารแตกแขนงย่อยออกไปอีกเรี ยกว่า ไดเวอร์ ทคิ วิ ลัม (Diverticulum) ปากอยูบ่ ริ เวณ
กลางลําตัว ต่อจากปากเป็ นคอหอย (Pharynx) มีลกั ษณะคล้ายงวงยาวหรื อโพเบอ
ซิ ส (Probosis) มีกล้ามเนื้อแข็งแรง มีหน้าที่จบั อาหารเข้าสู่ ปาก กากอาหารที่เหลือจากการย่อย
และดูดซึ มแล้วจะถูกขับออกทางช่องปากเช่นเดิม การย่อยอาหารของพลานาเรี ยเป็ นการย่ อย
ภายนอกเซลล์ นอกจากนี้เซลล์บุผนังช่องทางเดินอาหารยังสามารถฟาโกไซโทซิ สจับอาหาร
เข้ามาย่ อยภายในเซลล์ ได้ดว้ ย

ภาพซ้ายแสดงคอหอยที่ใช้จบั อาหารและปาก และภาพขวาแสดงทางเดินอาหารของพลานาเรี ย


ที่มา : รู ปซ้าย www. johnson.emcs.net รู ปขวา www.geocities.com
12 
 

2. พยาธิใบไม้ มีทางเดินอาหารคล้ ายพลานาเรีย แต่ ทางเดินอาหารส่ วนลําไส้ ไม่ แตก


กิง่ ก้ านสาขา มีลกั ษณะคล้ ายอักษรรู ปตัววาย (Y–shape) ทางเดินอาหารของพยาธิ ใบไม้
ประกอบด้วยปากปุ่ มดูด (Oral sucker) ที่มีปากดูดกินอาหารจากโฮสต์ ต่อจากปากเป็ นคอหอย
(Pharynx) ต่อจากคอหอยเป็ นหลอดอาหารสั้น ๆซึ่ งจะต่อกับลําไส้ (Intestine)

แสดงทางเดินอาหารของพยาธิใบไม้และอวัยวะภายในบางชนิด
ที่มา : geocities.com

3. พยาธิตวั ตืด ไม่ มีระบบทางเดินอาหาร เพราะอาหารที่ได้รับเข้าสู่ ร่างกายส่ วนใหญ่


ถูกแปรสภาพเรี ยบร้อยแล้วโดยผูถ้ ูกอาศัย ใช้กระบวนการแพร่ ของสารอาหารที่ยอ่ ยแล้วเข้าสู่
ร่ างกาย

ลักษณะของพยาธิตวั ตืด
ที่มา : www.kateteneyck.com
13 
 

ภาพตัวโตเต็มวัยของพยาธิตวั ตืดที่เน้นให้เห็นส่ วนหัว โดยเฉพาะส่ วนที่ใช้เกาะดูด (Sucker)


ที่มา : www.thailabonline.com/bacteria/tenia1.jpg

1.3 การย่ อยอาหารของสั ตว์ บางชนิดทีม่ ีทางเดินอาหารสมบูรณ์


(Complete digestive tract)
หนอนตัวกลม เป็ นสัตว์ที่อยูใ่ นไฟลัมเนมาโทดา (Nematoda) มีทางเดินอาหารเป็ นแบบช่ องเปิ ด
2 ทาง หรือท่ อกลวง (Two hole tube) มีคอหอยเป็ นกล้ามเนื้อหนาช่วยในการดูดอาหาร มี
ลําไส้ยาวตลอดลําตัว อาหารที่หนอนตัวกลมกินเข้าไปจะถูกย่อยและดูดซึมโดยลําไส้
ทางเดิน
อาหารของหนอน
ตัวกลมเรียง
ตามลําดับต่ อไปนี้
14 
 

แสดงทางเดินอาหารของหนอนตัวกลม มีปากและทาวารหนัก
ที่มา : www.uic.edu/classes/bios/bios100/labs/animaldiversity.htm

ไส้ เดือนดิน เป็ นสัตว์ที่อยูใ่ นไฟลัมแอนนิลดิ า มีระบบทางเดินอาหารเป็ นแบบช่ องเปิ ด 2


ทาง (Two hole tube)ทางเดินอาหารของไส้เดือนดินประกอบด้วยปาก ซึ่ งเป็ นรู เปิ ดทาง
ด้านหน้าของปล้องที่หนึ่ ง ต่อจากปากก็จะเป็ นช่องปาก (Buccal cavity) คอหอยมีกล้ามเนื้อหนา
ช่วยในการฮุบกิน มีกระเพาะพักอาหารและมีก๋ ึนช่วยในการบดอาหาร ลําไส้สร้างนํ้าย่อยปล่อย
ออกมาย่อยอาหาร สารอาหารจะถูกดูดซึ มเข้าสู่ ระบบเลือด เพื่อลําเลียงไปยังส่ วนต่าง ๆ ของ
ร่ างกายส่ วนสารที่ยอ่ ยไม่ได้กจ็ ะถูกขับออกทางช่องทวารหนักที่อยูท่ างส่ วนท้ายของลําตัวเป็ น
กากอาหาร
ทางเดินอาหารของไส้ เดือนดินเรียงตามลําดับต่ อไปนี้
15 
 

ภาพที่ 2.8 แสดงส่ วนประกอบของทางเดินอาหารของไส้เดือนดิน


ที่มา : www.anatomy.th

กุ้ง เป็ นสัตว์ขาปล้องจัดอยูใ่ นไฟลัมอาร์ โทโพดา ทางเดินอาหารเป็ นแบบช่ องเปิ ด 2 ทาง


(Two hole tube) แบ่งเป็ น 3 ตอน คือ
1. ทางเดินอาหารตอนหน้า(Stomodaeum) ใช้ปากซึ่ งมีรยางค์รอบปาก 3 คู่ ช่วยในการกินเคี้ยว
อาหารและมีต่อมนํ้าลาย (Salivary gland) ทําหน้าที่สร้างนํ้าย่อย มีหลอดอาหาร กระเพาะอาหาร
ซึ่งกระเพาะอาหารของกุง้ ทําหน้าที่ 2 อย่าง คือ เป็ นที่พกั และบดอาหาร
2. ทางเดินอาหารตอนกลาง(Mesenteron) เป็ นส่ วนที่อยูถ่ ดั จากกระเพาะอาหาร และมีช่องรับ
นํ้าย่อย ทางเดินอาหารส่ วนนี้จึงทําหน้าที่ในการย่อยอาหาร
3. ทางเดินอาหารตอนปลาย(Protodaeum) เป็ นส่ วนที่เรี ยกว่าลําไส้ เป็ นท่อเล็ก ๆ พาดไปทาง
ด้านหลังของลําตัว และไปเปิ ดออกที่ส่วนท้ายของส่ วนท้องเรี ยกว่า ทวารหนัก

ทางเดินอาหารของกุ้งเรียงตามลําดับดังนี้
16 
 

แสดงทางเดินอาหารของกุง้
ที่มา : www.infovisual.info/02/img_en/025%20Internal%...

แมลง เป็ นสัตว์ในกลุ่มขาปล้องจัดอยูใ่ นไฟลัมอาร์ โทโพดา ทางเดินอาหารเป็ นแบบช่ อง


เปิ ด 2 ทาง (Two hole tube) ปากของแมลงมีการเปลี่ยนแปลงและแตกต่างออกไป ให้มีความ
เหมาะสมกับสภาพของอาหารที่แมลงแต่ละชนิดกิน แต่แมลงมีลกั ษณะพื้นฐานของทางเดิน
อาหารที่เหมือนกัน คือ ปาก คอหอย หลอดอาหาร กระเพาะพักอาหารขนาดใหญ่ อยูบ่ ริ เวณ
ทรวงอก และกระเพาะบดอาหาร(Gizzard) ช่วยในการกรองและบดอาหาร มีต่อมสร้างนํ้าย่อย
(Digestive gland) มีลกั ษณะคล้ายนิ้วมือ 8 อัน ยืน่ ออกมาจากทางเดินอาหารระหว่างกึ๋นและ
กระเพาะอาหาร

ทางเดินอาหารของแมลงเรียงตามลําดับได้ ดงั นี้


17 
 

แสดงทางเดินอาหารของตัก๊ แตน
ที่มา : kentsimmons.uwinnipeg

หอยกาบ เป็ นสัตว์ที่อยูใ่ นไฟลัมมอลลัสกา มีทางเดินอาหารเป็ นแบบช่ องเปิ ด 2


ทาง (Two hole tube) หอยกาบมีทางเดินอาหารแบ่งออกเป็ นส่ วน ๆ คือ ปาก หลอดอาหาร
กระเพาะอาหาร ลําไส้เล็ก ไส้ตรงและทวารหนัก การกินอาหารของหอยกาบ จะใช้เล
เบียลพัลพ์ (Labial palp) ข้างละ 1 คู่ ของปาก ช่วยพัดโบกให้อาหารตกลงไปในปาก

ทางเดินอาหารของหอยกาบเรียงตามลําดับต่ อไปนี้
18 
 

แสดงทางเดินอาหารของหอย
ที่มา : www.cnsweb.org/digestvertebrates

2. การย่ อยอาหารของสั ตว์ บางชนิดทีม่ ีกระดูกสั นหลัง


2.1 การย่ อยอาหารของปลา ปลาเป็ นสัตว์มีกระดูกสันหลัง จัดอยูใ่ นไฟลัมคอร์ ดาตา
(Chordata) ปลามีท้ งั ปลาปากกลมซึ่ งเป็ นปลาที่ไม่มีขากรรไกรขอบของปากและลิ้นมีฟันใช้
ขูดเนื้อและดูดกินเลือดสัตว์อื่น ปลาฉลามมีปากอยูท่ างด้านล่างและมีฟันจํานวนมาก ฉลามมี
ลําไส้ส้ นั และภายในมีลิ้นซึ่งมีลกั ษณะเหมือนบันไดเวียน (Spiral valve) ช่วยในการถ่วงเวลา
ไม่ให้อาหารเคลื่อนตัวไปเร็ ว และพวกปลากระดูกแข็งมีปากซึ่ งภายในมีฟันรู ปกรวย มีลิ้น
ขนาดเล็กยืน่ ออกมาจากปากทําหน้าที่รับสัมผัส พวกปลากินเนือ้ เช่น ปลาช่อน ปลานํ้าดอกไม้
ปลาพวกนี้จะมีลาํ ไส้ ส้ั น ส่ วนปลากินพืช เช่น ปลาทู ปลาสลิด จะมีลาํ ไส้ ยาว

ทางเดินอาหารของปลาเรียงตามลําดับต่ อไปนี้
19 
 

ปาก → คอหอย → หลอดอาหาร → กระเพาะอาหาร → ลําไส้ → ทวารหนัก

ภาพแสดงทางเดินอาหารของปลา
ที่มา : สถาบันส่ งเสริ มการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. 2544. ชีววิทยาเล่ม. บทที่ 5 หน้า 32

แสดงลิ้นซึ่งมีลกั ษณะเหมือนบันไดเวียน (Spiral valve) ของปลาฉลาม


ที่มา : library.think.org
2.2 การย่ อยอาหารของสั ตว์ บางชนิดปี ก ได้แก่ นก เป็ ด ไก่ ซึ่ งเป็ นสัตว์มีกระดูกสัน
หลังจัดอยูใ่ นไฟลัมคอร์ ดาตา(Chordata) ทางเดินอาหารประกอบด้วยปากซึ่ งไม่มีฟัน ต่อม
นํ้าลายเจริ ญไม่ดี แต่สร้างเมือกสําหรับคลุกเคล้าอาหารและหล่อลื่นได้ มีคอหอยสั้น หลอด
อาหารยาว มีถุงพักอาหาร(Crop) ซึ่ งทําหน้าที่เก็บอาหารสํารองไว้ยอ่ ยภายหลัง กระเพาะ
อาหารแบ่งออกเป็ น 2 ส่ วน คือ กระเพาะตอนหน้าหรื อกระเพาะย่อย (Proventriculus) ทํา
หน้าที่สร้างนํ้าย่อย และกระเพาะอาหารตอนท้ายหรื อกระเพาะบด (Gizzard) ต่อจากกระเพาะ
บดเป็ นลําไส้เล็ก ลําไส้ใหญ่ ส่ วนท้ายเป็ นโคลเอกา (Cloaca) ที่มีท่อไตและท่อของระบบ
สื บพันธุ์มาเปิ ดเข้าด้วยกัน และทวารหนักซึ่ งเป็ นส่ วนท้ายสุ ด

ทางเดินอาหารของสั ตว์ ปีกเรียงตามลําดับต่ อไปนี้


20 
 

แสดงทางเดินอาหารของนก
ที่มา : www.kidwings.comแสดงทางเดินอาหารของไก่
ที่มา : www.dpi.qld.gov.au/images/AnimalIndustries_Po...
2.3 การย่ อยอาหารของสัตว์ บางชนิดกินพืช ได้แก่ วัว ควาย จะมีโครงสร้างของ
ทางเดินอาหารแตกต่างจากคนและสัตว์กินเนื้ออื่นๆ อยู่ 2 ประการ คือ
1. การมีทางเดินอาหารทีย่ าวมากๆ ยาวถึง 40 เมตร ทําให้ระยะเวลาในการย่อยและการ
ดูดซึมสารอาหารนานยิง่ ขึ้น กระเพาะอาหารของวัวและควายแบ่งออกเป็ น 4 ส่ วน มีชื่อและ
ลักษณะเฉพาะ ได้แก่
1.1 กระเพาะผ้าขี้ริ้วหรื อรู เมน (Rumen) เป็ นกระเพาะอาหารที่มีจุลินทรี ย ์ พวก
แบคทีเรี ยและ โพรโทซัวจํานวนมาก จุลินทรี ยพ์ วกนี้สร้างนํ้าย่อยเซลลูเลส ย่อยสลาย
เซลลูโลสจากพืชที่กินเข้าไปและสามารถสํารอกอาหารออกมาเคี้ยวเอื้องเป็ นครั้งคราวเพื่อบด
เส้นใยให้ละเอียดจึงเรี ยกสัตว์พวกนี้วา่ สัตว์เคี้ยวเอื้อง
1.2 กระเพาะรังผึ้งหรื อเรติคิวลัม (Reticulum) ทําหน้าที่ยอ่ ยนม เมื่อโค กระบือยัง
21 
 

เล็กอยู่ และมีจุลินทรี ยเ์ ช่นเดียวกับกระเพาะอาหารส่ วนรู เมน


1.3 กระเพาะสามสิ บกลีบหรื อโอมาซัม (Omasum) ทําหน้าที่ผสมและบดอาหาร
นอกจากนี้ยงั ดูดซึมและซับนํ้าจากรู เมนอีกด้วย
1.4 กระเพาะจริ งหรื ออะโบมาซัม (Abomasum) มีการย่อยอาหารและจุลินทรี ยไ์ ป
พร้อมๆกัน แล้วจึงส่ งต่อไปยังลําไส้เล็กเพื่อย่อยให้สมบูรณ์
เมื่ออาหารผ่านเข้าสู่ลาํ ไส้เล็กตอนต้น จะมีการย่อยโปรตีน ไขมันและแป้ งจากนํ้าย่อย
จากตับอ่อนและนํ้าดีจากตับ จากนั้นก็ดูดซึ มเข้าสู่ ระบบหมุนเวียนต่อไป

แสดงทางเดินอาหารของวัว
ที่มา : www.nicksnowden.net/images/cow_cutaway_rumina

แสดงกระเพาะอาหารของวัวซึ่งแบ่งได้เป็ น 4 ส่ วน Rumen ,Reticulum , Omasum และ Abomasum


ที่มา :www.sheep101.info/Images/rumen.gif
22 
 

ในปัจจุบนั มีการนําเอาแบคทีเรี ยและโพรโทซัวมาผสมในอาหารที่ใช้เลี้ยงสัตว์ เพื่อเพิ่ม


ประสิ ทธิภาพในการย่อยและการดูดซึมอาหารของสัตว์
2. การมีไส้ ตงิ่ ใหญ่ ไส้ติ่งของสัตว์กินพืชจะมีขนาดใหญ่ และเป็ นบริ เวณที่มีการย่อยอาหารโดย
จุลินทรี ยด์ ว้ ย สําหรับไส้ติ่งของสัตว์กินเนื้อจะมีขนาดเล็กและไม่มีหน้าที่เกี่ยวกับการย่อย
อาหาร

แผนภาพแสดงการเคลื่อนที่ของอาหารผ่านทางเดินอาหาร และการเคี้ยวเอื้องในสัตว์เคี้ยวเอื้อง

...............................................................................

You might also like