Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 54

การแข่งขันฟิสิกส์โอลิมปิกระดับชาติ ครั้งที่ 16 ข้อสอบภาคทฤษฎี ข้อ 1

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เวลาสอบรวม 4 ชั่วโมง


วันที่ 9 มิถุนายน 2560 หน้า 1/4

ข้อที่ 1 (มี 3 ข้อย่อย) [10 คะแนน]

1.1 ดาวเคราะห์ชนก้อนหิน [2 คะแนน]


ผู้สังเกตในกรอบอ้างอิงเฉื่อยหนึ่ง พบว่าก้อนหินมวล m ลอยนิ่งในอวกาศ ต่อมามีดาวเคราะห์รัศมี R
วิ่งเข้ามาชนตรง ๆ จากระยะไกล ด้วยอัตราเร็ว u ถ้าความเร่งโน้มถ่วงที่พื้นผิวดาวเคราะห์มีขนาดเท่ากับ g แล้ว
ผู้สังเกตจะพบว่าก้อนหินมีอัตราเร็วเท่าใดขณะที่ชนกับพื้นผิวดาวเคราะห์ (ให้สมมุติว่าดาวเคราะห์ดังกล่าวไม่มี
ชั้นบรรยากาศ และมวลของก้อนหินน้อยกว่าดาวเคราะห์มาก ๆ)

1.2 เครื่องจักรความร้อน [5 คะแนน]


p
A B

C
V

เครื่องจักรความร้อนประหลาดเครื่องหนึ่ง ทางานตามแผนภาพความดัน-ปริมาตร ( PV Diagram) ดัง


แสดงในรูปข้างบน เครื่องจักรดังกล่าวทางานด้วยแก๊สอุดมคติแบบอะตอมเดี่ยว

1.2.1 (1.2 คะแนน) ช่วง AB, BC และ CA มีความร้อนเข้าหรือออกจากระบบ อธิบายเหตุผลประกอบด้วย


การแข่งขันฟิสิกส์โอลิมปิกระดับชาติ ครั้งที่ 16 ข้อสอบภาคทฤษฎี ข้อ 1
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เวลาสอบรวม 4 ชั่วโมง
วันที่ 9 มิถุนายน 2560 หน้า 2/4

ถ้ากาหนดให้ (ข้อมูลสาหรับข้อ 1.2.2 ถึง 1.2.4)

 ที่จุด A เครื่องจักรมีความดัน 10 atm ปริมาตร 0.4 ลิตร และอุณหภูมิ 400 K

 อัตราส่วนระหว่างปริมาตรสูงสุดต่อปริมาตรต่าสุด คือ 5:1


 อุณหภูมติ ่าสุดของเครื่องจักรคือ 300 K

1.2.2 (0.5 คะแนน) จงหาความดันต่าสุดของเครื่องจักร


1.2.3 (1.8 คะแนน) จงหาประสิทธิภาพของเครื่องจักร
1.2.4 (1.5 คะแนน) กาหนดให้จุด A และ C คงที่ พบว่าถ้าเลื่อนจุด B ในแผนภาพความดัน-ปริมาตร ไป
ทางซ้ายหรือขวา โดยที่ความดันของจุด B ยังคงเท่าเดิม และปริมาตรของจุด B ยังคงมากกว่าจุด A
แล้วประสิทธิภาพของเครื่องจักรจะเปลี่ยนไป จงหาประสิทธิภาพสูงสุดของเครื่องจักร

1.3 การมองเห็นภาพ [3 คะแนน]


ในความสว่างปกติ รูม่านตาของมนุษย์มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 2.0 mm และระยะห่างระหว่างรูม่าน
ตาถึงฉากรับภาพ (เรตินา) คือ 24 mm ดังแสดงในรูป
การแข่งขันฟิสิกส์โอลิมปิกระดับชาติ ครั้งที่ 16 ข้อสอบภาคทฤษฎี ข้อ 1
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เวลาสอบรวม 4 ชั่วโมง
วันที่ 9 มิถุนายน 2560 หน้า 3/4

ในการมองจุดสองจุดที่อยู่ติดกัน ถ้าเรามองในระยะใกล้พอ จะเห็นเป็นภาพจุดสองจุดแยกจากกันชัดเจน


หากมองในระยะไกลออกไป ภาพที่เห็นจะไม่ใช่จุดสองจุดที่แยกกันได้ชัดเจน แต่เห็นเป็นจุดเดียว

1.3.1 (1.0 คะแนน) จงหาขนาดเชิงมุม ที่เล็กที่สุดที่ตามนุษย์สามารถแยกจุดสองจุดออกจากกันได้ (angular


resolution) ที่เกิดจากขีดจากัดการเลี้ยวเบนของแสง กาหนดให้ ความยาวคลื่นของแสงที่ใช้คือ
550 nm และระยะห่างระหว่างวัตถุกับตา มีขนาดมากกว่าขนาดของรูม่านตามาก ๆ

มนุษย์สามารถมองเห็นภาพได้เพราะแสงทีเ่ ข้าตาไปตกลงบน เซลรับแสง (cone cells) จานวนมากที่อยู่


บนเรตินา ถ้าระยะระหว่างกึ่งกลางของเซลรับแสงสองอันที่อยู่ติดกันคือ 1.0 m และถ้าไม่คานึงถึงการ
เลี้ยวเบนของแสง เราสามารถแยกจุดสองจุดออกจากกันได้ หากภาพจากแต่ละจุดนั้นตกลงบนเซลรับแสงต่างอัน
กัน
1.3.2 (1.0 คะแนน) จงหาค่า angular resolution ในกรณีนี้ (หาขนาดเชิงมุมทีเ่ ล็กที่สุด ทีภ่ าพจากแต่ละจุด
ตกลงบนเซลรับแสงแต่ละอันที่อยู่ติดกัน)

ในการแสดงผลบนจอภาพแบบดิจิทัล เช่น หน้าจอคอมพิวเตอร์ สามารถทาได้โดยการแสดงบนพิกเซล


สี่เหลี่ยมจัตุรัสที่เรียงต่อกันจานวนมากบนหน้าจอ แม้ว่าพิกเซลแต่ละอันจะแสดงผลได้แค่สีเดียว แต่ภาพรวม
ทั้งหมดก็ดูต่อเนื่องคมชัดได้ถ้าตาของผู้สังเกตอยู่ห่างจากจอภาพในระยะที่เหมาะสม นั่นคือผู้สังเกตไม่สามารถ
แยก (resolve) พิกเซลสองอันที่อยู่ติดกันได้อย่างชัดเจน (ดูตัวอย่างในรูปด้านล่างซ้าย)

รูปสาหรับข้อ 1.3.4: รูปซ้าย แสดงถึงภาพแบบต่อเนื่องคมชัด ที่ตาเราไม่สามารถแยกพิกเซลได้


รูปขวา เมื่อเรามองภาพในระยะใกล้ เราจะสามารถแยก (resolve) แต่ละพิกเซลออกจากกันได้
การแข่งขันฟิสิกส์โอลิมปิกระดับชาติ ครั้งที่ 16 ข้อสอบภาคทฤษฎี ข้อ 1
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เวลาสอบรวม 4 ชั่วโมง
วันที่ 9 มิถุนายน 2560 หน้า 4/4

1.3.3 (0.6 คะแนน) ถ้าหน้าจอคอมพิวเตอร์รุ่นหนึ่ง ถูกออกแบบมาเพื่อใช้ห่างจากลูกตาเป็นระยะ 30 cm


ระยะระหว่างกึ่งกลางของพิกเซลสองอันที่อยู่ติดกันควรมีค่าเป็นอย่างไร ที่ทาให้ตาไม่สามารถ resolve
ได้ เมื่อพิจารณาเฉพาะเงื่อนไขของแต่ละข้อ ดังนี้
(ก) พิจารณาเฉพาะขีดจากัดการเลี้ยวเบนของแสง เท่านั้น (แบบข้อ 1.3.1)
(ข) พิจารณาเฉพาะขนาดของเซลรับแสง เท่านั้น (แบบข้อ 1.3.2)

1.3.4 (0.4 คะแนน) ถ้าพิจารณาทั้งสองเงื่อนไขในข้อ 1.3.3 แล้วยังต้องการมองเห็นภาพบนหน้าจอเป็นแบบ


คมชัดต่อเนื่องได้ ระยะระหว่างกึ่งกลางของพิกเซลสองอันที่อยู่ติดกันควรมีค่าอยู่ในช่วงใด

************************* จบข้อ 1 *************************


การแข่งขันฟิสิกส์โอลิมปิกระดับชาติ ครั้งที่ 16 Solution ข้อ 1
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 8 – 12 มิ.ย. 60 หน้า 1/5

Solution ข้อ 1
ข้อ 1.1 (2.0 คะแนน)
หากนักเรียนไม่ระบุกรอบอ้างอิงในการคานวณมาอย่างชัดเจนแล้วให้ถือว่าปริมาณทั้งหมดที่คานวณได้วัดเทียบ
กับกรอบอ้างอิงเดียวกันกับโจทย์
วิธีที่ 1 คำนวณในกรอบอ้ำงอิงของดำวเครำะห์
ใช้กฎอนุรักษ์พลังงานและประมาณมวลของก้อนหินน้อยกว่าดาวเคราะห์มากๆ m M

1 1 GMm 1
mu 2 mv 2 mv 2 mgR
2 2 R 2

แก้สมการ ได้ v u2 2gR

แปลงกลับมายังกรอบอ้างอิงเดิมจะได้ v' u u2 2gR

วิธีที่ 2 ในกรอบอ้ำงอิงเฉื่อยที่ผู้สังเกตอยู่
ใช้กฎอนุรักษ์โมเมนตัมและพลังงาน
1 1 1 GMm
Mu 2 mv 2 Mw 2 ( w คืออัตราเร็วดาวเคราะห์ตอนหลัง)
2 2 2 R

Mu Mw mv
m
w u v
M

1 1 2 1 m
Mu 2 mv M u2 2 uv mgR  v2 2uv 2gR 0
2 2 2 M

แก้สมการ ได้ v u u 2 2gR


เนื่องจากก้อนหินถูกดึงเข้าหาดาวเคราะห์จึงมีทิศตรงข้ามกับ u ดังนั้น

v u u2 2gR

ข้อสังเกต เราไม่สามารถคานวณโดยให้พลังงานของดาวเคราะห์คงที่ด้วยสมการ
1 1 1 GMm
Mu 2 mv 2 Mu 2 ซึ่งจะได้ v 2gR (ถ้าทาแบบนี้ ได้ 0 คะแนน)
2 2 2 R

แต่ในกรอบของดาวเคราะห์กลับคิดเสมือนว่าพลังงานของดาวเคราะห์คงที่ได้
การแข่งขันฟิสิกส์โอลิมปิกระดับชาติ ครั้งที่ 16 Solution ข้อ 1
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 8 – 12 มิ.ย. 60 หน้า 2/5

ข้อ 1.2.1 (1.2 คะแนน)


ช่วง AB
วิธีที่ 1 วิธีที่ 2
W เป็นบวกเพราะ pdV บวก เพราะ p บวก dV บวก Q ncP T ncP TB TA 0
dU เป็นบวกเพราะ pV เพิ่มทาให้ T เพิ่ม เพราะ p คงตัวแต่ V เพิ่ม ทาให้ T เพิ่มตาม
(หรือ dU เป็นบวกเพราะ pV
1 1
p2V2
3 3 T1 T2
dU d pV pdV 0 ทาให้ T เพิ่ม)
2 2 Q เป็นบวกแสดงว่า ความร้อนไหลเข้า
dQ dU ดังนั้น dQ จึงเป็นบวก
dW
dQ เป็นบวกแสดงว่า ควำมร้อนไหลเข้ำ

ช่วง BC
W เป็นลบเพราะ pdV ลบ เพราะ p บวก dV ลบ
dU เป็นลบเพราะ pV ลดทาให้ T ลด
3 3 3
(หรือเป็นลบเพราะ dU d pV pdV Vdp 0 ; ซึง่ dp และ dV เป็นลบ ทาให้ T ลด)
2 2 2
dQ dU ดังนั้น dQ จึงเป็นลบ
dW
dQ เป็นลบแสดงว่า ควำมร้อนไหลออก

ช่วง CA
วิธีที่ 1 วิธีที่ 2
W เป็นศูนย์เพราะ dV เป็นศูนย์ Q ncV T ncV TA TC 0
dU เป็นบวกเพราะ pV เพิ่มทาให้ T เพิ่ม หรือ เพราะ V คงตัวแต่ p เพิ่ม ทาให้ T เพิ่ม ตาม
(หรือ dU เป็นบวกเพราะ pV
1 1
p2V2
3 3 T1 T2
dU d pV Vdp 0 ทาให้ T เพิ่ม)
2 2 Q เป็นบวกแสดงว่า ความร้อนไหลเข้า
dQ dU ดังนั้น dQ จึงเป็นบวก
dW
dQ เป็นบวกแสดงว่า ควำมร้อนไหลเข้ำ
การแข่งขันฟิสิกส์โอลิมปิกระดับชาติ ครั้งที่ 16 Solution ข้อ 1
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 8 – 12 มิ.ย. 60 หน้า 3/5
วิธีที่ 3
หรือนักเรียนสามารถพิสูจน์สมการรวม จากกฎข้อ 1 ของเทอร์โมไดนามิกส์
3
dQ dU dW d pV pdV
2

5 3
ทาให้ได้ว่า dQ pdV Vdp
2 2

ช่วง AB ความดันคงที่ dp 0 และปริมาตรเพิ่มขึ้น dV เป็นบวก ทาให้ dQ 0 ควำมร้อนไหลเข้ำ


ช่วง BC dp และ dV เป็นลบ ทาให้ dQ 0 ควำมร้อนไหลออก
ช่วง CA ความดันเพิ่มขึ้น dp เป็นบวก และ dV 0 ทาให้ dQ 0 ควำมร้อนไหลเข้ำ

ข้อ 1.2.2 (0.5 คะแนน)


จุด C อุณหภูมิต่าสุด และความดันต่าสุด
pAVA pCVC pA pC
ปริมาตรคงตัว ดังนั้น
TA TC TA TC

pA 10 atm
pC TC 300 K 7.5 atm
TA 400 K

ข้อ 1.2.3 (1.8 คะแนน)


Wnet Qin Qout QAB QCA QBC หรือเท่ากับพื้นที่สามเหลี่ยม
W W
e
Qin QAB QCA
การแข่งขันฟิสิกส์โอลิมปิกระดับชาติ ครั้งที่ 16 Solution ข้อ 1
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 8 – 12 มิ.ย. 60 หน้า 4/5

วิีที
ธี ่ 1 วิธีที่ 2
QAB 3 QAB ncP T ncP TB TA 0
dQ dU dW d pV pdV
2 1 5R
2000K 400K
8.3 2
5 3 4, 000 J
dQ pdV Vdp แต่ในช่วง AB นั้น p คงตัว
2 2
5 5
QAB p V 10 105 2.0 0.4 10 3

2 2
4, 000 J
QCA 3 3 QCA ncV T ncP TC TA 0
QCA V p pV
2 2 1 3R
400K 300K
3 8.3 2
QCA 0.4 10 3 10 10 5
7.5 10 5
150 J
2
150 J
Wnet 1 Wnet Qin Qout
Wnet p V
2 QAB QCA QBC
1 5 3
10 7.5 10 2.0 0.4 10 4000 150 3950
2
200 J 200 J

W W 200
ดังนั้น ประสิทธิภาพของเครื่องจักรความร้อน e 4.8%
Qin QAB QCA 4150

ข้อ 1.2.4 (1.5 คะแนน)


1
p V
W W 2
e
Qin QAB QCA 5 3
p V V p
2 2

กาหนดให้ VB x 1 VA

1 1
p xVA
1 2 4 A x
จากข้อ 1.2.2 เราได้ว่า p p แทนค่าจะได้ e
4 A 5 3 1 20x 3
p xVA VA pA
2 A 2 4

x 1
ประสิทธิภาพสูงสุดเกิดขึ้นเมื่อ x เข้าใกล้อนันต์ emax lim 5%
x 20x 3 20
การแข่งขันฟิสิกส์โอลิมปิกระดับชาติ ครั้งที่ 16 Solution ข้อ 1
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 8 – 12 มิ.ย. 60 หน้า 5/5

ข้อ 1.3 (3 คะแนน)


1.3.1 Angular resolution จาก Rayleigh Criterion คือ 1.22
D
ความยาวคลื่นที่ใช้คือ 550 nm
550 nm
diff
1.22 336 rad
2.0 mm

1.3.2 ถ้ำไม่มีกำรเลี้ยวเบน เราสามารถ resolve ภาพได้ ถ้าภาพจากวัตถุสองอัน ตกลงบนเซลรับแสงที่ต่างกัน


ดังนั้นมุมที่เล็กที่สุด ที่ตาแยกได้ คือ ระยะห่างระหว่างเซลรับแสง หารด้วย ระยะทางจากรูม่านตาถึงเซลรับ
แสง
1.0 m
cone
42 rad
2.4 cm

1.3.3 จากระยะทางที่กาหนดให้ คือ 30 cm ระยะระหว่างกึ่งกลางของพิกเซลสองอันที่อยู่ติดกันควรมีค่าเป็น


อย่างไร ที่ทาให้ตาไม่สามารถ resolve ได้ เมื่อพิจารณาตามเงื่อนไขแต่ละข้อ ดังนี้
(ก) พิจารณาจาก diffraction limit เท่านั้น
Pixel size diff
0.30 m
101 m

(ข) พิจารณาจากขนาดของเซลรับแสง เท่านั้น


Pixel size cone
0.30 m
13 m

1.3.4 ขนาดของพิกเซลบนหน้าจอที่ ทาให้ตาไม่สามารถ resolve ได้ที่ 30 cm คือ 101 m เพราะขนาดที่ใหญ่


กว่านี้ ก็จะ resolve ได้ และ ถ้าเล็กกว่านี้ ก็ไม่สามารถ resolve ได้ เนื่องจาก การเลี้ยวเบนของแสง

๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑๑
การแข่งขันฟิสิกส์โอลิมปิกระดับชาติ ครั้งที่ 16 Marking Scheme ข้อ 1
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 8 – 12 มิ.ย. 60 หน้า 1/7

Marking Scheme ข้อ 1


ข้อ 1.1 [2 คะแนน]
วิธีที่ 1 คำนวณในกรอบอ้ำงอิงของดำวเครำะห์
คำอธิบำย สมกำร คะแนน
แสดงแนวคิดหลัก เรื่อง การอนุรักษ์พลังงาน 0.5
สมการพลังงานที่ผิวของดาว ถูกต้อง โดยประมาณ 1
mu 2
1
mv 2
GMm
(0.3)
มวลของก้อนหินน้อยกว่าดาวเคราะห์มากๆ 2 2 R
0.7
1 1
mu 2 mv 2 mgR (0.3)
2 2
แก้สมการได้ถูกต้อง v u2 2gR 0.3
แปลงกลับมายังกรอบอ้างอิงเดิม v' u u2 2gR 0.5
วิธีที่ 2 ในกรอบอ้ำงอิงเฉื่อยที่ผู้สังเกตอยู่ (หากนักเรียนไม่ระบุกรอบอ้างอิงในการคานวณ ให้ถือว่าใช้วิธีที่ 2 คิด)
คำอธิบำย สมกำร คะแนน
แสดงแนวคิดหลัก เรื่องการอนุรักษ์พลังงาน (0.1) และโมเมนตัม (0.1) 0.5
และการเปลี่ยนแปลงพลังงานของดาวเคราะห์ (0.3)
สมการพลังงานที่ผิวของดาว ถูกต้อง 1
Mu 2
1
mv 2
1
Mw 2
GMm 0.5
2 2 2 R
ใช้หลักการอนุรักษ์โมเมนตัม ได้ถูกต้อง Mu Mw mv 0.4
m
w u v
M
1 1 2 1 m
Mu 2 mv M u2 2 uv mgR
2 2 2 M

 v2 2uv 2gR 0 (0.2) 0.6


v u u2 2gR (0.2)
v u u2 2gR เพราะถูกดึงเข้าหาดาวจึง
ตรงข้ามกับ u (0.2)
1 1 1 GMm
หมำยเหตุ: ถ้าใช้สมการ Mu 2 mv 2 Mu 2 ซึ่งจะได้ v 2gR ได้ 0 คะแนน (ได้
2 2 2 R
0.1 จำกเต็ม 2.0)
การแข่งขันฟิสิกส์โอลิมปิกระดับชาติ ครั้งที่ 16 Marking Scheme ข้อ 1
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 8 – 12 มิ.ย. 60 หน้า 2/7

ข้อ 1.2 [4 คะแนน]


ข้อ 1.2.1 [1.2 คะแนน]
ช่วง AB
วิธีที่ 1 วิธีที่ 2 คะแนน
dU เป็นบวกเพราะ pV เพิ่มทาให้ T เพิ่ม p คงตัวแต่ V เพิ่ม ทาให้ T เพิ่ม 0.1
หรือ dU เป็นบวกเพราะ pV p2V2
ตาม 1 1

3 3 T1 T2
dU d pV pdV 0
2 2

W เป็นบวกเพราะ pdV บวก เพราะ p บวก dV Q ncP T ncP TB TA 0.1


บวก
dQ dU dW ดังนั้น dQ จึงเป็นบวก Q 0 0.1
dQ เป็นบวกแสดงว่า ควำมร้อนไหลเข้ำ Q เป็นบวกแสดงว่า ควำมร้อนไหลเข้ำ 0.1

ช่วง BC
คำอธิบำย คะแนน
dU เป็นลบเพราะ pV ลดทาให้ T ลด 0.1
3 3 3
หรือ เป็นลบเพราะ dU d pV pdV Vdp 0 ; ซึง่ dp และ
2 2 2
dV เป็นลบ
ให้เหตุผลว่า W เป็นลบเพราะ pdV ลบ เพราะ p บวก dV ลบ 0.1
dQ dU dW ดังนั้น dQ จึงเป็นลบ 0.1
dQ เป็นลบแสดงว่า ควำมร้อนไหลออก 0.1
การแข่งขันฟิสิกส์โอลิมปิกระดับชาติ ครั้งที่ 16 Marking Scheme ข้อ 1
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 8 – 12 มิ.ย. 60 หน้า 3/7
ช่วง CA
วิธีที่ 1 วิธีที่ 2 คะแนน
dU เป็นบวกเพราะ pV เพิ่มทาให้ T เพิ่ม V คงตัวแต่ p เพิ่ม ทาให้ T เพิ่ม ตาม 0.1
หรือ dU เป็นบวกเพราะ pV
1 1
p2V2
3 3 T1 T2
dU d pV Vdp 0
2 2

W เป็นศูนย์เพราะ dV เป็นศูนย์ Q ncV T ncV TA TC 0.1


dQ dU dW ดังนั้น dQ จึงเป็นบวก Q 0 0.1
dQ เป็นบวกแสดงว่า ควำมร้อนไหลเข้ำ Q เป็นบวกแสดงว่า ควำมร้อนไหลเข้ำ 0.1

วิธีที่ 3 (พิสูจน์แบบรวม)
คำอธิบำย คะแนน
3 0.3
dQ dU dW d pV pdV
2

dQ
5
pdV
3
Vdp
0.3
2 2
ช่วง AB ความดันคงที่ dp 0 และปริมาตรเพิ่มขึ้น dV เป็นบวก 0.2
ทาให้ dQ 0 ความร้อนไหลเข้า
ช่วง BC dp และ dV เป็นลบ 0.2
ทาให้ dQ 0 ความร้อนไหลออก
ช่วง CA ปริมาตรคงที่ dV 0 และความดันเพิ่มขึ้น dp เป็นบวก 0.2
ทาให้ dQ 0 ความร้อนไหลเข้า
การแข่งขันฟิสิกส์โอลิมปิกระดับชาติ ครั้งที่ 16 Marking Scheme ข้อ 1
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 8 – 12 มิ.ย. 60 หน้า 4/7

ข้อ 1.2.2 [0.5 คะแนน]


คำอธิบำย คะแนน
รู้ว่าจุด C ความดันต่าสุด 0.1
รู้ว่าุด
จุ C มีอุณหภูมิ 300 K 0.1

ใช้สมการ P
const. หรือ ใกล้เคียง 0.1
T
แทนค่าได้ถูกต้อง 0.1
คาตอบถูกต้อง 0.1
การแข่งขันฟิสิกส์โอลิมปิกระดับชาติ ครั้งที่ 16 Marking Scheme ข้อ 1
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 8 – 12 มิ.ย. 60 หน้า 5/7

ข้อ 1.2.3 [1.8 คะแนน]


คำอธิบำย คะแนน
รู้ว่า Qin QAB QCA และแทนค่าได้ถูกต้อง 0.2
หา QAB ถูกต้อง 0.4

QAB
5
p V หรือ QAB ncP T 0.2
2
แทนค่าถูกต้อง 0.1
คาตอบถูกต้อง 4, 000 J 0.1

หา QCA ถูกต้อง 0.4

QCA
3
V p หรือ QAB ncV T 0.2
2
แทนค่าถูกต้อง 0.1
คาตอบถูกต้อง 150 J 0.1

ใช้ หรือ หาค่า W ถูกต้อง 0.5


วิธีที่ 1 วิธีที่ 2

W
1
p V
Wnet QAB QCA QBC 0.2
2
แทนค่าถูกต้อง QBC ถูกต้อง 0.2
คาตอบถูกต้อง 200 J คาตอบถูกต้อง 200 J 0.1

คาจากัดความถูกต้อง e
W
(0.2) 0.3
Qin

แทนค่าได้คาตอบถูกต้อง e 4.8% (0.1)


การแข่งขันฟิสิกส์โอลิมปิกระดับชาติ ครั้งที่ 16 Marking Scheme ข้อ 1
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 8 – 12 มิ.ย. 60 หน้า 6/7

ข้อ 1.2.4 [1.5 คะแนน]


คำอธิบำย คะแนน
1
p V
0.5
e 2 (ตัวแปรตัวเดียว)
5 3
p V V p
2 2

e
x 0.4
20x 3

รู้ว่าประสิทธิภาพสูงสุดเกิดขึ้นที่ x 0.3

emax lim
x 1
5%
0.3
x 20x 3 20
การแข่งขันฟิสิกส์โอลิมปิกระดับชาติ ครั้งที่ 16 Marking Scheme ข้อ 1
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 8 – 12 มิ.ย. 60 หน้า 7/7

ข้อ 1.3 [3 คะแนน]


หลักกำร/คำตอบที่ต้องกำร คะแนน

1.3.1 หำมุมน้อยสุดที่ตำสำมำรถแยกได้ (Diffraction limit) [1.0]

ใช้ Rayleigh’s Criterion ได้ถูกต้อง: 1.22 336 rad (หรือใช้ 1.2 ก็ให้) 0.6
D
ถ้าประมาณว่า ให้ (0.4)
D

แทนค่าตัวแปรได้ถูกต้อง เลือก D 2.0 mm ตามที่กาหนด (ตอบเป็น rad หรือ ดีกรี ก็ได้) 0.4
diff
336 rad หรือ 19.2 mDeg

1.3.2 หำมุมน้อยสุดที่ตำสำมำรถแยกได้ (Cone cell limit) [1.0]

หาค่าได้ถูกต้อง ไม่ว่าจะใช้ arclength หรือ tan: cone


42 rad 1.0

1.3.3 หำขนำดของพิกเซลของ แต่ละเงื่อนไข [0.6]

(ก) หาขนาดของพิกเซลที่ทาให้ตาไม่สามารถ resolve ได้เนื่องจาก diffraction limit ( 101 m) 0.3


ไม่ว่าจะใช้ arclength หรือ tan
 ถ้าแทนค่าผิด ไม่ให้คะแนน

 ถ้าใช้ = แทน ให้ (0.2)

(ข) หาขนาดของพิกเซลที่ทาให้ตาไม่สามารถ resolve ได้เนื่องจาก ขนาดของ cone cell ( 13 m) 0.3


 ถ้าใช้ = แทน ให้ (0.2)

1.3.4 หำขนำดของพิกเซลของ เมื่อคิดทั้ง 2 เงื่อนไข [0.4]

 บอกได้ว่า ขนาดพิกเซลทีท่ าให้เห็นภาพต่อเนื่อง ต้องเป็นตัวเลขที่มากที่สุด ระหว่างคาตอบจาก 0.4


ข้อ 1.3.3.ก หรือ 1.3.3.ข (ไม่หักคะแนน ถ้าตัวเลขคาตอบที่ได้ในข้อก่อนหน้านี้ผิดไปจากเฉลย)
 ถ้าเลือกผิดค่า ไม่ให้คะแนนเลย

***************************
การแข่งขันฟิสิกส์โอลิมปิกระดับชาติ ครั้งที่ 16 ข้อสอบภาคทฤษฎี ข้อ 2
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เวลาสอบรวม 4 ชั่วโมง
วันที่ 9 มิถุนายน 2560 หน้า 1/8

ข้อที่ 2 Mach-Zehnder Interferometer [10 คะแนน]

ข้อมูลที่เป็นประโยชน์
1 t T
 ค่าเฉลี่ยเชิงเวลา (Time average) ของฟังก์ชัน f t ใด ๆ คือ f t dt
T t 0

1 t 2 1 t 2 1
 cos2 t dt sin2 t dt
T t 0 T t 0 2
2
เมื่อ T และ และ เป็นค่าคงตัว

 เอกลักษณ์ตรีโกณมิติ:
a b a b
sin a sin b 2 sin cos
2 2
sin a b sin a b 2 sin a cos b
sin a b sin a b 2 cos a sin b
cos2 sin2 cos 2

Part I : พอร์ตมืดและพอร์ตสว่างของอุปกรณ์แทรกสอดมัคเซนเดอร์
อุปกรณ์แทรกสอดมัคเซนเดอร์ (Mach-Zehnder Interferometer) มีลักษณะดังรูปที่ 2.1 เริ่มต้นจาก
การส่งแสงเลเซอร์ความยาวคลื่นเดียวเข้าไปทางตัวแยกแสง (beam splitter) B1 จากนั้นแสงทีถ่ ูกแยกออกจะ
เดินทางไปตามแต่ละเส้นทาง โดยเส้นทางหนึ่งไปสะท้อนที่กระจก M2 และอีกเส้นทางหนึ่งไปสะท้อนที่กระจก M3
ดังรูป แล้วไปรวมกันอีกครั้งหลังจากผ่านตัวแยกแสงตัวสุดท้าย (B4) ไปยังตัวรับแสง (Photodiodes) A และ B
ถ้าจัดให้ระยะทางจาก B1 ถึง B4 ทั้งสองเส้นทางมีขนาดเท่ากัน จะทาให้เกิดการแทรกสอดแบบเสริมกันที่ตัวรับ
แสงตัวหนึ่ง (เราจะเรียกว่า พอร์ตสว่าง) และแบบหักล้างกันที่ตัวรับแสงอีกตัวหนึ่ง (เรียกว่า พอร์ตมืด)
การแข่งขันฟิสิกส์โอลิมปิกระดับชาติ ครั้งที่ 16 ข้อสอบภาคทฤษฎี ข้อ 2
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เวลาสอบรวม 4 ชั่วโมง
วันที่ 9 มิถุนายน 2560 หน้า 2/8

รูปที่ 2.1: การจัดอุปกรณ์แทรกสอดมัคเซนเดอร์ เมื่อ B1 และ B4 เป็นตัวแยกแสง (beam splitter)


M2 และ M3 เป็นกระจกสะท้อนแสง และ A และ B เป็นตัวรับแสง (photodiode)

ตัวแยกแสง สามารถให้แสงส่วนหนึ่งทะลุผ่าน และจะสะท้อนแสงอีกส่วนหนึ่งออกไป ตัวแยกแสงจะมี


วัสดุไดอิเล็กทริกเคลือบอยู่บนผิวแก้ว แสงที่เข้าสู่ตัวแยกแสง B1 และ B4 ในแต่ละทิศทาง จะสะท้อนที่รอยต่อ
ระหว่างไดอิเล็กทริกกับแก้วเท่านั้น ดังแสดงในรูปที่ 2.2

รูปที่ 2.2: ลักษณะการสะท้อนและทะลุผ่านของแสงที่เข้าสู่ตัวแยกแสง

กาหนดให้ ดรรชนีหักเห ของแก้ว (บริเวณสีอ่อนในรูปที่ 2.2) คือ nG


ดรรชนีหักเห ของไดอิเล็กทริก (บริเวณสีเข้มในรูปที่ 2.2) คือ n D
ดรรชนีหักเห ของอากาศ คือ n 0 โดยที่ n0 nD nG
การแข่งขันฟิสิกส์โอลิมปิกระดับชาติ ครั้งที่ 16 ข้อสอบภาคทฤษฎี ข้อ 2
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เวลาสอบรวม 4 ชั่วโมง
วันที่ 9 มิถุนายน 2560 หน้า 3/8

คาถามข้อที่ 2.1 จากการจัดอุปกรณ์ดังรูปที่ 2.1 (1.0 คะแนน)


(2.1.1) ตัวรับแสง A เป็นพอร์ตมืด หรือเป็นพอร์ตสว่าง จงให้เหตุผล
(2.1.2) ตัวรับแสง B เป็นพอร์ตมืด หรือเป็นพอร์ตสว่าง จงให้เหตุผล

Part II : การใช้อุปกรณ์แทรกสอดมัคเซนเดอร์ เพื่อศึกษาความเข้มข้นของสารละลายนาตาล

เราสามารถใช้อุปกรณ์แทรกสอดมัคเซนเดอร์ เพื่อศึกษาค่าความเข้มข้นของสารละลายน้าตาลได้โดยวาง
ภาชนะใส เช่น ท่อเล็ก ๆ ขนาดเท่ากัน (ความยาว L 1.0 cm ) ลงไปแทรกระหว่างเส้นทางเดินของแสงแต่ละ
เส้นทาง ตามรูปที่ 2.3 ท่อหนึ่งมีน้าเปล่าบรรจุอยู่ ส่วนอีกท่อหนึ่งมีสารละลายน้าตาลบรรจุอยู่ (เราสามารถ
ประมาณได้ว่า ความเข้มข้นของสารละลายน้าตาลคงที่ตลอดทั้งท่อ) เมื่อค่อย ๆ เปลี่ยนความเข้มข้นของ
สารละลายน้าตาล เราจะเริ่มเห็นความสว่างที่เปลี่ยนไปของตัวรับแสงที่ปลายทาง

รูปที่ 2.3: การจัดอุปกรณ์แทรกสอดมัคเซนเดอร์ สาหรับศึกษาความเข้มข้นของสารละลายน้าตาล


(สเกลในรูปไม่ถูกต้อง)

กาหนดให้ ดรรชนีหักเหของสารละลายน้าตาล n เป็นฟังก์ชันของความเข้มข้นของสารละลายน้าตาล h ซึง่


เขียนเป็นสมการได้ดังนี้
n 1.33 h (สาหรับ h ที่มคี ่าในช่วง 0 ถึง 0.01 )
เมื่อ 0.146 และ h M sugar M water โดยที่ M sugar และ M water คือมวลของน้าตาลและ
มวลของน้าที่อยู่ในสารละลายน้าตาล ตามลาดับ
การแข่งขันฟิสิกส์โอลิมปิกระดับชาติ ครั้งที่ 16 ข้อสอบภาคทฤษฎี ข้อ 2
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เวลาสอบรวม 4 ชั่วโมง
วันที่ 9 มิถุนายน 2560 หน้า 4/8

คาถามข้อที่ 2.2 (2.0 คะแนน)


จงหาว่าความเข้มข้นของสารละลายน้าตาล h ต้องเปลี่ยนไปเท่าไร เพื่อให้ความสว่างบนตัวรับแสงตัว
หนึ่งเปลี่ยนไป 1 ริ้ว (fringe) (นั่นคือ เปลี่ยนจากมืดไปเป็นมืดอีกครั้ง หรือ จากสว่างไปเป็นสว่างอีกครั้ง)
กาหนดให้ แสงที่ใช้มคี วามยาวคลื่นในสุญญากาศ 0 550 nm

Part III : ความเข้มแสงที่พอร์ตสว่าง

ต่อไปนีจะพิจารณาเฉพาะแสงที่ตกบนพอร์ตสว่างเพียงพอร์ตเดียว (A หรือ B ตามคาตอบที่นักเรียน


เลือกในคาถามข้อที่ 2.1)

สถานการณ์ที่ 1: พิจารณาเฉพาะแสงจากเส้นทางที่หนึ่ง (เส้นทางที่ผ่านท่อนาเปล่า) มาถึงพอร์ตสว่าง


ถ้าพิจารณาเฉพาะแสงที่ผ่านท่อน้าเปล่า (แสงอีกเส้นทางหนึ่งถูกบังไว้ก่อน) พบว่าเมื่อแสงเดินทางมาถึง
ตัวรับแสงที่เป็นพอร์ตสว่าง สนามไฟฟ้าของแสงนั้นสามารถบรรยายได้ดังนี้
E t E 0 sin t
โดยที่ คือความถี่เชิงมุมของแสงที่ใช้ในการทดลอง และ E 0 คือแอมพลิจูดของสนามไฟฟ้าที่มาถึงตัวรับแสง
ถ้าพิจารณาในแง่ของความเข้มแสง ความเข้มแสงที่มาถึงตัวรับแสงจะเขียนได้เป็น
I t I 0 sin2 t
2
โดยที่ คือความเข้มแสงสูงสุดของแสงในเส้นทางทีห่ นึ่งที่มาถึงตัวรับแสง และแปรผันโดยตรงกับ E 0
I0
การใช้เครื่องมือวัดความเข้มแสงที่มาถึงตัวรับแสง จะเป็นการวัดค่าความเข้มแสงเฉลี่ยเชิงเวลาในหนึ่ง
คาบ (Time average) I

คาถามข้อที่ 2.3 (0.5 คะแนน)


จงเขียนความเข้มแสงเฉลี่ย I ในรูปของ I0 เมื่อมีเฉพาะแสงจากเส้นทางที่หนึ่งเท่านั้น
การแข่งขันฟิสิกส์โอลิมปิกระดับชาติ ครั้งที่ 16 ข้อสอบภาคทฤษฎี ข้อ 2
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เวลาสอบรวม 4 ชั่วโมง
วันที่ 9 มิถุนายน 2560 หน้า 5/8
สถานการณ์ที่ 2: พิจารณาแสงจากทังสองเส้นทาง มาถึงพอร์ตสว่าง
เส้นทางที่หนึ่งคือเส้นทางที่แสงผ่านท่อน้าเปล่า ส่วนเส้นทางที่สองคือเส้นทางที่แสงเดินทางผ่านท่อที่
บรรจุสารละลายน้าตาลความเข้มข้น h (ทาให้มีค่าดรรชนีหักเห n ) ท่อทั้งสองอันมีความยาว L เท่ากัน

กาหนดให้ แสงที่เดินทางในเส้นทางที่หนึ่ง (ผ่านท่อน้าเปล่า) เมื่อมาถึงตัวรับแสง มีสนามไฟฟ้าเป็น


E1 t E 0 sin t

แสงทีเ่ ดินทางในเส้นทางที่สอง (ผ่านท่อสารละลายน้าตาล) เมื่อมาถึงตัวรับแสง มีสนามไฟฟ้าเป็น


E2 t E 0 sin t

ดังรูปที่ 2.4 และกาหนดให้ แสงทั้งสองเส้นทางเมื่อมาถึงตัวรับแสงมีแอมพลิจูดเป็น E 0 เท่ากัน และสนามไฟฟ้า


รวมที่เข้าสู่ตัวรับแสงที่เป็นพอร์ตสว่าง เกิดจากผลรวมของสนามไฟฟ้าของแสงจากเส้นทางทั้งสอง

ตัวรับแสง
(พอร์ตสว่าง)

รูปที่ 2.4 สนามไฟฟ้าจากแสงทั้งสองเส้นทาง มารวมกันที่ตัวรับแสง

คาถามข้อที่ 2.4 (2.0 คะแนน)


(2.4.1) จงหาค่า ในรูปของตัวแปรที่โจทย์กาหนดให้
(2.4.2) ความเข้มแสงเฉลี่ยที่เข้าสู่ตัวรับแสงที่เป็นพอร์ตสว่าง ในอุปกรณ์แทรกสอดมัคเซนเดอร์ สามารถเขียน
ได้เป็น I total I 0 cos2 h จงหา และ ในรูปของตัวแปรที่กาหนดให้ในโจทย์

ซึ่งแสดงให้เห็นว่า ความเข้มแสงเฉลี่ยที่เข้าสู่ตัวรับแสงที่เป็นพอร์ตสว่างนั้นจะขึ้นกับความเข้มข้นของ
สารละลายน้าตาล
การแข่งขันฟิสิกส์โอลิมปิกระดับชาติ ครั้งที่ 16 ข้อสอบภาคทฤษฎี ข้อ 2
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เวลาสอบรวม 4 ชั่วโมง
วันที่ 9 มิถุนายน 2560 หน้า 6/8

Part IV : การนาอุปกรณ์แทรกสอดไปควบคุมความเข้มข้นของสารละลายนาตาล

เมื่อมีแสงเข้าสู่ตัวรับแสงที่เป็นพอร์ตสว่าง ตัวรับแสงจะเปลี่ยนพลังงานแสงเป็น สัญญาณความต่าง


ศักย์ไฟฟ้า (voltage output) ที่เราสามารถตรวจวัดได้ (เช่น ใช้โวลต์มิเตอร์) ในการทดลองนี้สัญญาณความต่าง
ศักย์ไฟฟ้าแปรผันโดยตรงกับความเข้มแสงเฉลี่ยที่ตกลงบนตัวรับแสง V I โดยที่สาหรับการทดลองนี้ ตอน
ทีค่ วามเข้มแสงเฉลี่ยที่เข้าสู่ตัวรับแสงมีค่าสูงสุดเป็น I 10 mW/cm2 ตัวรับแสงจะให้สัญญาณไฟฟ้าขนาด
สูงสุดเท่ากับ 1.0 V ออกมา
นอกจากนี้แล้ว ในการทดลองนี้ ความต่างศักย์ไฟฟ้าที่ได้จากตัวรับแสงจะเปลี่ยนไปตามปริมาณความ
เข้มข้นของสารละลายน้าตาล h และมีลักษณะดังกราฟในรูปที่ 2.5

1.2
สัญญาณความต่างศักย์ไฟฟ้า (V)

0.8
จุดอ้างอิง (0.5 V)
0.6

0.4

0.2

0 h
hmin h0 hmax

รูปที่ 2.5: กราฟระหว่าง ความเข้มข้นของสารละลายน้าตาล กับ สัญญาณความต่างศักย์ไฟฟ้าจากตัวรับแสง

การที่ค่าความต่างศักย์ขึ้นกับค่าความเข้มข้นของสารละลายน้าตาล ทาให้เราสามารถประยุกต์ใช้อุปกรณ์
แทรกสอดมัคเซนเดอร์ควบคุมความเข้มข้นของสารละลายน้าตาลในสายการผลิตให้คงที่ที่ค่าหนึ่งได้ จากรูปที่
2.5 เมื่อค่าความเข้มข้นของสารละลายเท่ากับ h0 สัญญาณความต่างศักย์ไฟฟ้าของตัวรับแสงจะเท่ากับ 0.5 V
เมื่อความเข้มข้นของสารละลายน้าตาลลดลงแต่ยังไม่น้อยกว่า hmin ความต่างศักย์ไฟฟ้าก็จะมีค่าลดลง ในทาง
กลับกัน เมื่อความเข้มข้นเพิ่มขึ้นแต่ไม่มากกว่า hmax ความต่างศักย์ไฟฟ้าก็จะมีค่ามากขึ้น ดังนั้น เมื่อค่าความ
ต่างศักย์ไฟฟ้าของตัวรับแสงต่างไปจากค่าความต่างศักย์อ้างอิง เราจะรู้ได้ว่าความเข้มข้นของสารละลาย
เปลี่ยนไป และสามารถปรับค่าความเข้มข้นของสารละลายน้าตาลจนกว่าค่าความต่างศักย์ไฟฟ้าของตัวรับแสงจะ
เท่ากับค่าอ้างอิง
การแข่งขันฟิสิกส์โอลิมปิกระดับชาติ ครั้งที่ 16 ข้อสอบภาคทฤษฎี ข้อ 2
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เวลาสอบรวม 4 ชั่วโมง
วันที่ 9 มิถุนายน 2560 หน้า 7/8

คาถามข้อที่ 2.5 (1.5 คะแนน)


จากกราฟในรูปที่ 2.5 เราต้องการควบคุมค่าความเข้มข้นของสารละลายน้าตาลให้เป็น h0 (ค่าอ้างอิง) ซึ่ง
ตรงกับค่าความต่างศักย์ไฟฟ้า 0.5 V แต่ถ้าพบว่าความต่างศักย์ไฟฟ้าทีว่ ัดได้เป็น 0.6 V
(2.5.1) จงหาว่าค่า h ต่างจากค่าอ้างอิงอยู่เท่าไร
(2.5.2) และดังนั้น ถ้าต้องการให้ความเข้มข้นของสารละลายน้าตาลกลับมาเท่ากับค่าอ้างอิง เราควรเติมน้า หรือ
เติมน้าตาล

Part V : ปัญหาของการใช้อุปกรณ์ในกรณีที่แหล่งกาเนิดแสงเกิดการผันผวน

ในทางปฏิบัติ แม้ว่าความเข้มข้นของสารละลายน้าตาลจะคงที่ แต่ถ้าความเข้มแสงของแหล่งกาเนิดแสง


เกิดการผันผวน ความต่างศักย์ไฟฟ้าของตัวรับแสงก็จะเปลี่ยนไปได้
จากการทดลองใน Part IV ตอนที่แหล่งกาเนิดแสงยังเป็นปกติไม่ผันผวน เมื่อความเข้มแสงเฉลี่ยที่เข้าสู่
ตัวรับแสงที่เป็นพอร์ตสว่าง มีค่าสูงสุดเป็น 10 mW/cm2 ตัวรับแสงจะให้สัญญาณไฟฟ้าสูงสุดขนาด 1.0 V
และผลการทดลองเป็นไปตามกราฟในรูปที่ 2.5

คาถามข้อที่ 2.6 (1.5 คะแนน)


ถ้าแหล่งกาเนิดแสงเกิดการผันผวน จนทาให้ความเข้มแสงเฉลี่ยที่ตกบนตัวรับแสงที่เป็นพอร์ตสว่าง มี
ค่าสูงสุดเปลี่ยนเป็น 11 mW/cm2 (แทนที่จะเป็น 10 mW/cm2 )
(2.6.1) กราฟความสัมพันธ์ระหว่างความต่างศักย์ไฟฟ้าและความเข้มข้นของสารละลายน้าตาล จะเปลี่ยนไปเป็น
อย่างไร เมื่อเทียบกับกราฟในรูป 2.5 จงวาดรูปกราฟลงในกระดาษคาตอบ
(2.6.2) ถ้าสารละลายน้าตาลในท่อมีค่าคงที่ (เท่ากับค่าอ้างอิง h0 ) ค่าความต่างศักย์ไฟฟ้าที่อ่านได้ในกรณีนี้ จะ
เป็นเท่าไร
(2.6.3) ผู้ทดลองไม่สามารถรู้ได้ว่าแหล่งกาเนิดแสงเกิดความผันผวนอยู่ เขาเพียงอ่านค่าความต่างศักย์ไฟฟ้าได้
ตามข้อ 2.6.2 เท่านั้น เขาจะตีความว่าความเข้มข้นของสารละลายน้าตาล มากกว่าหรือน้อยกว่าค่า
อ้างอิงอยู่เท่าใด
การแข่งขันฟิสิกส์โอลิมปิกระดับชาติ ครั้งที่ 16 ข้อสอบภาคทฤษฎี ข้อ 2
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เวลาสอบรวม 4 ชั่วโมง
วันที่ 9 มิถุนายน 2560 หน้า 8/8

เพื่อจะแก้ปัญหาความเข้าใจผิดอันเนื่องมาจากความผันผวนของแสงจากแหล่งกาเนิดแสง เราสามารถใช้
ตัวรับแสงสองตัว คือทั้งพอร์ตมืดและพอร์ตสว่าง ดังรูปที่ 2.1 แล้วนาความเข้มแสงเฉลี่ยที่ได้จากตัวรับแสงทั้งสอง
I A และ I B มาคานวณ ดังนี้
IA IB
I cos x
IA IB

คาถามข้อที่ 2.7 (1.5 คะแนน)


จงหาค่า x ในรูปของตัวแปรที่กาหนดให้

จะเห็นว่า I ไม่ขึ้นกับความเข้มแสงของแหล่งกาเนิดแสง แต่จะขึ้นกับความเข้มข้นของสารละลาย


น้าตาลเท่านั้น เราจึงสามารถใช้ควบคุมความเข้มข้นของสารละลายได้ดีกว่า

************************* จบข้อ 2 *************************


การแข่งขันฟิสิกส์โอลิมปิกระดับชาติ ครั้งที่ 16 Solution ข้อ 2
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 8 – 12 มิ.ย. 60 หน้า 1/4

Solution ข้อ 2

คำถำมข้อที่ 2.1
2.1.1 ตัวรับแสง A
ตัวรับแสง A เฟสที่เพิ่มขึ้น เฟสรวมที่เพิ่มขึ้น
แสงในแนวตามเข็มนาฬิกา ฺB1 0 , M2 , B4 ฺ 2 ฺ
แสงในแนวทวนเข็มนาฬิกา B1 0 , M3 , B4 0

ผลต่างเฟสฺระหว่างแสงสองทางฺคือ , ดังนั้นฺทีต่ ัวรับแสง A จึงเป็น พอร์ตมืด

2.1.2 ตัวรับแสง B
ตัวรับแสง A เฟสที่เพิ่มขึ้น เฟสรวมที่เพิ่มขึ้น
แสงในแนวตามเข็มนาฬิกา ฺB1 0 , M2 , B4 0 ฺ ฺ
แสงในแนวทวนเข็มนาฬิกา B1 0 , M3 , B4 0

ผลต่างเฟสฺระหว่างแสงสองทางฺคือ 0 , ดังนั้นฺทีต่ ัวรับแสง B จึงเป็น พอร์ตสว่ำง


การแข่งขันฟิสิกส์โอลิมปิกระดับชาติ ครั้งที่ 16 Solution ข้อ 2
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 8 – 12 มิ.ย. 60 หน้า 2/4

คำถำมข้อที่ 2.2
ความสว่างบนตัวรับแสงเปลี่ยนไปหนึ่งริ้วฺฺแสดงว่าฺฺoptical path ของแสงในเส้นทางที่ผ่านสารละลายน้้าตาลต้อง
เพิ่มขึ้นฺ(หรือลดลง)ฺ หรือคิดเป็นฺphase shift ไดฺฺ้ 2 ฺฺฺนัน่ คือฺฺ
2 2
2   k1L k2L ฺฺฺหรือฺฺ 2    L L
h1 h2

โดยทีฺ่ h1
ฺคือความยาวคลื่นของแสงในสารละลายน้้าตาลขณะที่มีความเข้มข้นฺ h1 ฺ และฺ h2
ฺคือความยาวคลื่นของ
แสงในสารละลายน้้าตาลขณะที่มีความเข้มข้นฺ h2 ฺ

จากที่โจทย์ก้าหนดให้จะได้ว่าฺฺ h1
0 0
, h2
0 0

nh 1.33 h1 nh 1.33 h2
1 2

2 2 2 2
แทนค่าลงในสมการฺ 2    L L ฺจะได้ว่าฺ 2    Lh1 Lh2 ฺ
h1 h2 0 0

หรือฺ h 0

L

แทนค่าฺ L 1.0 cm, 0


550 nm, 0.146 ฺจะไดฺ้ h 377 ppm ฺ

คำถำมข้อที่ 2.3
t    2 /
1 I
 I I 0 sin2 tdt
     0
T t    0
2

คำถำมข้อที่ 2.4
2.4.1
แสงเส้นทางที่สองจะมีฺoptical path มากกว่าเส้นที่หนึ่งฺเพราะความแตกต่างในดรรชนีหักเหระหว่าง
สารละลายน้้าตาลและน้้าเปล่า
นั่นคือ เส้นทางที่สองจะมีเฟสมากกว่าเส้นทางที่หนึ่งอยู่เท่ากับฺฺ
2 2 2 2 2 Lh
  L L   L L
2 1 0
1.33 h 0
1.33 0
การแข่งขันฟิสิกส์โอลิมปิกระดับชาติ ครั้งที่ 16 Solution ข้อ 2
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 8 – 12 มิ.ย. 60 หน้า 3/4

2.4.2
สนามไฟฟ้ารวมฺเกิดจากผลบวกของสนามไฟฟ้าทั้งสองเส้นทาง Etot    E 0 sin t   E 0 sin t   

จัดรูปฺด้วยฺตรีโกณมิติ ฺฺฺ Etot   E 0 2 sin t     cos ฺ


2 2

ยกก้าลังสองทั้งสองข้างฺฺฺ 2
Etot E 02 4 sin2 t     cos2 ฺ
2 2

หรือเขียนเป็นความเข้มแสงไดฺ้ I tot 4I 0 sin2 t     cos2 ฺ


2 2

1 Lh
เฉลี่ยตามระยะเวลาจะไดฺ้ I tot 4I 0 cos2 2I 0 cos2 ฺ
2 2 0

 L
นั่นคือฺ  2,      ฺ
0

คำถำมข้อที่ 2.5
Lh
Vout เป็นฟังก์ชันของฺความเข้มข้นของสารละลายน้้าตาลดังนีฺฺฺฺ้Vout  cos2 ฺ เมื่อฺ  h
0

ณฺจุดอ้างอิงฺฺ ฺ 0.50 cos 2


1
ฺ แก้สมการจะไดฺฺ้ 1
0.75  ฺ
เมื่อความเข้มข้นเพิ่มขึ้นท้าใหฺ้Vout 0.60 V ฺ

จะหาเฟสได้จากสมการฺ 0.60 cos2 2


และไดฺฺ้ 2
0.782 

ดังนั้นฺเฟสเปลี่ยนไปเท่ากับ 1 2
0.75 0.782 0.10 rad

Lh L
จากสมการฺ   ฺฺดังนั้นฺ   h
0 0

  0.146 0.01 m
แทนค่าฺฺ 0.1       h   ฺ
550 nm

แก้สมการจะไดฺฺฺ้ h 12 ppm ฺ

สารละลายเข้มข้นขึ้นฺและเราต้องเพิ่มปริมำณนำฺเพื่อลดความเข้มข้นให้เท่าเดิม
การแข่งขันฟิสิกส์โอลิมปิกระดับชาติ ครั้งที่ 16 Solution ข้อ 2
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 8 – 12 มิ.ย. 60 หน้า 4/4

คำถำมข้อที่ 2.6
2.6.1 ได้กราฟใหม่ที่รูปร่างคล้ายเดิมฺฺแค่เปลี่ยนแอมพลิจูดเป็น 1.1 V

2.6.2 เป็นครึ่งหนึ่งของค่าสูงสุดพอดีฺดังนั้นฺค่าความต่างศักย์ไฟฟ้าที่อ่านได้จะเท่ากับฺ 0.55 V ฺ


หรือจะค้านวณได้จากฺV  1.1 cos2  0.75     0.55  V ฺ

2.6.3 ฺฺผู้ทดลองไม่ทราบว่าความเข้มแสงผันผวนฺเขาจะเห็นแค่ความต่างศักย์มากขึ้นฺเขาจึงบอกว่าความเข้มข้นของ
สารละลายน้้าตาลมำกกว่ำควำมเข้มข้นอ้ำงอิงฺฺฺฺฺฺฺปริมาณเท่าใดนั้นหาได้จาก 0.55   1.0 cos2 3

แก้สมการจึงไดฺ้ 3 
0.766 

0.146  L  
0.766  0.75  h   ฺฺแก้สมการจะไดฺฺ้ h 6 ppm ฺ
0

คำถำมข้อที่ 2.7

ความเข้มแสงเฉลี่ยที่ตกบนพอร์ตสว่างเท่ากับฺ I B 2I 0 cos2 ฺมาจากฺ EA   E 0 sin t   E 0 sin t    ฺ


2

ความเข้มแสงที่ตกบนพอร์ตมืดคือฺฺฺ I A 2I 0 sin2 ฺ มาจากฺฺ EA   E 0 sin t   E 0 sin t    ฺ


2
(เครื่องหมายลบมาจากความต่างเฟสของสนามไฟฟ้า)
IA IB 2I 0 cos2 / 2    2I 0 sin2 /2
I   cos 2 cos
IA IB  2I 0 cos2 / 2   2I 0 sin2 /2   2

2 Lh
ดังนั้นฺ x ฺ
0

๒๒๒๒๒๒๒๒๒๒๒๒๒๒๒๒๒๒๒๒
การแข่งขันฟิสิกส์โอลิมปิกระดับชาติ ครั้งที่ 16 Marking Scheme ข้อ 2
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 8 – 12 มิ.ย. 60 หน้า 1/2
Marking Scheme ข้อ 2
คำตอบ/เหตุผล คะแนน

2.1 เลือกว่ำ A กับ B เป็นพอร์ตมืด หรือ พอร์ตสว่ำง [1.0]

เลือก ทั้งสองพอร์ตได้ถูกต้องพร้อมเหตุผล จาก Phase Shift


 A มืด, B สว่าง คาตอบถูกต้อง (0.5)
 รู้ว่ามี phase shift (0.3)
 รู้ว่าเกิด phase shift เมื่อแสงเดินทางจากตัวกลางที่มี n น้อยไปมาก (0.2)
ถ้าคาตอบผิดบางส่วน แล้วคาตอบััดกับกออนุรัก์์พลังงาน (ตอบสว่างทั้งสองพอร์ต หรือ มืดทั้ง
สองพอร์ต) จะได้คะแนนั้อ 2.1 เท่ากับ ศูนย์

2.2 หำควำมเข้มข้นที่เปลี่ยนไป ทำให้ควำมสว่ำงเปลี่ยนไป 1 ริ้ว h 377 ppm [2.0]

- รู้ว่าเฟสต่างระหว่าง 1 ริ้ว คือ 2 0.5

- รู้ว่า phase shift เกิดจาก 2   k1L k 2L (คิดจาก OPD ก็ได้) 0.5

- เัียน k  
2
ได้ถูกต้อง 0.5
0
n

- แทนค่าตัวแปร ถูกทั้งหมดเพื่อหา h 377 ppm 0.5

2.3 หำควำมเข้มแสงเฉลี่ยได้ ถูกต้องจำกสูตรที่ให้ไว้  I


I
 0
[0.5]
2

2.4 หำควำมเข้มแสงเฉลี่ยของกำรแทรกสอด [2.0]

2.4.1 2
 
hL
(ตอบในรูปัอง n แทน h ก็ได้) 0.4
0

2.4.2 Etot    E 0 sin t   E 0 sin t    (0.3) 1.6


จัดรูป ด้วย ตรีโกณมิติ Etot   E 0 2 sin t     cos (0.3)
2 2

ยกกาลังสองทั้งสองั้าง 2
Etot E 02 4 sin2 t     cos2
2 2
การแข่งขันฟิสิกส์โอลิมปิกระดับชาติ ครั้งที่ 16 Marking Scheme ข้อ 2
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 8 – 12 มิ.ย. 60 หน้า 2/2

หรือเัียนเป็นความเั้มแสงได้ I tot 4I 0 sin2 t     cos2 (0.4)


2 2
(ถ้าเลั 4 ผิด หัก 0.2 จาก 0.4 ในส่วนนี้)
1 hL
เฉลี่ยตามระยะเวลาจะได้ I tot 4I 0 cos2 2I 0 cos2 (0.2)
2 2 0

 
ตอบค่า alpha beta ได้ถูกต้อง  2,      L (0.2 + 0.2)
0

2.5 ควบคุมควำมเข้มข้นสำรละลำย (สำรละลำยเข้มขึ้น 12 ppm ) [1.5]


- สามารถเัียนได้ว่า Vout  cos2 0.3

- คานวณ Phase Shift ที่ 0.5 V และ 0.6 V ได้ถูกต้อง ( 0.1 rad ) 0.5
ไม่หักคะแนน แม้ว่าตอนคานวณเฟส จาก arccos จะไม่ได้เลือก fringe ที่ถูกต้อง

- คานวณความเั้มั้นที่เปลี่ยนไปได้ถูกต้อง h 12 ppm (ไม่ว่าเั้มัึ้นหรือจางลง) 0.5

- บอกได้ว่า ลด h (จะตอบว่า ลดน้าตาล หรือ เติมน้าก็ได้) 0.2

2.6 กำรผันผวนของแหล่งกำเนิดแสง [1.5]

2.6.1 เัียนกราฟได้รูปร่างแบบเดิม (cos-square graph) จุดต่าสุดและสูงสุดอยู่ที่เดิม (0.3) 0.5


- ค่าสูงสุดัองกราฟอยู่ที่ 1.1 โวลต์ (0.2)

2.6.2 ตอบค่าที่อ่านได้ถูกต้อง 0.55  V 0.3

2.6.3 เราตีความว่าสารละลายเั้มั้นัึ้น 6 ppm 0.7


- สามารถเัียนสมการได้ว่า 0.55   1.0 cos2 3 (0.3)
- คานวณได้ถูกต้อง h 6 ppm (0.2)
- ตอบได้ว่า เพิ่มัึ้น (0.2)

2.7 กำรหำ I [1.5]

1.0
- หาความเั้มเฉลี่ยบนพอร์ตมืดได้ว่าเป็น IA 2I 0 sin2
2
(จะใช้วิธีการแบบั้อ 3 หรือ กออนุรัก์์พลังงานก็ได้)

- แทนค่าแล้วได้คาตอบที่ไม่ัึ้นกับ I 0 (0.3) 0.5


- ได้ค่า x ถูกต้อง x (0.2)
*******************************************
การแข่งขันฟิสิกส์โอลิมปิกระดับชาติ ครั้งที่ 16 ข้อสอบภาคทฤษฎี ข้อ 3
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เวลาสอบรวม 4 ชั่วโมง
วันที่ 9 มิถุนายน 2560 หน้า 1/8

ข้อ 3. สนามแม่เหล็กในเครื่องเร่งอนุภาค [10 คะแนน]


เครื่องเร่งอนุภาค (particle accelerator) คือเครื่องมือที่เร่งให้อนุภาคมีความเร็วและมีพลังงานสูง ซึ่ง
ถูกนาไปใช้ประโยชน์หลายอย่างทั้งทางด้านการวิจัยวิทยาศาสตร์พื้นฐาน ด้านการแพทย์และด้านอุตสาหกรรม
ส่วนประกอบที่สาคัญอย่างหนึ่งสาหรับเครื่องเร่งอนุภาคคืออุปกรณ์สาหรับบังคับทิศทางและโฟกัสลาอนุภาค
เพื่อให้นักเรียนเข้าใจเบื้องต้นเกี่ยวกับ อุปกรณ์นี้ในเครื่องเร่งอนุภาค เราจะศึกษาแบบจาลองอย่างง่าย
ของอุปกรณ์เหล่านี้ซึ่งใช้หลักการทางฟิสิกส์เดียวกันกับอุปกรณ์จริง และเราจะศึกษาเครื่องเร่งอนุภาคจาลอง
สาหรับอนุภาคโปรตอนที่มีความเร็วไม่สูงมากนั้น นักเรียนไม่ต้องคานึงถึงผลจากทฤษฎีสัมพัทธภาพ ไม่ต้อง
คานึงถึงผลจากแรงโน้มถ่วงและไม่ต้องคานึงถึงผลจากสนามแม่เหล็กโลก

กาหนดให้ อนุภาคโปรตอนมีมวล 1.67 10 27


kg
7
Magnetic permeability: 0
4 10 N A -2
12
Electric permittivity: 0
8.85 10 C2 N -1m 2

Part A: สนามแม่เหล็ก 2 ขั้ว (Magnetic Dipole) (2.7 คะแนน)

อนุภาคโปรตอนในลาอนุภาค มีพลังงานจลน์ Ek 4.0 MeV โดยที่ 1 eV = 1.6 10-19 J

A.1 (0.2 คะแนน) จงหาอัตราเร็วของโปรตอน v ในหน่วยเมตรต่อวินาที

ในการบั ง คั บ ทิ ศ ทางของล าอนุ ภ าคนั้ น เราใช้ ส นามแม่ เ หล็ ก 2 ขั้ ว หรื อ Magnetic Dipole จาก
กระแสไฟฟ้าที่ไหลในเส้นลวดนากระแสไฟฟ้าจานวนหลายเส้น ที่วางตัวในแนวขนานไปกับลาของอนุภาค ดังรูปที่
3.1 ตรงกลางระหว่างเส้นลวดเป็นท่อสุญญากาศทรงกระบอกสาหรับให้ลาอนุภาคเคลื่อนที่ผ่าน เส้นลวดกระแส
แบ่งออกเป็น 2 ซีก นาไฟฟ้าในทิศทางตรงข้ามกัน ทาให้เกิดสนามแม่เหล็กบริเวณตรงกลางทรงกระบอกซึ่ง
ค่อนข้างมีความสม่าเสมอ ลาอนุภาคเคลื่อนที่ตั้งฉากกับสนามแม่เหล็กที่กลางกระบอก
การแข่งขันฟิสิกส์โอลิมปิกระดับชาติ ครั้งที่ 16 ข้อสอบภาคทฤษฎี ข้อ 3
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เวลาสอบรวม 4 ชั่วโมง
วันที่ 9 มิถุนายน 2560 หน้า 2/8

รูปที่ 3.1 Magnetic Dipole สร้างจากกระแสไฟฟ้า (ลูกศรสีขาว) ที่ไหลสวนทางกัน

ในการศึกษานี้ เราจะใช้แบบจาลองอย่างง่ายดังรูปที่ 3.2 และรูปที่ 3.3 แบบจาลองประกอบด้วยเส้น


ลวดยาว D จานวน 2 เส้นที่ขนานกันและมีกระแส I ไหลในทิศทางตรงกันข้าม (กระแส I นี้เทียบเท่ากับ
กระแสรวมในเส้นลวดทั้งหมดในแต่ละซีกของรูปที่ 3.1) ท่อตรงกลางมีรัศมี R และรัศมีของเส้นลวดเล็กมากเมื่อ
เทียบกับ R นักเรียนไม่ต้องคานึงถึงกระแสไฟฟ้าบริเวณหัวและท้ายในการคานวณหาสนามแม่เหล็ก

ลาอนุภาค

รูปที่ 3.2 แบบจาลองอย่างง่ายของ Magnetic รูปที่ 3.3 หน้าตัดของแบบจาลอง Magnetic


Dipole โดยที่ D R (สเกลของรูปไม่ถูกต้อง) Dipole รัศมีของลวดเล็กมากเมื่อเทียบกับ R

A.2 (0.9 คะแนน) สนามแม่เหล็กบนแกน x ภายในทรงกระบอกสามารถประมาณให้อยู่ในรูปของ


I x x2
B(x ) 0
k0 k1 k2 เมื่อ x R โดยที่ k0, k1 และ k2 เป็นค่าคงตัว จงระบุทิศของ
2R R R2
สนามแม่เหล็กบนจุดที่อยู่บนแกน x พร้อมหาค่า k 0, k1 และ k2
n n(n 1)
นักเรียนอาจใช้การประมาณ 1 1 n 2
เมื่อ 1
2
การแข่งขันฟิสิกส์โอลิมปิกระดับชาติ ครั้งที่ 16 ข้อสอบภาคทฤษฎี ข้อ 3
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เวลาสอบรวม 4 ชั่วโมง
วันที่ 9 มิถุนายน 2560 หน้า 3/8

ในความเป็นจริงนั้น อุปกรณ์ Magnetic Dipole มีความโค้งที่สอดคล้องกับความโค้งของการเคลื่ อนที่


ของลาอนุภาคภายในไดโพล เพื่อรักษาให้ลาอนุภาคอยู่ตรงกลางตลอดเวลา แต่ความโค้งนี้ไม่ส่งผลต่อการคานวณ
สนามแม่เหล็กภายในไดโพล ในเครื่องเร่งอนุภาคจาลองชิ้นหนึ่ง มีการติดตั้ง Magnetic Dipole จานวน N ชิ้น
ที่ระยะห่างเท่า ๆ กัน ตามเส้นทางการเคลื่อนที่ของลาอนุภาคที่คล้ายวงกลมความยาวเส้นรอบวงประมาณ ดัง
รูปที่ 3.4 และเมื่ออนุภาคเคลื่อนที่ออกมาจาก Magnetic Dipole แล้วมันจะเคลื่อนที่เป็นเส้นตรง
วงกลม
เส้นรอบวง
อนุภาคเคลื่อนที่เป็นเส้นตรง
Magnetic Dipole เมื่อออกจาก Dipole

รูปที่ 3.4 การติดตั้ง Magnetic Dipole ซึ่งมีทั้งหมด N ชิ้น ในรูปนี้วาดแสดงเป็นตัวอย่างเพียง 3 ชิ้น

ผลที่ได้ในข้อ A.2 บ่งบอกว่าสนามแม่เหล็กเปลี่ยนแปลงน้อยที่บริเวณ x R ดังนั้นให้นักเรียนใช้


I
k0 0
เป็นค่าของสนามแม่เหล็กที่ลาอนุภาคเคลื่อนที่ผ่านภายใน Dipole (ในกรณีที่นักเรียนไม่สามารถ
2R
คานวณหาค่า k0 ในข้อ A.2 ได้ ให้นักเรียนสมมุติค่า k0 1.0 สาหรับการคานวณในข้อ A.3 และ A.4)

A.3 (1.4 คะแนน) จงหาว่ากระแส I ต้องมีค่าเท่าใด จึงจะทาให้ลาอนุภาคเคลื่อนที่รอบเครื่องเร่งอนุภาคได้


พอดี กาหนดให้โปรตอนแต่ละตัวมีมวล m ประจุ q อัตราเร็ว v และนักเรียนไม่ต้องคานึงถึงแรงระหว่าง
อนุภาคด้วยกันเอง

A.4 (0.2 คะแนน) กาหนดให้ความยาวของลวดนากระแสไฟฟ้า D 2.0 m , รัศมีทรงกระบอกสุญญากาศ


R 5.0 cm , จ านวน Magnetic Dipole N 10 และความยาวของเส้ น รอบวงของวงแหวน
400 m จงหาค่าของ I ในหน่วยแอมแปร์ (นักเรียนอาจไม่ได้ใช้ตัวแปรทุกตัว)

หมายเหตุ: เราจาลองให้อนุภาคมีพลังงานจลน์น้อย จึงทาให้กระแสไฟฟ้าที่คานวณได้มีค่าน้อยเมื่อเทียบ


กับเครื่องเร่งอนุภาคจริง
การแข่งขันฟิสิกส์โอลิมปิกระดับชาติ ครั้งที่ 16 ข้อสอบภาคทฤษฎี ข้อ 3
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เวลาสอบรวม 4 ชั่วโมง
วันที่ 9 มิถุนายน 2560 หน้า 4/8

Part B: การกระจายออกของลาอนุภาค (2.2 คะแนน)


แม้ไม่มีแรงภายนอกมากระทา ลาอนุภาคจะกระจายออกเนื่องจากแรงกระทาระหว่างอนุภาคด้วยกันเอง
ให้นักเรียนพิจารณาการเคลื่อนที่ของลาอนุภาคในบริเวณที่เป็นเส้นตรงที่ไม่มี Magnetic Dipole ให้สมมุติว่าลา
อนุ ภ าคโปรตอนมี ค วามยาว  มี รู ป ร่ า งเป็ น ทรงกระบอกรั ศ มี r โดยที่ r R และ r  ให้ ก าร
เปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นในแนวรัศมีเท่านั้น

B.1 (1.8 คะแนน) กาหนดให้ลาอนุภาคเริ่มเคลื่อนที่จากตาแหน่ง z 0 โดยมีความเร็วในแนวแกน z คงตัว


เท่ากับ v ในลาอนุภาคมีโปรตอนจานวน n อนุภาคกระจายอย่างสม่าเสมอ รัศมีเริ่มต้นของลาอนุภาค
เท่ากับ r0 จงหาแรงเนื่องจากสนามไฟฟ้าและแรงเนื่องจากสนามแม่เหล็ก แล้วหาความเร่ง a 0 ในแนว
รัศมี ของอนุภาคที่ขอบของลาอนุภาคที่ตาแหน่งเริ่มต้น

B.2 (0.4 คะแนน) รัศมีของลาอนุภาคจะเปลี่ยนโดยประมาณไปตามสมการ r r0 z2 สาหรับตาแหน่ง


1
z จงหาความสัมพันธ์ระหว่าง , a 0 และ v แล้วคานวณค่า เป็นตัวเลข
กาหนดให้ n 106 , พลังงานจลน์ของอนุภาค Ek 4.0 MeV , รัศมีเริ่มต้น r0 1.0 mm
ความยาวของลาอนุภาค   30 cm

หมายเหตุ: สาหรับลาอนุภาคที่มีความเร็วสูงมากใกล้ความเร็วแสง การกระจายของลาอนุภาคจะเกิดจาก


สาเหตุอื่นเป็นหลัก

Part C: การโฟกัสลาอนุภาค (5.1 คะแนน)


การกระจายออกของลาอนุภาคทาให้ต้องมีอุปกรณ์สาหรับโฟกัสลาอนุภาคให้มีขนาดเล็กและไม่กระจาย
ออกจากกั น อุ ป กรณ์ นี้ ท าหน้ า ที่ ค ล้ า ยกั บ เลนส์ ใ นทางทั ศ นศาสตร์ รู ป แบบหนึ่ ง ของอุ ป กรณ์ ป ระเภทนี้ คื อ
Magnetic Quadrupole ซึ่งมีแบบจาลองอย่างง่ายแสดงในรูปที่ 3.5 และ 3.6 โดยในแบบจาลองนี้ระนาบ xy
เป็นระนาบของ Magnetic Quadrupole และมีเส้นลวดจานวน 4 เส้น ที่มีกระแสไหลไปทาง z จานวนสอง
เส้น และไหลไปทาง z จานวนสองเส้น ขนาดของกระแสไฟฟ้าในแต่ละเส้นเท่ากับ I ระยะระหว่างเส้นลวดที่
มีกระแสไหลทิศเดียวกันเท่ากับเส้นผ่านศูนย์กลางของทรงกระบอก 2R เส้นลวดมีความยาว d R และ
รัศมีของเส้นลวดมีขนาดเล็กมากเมื่อเทียบกับ R สนามแม่เหล็กตรงกลางทรงกระบอกเสมือนมาจากขั้วแม่เหล็ก
จานวน 4 ขั้ว โดยที่ขั้วเหมือนกันถูกวางอยู่ตรงข้ามกัน ดังแสดงในรูปที่ 3.6
การแข่งขันฟิสิกส์โอลิมปิกระดับชาติ ครั้งที่ 16 ข้อสอบภาคทฤษฎี ข้อ 3
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เวลาสอบรวม 4 ชั่วโมง
วันที่ 9 มิถุนายน 2560 หน้า 5/8

S N

ลาอนุภาค
N S

รูปที่ 3.5 แบบจาลอง Magnetic Quadrupole เมื่อมอง รูปที่ 3.6 หน้าตัดของ Magnetic
ด้านข้าง โดยที่ d R (สเกลของรูปไม่ถูกต้อง) Quadrupole แสดงการไหลของ
กระแสไฟฟ้าที่สร้างสนามแม่เหล็ก วงกลม
บริเวณตรงกลางคือพื้นที่หน้าตัดของลา
อนุภาค (สเกลของรูปไม่ถูกต้อง)

ลาอนุภาคเคลื่อนที่เข้าที่จุดศูนย์กลางของเส้นลวดทั้ง 4 เส้นโดยแกนกลางของลาอนุภาคซ้อนทับกับ
แกนกลางของ Magnetic Quadrupole สนามแม่เหล็กบริเวณใกล้ ๆ แกนกลางของ Magnetic Quadrupole
เท่ากับ
B ay ˆi bx ˆj
เมื่อ a และ b คือค่าคงตัว

ใน Part C นี้ นักเรียนยังไม่ต้องคานึงถึงผลเนื่องจากแรงระหว่างอนุภาคด้วยกันเอง

เราเรียกเลนส์ ที่ใช้สนามแม่เหล็ กว่า Magnetic Lens หรือเลนส์แม่เหล็ ก หากอนุภาคถูกเบนเข้ าหา


แกนกลางแสดงว่าเลนส์แม่เหล็กทาตัวคล้ายเลนส์นูนที่มีความยาวโฟกัสเป็นบวก (ดูรูปที่ 3.7) หากอนุภาคถูกเบน
ออกจากแกนกลางแสดงว่าเลนส์แม่เหล็กทาตัวคล้ายเลนส์เว้าที่มีความยาวโฟกัสเป็นลบ (ดูรูปที่ 3.8)
การแข่งขันฟิสิกส์โอลิมปิกระดับชาติ ครั้งที่ 16 ข้อสอบภาคทฤษฎี ข้อ 3
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เวลาสอบรวม 4 ชั่วโมง
วันที่ 9 มิถุนายน 2560 หน้า 6/8

Magnetic Magnetic
Quadrupole Quadrupole

รูปที่ 3.7 Quadrupole ที่ทาตัวคล้ายเลนส์นูน รูปที่ 3.8 Quadrupole ที่ทาตัวคล้ายเลนส์เว้า

C.1 (0.3 คะแนน) ให้ลาอนุภาคเคลื่อนที่ไปทาง z ดังรูปที่ 3.5 และ 3.6 สาหรับอนุภาคที่เคลื่อนทีผ่ ่าน
แกน x (อยู่บนระนาบ xz ) นั้น Magnetic Quadrupole ทาตัวเป็นเลนส์นูนหรือเลนส์เว้า และสาหรับอนุภาค
ที่เคลื่อนที่ผ่านแกน y (อยู่บนระนาบ yz ) นั้น Magnetic Quadrupole ทาตัวเป็นเลนส์นูนหรือเลนส์เว้า ให้
ระบุคาตอบพร้อมเหตุผลประกอบในกระดาษสรุปคาตอบ

C.2 (1.8 คะแนน) จงหาค่าของ a และ b เมื่อ x R และ y R เขียนคาตอบในรูปของ 0


, R และ
I (ไม่ต้องคานวณเป็นตัวเลข)

C.3 (1.7 คะแนน) จงหาความยาวโฟกัส fx ของอนุภาคที่เคลื่อนที่ผ่านแกน x และหาความยาวโฟกัส fy


ของอนุภาคที่เคลื่อนที่ผ่านแกน y ให้ประมาณว่าความยาวของ Quadrupole มีขนาดน้อยมากเมื่อเทียบกับ
ความยาวโฟกัส ให้เขียนคาตอบในรูปของ a , b , d และความเร็ว v ในแนวแกน z ของอนุภาคแต่ละตัว
ที่มีมวล m ให้ใช้เครื่องหมาย + สาหรับเลนส์นูน และเครื่องหมาย – สาหรับเลนส์เว้า

การติดตัง้ Magnetic quadrupole จานวนหลายชิ้นวางห่างกันเป็นระยะ ๆ จะช่วยโฟกัสลาอนุภาคได้


ให้นักเรียนพิจารณา Magnetic Quadrupole คู่หนึ่งวางห่างกันเป็นระยะ L โดยที่ L d และมีการกลับทิศ
กระแสไฟฟ้าดังรูปที่ 3.9 เราจะใช้ Quadrupole คูน่ ี้เป็นตัวอย่างเพื่อช่วยทาความเข้าใจว่า Magnetic
Quadrupole จานวนหลายชิน้ ช่วยโฟกัสลาอนุภาคได้อย่างไร
การแข่งขันฟิสิกส์โอลิมปิกระดับชาติ ครั้งที่ 16 ข้อสอบภาคทฤษฎี ข้อ 3
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เวลาสอบรวม 4 ชั่วโมง
วันที่ 9 มิถุนายน 2560 หน้า 7/8

ภาพที่ 3.9 Quadrupole ที่วางเรียงต่อกัน ห่างกันเป็นระยะ L โดยที่ L d

อนุภาคเคลื่อนที่จากซ้ายไปขวาดังรูปที่ 3.9 ซึ่งเป็นการเคลื่อนที่ผ่านเลนส์แม่เหล็กจานวน 2 เลนส์ ให้


fx และ fy เป็น เป็นความยาวโฟกัสใหม่ของ Quadrupole คู่นี้ทางแกน x และแกน y ตามลาดับ โดยวัด
ความยาวโฟกัสระบบจาก Quadrupole ตัวที่สอง

C.4 (1.3 คะแนน) กาหนดให้ขนาด L fx และขนาด L fy จงหา fx และ fy โดยเขียนคาตอบในรูป


ของ m , v , q , a , b , d และ L และจากคาตอบที่ได้ ให้นักเรียนระบุพร้อมแสดงเหตุผลประกอบว่า
เลนส์รวมของแต่ละแกน เป็นเลนส์เว้าหรือเลนส์นูนลงในกระดาษสรุปคาตอบ

***** จบคาถามข้อ 3 *****

อ่านเป็นความรู้เพิ่มเติมหลังจากทาข้อสอบเสร็จแล้ว

เครื่ อ งเร่ ง อนุ ภ าคที่ เ ราศึ ก ษาในแบบจ าลองนี้ มี พ ลั ง งานน้ อ ยมากเที ย บกั บ เครื่ อ งเร่ ง อนุ ภ าคทั่ ว ไป
ตัวอย่างเช่น เครื่องเร่งอนุภาคขององค์กรวิจัยนิวเคลียร์ยุโรป (CERN) สามารถเร่งให้อนุภาคโปรตอนมีความเร็ว
0.999999989 เท่าของความเร็วแสง มีพลังงานสูงถึง 6.5 TeV และนาไปสู่การค้นพบอุนภาคมูลฐานฮิกส์โบ
ซอน (Higgs boson) ในปี ค.ศ. 2015 สาหรับประเทศไทยเรามีเครื่องกาเนิดแสงสยามที่มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี
สุรนารี ซึ่งสามารถเร่งอิเล็กตรอนให้มีพลังงานสูงถึง 1.2 GeV ที่ความเร็ว 0.999999909 เท่าของความเร็ว
แสง และใช้เป็นแหล่งกาเนิดแสงซินโครตรอน (synchrotron radiation) ย่านความถี่เอ็กซ์เรย์สาหรับงานวิจัย
วัสดุและสารชีวโมเลกุล
การแข่งขันฟิสิกส์โอลิมปิกระดับชาติ ครั้งที่ 16 ข้อสอบภาคทฤษฎี ข้อ 3
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เวลาสอบรวม 4 ชั่วโมง
วันที่ 9 มิถุนายน 2560 หน้า 8/8
ในกรณีที่อนุภาคมีพลังงานสูงมากนั้น ต้องใช้ขดลวดตัวนายิ่งยวดสาหรับการสร้างสนามแม่เหล็กความ
เข้ ม สู ง รู ป ที่ 3.10 แสดงหน้ า ตั ด ของ Magnetic Quadrupole ที่ CERN ใช้ ตั ว น ายิ่ ง ยวดน ากระแสไฟฟ้ า ที่
อุณหภูมิ 1.9 K ซึ่งจะเห็นว่ามีท่อสุญญากาศ 2 ท่อที่ขนานกันสาหรับให้อนุภาคโปรตอน 2 ลาเคลื่อนที่สวนทาง
กัน โดยที่กระแสใน Quadrupole แต่ละชิ้นแบ่งออกเป็น 4 ปีก (เลข 1 ถึงเลข 4) ในแต่ละปีกมีลวดตัวนายิ่งยวด
ประมาณ 30 กว่าเส้น ในแต่ละเส้นมีกระแสไฟฟ้าขนาดหลายพันแอมแปร์ ทาให้ได้กระแสไฟฟ้ารวมหลายแสน
แอมแปร์ เนื่องจากกระแสไฟฟ้ามีค่ามาก แรงระหว่างเส้นลวดจึงมีขนาดมากด้วยเช่นกัน บริเวณรอบ ๆ ลวด
ตัวนาเป็นวัสดุที่มีส่วนประกอบของเหล็กที่ยึดลวดให้คงรูปร่างเดิมไว้ บริเวณที่เป็นเหล็กนี้มีค่าสภาพยอมสัมพัทธ์
สูงซึ่งช่วยในการวนของสนามแม่เหล็กไม่ให้ออกไปสู่ภายนอก

4
2

รูปที่ 3.10 หน้าตัดของ Magnetic Quadrupole ที่ CERN ลวดตัวนายิ่งยวดมีจานวน 4 บริเวณ กระแสใน
บริเวณที่ 1 และ 3 ไหลทิศเดียวกัน และตรงข้ามกับกระแสในบริเวณ 2 และ 4 อนุภาคโปรตอนใน
แต่ละท่อมีทิศตรงกันข้าม ก่อนจะถูกบังคับให้มาชนกันในบริเวณที่เป็นเครื่องตรวจจับอนุภาค
ในการทดลองที่ CERN ลาอนุภาคมีรัศมีน้อยกว่า 1 มิลลิเมตร และมีความยาวประมาณ 30 cm
เรียกว่า bunch โดยในแต่ละ bunch มีอนุภาคโปรตอนประมาณ 1.2 1011 อนุภาค ในการทดลองแต่ละ
ครั้งมีจานวน bunch ทั้งหมด 2 2808 bunch ห่างกันเป็นระยะประมาณ 7.5 m เคลื่อนที่ไปพร้อม ๆ
กัน รอบวงแหวนใต้ดิน ความยาวประมาณ 27 km อนุภ าคจะเคลื่ อนที่ได้ประมาณ 11,245 รอบใน 1
วิ น าที ในการศึ ก ษาเรื่ อ งอนุ ภ าคมู ล ฐาน ล าอนุ ภ าคโปรตอนที่ เ คลื่ อ นที่ ส วนทางกั น จะโดนบี บ ด้ ว ย
Quadrupole แบบพิเศษให้ มี ข นาดเล็ กมากไม่ กี่ ไมครอนเพื่ อ เพิ่ม โอกาศในการชน เนื่องจากโปรตอนมี
พลังงานสูงมาก จึงต้องใช้ Dipole จานวนถึง 1,232 ชิ้นและใช้ Quadrupole ถึง 392 ชิ้น นอกจากนี้ยังมี
อุปกรณ์แม่เหล็กชนิดอื่น ๆ อีกหลายพันชิ้นตลอดเส้นรอบวง
อุป กรณ์แต่ล ะชิ้น ของเครื่ องเร่ งอนุ ภ าคมีความซั บซ้อนมาก การออกแบบเครื่องเร่งอนุภ าคให้ มี
พลังงานสูงขึ้นไปอีกเป็นสิ่งที่ท้าทายนักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่ ๆ
************************* จบข้อ 3 *************************
TPhO2017 ม.เกษตร 8 – 12 มิ.ย. 60 Solution ข้อ 3 Page 1 of 9

Solution ข้อ 3. สนามแม่เหล็กในเครื่องเร่งอนุภาค (10 คะแนน)

Part A: สนามแม่เหล็ก 2 ขั้ว (Magnetic Dipole) (2.7 คะแนน)

A.1 (0.2 คะแนน) จงหาอัตราเร็วของโปรตอน v ในหน่วยเมตรต่อวินาที

1
ความสัมพันธ์ของพลังงานจลน์และอัตราเร็ว Ek  mv 2 ซึ่งต้องแปลงหน่วยพลังงานเป็นจูลก่อนคานวณความเร็ว
2
2E
E  4.0 106 1.6 1019 J ได้อัตราเร็ว v   2.77 107 m/s
m

A.2 (0.9 คะแนน) สนามแม่เหล็กบนแกน x ภายในทรงกระบอกสามารถประมาณให้อยู่ในรูปของ


0 I  x x2 
B( x)  
 0 1
k k  k 2  เมื่อ x  R โดยที่ k0 , k1 และ k 2 เป็นค่าคงตัว จงระบุทิศของ
2R  R R2 
สนามแม่เหล็กบนจุดที่อยู่บนแกน x พร้อมหาค่า k0 , k1 และ k 2
n n(n 1)
นักเรียนอาจใช้การประมาณ 1 1 n 2
เมือ่ 1
2

เนื่องจากเส้นลวดยาวมากเมื่อเทียบกับรัศมีของมัน เราจึงสามารถคานวณหาสนามแม่เหล็กจากเส้นลวดยาวแต่ละเส้น
0 I
ตามกฎของแอมแปร์คือ และสนามแม่เหล็กจากเส้นลวดทั้งสองเสริมกันบนแกน x เมื่อใช้ระยะจากลวดแต่ละเส้น จะได้
2 r
0 I 0 I  I  2R 
B( x)    0  2  ทิศ  y หรือใช้ unit vector  j
2 ( R  x) 2 ( R  x) 2  R  x 2 
 I 2 2 x2
B( x)  0 (  ) เมื่อ x  R
2R   R2

2 2
ดังนั้น k0  , k1  0, k2 
 
TPhO2017 ม.เกษตร 8 – 12 มิ.ย. 60 Solution ข้อ 3 Page 2 of 9

A.3 (1.4 คะแนน) จงหาว่ากระแส I ตัองมีค่าเท่าใด จึงจะทาให้ลาอนุภาคเคลื่อนที่รอบเครื่องเร่งอนุภาคได้พอดี กาหนดให้


โปรตอนแต่ละตัวมีมวล m ประจุ q อัตราเร็ว v และนักเรียนไม่ต้องคานึงถึงแรงระหว่างอนุภาคด้วยกันเอง

ภายในไดโพล อนุภาคจะเคลื่อนทีเ่ ป็นส่วนโค้งของวงกลม


mv 2
เราสามารถคานวณรัศมีความโค้ง  ของไดโพล จาก  qvB

และมุมที่เบนไปต้องสอดคล้องกับ geometry ของไดโพล
D
คานวณ  จาก geometry ของไดโพล  

เมื่อ D คือความยาวของเส้นลวดนากระแสไฟฟ้า
เมื่อผ่านไดโพลจานวน N อันจะครบรอบพอดี จะได้ N   2
mv 2 mv
ดังนั้นสนามแม่เหล็กเท่ากับ B  
 q NDq

0 I 0 I 0 I 0 I
เมื่อเทียบกับสนามแม่เหล็กตามที่โจทย์ระบุ B( x)  k0  (หรือ B( x)  1.0  )
2R R 2R 2R
จะได้ว่า
2 2 Rmv 4 Rmv
I หรือ I 
0 NDq 0 NDq

A.4 (0.2 คะแนน) กาหนดให้ความยาวของลวดนากระแสไฟฟ้า D  2.0 m , รัศมีทรงกระบอกสุญญากาศ R  5.0 cm


, จานวน Magnetic Dipole N  10 และความยาวของเส้นรอบวงของวงแหวน  400 m จงหาค่าของ I ใน
หน่วยแอมแปร์ (นักเรียนอาจไม่ได้ใช้ตัวแปรทุกตัว)

แทนค่าตัวแปรต่างๆ และใช้สตู รทีไ่ ด้จากข้อ A.2 และใช้ความเร็วจากข้อ A.3


2 2 Rmv
I  1.14  104 A
0 NDq
4 Rmv
หรือ I   7.23 103 A
0 NDq
TPhO2017 ม.เกษตร 8 – 12 มิ.ย. 60 Solution ข้อ 3 Page 3 of 9

Part B: การกระจายออกของลาอนุภาค (2.2 คะแนน)

B.1 (1.8 คะแนน) กาหนดให้ลาอนุภาคเริ่มเคลื่อนที่จากตาแหน่ง z  0 โดยมีความเร็วในแนวแกน z คงตัวเท่ากับ v


ในลาอนุภาคมีโปรตอนจานวน n อนุภาคกระจายอย่างสม่าเสมอ รัศมีเริ่มต้นของลาอนุภาคเท่ากับ r0 จงหาความเร่ง
a0 ในแนวรัศมี ของอนุภาคที่ขอบของลาอนุภาคที่ตาแหน่งเริ่มต้น

ประจุในลาอนุภาคทาให้เกิดสนามไฟฟ้าและการเคลื่อนที่ของลาอนุภาคทาให้เกิดกระแสไฟฟ้าและสนามแม่เหล็กด้วย
ดังนั้น แรงระหว่างอนุภาคมีด้วยกัน 2 แรงคือแรงแม่เหล็กและแรงไฟฟ้า เนื่องจากลาอนุภาคมีขนาดเล็กเมื่อเทียบกับความยาว เรา
จึงสามารถใช้กฎของเกาส์และแอมแปร์ที่เหมาะสมได้

แรงไฟฟ้า
จากความสมมาตรของลาอนุภาคยาว เราประมาณได้ว่าสนามไฟฟ้าอยู่ในทิศตั้งฉากกับการเคลื่อนที่ (หรือขนานกับแนว
รัศมีของลาอนุภาค) สนามไฟฟ้าสามารถคานวณได้โดยสร้าง Gaussian surface เป็นทรงกระบอกรอบลาอนุภาค คานวณฟลักซ์
ไฟฟ้าและประจุภายใน nq ได้
nq
E
2 0 r0
nq 2
ดังนั้น แรงไฟฟ้าที่ขอบของลาอนุภาค FE  qE  ทิศออกจากแกนกลาง
2 0 r0
แรงแม่เหล็ก
สนามแม่เหล็กมาจากการกระแสไฟฟ้าที่เกิดจากการเคลื่อนที่อนุภาค เมื่อลาอนุภาคความยาว  อนุภาคประจุ q
จานวน n ตัวเคลื่อนที่ด้วยความเร็ว v เท่ากับมีกระแสไฟฟ้า
Q  vt nqv
I  
t t 
เมื่อ  คือประจุต่อความยาว การคานวณสนามแม่เหล็กทาได้โดยสร้าง Amperian loop รอบลาอนุภาค
0 I 0 nqv
B 
2 r 2 r0
0 nq 2v 2
ดังนั้น แรงแม่เหล็กที่ขอบของลาอนุภาค FB  qvB  ทิศเข้าสู่แกนกลาง
2 r0
แรงลัพธ์และความเร่ง
แรงลัพธ์เกิดจากการรวมแรงไฟฟ้าและแรงแม่เหล็กซึ่งมีทิศตรงข้ามกัน
nq 2  nq 2v 2 nq 2 nq 2  v2 
F
2 0 r0
 0
2 r0

2 0 r0
1   0 0 v 2  
2 0 r0
1  2 
 c 
TPhO2017 ม.เกษตร 8 – 12 มิ.ย. 60 Solution ข้อ 3 Page 4 of 9

v2
ทิศออกไปตามแนวรัศมีทรงกระบอกเนื่องจาก  0 0v 2   1 (นักเรียนไม่จาเป็นต้องเขียน  0 0  1 c 2 ) แรงลัพธ์นจี้ ะมี
c2
ค่าน้อยมากเมื่ออนุภาคมีความเร็วเข้าใกล้ความเร็วแสงในเครื่องเร่งอนุภาคทั่วไป (ซึ่งการกระจายออกจะมาจากกระบวนการอื่นเป็น
หลัก)
F nq 2  v 2 
ดังนั้น ความเร่ง a0   1  
m 2 0 r0 m  c 2 

1
B.2 (0.4 คะแนน) รัศมีของลาอนุภาคจะเปลีย่ นโดยประมาณไปตามสมการ r  r0   z 2 สาหรับตาแหน่ง z 

โดยที่  เป็นค่าคงตัว จงหาความสัมพันธ์ระหว่าง  , a 0 และ v และคานวณค่า  เป็นตัวเลข กาหนดให้
n  106 , พลังงานจลน์ของอนุภาคเท่ากับ E  4.0 MeV , รัศมีเริม่ ต้น r0  1.0 mm ความยาวของลาอนุภาค
  30 cm
เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงเกิดในแนวรัศมี ความเร็วในแนวแกน z จึงคงตัว หรือระยะ z  vt นาไปแทนค่าในสมการ
รัศมีที่โจทย์กาหนดให้ จะได้ r  r0   v 2t 2 ซึ่งเมื่อหาอนุพันธ์เทียบกับเวลาจะได้วา่ ความเร่งในแนวรัศมีเท่ากับ a0  2 v 2
nq 2
ดังนั้น
a0 1
 2 2
2v 2v 2 0 r0 m
1   0 0 v 2 

2E
หาค่า v จากพลังงานจลน์ v  ตามข้อ A.1
m
แทนค่าตัวเลขทั้งหมด ได้   5.94 107 m-1
(ซึ่งแสดงว่าอนุภาควนไปสองสามรอบก็จะมีรัศมีเพิม่ ขึ้นอย่างมีนัยสาคัญ)

หมายเหตุ: ที่มาของสูตร r  r0   z 2 (ไม่ได้ให้นักเรียนพิสูจน์ เพราะเป็นคณิตศาสตร์ล้วน)


d 2 r 1 nq 2  v 2  K
จากความเร่ง a   1    และ z  vt สาหรับลารัศมี r ใดๆ
dt 2 r 2 0 m  c 2  r
dvr 1 d  vr  K r
2
d 2r dr dr
ดังนั้น 2  vr   เมื่ออินทิเกรตจะได้ vr  2 K ln   และ vr   v
dt dr 2 dr r  r0  dt dz
ไม่สามารถหา exact solution ต่อได้ ต้องใช้การประมาณ r  r0   เมื่อ  มีค่าน้อย จะได้
d  r     2K
v  2 K ln  0   2 K ln 1    
dz  r0   r0  r0
 K 
เมื่ออินทิเกรตจะได้   2 z 2 หรือ r  r0   2  z 2  r0   02  z 2
K a
2v r0  2v r0   2v 
TPhO2017 ม.เกษตร 8 – 12 มิ.ย. 60 Solution ข้อ 3 Page 5 of 9

Part C: การโฟกัสลาอนุภาค (5.1 คะแนน)

C.1 (0.3 คะแนน) ให้ลาอนุภาคเคลือ่ นที่ไปทาง z ดังรูปที่ 3.5 และ 3.6 สาหรับอนุภาคที่เคลื่อนที่ผ่านแกน x (อยู่
บนระนาบ xz ) นั้น Magnetic Quadrupole ทาตัวเป็นเลนส์นูนหรือเลนส์เว้า และสาหรับอนุภาคที่เคลือ่ นที่ผ่านแกน
y (อยู่บนระนาบ yz ) นั้น Magnetic Quadruple ทาตัวเป็นเลนส์นูนหรือเลนส์เว้า ให้ระบุคาตอบพร้อมเหตุผล
ประกอบในกระดาษสรุปคาตอบ

ใช้กฎมือขวาในการหาทิศของแรงแม่เหล็กที่ทากระทากับอนุภาคโปรตอน
อนุภาคบนแกน x มีแรงกระทาเข้าหาแกนกลาง จึงเป็นเลนส์นูน
อนุภาคบนแกน y มีแรงกระทาออกจากแกนกลาง จึงเป็นเลนส์เว้า

C.2 (1.8 คะแนน) จงหาค่าของ a และ b เมื่อ x  R และ y  R เขียนคาตอบในรูปของ 0 , R และ I (ไม่
ต้องคานวณเป็นตัวเลข)

สนามแม่เหล็กเกิดจากกระแสไฟฟ้า 4 เส้น เราสามารถใช้กฎของแอมแปร์ในการหาสนามแม่เหล็กจากแต่ละเส้น แล้ว


นามารวมกัน โดยคิดองค์ประกอบตามแกนที่พิจารณา

พิจารณาขนาดสนามแม่เหล็กบนแกน x (หรือ y ก่อนก็ได้) ภายในทรงกระบอก


0 I
จากลวดขวา ขนาด B 
2 ( R  x)
0 I
จากลวดซ้าย ขนาด B 
2 ( R  x)
0 I
จากลวดบน ขนาด B 
2 R 2  x 2
0 I
จากลวดล่าง ขนาด B 
2 R 2  x 2

เนื่องจากความสมมาตร สนามแม่เหล็กในแกนนอนจะหักล้างกันหมดไป เหลือสนามรวมในแนวแกนตั้ง ดังนั้น ต้องแยก


องค์ประกอบของสนามจากลวดบนและล่าง เอาเฉพาะในแนวแกนตั้ง
0 Ix
ขนาดองค์ประกอบในแนวแกนตั้ง จากลวดบน B 
2 ( R 2  x 2 )
0 Ix
ขนาดองค์ประกอบในแนวแกนตั้ง จากลวดล่าง B 
2 ( R 2  x 2 )
TPhO2017 ม.เกษตร 8 – 12 มิ.ย. 60 Solution ข้อ 3 Page 6 of 9

ดังนั้นสนามลัพธ์บนแกน x (คานึงถึงเครื่องหมาย + และ –)


0 I 0 I 0 Ix 0 Ix
B( x)     
2 ( R  x) 2 ( R  x) 2 ( R  x )
2 2
2 ( R 2  x 2 )
0 I  4 xR 2 
  
2  R 4  x 4 
2 I
  02 x
R

2 0 I
เมื่อเปรียบเทียบกับสมการ B  ayˆi  bxˆj สรุปได้ว่า b  
 R2
2 I
จากความสมมาตรของโครงสร้างเส้นลวด เราสรุปได้ทันทีว่า a   02 เช่นกัน
R

C.3 (1.7 คะแนน) จงหาความยาวโฟกัส f x ของอนุภาคที่เคลื่อนที่ผ่านแกน x และหาความยาวโฟกัส f y ของอนุภาค


ที่เคลื่อนที่ผ่านแกน y ให้ประมาณว่าความยาวของ Quadrupole มีขนาดน้อยมากเมื่อเทียบกับความยาวโฟกัส ให้
เขียนคาตอบในรูปของ a , b , d และความเร็ว v ในแนวแกน z ของอนุภาคแต่ละตัวที่มีมวล m ให้ใช้
เครื่องหมาย + สาหรับเลนส์นูน และเครื่องหมาย – สาหรับเลนส์เว้า

แบบที่ 1 ใช้ Impulse


เนื่องจากความเร็วในแนวแกน x และ y มีค่าน้อยเทียบกับความเร็วในแนวแกน z หรือ ความยาวของ Quadrupole
มีขนาดน้อยมากเมื่อเทียบกับความยาวโฟกัส เราจึงสามารถใช้แนวคิดแบบอิมพัลซ์ได้ แรงที่กระทาในแนวตั้งฉากกับลาอนุภาคถือ
d
ว่าเกิดขึ้นในช่วงเวลาน้อยๆ t 
v

พิจารณาอนุภาคโปรตอนบนตาแหน่ง x ซึ่งเป็นเลนส์นูน
อิมพัลซ์บนอนุภาคบนแกน x เท่ากับ
d
Px  qvBt   qv  bx   bqdx
v

Magnetic
จากรูปสามเหลี่ยม เราได้อัตราส่วน Quadrupole
Px bqdx x
 
Pz mv fx
mv
ดังนั้นความยาวโฟกัส f x   และคาตอบไม่ขึ้นกับค่า x ดังนั้น อนุภาคทุกตัวบนแกน x มีระยะโฟกัสเท่ากัน
bqd
TPhO2017 ม.เกษตร 8 – 12 มิ.ย. 60 Solution ข้อ 3 Page 7 of 9

แบบที่ 2 ใช้สมการ SHM


พิจารณาจากแรงที่กระทากับอนุภาคที่ตาแหน่ง x เท่ากับ
d 2x
m  qvB  bqvx
dt 2
ซึ่งเป็นสมการ SHM และมีคาตอบคือ
 qvb 
x  x0 cos  t 
 m 
เมื่อนาอนุพันธ์เทียบเวลาเพื่อหาความเร็วในแกน x จะได้
qvb  qvb 
vx   x0 sin  t 
m  m 
d
อนุภาคใช้เวลาประมาณ t  ในการเคลื่อนที่ผ่าน Quadrupole และเราใช้การประมาณ sin   สาหรับเฟส
v
น้อยๆ ดังนั้น
qvb qvb d qbdx0
vx   x0 
m m v m

vx bqdx0 x0 mv
จากรูปสามเหลี่ยม เราได้อัตราส่วน   ซึ่งให้คาตอบเดียวกัน f x   ซึ่งเป็นเลนส์นูน
vz mv fx bqd

mv
จากความสมมาตรของระบบ (หรือทาซ้าอีกครั้ง) เราได้ความยาวโฟกัส f y   เลนส์เว้า
aqd

หมายเหตุ:
d2y
ในกรณีทนี่ ักเรียนทาเลนส์เว้าก่อน จะเจอ m  qvB   aqvy ซึ่งจะเป็นฟังก์ชั่น hyperbolic หรือ
dt 2
qvb d
exponential แล้วใช้การประมาณ มีค่าน้อยแล้วจะได้คาตอบเดียวกัน ให้ใช้แนวทางการตรวจ SHM
m v

C.4 (1.3 คะแนน) กาหนดให้ขนาด L  f x และขนาด L  f y อนุภาค จงหา f x และ f y เขียนคาตอบในรูปของ m ,


v , q , a , b , d และ L จากคาตอบทีไ่ ด้ ให้นกั เรียนระบุพร้อมแสดงเหตุผลประกอบว่าเลนส์รวมของแต่ละแกน เป็น
เลนส์เว้าหรือเลนส์นูนลงในกระดาษสรุปคาตอบ
TPhO2017 ม.เกษตร 8 – 12 มิ.ย. 60 Solution ข้อ 3 Page 8 of 9

การสลับกระแสมีผลให้เกิดการสลับประเภทของเลนส์ (จากเลนส์ นูนกลายเป็นเลนส์เว้า และเว้ากลายเป็นนูน ) และเรา


สามารถใช้แนวคิดเลนส์บางได้ เพราะขนาดความยาวโฟกัส f  L  d
TPhO2017 ม.เกษตร 8 – 12 มิ.ย. 60 Solution ข้อ 3 Page 9 of 9

พิจารณาอนุภาคบนแนวแกน x
- ลาอนุภาคขนานที่เข้ามาจากซ้ายมือ
- เลนส์ตัวที่หนึ่งเป็นเลนส์นูน ความยาวโฟกัส f x (มีค่าบวก)
- เลนส์ตัวที่สองเป็นเลนส์เว้าเนื่องจากมีการสลับกระแส ความยาวโฟกัส f y (มีค่าติดลบ)
- เลนส์นูนและเลนส์เว้ามีขนาดความยาวโฟกัสเท่ากัน f x  f y  0
- ภาพจากเลนส์ที่หนึ่งจะเป็นวัตถุให้เลนส์ที่สอง
- ระยะภาพจากเลนส์ที่สองก็คือระยะโฟกัสของระบบ f x

1 1 1
ได้สมการเลนส์บางตัวที่สอง   จัดรูปและใช้สมการ f x  f y  0 จะได้ความยาวโฟกัส
L  f x f x f y
mv  mv 
  L
 f y  f x  L  aqd  bqd 
f x  
L L

ซึ่งมากกว่าศูนย์ (เพราะ f y เป็นลบ f x  L ) แสดงว่า Magnetic Quadrupole คู่นี้เป็นเลนส์นูนทางแกน x

พิจารณาแบบเดียวกันบนแกน y
- อนุภาคจะผ่านเข้ามาทางเลนส์เว้าก่อน แล้วไปเจอเลนส์นูน
1 1 1
ได้สมการเลนส์บางตัวที่สอง (เลนส์นูน)   จัดรูป ได้ความยาวโฟกัส
L  f y f y f x
mv  mv 
L
f x  L  f y  bqd 
 aqd 
f y  
L L
ซึ่งมากกว่าศูนย์ (เพราะ f y เป็นลบ f x เป็นบวก) แสดงว่า Magnetic Quadrupole คู่นี้เป็นเลนส์นูนทางแกน y ด้วย

f2
จะเห็นว่าทั้งสองแกนกลายเป็นเลนส์นูน และหาก f  L จะได้ f x  f y
L

๓๓๓๓๓๓๓๓๓๓๓๓๓๓๓๓๓๓๓๓๓๓๓๓๓๓๓๓๓๓๓๓๓
TPhO2017 ม.เกษตร 8 – 12 มิ.ย. 60 Marking Scheme ข้อ 3 Page 1 of 7

Marking Scheme: ข้อ 3. สนามแม่เหล็กในเครื่องเร่งอนุภาค (10 คะแนน)


ฟิสิกส์ = เข้าใจหลักการ แนวคิด ทฤษฎีทางฟิสิกส์ และนาไปใช้ได้อย่างถูกต้อง
คณิตศาสตร์ = ใช้คณิตศาตร์ที่ถูกต้องในการแก้ปัญหา
อื่นๆ = เช่น การสรุปคาตอบ การแทนค่า การใช้เครื่องคานวณ

Part A: สนามแม่เหล็ก 2 ขั้ว (Magnetic Dipole) (2.7 คะแนน)


A.1 (0.2 คะแนน) จงหาอัตราเร็วของโปรตอน v ในหน่วยเมตรต่อวินาที

Marking Scheme
1
1. ความสัมพันธ์ของพลังงานจลน์ Ek  mv 2 และการเปลีย่ นหน่วย 0.1 ฟิสิกส์
2
2E 0.1 อื่นๆ
2. ได้คาตอบ v   2.77 107 m/s
m
รวม 0.2 0.1, 0.0 ,0.1

A.2 (0.9 คะแนน) สนามแม่เหล็กบนแกน x ภายในทรงกระบอกสามารถประมาณให้อยู่ในรูปของ


I x x2
B(x ) 0
k0 k1 k2 2 เมื่อ x R โดยที่ k 0 , k1 และ k2 เป็นค่าคงตัว
2R R R
จงระบุทิศของสนามแม่เหล็กบนจุดที่อยู่บนแกน x พร้อมหาค่า k 0 , k1 และ k2 นักเรียนอาจใช้การประมาณ
n n(n 1)
1 1 n 2
เมื่อ 1
2
Marking Scheme
1. ใช้กฎของแอมแปร์ทสี่ อดคล้องกับโจทย์ (ไม่ใช่ยกขึ้นมาลอยๆ) หรือใช้กฎ
0.2 ฟิสิกส์
Biot-Savart ที่สอดคล้องกับโจทย์
2. ใช้แนวคิดการรวมสนามอย่างถูกต้อง
0 I 0 I 0.2 ฟิสิกส์
B( x)  
2 ( R  x) 2 ( R  x)
3. มีการระบุทิศที่ถูกต้องตามกฎมือขวา 0.2 ฟิสิกส์
0 I 2 2 x 2 0.2 คณิต
4. จัดรูปและใช้การประมาณที่ถูกต้อง B( x)  (  )
2R   R2
2 2
5. มีการระบุ k0  , k1  0, k2  ถูกต้องทั้ง 3 ตัว 0.1 อื่นๆ
 
รวม 0.9 0.6, 0.2, 0.1
TPhO2017 ม.เกษตร 8 – 12 มิ.ย. 60 Marking Scheme ข้อ 3 Page 2 of 7

A.3 (1.4 คะแนน) จงหาว่ากระแส I ตัองมีค่าเท่าใด จึงจะทาให้ลาอนุภาคเคลื่อนที่รอบเครื่องเร่งอนุภาคได้พอดี กาหนดให้


โปรตอนแต่ละตัวมีมวล m ประจุ q อัตราเร็ว v และนักเรียนไม่ต้องคานึงถึงแรงระหว่างอนุภาคด้วยกันเอง

Marking Scheme
1. แรงเนื่องจากสนามแม่เหล็กบนประจุ เท่ากับ qvB 0.1 ฟิสิกส์
2
mv
2. แนวคิดความเร่งและสมการแรงเข้าสู่ศูนย์กลาง  qvB 0.2 ฟิสิกส์

3. ระบุหรือแสดงให้เห็นว่า  เป็นรัศมีความโค้งของไดโพล
(ไม่ใช่ของวงแหวน และไม่ได้เขียนสูตรขึ้นมาลอยๆ) อาจดูจากการคานวณ 0.3 ฟิสิกส์
ถัดๆ ไป
D
4. คานวณมุมทีเ่ ปลีย่ นไปเมื่อผ่านไดโพล   0.2 คณิต

5. สมการของมุมเมื่อเคลื่อนที่ครบรอบ N   2 0.3 คณิต
2 Rmv
2
4 Rmv
6. คาตอบสุดท้าย I  หรือ I  0.3 อื่นๆ
0 NDq 0 NDq
รวม 1.4 0.6, 0.5, 0.3

A.4 (0.2 คะแนน) กาหนดให้ความยาวของลวดนากระแสไฟฟ้า D  2.0 m , รัศมีทรงกระบอกสุญญากาศ R  5.0 cm


, จานวน Magnetic Dipole N  10 และความยาวของเส้นรอบวงของวงแหวน  400 m จงหาค่าของ I ในหน่วย
แอมแปร์ (นักเรียนอาจไม่ได้ใช้ตัวแปรทุกตัว)

Marking Scheme
2 2 Rmv
1. คานวณได้ I   1.14  104 A หรือ
0 NDq
0.2 อื่นๆ
4 Rmv
I  7.23 103 A
0 NDq
รวม 0.2 0.0, 0.0 ,0.2
TPhO2017 ม.เกษตร 8 – 12 มิ.ย. 60 Marking Scheme ข้อ 3 Page 3 of 7

Part B: การกระจายออกของลาอนุภาค (2.4 คะแนน)

B.1 (1.8 คะแนน) กาหนดให้ลาอนุภาคเริ่มเคลื่อนที่จากตาแหน่ง z  0 โดยมีความเร็วในแนวแกน z คงตัวเท่ากับ v


ในลาอนุภาคมีโปรตอนจานวน n อนุภาคกระจายอย่างสม่าเสมอ รัศมีเริ่มต้น ของลาอนุภาคเท่ากับ r0 จงหาแรง
เนื่องจากสนามไฟฟ้าและแรงเนื่องจากสนามแม่เหล็ก แล้วหาความเร่ง a 0 ในแนวรัศมี ของอนุภาคที่ขอบของลาอนุภาค
ที่ตาแหน่งเริ่มต้น

Marking Scheme
1. หาประจุต่อหน่วยความยาวหรือหาประจุต่อหน่วยปริมาตรเพื่อนาไปใช้กับกฎ
ของเกาส์หรือกฎของแอมแปร์หรือ Biot-Savart หรือเพื่อการแก้ปญ ั หาอื่นๆ 0.1 ฟิสิกส์
ที่สอดคล้องกับโจทย์ (ไม่ใช่ยกสมการขึ้นมาลอยๆ)
2. ใช้กฎของเกาส์ (0.1), เข้าใจการสร้าง Gaussian surface (0.1), หาพื้นที่
ของฟลักซ์ (0.1), หาประจุที่อยู่ข้างใน (0.1) และใช้กฎของเกาส์ได้อย่าง
nq 0.5 ฟิสิกส์
ถูกต้อง จนได้สมการ E  (0.1)
2 0 r
(หรือนักเรียนหาคาตอบด้วยวิธีอื่นจนได้คาตอบที่เทียบเท่า)
3. แรงจากสนามไฟฟ้า FE  qE 0.1 ฟิสิกส์
4. เข้าใจว่าประจุเคลื่อนที่มีกระแสไฟฟ้า (0.1) และหากระแสไฟฟ้าได้
nqv 0.3 ฟิสิกส์
I (0.2)

5. ใช้กฎของแอมแปร์ (01), เข้าใจการสร้าง Amperian loop (0.1), แทน
ค่ากระแส (0.1) และใช้กฎของแอมแปร์ได้อย่างถูกต้อง จนได้สมการ
0 nqv 0.4 ฟิสิกส์
B (0.1)
2 r
(หรือนักเรียนหาคาตอบด้วยวิธีอื่นจนได้คาตอบที่เทียบเท่า)
6. แรงจากสนามแม่เหล็ก ( FB  qvB ) 0.1 ฟิสิกส์
nq 2
7. เข้าใจว่าแรงตรงกันข้าม (0.1) รวม F 
2 0 r
1   0 0v2  (0.1) 0.2 ฟิสิกส์
(ไม่ต้องระบุวา่ แรงลัพธ์ชี้ออก เพราะโจทย์บอกไว้แล้ว)
nq 2
8. ได้คาตอบความเร่งที่ถูกต้อง a0 
2 0 r m
1   0 0v2  0.1 ฟิสิกส์
รวม 1.8 1.8, 0.0, 0.0
TPhO2017 ม.เกษตร 8 – 12 มิ.ย. 60 Marking Scheme ข้อ 3 Page 4 of 7

1
B.2 (0.4 คะแนน) รัศมีของลาอนุภาคจะเปลีย่ นโดยประมาณไปตามสมการ r  r0   z 2 สาหรับตาแหน่ง z 

โดยที่  เป็นค่าคงตัว จงหาความสัมพันธ์ระหว่าง  , a 0 และ v และคานวณค่า  เป็นตัวเลข กาหนดให้
n  106 , พลังงานจลน์ของอนุภาคเท่ากับ E  4.0 MeV , รัศมีเริม่ ต้น r0  1.0 mm ความยาวของลาอนุภาค
  30 cm

Marking Scheme
1. การเคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงตัว z  vt 0.1 ฟิสิกส์
a0
2. หาความเร่งจากสมการรัศมี ได้ความสัมพันธ์   0.2 ฟิสิกส์
2v 2
3. แทนค่าตัวเลขต่างๆ ได้คาตอบ   5.94 107 m-1
0.1 อื่นๆ
(ซึ่งแสดงว่าอนุภาควนไปสองสามรอบก็จะมีรัศมีเพิม่ ขึ้นอย่างมีนัยสาคัญ)
รวม 0.4 0.3, 0.0, 0.1

Part C: การโฟกัสลาอนุภาค (5.1 คะแนน)


C.1 (0.3 คะแนน) ให้ลาอนุภาคเคลือ่ นที่ไปทาง z ดังรูปที่ 3.5 และ 3.6 สาหรับอนุภาคที่เคลื่อนที่ผ่านแกน x (อยู่
บนระนาบ xz ) นั้น Magnetic Quadrupole ทาตัวเป็นเลนส์นูนหรือเลนส์เว้า และสาหรับอนุภาคที่เคลือ่ นที่ผ่านแกน
y (อยู่บนระนาบ yz ) นั้น Magnetic Quadruple ทาตัวเป็นเลนส์นูนหรือเลนส์เว้า ให้ระบุคาตอบพร้อมเหตุผล
ประกอบในกระดาษสรุปคาตอบ

Marking Scheme
1. มีการพิจารณาแรงหรืออิมพัลซ์ที่กระทากับอนุภาค เพื่อหาทิศการเคลื่อนที่ มี
0.1 ฟิสิกส์
การอ้างอิงถึงกฎมือขวา หรือคูณกันแบบเวกเตอร์
2. ใช้กฎมือขวาได้ถูกต้อง ได้คาตอบถูกต้อง แกน x เป็นเลนส์นูน (0.1), แกน
0.2 ฟิสิกส์
y เลนส์เว้า (0.1)
รวม 0.3 0.3, 0.0, 0.0
TPhO2017 ม.เกษตร 8 – 12 มิ.ย. 60 Marking Scheme ข้อ 3 Page 5 of 7

C.2 (1.8 คะแนน) จงหาค่าของ a และ b เมื่อ x  R และ y  R เขียนคาตอบในรูปของ 0 , R และ I (ไม่
ต้องคานวณเป็นตัวเลข)

Marking Scheme
1. ใช้กฎของแอมแปร์ได้สอดคล้องกับโจทย์ 0.1 ฟิสิกส์
2. ใช้กฎของแอมแปร์หา ขนาด สนามแม่เหล็กบนแกน x (หรือ y )
0 I
จากลวดขวา ขนาด B  (0.1)
2 ( R  x)
0 I
จากลวดซ้าย ขนาด B  (0.1)
2 ( R  x)
0.4 ฟิสิกส์
0 I
จากลวดบน ขนาด B  (0.1)
2 R 2  x 2
0 I
จากลวดล่าง ขนาด B  (0.1)
2 R 2  x 2

3. แสดงหรือให้เหตุผล ว่าสนามในแนวแกนนอนหักล้างกันทั้งหมด บนแกน x 0.2 คณิต


4. หาขนาดองค์ประกอบเฉพาะในแนวแกนตั้ง (0.1) จากลวดบนและล่างได้ถูกต้อง
0 Ix 0.3 คณิต
B (0.1 x 2)
2 ( R  x )
2 2

5. รวมสนามแม่เหล็กจากลวดทั้งหมด เครื่องหมาย + และ – ที่ถูกต้อง


0 I 0 I 0 Ix 0 Ix 0.2 ฟิสิกส์
B( x)     
2 ( R  x) 2 ( R  x)
2 ( R  x ) 2 ( R  x )
2 2 2 2

2 I
6. จัดรูปและใช้การประมาณสาหรับ x  R ได้ B( x)   02 x 0.2 คณิต
R
2 I
7. ตอบ b   02 0.1 อื่นๆ
R
8. ใช้แนวคิดความสมมาตร หรือพิสูจน์ซ้าอีกครั้งในอีกแกนหนึ่ง (0.2) ตอบ
2 0 I 0.3 ฟิสิกส์
a (0.1)
 R2
รวม 1.8 1.0, 0.7, 0.1
TPhO2017 ม.เกษตร 8 – 12 มิ.ย. 60 Marking Scheme ข้อ 3 Page 6 of 7

C.3 (1.7 คะแนน) จงหาความยาวโฟกัส f x ของอนุภาคที่เคลื่อนที่ผ่านแกน x และหาความยาวโฟกัส f y ของอนุภาค


ที่เคลื่อนที่ผ่านแกน y ให้ประมาณว่าความเร็วในแนวแกน x และ y มีค่าน้อยเทียบกับความเร็วในแนวแกน z ให้
เขียนคาตอบในรูปของ a , b , d และความเร็ว v ในแนวแกน z ของอนุภาคแต่ละตัวที่มีมวล m ให้ใช้
เครื่องหมาย + สาหรับเลนส์นูน และเครื่องหมาย – สาหรับเลนส์เว้า

Marking Scheme
1. ใช้แนวคิดกับกับ Impulse หรือแนวคิดเกี่ยวกับแรงในการหาโมเมนตัมหรือ
0.2 ฟิสิกส์
ความเร็วในแนวตั้งฉากกับการเคลือ่ นที่ของลาอนุภาค
2. แสดงความเข้าใจหรือระบุว่า ระยะเวลาที่เคลื่อนที่ผ่าน Quadrupole นั้นน้อย
เทียบกับเวลาของการเคลื่อนทีไ่ ปยังจุดโฟกัส หรือแสดงความเข้าใจมีการเปลี่ยน 0.2 ฟิสิกส์
ตาแหน่งน้อยในแนวตั้งฉากระหว่างที่ยังอยู่ภายใน Quadrupole
d
3. สมการเวลาภายใน Quadrupole, t  0.1 ฟิสิกส์
v
4. ได้สมการ Impulse Px  qvBt
d 2x
หรือ ได้สมการแรง m  bqdx 0.3 ฟิสิกส์
dt 2
d2y
(หรือ ถ้าเริ่มเลนส์เว้าก่อน จะได้ m 2   aqdy )
dt
5. ได้คาตอบของ Impulse, Px  bqdx
qbdx0 0.2 คณิต
หรือ ได้ความเร็วเข้าหาแกนกลาง vx  
m
6. ใช้อัตราส่วน หรือ สามเหลี่ยมที่ถกู ต้องในการหาคาตอบ 0.2 คณิต
mv
7. ได้คาตอบความยาวโฟกัสในแกนแรกที่คานวณ f x   หรือตอบ
bqd
mv 0.2 อื่นๆ
fx   สาหรับนักเรียนที่ได้ค่า a  b ในข้อ A.2
aqd
(ไม่สนใจเครื่องหมาย เพราะถามแล้วในข้อ C.1)
mv
8. ใช้ความสมมาตรหรือทาซ้าอีกครั้งในอีกแกน (0.2) และได้คาตอบ f y  
aqd
mv 0.3 ฟิสิกส์
หรือตอบ f y   สาหรับนักเรียนที่ได้ค่า a  b ในข้อ A.2 (0.1)
bqd
(ไม่สนใจเครื่องหมาย เพราะถามแล้วในข้อ C.1)
รวม 1.7 1.1, 0.4, 0.2
TPhO2017 ม.เกษตร 8 – 12 มิ.ย. 60 Marking Scheme ข้อ 3 Page 7 of 7

C.4 (1.3 คะแนน) กาหนดให้ขนาด L  f x และขนาด L  f y อนุภาค จงหา f x และ f y เขียนคาตอบในรูปของ m ,


v , q , a , b , d และ L จากคาตอบทีไ่ ด้ ให้นกั เรียนระบุพร้อมแสดงเหตุผลประกอบว่าเลนส์รวมของแต่ละแกน
เป็นเลนส์เว้าหรือเลนส์นูนลงในกระดาษสรุปคาตอบ

Marking Scheme
1. แสดงความเข้าใจหรือระบุว่า การสลับกระแสไฟฟ้าของ Quadrupole อันที่สอง
0.3 ฟิสิกส์
เป็นการสลับเลนส์เว้าและเลนส์นนู
2. ได้ตาแหน่งวัตถุของเลนส์ตัวที่สองถูกต้อง (0.1) ได้สมการของเลนส์ตัวที่ 2 ที่รวม
1 1 1 0.2 ฟิสิกส์
ค่า L อย่างถูกต้อง   (0.1)
L  f x f x f y
mv  mv 
  L
aqd  bqd  0.2 อื่นๆ
3. ได้คาตอบ และเขียนในรูปของตัวแปรที่กาหนด f x 
L
4. (ตรวจเมื่อคาตอบข้อ 3. ถูกต้อง) แกน x เป็นเลนส์นูน เพราะเมื่อแทนค่าแล้ว
0.1 ฟิสิกส์
ความยาวโฟกัสรวมเป็นบวก
5. ทาซ้ากับอีกแกนหนึ่งตามแนวทางเดิม หาตาแหน่งวัตถุของตัวที่สองได้ถูกต้อง
(0.1), สมการเลนส์ตัวทีส่ อง (0.1) คาตอบในรูปของตัวแปรที่กาหนด
mv  mv  0.4 ฟิสิกส์
 L
bqd  aqd 
f x  (0.2)
L
6. (ตรวจเมื่อคาตอบข้อ 5. ถูกต้อง) แกน y เป็นเลนส์นูน เพราะเมื่อแทนค่าแล้ว
0.1 ฟิสิกส์
ความยาวโฟกัสรวมเป็นบวก
รวม 1.3 1.1, 0.0, 0.2

รวมคะแนนข้อที่ 3

ฟิสิกส์ = 6.9 คะแนน Physics


คณิตศาสตร์ = 1.8 คะแนน
Maths
อื่นๆ = 1.3 คะแนน
Others

You might also like