สื่อประสม

You might also like

Download as ppsx, pdf, or txt
Download as ppsx, pdf, or txt
You are on page 1of 65

ยินดีต้อนรับเข้าสู่สื่อการเรียนรู้

เรื่อง เศรษฐกิจพอเพียง
ท่านได้เข้าสู่สื่อความรู้เศรษฐกิจพอเพียง
ความหมายเศรษฐกิจพอเพียง หลักแนวคิดของเศรษฐกิจพอเพียง

ความเป็นมาของเศรษฐกิจพอเพียง การนาไปใช้ของเศรษฐกิจพอเพียง

ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ประโยชน์เศรษฐกิจพอเพียง

โครงการพระราชดาริเศรษฐกิจพอเพียง
ความหมายเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง คือ ปรัชญาที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอ
ดุลยเดช รัชกาลที่ 9 ทรงชี้แนวทางการดาเนินชีวิตให้แก่ปวงชนชาว
ไทยมาเป็นระยะเวลานาน ในช่วงตั้งแต่ก่อนการเกิดวิกฤตเศรษฐกิจ
เพื่อมุ่งให้พสกนิกรได้ดารงชีวิตอยู่ได้อย่างยั่งยืน มั่นคง และปลอดภัย
ภายใต้ความเปลี่ยนแปลงต่างๆ ที่เกิดขึ้นตามกระแสโลกาภิวัฒน์ อีก
ทั้งพระองค์ยังได้ทรงพระราชทานความหมายของ เศรษฐกิจพอเพียง
เอาไว้เป็นภาษาอังกฤษว่า Sufficiency Economy ดังพระราชดารัสที่
ได้ทรงตรัสไว้เมื่อวันที่ 23 ธันวาคม 2554
“ในที่นี้เราฟังเขาถามว่าเศรษฐกิจพอเพียง จะแปลเป็น
ภาษาอังกฤษว่าอย่างไร ก็อยากจะตอบว่ามีแล้วในหนังสือ ไม่ใช่
หนังสือตาราเศรษฐกิจ แต่เป็นหนังสือพระราชดารัสที่อุตส่าห์มา
ปรับปรุงให้ฟังได้ และแปลเป็นภาษาอังกฤษ เพราะคนที่ฟัง
ภาษาไทยบางทีไม่เข้าใจภาษาไทย ต้องแปลเป็นภาษาอังกฤษ
จึงได้แปลเป็นภาษาอังกฤษ และเน้นว่าเศรษฐกิจพอเพียง แปลว่า
Sufficiency Economy โดยเขียนเป็นตัวหนาในหนังสือ”
แต่เนื่องด้วยคาว่า Sufficiency Economy เป็นคาที่เกิดมา
จากความคิดใหม่ อีกทั้งยังเป็นทฤษฎีในพระบาทสมเด็จพระ
เจ้าอยู่หัว จึงไม่มีปรากฏอยู่ในตาราเศรษฐศาสตร์ ซึ่งบางคน
อาจจะยังสงสัยอยู่ว่า Self-Sufficient Economy สามารถใช้
แทน Sufficiency Economy ได้หรือไม่ หากว่าไม่ได้มี
ความหมายอย่างเดียวกัน หรือไม่สามารถใช้เหมือนกันได้
จะมีความเหมือน หรือแตกต่างกันอย่างไร
โดยคาว่า Self-Sufficiency มีความหมายตามพจนานุกรที่ว่า
การไม่ต้องพึ่งใคร และการไม่ต้องพึ่งใครในความหมายของ
พระองค์ท่านนั้น คือ “Self-Sufficiency นั้นหมายความว่า ผลิต
อะไรมีพอที่จะใช้ ไม่ต้องไปขอยืมคนอื่น อยู่ได้ด้วยตนเอง” ฉะนั้น
เมื่อเติมคาว่า Economy เข้าไป กลายเป็น Self-Sufficient
Economy แล้วนั้น จะมีความหมายว่า เศรษฐกิจแบบพอเพียงกับ
ตัวเอง คือ การที่สามารถอยู่ได้ด้วยตนเองอย่างไม่เดือดร้อน ไม่
ต้องพึ่งพาผู้อื่น แต่ในทุกวันนี้
ประเทศไทยเรายังเดือดร้อน ยังมีความจาเป็นต้องพึ่งพา
ผู้อื่นอยู่ ที่ในความเป็นจริงที่เราจะสามารถช่วยเหลือตัวเอง
ได้ก็ตาม ดังนั้น Self-Sufficient Economy จึงหมายถึง
เศรษฐกิจแบบพอเพียงกับตัวเอง ที่แตกต่างจาก Sufficiency
Economy ซึ่งหมายถึง เศรษฐกิจพอเพียงที่ยังคงมีการพึ่งพา
กันและกันอยู่ ดังพระราชดารัสเพิ่มเติมที่ว่า
“คือพอมีพอกินของตัวเองนั้นไม่ใช่เศรษฐกิจพอเพียง เป็นเศรษฐกิจ
สมัยหิน สมัยหินนั้นเป็นเศรษฐกิจพอเพียงเหมือนกัน แต่ว่าค่อยๆ
พัฒนาขึ้นมา ต้องมีการแลกเปลี่ยนกัน มีการช่วยระหว่างหมู่บ้าน
หรือระหว่าง จะเรียกว่าอาเภอ จังหวัด ประเทศ จะต้องมีการ
แลกเปลี่ยน มีการไม่พอเพียง จึงบอกว่าถ้ามีเศรษฐกิจพอเพียง
เพียงเศษหนึ่งส่วนสี่ก็จะพอแล้ว จะใช้ได้”
ความเป็นมาของเศรษฐกิจพอเพียง

จากการที่พระองค์ได้ทรงเน้นเศรษฐกิจพอเพียงในฐานะ
ยุทธศาสตร์สาคัญในการพัฒนาประเทศโดยผ่านทางพระราชดารัส
พระบรมราโชวาท ตลอดจนทรงปฏิบัติให้เห็นเป็นตัวอย่างใน
โครงการส่วนพระองค์ต่าง ๆ แล้ว ที่สุดก็ได้เกิดมีการเห็น
ความสาคัญของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
เริ่มต้นจากพระบรมราโชวาทในพระบาทสมเด็จพระ
เจ้าอยู่หัวพระราชทานแก่นิสิตมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ซึ่ง
เน้นความสาคัญในการพัฒนาประเทศแบบสร้างพื้นฐานคือ
"ความพอมีพอกิน พอใช้”ดังนั้นคาว่า "เศรษฐกิจพอเพียง"
จึงมาจากจุดเริ่มต้นว่า "พอมีพอกินพอใช้" นั่นเอง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาชี้ถึงแนวการดารงอยู่และปฏิบัติตนของ
ประชาชนในทุกระดับ ตั้งแต่ระดับครอบครัว ระดับชุมชน จนถึงระดับรัฐ
ทั้งในการพัฒนาและบริหารประเทศให้ดาเนินไปในทางสายกลาง
โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจ เพื่อให้ก้าวทันต่อโลกยุคโลกาภิวัตน์
ความพอเพียง หมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึง
ความจาเป็นที่จะต้องมีระบบภูมิคุ้มกันในตัวที่ดีพอสมควร ต่อการ
กระทบใดๆ
อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทั้งภายในภายนอก ทั้งนี้ จะต้องอาศัย
ความรอบรู้ ความรอบคอบ และความระมัดระวังอย่างยิ่งในการนา
วิชาการต่างๆ มาใช้ในการวางแผนและการดาเนินการ ทุกขั้นตอน
และขณะเดียวกัน จะต้องเสริมสร้างพื้นฐานจิตใจของคนในชาติ
โดยเฉพาะเจ้าหน้าที่ของรัฐ นักทฤษฎี และนักธุรกิจในทุกระดับ
ให้มีสานึกในคุณธรรม ความซื่อสัตย์สุจริต และให้มีความรอบรู้ที่
เหมาะสม ดาเนินชีวิตด้วยความอดทน ความเพียร มีสติ ปัญญา
และความรอบคอบ เพื่อให้สมดุลและพร้อมต่อการรองรับการ
เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและกว้างขวาง ทั้งด้านวัตถุ สังคม
สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรมจากโลกภายนอกได้เป็นอย่างดี
ความหมายของเศรษฐกิจพอเพียง จึงประกอบด้วยคุณสมบัติ ดังนี้
๑. ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดีที่ไม่น้อยเกินไปและไม่มากเกินไป โดยไม่
เบียดเบียนตนเองและผู้อื่น เช่น การผลิตและการบริโภคที่อยู่ในระดับพอประมาณ
๒. ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจเกี่ยวกับระดับความพอเพียงนั้น จะต้อง
เป็นไปอย่างมีเหตุผล โดยพิจารณาจากเหตุปัจจัยที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนคานึงถึงผล
ที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจากการกระทานั้นๆ อย่างรอบคอบ
๓. ภูมิคุ้มกัน หมายถึง การเตรียมตัวให้พร้อมรับผลกระทบและการเปลี่ยนแปลง
ด้านต่างๆ ที่จะเกิดขึ้น โดยคานึงถึงความเป็นไปได้ของสถานการณ์ต่างๆ ที่คาดว่า
จะเกิดขึ้นในอนาคต
โดยมีเงื่อนไขของการตัดสินใจและดาเนินกิจกรรมต่างๆ ให้อยู่ในระดับพอเพียง
๒ ประการ ดังนี้
๑. เงื่อนไขความรู้ ประกอบด้วย ความรอบรู้เกี่ยวกับวิชาการต่างๆ ที่
เกี่ยวข้องรอบด้าน ความรอบคอบที่จะนาความรู้เหล่านั้นมาพิจารณาให้
เชื่อมโยงกัน เพื่อประกอบการวางแผนและความระมัดระวังในการปฏิบัติ
๒. เงื่อนไขคุณธรรม ที่จะต้องเสริมสร้าง ประกอบด้วย มีความตระหนัก
ในคุณธรรม มีความซื่อสัตย์สุจริตและมีความอดทน มีความเพียร ใช้สติปัญญา
ในการดาเนินชีวิต
หลักแนวคิดของเศรษฐกิจพอเพียง
การพัฒนาที่ตั้งอยู่บนพื้นฐานของทางสายกลางและความไม่ประมาท
โดยคานึงถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล การสร้างภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว
ตลอดจนใช้ความรู้ความรอบคอบ และคุณธรรม ประกอบการวางแผน การ
ตัดสินใจและการกระทา
การพัฒนาตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง คือ การพัฒนาที่ตั้งอยู่บน
พื้นฐานของทางสายกลางและความไม่ประมาท โดยคานึงถึง ความ
พอประมาณ ความมีเหตุผล การสร้างภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว ตลอดจนใช้
ความรู้ความรอบคอบ และคุณธรรม ประกอบการวางแผน การตัดสินใจ
และการกระทา
เศรษฐกิจพอเพียง มีหลักพิจารณาอยู่ ๕ ส่วน ดังนี้
๑.กรอบแนวคิด เป็นปรัชญาที่ชี้แนะแนวทางการดารงอยู่และปฏิบัติตน
ในทางที่ควรจะเป็น โดยมีพื้นฐานมาจากวิถีชีวิตดั้งเดิมของสังคมไทย
เพื่อความมั่นคงและความยั่งยืนของการพัฒนา
๒.คุณลักษณะ เศรษฐกิจพอเพียงสามารถนามาประยุกต์ใช้กับการ
ปฏิบัติตนได้ในทุกระดับ โดยเน้นการปฏิบัติบน ทางสายกลางและ
การพัฒนาอย่างเป็นขั้นตอน
๓.คานิยาม ความพอเพียงจะต้องประกอบด้วย ๓ คุณลักษณะ พร้อม ๆ กัน
ดังนี้
• ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดีที่ไม่น้อยเกินไปและไม่มากเกินไป
โดยไม่เบียดเบียนตนเองและผู้อื่น
• ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจเกี่ยวกับระดับของความพอเพียงนั้น
จะต้องเป็นไปอย่างมีเหตุผลและรอบคอบ
• การมีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว หมายถึง การเตรียมตัวให้พร้อมรับผลกระทบและ
การเปลี่ยนแปลงในด้านต่าง ๆ
๔.เงื่อนไข การตัดสินใจและการดาเนินกิจกรรมต่าง ๆ ให้อยู่ใน
ระดับพอเพียงนั้น ต้องอาศัยทั้งความรู้และคุณธรรมเป็นพื้นฐาน
๕.แนวทางปฏิบัติ ต้องพัฒนาที่สมดุลและยั่งยืน ทั้งด้านเศรษฐกิจ
สังคม สิ่งแวดล้อม ความรู้และเทคโนโลยี
การนาไปใช้ของเศรษฐกิจพอเพียง

ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงนี้ถูกใช้เป็นกรอบแนวความคิดและทิศทางการพัฒนา
ระบบเศรษฐกิจมหภาคของไทย ซึ่งบรรจุอยู่ในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
แห่งชาติ ฉบับที่ 10 เพื่อมุ่งสู่การพัฒนาที่สมดุล ยั่งยืน และมีภูมิคุ้มกัน เพื่อ
ความอยู่ดีมีสุข มุ่งสู่สังคมที่มีความสุขอย่างยั่งยืน หรือที่เรียกว่า "สังคมสีเขียว"
ด้วยหลักการดังกล่าว แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 10 นี้จะ
ไม่เน้นเรื่องตัวเลขการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ แต่ยังคงให้ความสาคัญต่อ
ระบบเศรษฐกิจแบบทวิลักษณ์ หรือระบบเศรษฐกิจที่มีความแตกต่างกันระหว่าง
เศรษฐกิจชุมชนเมืองและชนบท
แนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงยังถูกบรรจุในรัฐธรรมนูญแห่ง
ราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 ในส่วนที่ 3 แนวนโยบายด้าน
การบริหารราชการแผ่นดิน มาตรา 78 (1) ความว่า : "บริหาร
ราชการแผ่นดินให้เป็นไปเพื่อการพัฒนาสังคม เศรษฐกิจ และความ
มั่นคง ของประเทศอย่างยั่งยืน โดยต้องส่งเสริมการดาเนินการตาม
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและคานึงถึงผลประโยชน์ของประเทศชาติ
ในภาพรวมเป็นสาคัญ"
ประโยชน์เศรษฐกิจพอเพียง
1. ให้ประชาชนพออยู่พอกินสมควรแก่อัตภาพในระดับที่
ประหยัด ไม่อดอยากและเลี้ยงตนเอง
ได้ตามหลักปรัชญาของ “เศรษฐกิจพอเพียง”
2. ในหน้าแล้งมีน้าน้อย ก็สามารถเอาน้าที่เก็บไว้ในสระมาปลูก
พืชผักต่าง ๆ ที่ใช้น้าน้อยได้
โดยไม่ต้องเบียดเบียนชลประทาน
3. ในปีที่ฝนตกตามฤดูกาลโดยมีน้าดีตลอดปีทฤษฎีใหม่น้าก็
สามารถสร้างรายได้ให้ร่ารวยขึ้นได้
4. ในกรณีที่เกิดอุทกภัยก็สามารถที่จะฟื้นตัวและช่วยตนเองได้
ในระดับหนึ่ง โดยทางราชการ ไม่ต้องช่วยเหลือมากเกินไป อัน
เป็นการประหยัดงบประมาณด้วย
โครงการพระราชดาริเศรษฐกิจพอเพียง
โครงการประตูระบายน้าคลองลัดโพธิ์ สถานีเกษตรหลวงอินทนนท์

โครงการพัฒนาดอยตุง ศูนย์พัฒนาโครงการหลวงวัดจันทร์

โครงการชั่งหัวมัน โรงเรียนกาสรกสิวิทย์

ศูนย์ศึกษาพัฒนาเขาหินซ้อน โครงการพัฒนาพื้นที่ลุ่มน้าปากพนัง

ศูนย์ศึกษาการพัฒนาอ่าวคุ้งกระเบน โครงการเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์
โครงการประตูระบายนาคลองลัดโพธิ์

จากคลองลัดโพธิ์ในเขตอาเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ ที่แรกเริ่มเดิมทีขุด


ขึ้นเพื่อเป็นเส้นทางลัดระหว่างลาน้าเจ้าพระยาที่คดโค้ง เมื่อขาดการใช้งานมาเป็น
เวลานานจึงมีสภาพตื้นเขิน และเมื่อถึงฤดูที่ น้าเหนือไหลหลากหรือมีปริมาณฝนตกชุก
การระบายน้าจึงเป็นไปได้ช้า และเกิดสภาพน้าท่วมขังพื้นที่ พระบาทสมเด็จพระ
เจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 9) มีแนวพระราชดาริปรับปรุงคลองลัดโพธิ์โดยจัดทาเป็น
โครงการประตูระบายน้าคลองลัดโพธิ์ อันเนื่องมาจากพระราชดาริ เพื่อเร่งระบายน้า
เหนือออกสู่ทะเล
ช่วยบรรเทาปัญหาน้าท่วมกรุงเทพฯ และปริมณฑล เนื่องจากคลองที่
ขุดขยายเป็นการย่นระยะทางและเวลาการไหลของน้าในบริเวณพื้นที่
กระเพาะหมู ที่แต่เดิมแม่น้าเจ้าพระยาต้องไหลอ้อมถึง 18 กิโลเมตร ก็
สามารถไหลลงทะเลได้รวดเร็วขึ้น ด้วยระยะทางเพียง 600 เมตร ทั้ง
ยังสามารถบริหารจัดการด้วยการเปิด-ปิดประตูระบายน้าให้เหมาะสม
และสอดคล้องกับเวลาน้าขึ้น-น้าลง และน้าทะเลหนุนสูง
นอกจากนี้ประตูระบายน้าคลองลัดโพธิ์ยังมีศักยภาพในด้านการผลิต
กระแสไฟฟ้าด้วยพลังน้า ซึ่งกรมชลประทานได้ร่วมกับ
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ทาการศึกษาและวิจัยประดิษฐ์กังหันไฟฟ้าพลัง
น้าไหลต้นแบบขึ้นมาสองแบบ คือ แบบหมุนตามแนวแกนและแบบหมุน
ขวางการไหล ทั้งยังคานึงถึงสภาพทางสังคมและชุมชน นับเป็นการแก้ไข
ปัญหาด้วยการใช้หลักธรรมชาติเพื่อให้มนุษย์อยู่ร่วมกับธรรมชาติได้อย่าง
ยั่งยืน ประโยชน์ของการลัดน้าของคลองลัดโพธิ์ได้สร้างความสุขให้แก่
ประชาชนในพื้นที่ให้ดารงชีวิตได้อย่างมีความสุขและมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
โครงการประตูระบายน้าคลองลัดโพธิ์
ม. 9 ต.ทรงคะนอง อ.พระประแดง จ.สมุทรปราการ 10130 โทร : 0 2464 2058
เปิดทาการ : เปิดทุกวัน เวลา 08.00 - 16.00 น.
ฤดูกาลท่องเที่ยว : ตลอดทั้งปี การเดินทาง กรุงเทพฯ - โครงการประตูระบายน้า
คลองลัดโพธิ์
พิกัดภูมิศาสตร์ : N13° 39.877’ E100° 32.325’
LAT 13.666776 LONG 100.537085
จากถนนสุขสวัสดิ์ ไปยังถนนนครเขื่อนขันธ์ วิ่งเข้าถึงตลาดพระประแดง แล้วเลี้ยว
ซ้ายเข้าถนนเพชรหึงษ์ ตรงไปเรื่อยๆ ก็จะถึงสวนสุขภาพลัดโพธิ์และโครงการประตู
ระบายน้าคลองลัดโพธิ์
โครงการพัฒนาดอยตุง

“ฉันจะปลูกป่าดอยตุง” พระราชดารัสของสมเด็จพระศรีนครินทราบรม
ราชชนนี หรือสมเด็จย่า ที่ในเวลาต่อมาได้ก่อตั้งเป็นโครงการพัฒนา
ดอยตุง (พื้นที่ทรงงาน) อันเนื่องมาจากพระราชดาริ โดยพระองค์ทรง
ได้รับ แรงบันดาลใจจากพระราชกรณีย์กิจของพระบาทสมเด็จพระ
เจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 9) ในการแก้ไขปัญหาต่างๆ ด้วยทรงสังเกตเห็นว่า
ชาวไทยภูเขาส่วนใหญ่ยากจนและขาดโอกาสในการดาเนินชีวิต
พระองค์จึงมีพระราชปณิธานริเริ่มทาเป็นโครงการพัฒนาแบบเบ็ดเสร็จ
ภายใต้การดาเนินงานของมูลนิธิแม่ฟ้าหลวง ในพระบรมราชูปถัมป์
เพื่อขยายผลการช่วยเหลือประชาชนในพื้นที่ให้มีความรู้ มีอาชีพ
สามารถเลี้ยงตัวเองได้ พร้อมกับพัฒนาสภาพแวดล้อมที่เคยเสื่อม
โทรมบนดอยตุงให้กลับมีความอุดมสมบูรณ์ ด้วยการปลูกป่าและ
ส่งเสริมให้มนุษย์อยู่ร่วมกับธรรมชาติได้อย่างมีจิตสานึกและพึ่งพา
อาศัยซึ่งกันและกัน
นับเป็นอีกหนึ่งโครงการพัฒนาที่ยั่งยืนอย่างแท้จริง เป็นตัวอย่างที่
ดีของการพัฒนากิจกรรมทางเศรษฐกิจต่างๆ ไม่ใช่แค่การปลูกพืช
ทดแทน แต่เป็นการพัฒนาที่มีความหลากหลายในการดารงชีวิตที่
ทาได้จริง โดยเป้าหมายสูงสุดเพื่อให้ชุมชนดอยตุงสามารถพึ่งพา
ตัวเองได้อย่างมีประสิทธิภาพ
โครงการพัฒนาดอยตุง
ศูนย์ท่องเที่ยวและบริการ สานักงานประสานงาน โครงการพัฒนาดอยตุง อาคาร
อเนกประสงค์ พระตาหนักดอยตุง อ.แม่ฟ้าหลวง จ.เชียงราย 57000 โทร : 0 5376
7015-7
เปิดทาการ : เปิดทุกวัน เวลา 07.00-18.00 น.
เว็บไซต์ : www.doitung.com , www.doitung.org
ฤดูกาลท่องเที่ยว : ตลอดทั้งปี
การเดินทาง เชียงราย - โครงการพัฒนาดอยตุง
พิกัดภูมิศาสตร์ : N20° 17.351’ E99° 48.661’
LAT 20.297622 LONG 99.810610
จากอาเภอเมืองเชียงรายไปตามทางหลวงหมายเลข 110 (เชียงราย-แม่สาย) ระยะทาง
ประมาณ 45 กิโลเมตร ถึงหลักกิโลเมตรที่ 870-871 มีป้ายบอกทางแยกซ้ายพระตาหนัก
ดอยตุง ระยะทางอีก 17 กิโลเมตร
โครงการชั่งหัวมัน
บ้านไร่ของในหลวงแห่งนี้ เป็นอีกหนึ่งโครงการตามแนวพระราชดาริ
ที่เกิดขึ้นจากความเอาพระราชหฤทัยใส่ของพระบาทสมเด็จพระ
เจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 9) ที่ทรงมีต่อราษฎรให้สามารถนาแนวทางไป
ดัดแปลงใช้อย่างเหมาะสมและเป็นประโยชน์ต่อผืนดินของตนเอง
เพื่อความเป็นอยู่ที่ดีขึ้นอย่างยั่งยืน โดยทรงใช้พระราชทรัพย์ส่วน
พระองค์ซื้อที่ดินจากราษฎรบริเวณใกล้อ่างเก็บน้าหนองเสือ บ้าน
หนองคอไก่ อาเภอท่ายาง จังหวัดเพชรบุรี ประมาณ 250 ไร่
ซึ่งผืนดินบริเวณนี้แห้งแล้ง ประสบปัญหาเรื่องการขาดแคลนน้า มี
พระราชดาริให้ใช้พื้นที่ทั้งหมดจัดทาเป็นโครงการตัวอย่างแบบบูรณา
การด้านการเกษตรและปศุสัตว์ ภายใต้ชื่อ “โครงการชั่งหัวมัน ตาม
พระราชดาริ” โดยสร้างถนน อ่างเก็บน้า อาคาร ติดตั้งระบบไฟฟ้า
พัฒนาปรับปรุงและปรับเปลี่ยนพื้นที่ให้เป็นแปลงปลูกพืชผัก ผลไม้
และสัตว์เลี้ยง ขณะเดียวกันก็พยายามเปลี่ยนวิกฤติให้เป็นโอกาส
โดยคาดหวังว่าอนาคตที่นี่จะกลายเป็นแหล่งเรียนรู้ด้านการเกษตรที่
สมบูรณ์แบบสาหรับประชาชนทั่วไป
โครงการชั่งหัวมัน
1 ม.5 บ้านหนองคอไก่ ต.เขากระปุก อ.ท่ายาง จ.เพชรบุรี 76130 โทร : 0 3247 2701-2 ,
0 3265 3868
เปิดทาการ : เปิดทุกวัน เวลา 08.00-16.00 น. ฤดูกาลท่องเที่ยว : ตลอดทั้งปี
การเดินทาง กรุงเทพฯ - โครงการชั่งหัวมัน
พิกัดภูมิศาสตร์ : N12° 44.699’ E99° 42.330œ’
LAT 12.747213 LONG 99.703830
จากกรุงเทพฯ ใช้ถนนเพชรเกษม (ทางหลวงหมายเลข 4) ผ่านจังหวัดนครปฐม ราชบุรี
ผ่านตัวเมืองเพชรบุรีไปประมาณ 20 กิโลเมตร ขับผ่านสี่แยกไฟแดงท่ายางมาประมาณ 4
กิโลเมตร พบทางแยกขวามือ ให้เลี้ยวขวาไปอีก 15 กิโลเมตร แล้วตรงไปสะพานสามแยก
ไปทางเขาลูกช้าง จากจุดนี้มีป้ายบอกไปโครงการชั่งหัวมัน ให้ขับตามป้ายไปราว 20
กิโลเมตร ถึงจุดหมายปลายทางที่โครงการชั่งหัวมัน
ศูนย์ศึกษาพัฒนาเขาหินซ้อน
จากสภาพพื้นที่เดิมในบริเวณนี้ที่เนื้อดินเป็นทราย ขาดความอุดมสมบูรณ์ มีการชะล้าง
พังทลายของดินสูง ดินรองรับน้าได้น้อย พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 9) มีแนว
พระราชดาริกับผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง ให้ร่วมกันพัฒนาพื้นที่แห่งนี้จัดตั้งเป็นศูนย์ศึกษาการ
พัฒนาเขาหินซ้อน อันเนื่องมาจากพระราชดาริขึ้น โดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อเป็นแหล่ง
รวบรวม ศึกษา ทดลอง วิจัย และพัฒนาปรับปรุงพื้นที่ทางการเกษตรให้เป็นศูนย์ด้าน
เกษตรกรรมที่สมบูรณ์แบบด้วยวิธีการเกษตรแผนใหม่ ทั้งการพัฒนาแหล่งน้า ฟื้นฟูสภาพป่า
การพัฒนาที่ดิน การวางแผนปลูกพืชและเลี้ยงสัตว์ เพื่อให้ประชาชนมีโอกาสพึ่งพาตนเองได้
อีกทั้งยังจัดเป็นพิพิธภัณฑ์ธรรมชาติที่มีชีวิตและเป็นศูนย์รวมการพัฒนาแบบเบ็ดเสร็จ ถือเป็น
ต้นแบบแนวทางและตัวอย่างการพัฒนาให้แก่พื้นที่อื่นได้อย่างยั่งยืน
ศูนย์ศึกษาพัฒนาเขาหินซ้อน
7 ม.2 ต.เขาหินซ้อน อ.พนมสารคาม จ.ฉะเชิงเทรา 24120 โทร : 0 3855 4982-3
เปิดทาการ : เปิดทุกวัน เวลา 08.30-16.30 น. เว็บไซต์ : www.khaohinsorn.com
ฤดูกาลท่องเที่ยว : ตลอดทั้งปี
การเดินทาง กรุงเทพฯ - ศูนย์ศึกษาพัฒนาเขาหินซ้อน
พิกัดภูมิศาสตร์ : N13° 45.210’ E101° 30.131’
LAT 13.753684 LONG 101.500191
จากกรุงเทพ ใช้เส้นทางหลวงหมายเลข 304 ไปทางมีนบุรี มุ่งสู่จังหวัดฉะเชิงเทรา
ระยะทางประมาณ 75 กิโลเมตร จากตัวเมืองฉะเชิงเทราใช้เส้นทางหลวงหมายเลข
304 ไปทางอาเภอพนมสารคาม บริเวณกิโลเมตรที่ 51 - 52
ศูนย์ศึกษาการพัฒนาอ่าวคุ้งกระเบน
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 9) มีพระราชดาริแก่ผู้ว่าราชการจังหวัด
จันทบุรี เมื่อ พ.ศ. 2524 ความว่า “…ให้พิจารณาพื้นที่เหมาะสม จัดทาโครงการ
พัฒนาอาชีพการประมงและการเกษตรในเขตที่ดินชายฝั่งทะเลจันทบุรี…”
ต่อมาจังหวัดจันทบุรีได้ร่วมมือกับหน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้องพิจารณาความ
เหมาะสม กาหนดบริเวณตาบลคลองขุด อาเภอท่าใหม่ ให้เป็นพื้นที่จัดตั้งศูนย์
ศึกษาการพัฒนาอ่าวคุ้งกระเบนขึ้น เพื่อดาเนินการศึกษา สาธิต และพัฒนาที่ดิน
ชายฝั่งทะเลอ่าวคุ้งกระเบนและพื้นที่ใกล้เคียง ด้วยการวางแผนพัฒนาจัดการ
ทรัพยากรที่มีอยู่ให้เหมาะสมและยั่งยืนอย่างมีระบบ ตั้งแต่การศึกษาทดลอง วิจัย
ทดสอบ สาธิต ขยายผล และการบริหารจัดการ
โดยมุ่งเน้นการพัฒนาสู่ประชาชนตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง เป็นศูนย์กลางในการ
อบรมเผยแพร่ผลการศึกษา การจัดการทรัพยากรชายฝั่ง พัฒนาด้านการประมงและ
การเพาะเลี้ยงสัตว์น้าเพื่อเพิ่มผลผลิต ตลอดจนพัฒนากิจกรรมอื่นๆ แบบบูรณาการ
ควบคู่ไปด้วย พร้อมทั้งอนุรักษ์ฟื้นฟูและจัดการทรัพยากรชายฝั่งทะเลให้เกิดความ
สมดุลในระบบนิเวศ ส่งเสริมกิจกรรมด้านการท่องเที่ยวในรูปแบบใหม่ที่สอดคล้องกับ
ศักยภาพเชิงวัฒนธรรมและวิถีชุมชน เพื่อสร้างความรู้และความเข้าใจให้กับประชาชน
เป็นการท่องเที่ยวเชิงพัฒนาที่นอกจากจะได้รับความเพลิดเพลินแล้ว ยังสามารถนาไป
ปฏิบัติตามได้ ทาให้ศูนย์ศึกษาการพัฒนาอ่าวคุ้งกระเบนได้รับรางวัลยอดเยี่ยมในปี
2543 และรางวัลดีเด่นในปี 2545 ประเภทองค์กรส่งเสริมและพัฒนาการท่องเที่ยว ใน
การประกวดรางวัลอุตสาหกรรมท่องเที่ยวไทย จากการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย
ศูนย์ศึกษาการพัฒนาอ่าวคุ้งกระเบน ต.คลองขุด อ.ท่าใหม่ จ.จันทบุรี 22120
โทร : 0 3943 3216-8 เปิดทาการ : เปิดทุกวัน เวลา 08.30-16.30 น. ฤดูกาล
ท่องเที่ยว : ตลอดทั้งปี
การเดินทาง กรุงเทพฯ - ศูนย์ศึกษาการพัฒนาอ่าวคุ้งกระเบน
พิกัดภูมิศาสตร์ : N12° 34.217’ E101° 54.000’
LAT 12.571604 LONG 101.895685
จากกรุงเทพฯ ใช้ถนนสุขุมวิทมุ่งหน้าสู่จังหวัดจันทบุรี จนถึงช่วงหลักกิโลเมตรที่
301-302 ให้เลี้ยวขวาทีเ่ เยกหนองสีงา จากนั้นวิ่งตรงเข้ามาตามเส้นทางหลักเรื่อยๆ
อีกประมาณ 27 กิโลเมตร ซึ่งจะผ่านทั้งวัดวังหิน วัดราพัน วัดท่าศาลา และเมื่อถึง
ทางแยกที่ตัดกับทางจะไปหาดคุ้งวิมาน ก็ให้เลี้ยวซ้าย มุ่งหน้าตรงไปสักระยะจะมี
ป้ายบอกจุดหมายคือศูนย์ศึกษาการพัฒนาอ่าวคุ้งกระเบนอยู่เป็นระยะ
สถานีเกษตรหลวงอินทนนท์
เป็นที่ทราบกันดีว่าอุทยานแห่งชาติดอยอินทนนท์มีความอุดมสมบูรณ์ของ
ขุนเขาและป่าไม้ ทั้งยังเป็นสถานที่ตั้งของสถานีเกษตรหลวงอินทนนท์ สถานี
วิจัยของมูลนิธิโครงการหลวงอีกแห่งหนึ่งที่ดาเนินงานวิจัยด้านไม้คัดดอก ไม้
ประดับ พืชผัก ผลไม้ และงานประมงบนพื้นที่สูง รวมทั้งถ่ายทอดผลงานวิจัยที่
จะนาไปสู่การส่งเสริมอาชีพเพื่อให้เกษตรกรชาวไทยภูเขาเผ่าปกาเกอะญอและ
เผ่าม้งมีรายได้ พร้อมกับการพัฒนาปัจจัยพื้นฐานด้านสังคมและการอนุรักษ์ป่า
ไม้ ต้นน้าลาธาร โดยมุ่งวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยี ส่งเสริมชีวิตความเป็นอยู่ที่
ดีให้แก่ชุมชนบนพื้นที่สูง รักษาสภาพแวดล้อม และเป็นแหล่งการเรียนรู้เพื่อ
การพัฒนาชีวิตอย่างยั่งยืน
นอกจากนี้ ทางสถานีเกษตรหลวงอินทนนท์ยังมุ่งเน้นพัฒนาด้าน
ส่งเสริมให้เกษตรกรเพาะปลูกพืชภายใต้ระบบมาตรฐานอาหารปลอดภัย
ส่งเสริมและพัฒนาอาชีพภาคการเกษตรทั้งพืชผักอินทรีย์ ไม้ผลขนาด
เล็ก ไม้ผลเขตหนาว ไม้ผลเขตร้อน กาแฟ พืชไร่ และดอกไม้แห้ง ควบคู่
ไปกับการส่งเสริมและพัฒนาอาชีพนอกภาคการเกษตร ได้แก่ การ
พัฒนาด้านความเข้มแข็งและคุณภาพขององค์กร ชุมชน ตามปรัชญา
เศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 9)
รวมทั้งการเตรียมความพร้อมของชุมชนด้านการท่องเที่ยวด้วย
สถานีเกษตรหลวงอินทนนท์ 202 ม.7 หมู่บ้านขุนกลาง ต.บ้านหลวง อ.จอมทอง จ.เชียงใหม่ 50160
โทร : 0 5328 6771-2 ต่อ 14-15, 08 0769 1944 เปิดทาการ : เปิดทุกวัน เวลา 08.00-18.00 น.
ฤดูกาลท่องเที่ยว : พฤศจิกายน - กุมภาพันธ์
การเดินทาง เชียงใหม่ - สถานีเกษตรหลวงอินทนนท์
พิกัดภูมิศาสตร์ : N18° 32.637’ E98° 31.065’
LAT 18.542621LONG 98.517207
จากอาเภอเชียงใหม่ใช้เส้นทางสายเชียงใหม่-ฮอด ตามทางหลวงหมายเลข 108 ถึงบริเวณหลัก
กิโลเมตรที่ 57 ซึ่งอยู่ก่อนถึงตัวอาเภอจอมทอง ประมาณ 1 กิโลเมตร จะมีทางแยกขวามือเข้าทาง
หลวงหมายเลข 1009 (สายจอมทอง-อินทนนท์) ไปตามเส้นทางสายนี้จนถึงหลักกิโลเมตรที่ 31 มีทาง
แยกขวามือบ้านขุนกลาง เข้าไปประมาณ 1 กิโลเมตร จะถึงสถานีเกษตรหลวงอินทนนท์ รวม
ระยะทางจากอาเภอเมืองเชียงใหม่ถงึ สถานีฯ ราว 91 กิโลเมตร
ศูนย์พัฒนาโครงการหลวงวัดจันทร์

เป็นอีกหนึ่งโครงการของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 9) ที่ทาการวิจัย


ทดสอบ ค้นหาสายพันธุ์ของพืชที่สามารถต้านทานโรค เหมาะสมต่อสภาพพื้นที่และ
ฤดูกาล ให้ผลิตผลที่ดีมีคุณภาพ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อถ่ายทอดแนะนา ส่งเสริม
พัฒนาอาชีพให้กับเกษตรกรชาวไทยภูเขาเผ่าปกาเกอะญอหรือเผ่ากะเหรี่ยงให้มี
รายได้เลี้ยงชีพแบบพออยู่พอกิน ด้วยการปลูกพืชผัก ผลไม้ เลี้ยงสัตว์ รวมถึงการ
พัฒนาคุณภาพชีวิตในด้านสังคม การศึกษา สาธารณสุข ความเข้มแข็งของชุมชน
และฟื้นฟูอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรมประเพณีของชน
เผ่าให้คงอยู่ตลอดไป
ศูนย์พัฒนาโครงการหลวงวัดจันทร์
ม.7 ต.บ้านจันทร์ อ.กัลยาณิวัฒนา จ.เชียงใหม่ 58130
โทร : 0 5331 8325 , 08 4365 5405 เปิดทาการ : เปิดทุกวัน เวลา 08.00-17.00 น.
ฤดูกาลท่องเที่ยว : ตลอดทั้งปี
การเดินทาง เชียงใหม่ - ศูนย์พัฒนาโครงการหลวงวัดจันทร์
พิกัดภูมิศาสตร์ : N19° 04.165’ E98° 17.500’
LAT 18.935673 LONG 98.373324
จากอาเภอเมืองเชียงใหม่ ใช้เส้นทางหลวงหมายเลข 107 เข้าสู่อาเภอแม่ริม มุ่งไปยัง
ทางหลวงหมายเลข 1096 ผ่านอาเภอสะเมิงไปบ้านบ่อแก้ว เข้าสู่บ้านวัดจันทร์ รวม
ระยะทางราว 154 กิโลเมตร
โรงเรียนกาสรกสิวิทย์
จากที่ดินกว่าร้อยไร่ในเขตอาเภอเมืองสระแก้ว จังหวัดสระแก้ว ที่ นายสม
จิตต์ และนางมณี อิ่มเอย น้อมเกล้าฯ ถวายแด่สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา
ฯ สยามบรมราชกุมารี พระองค์ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้มูลนิธิชัย
พัฒนาดาเนินการจัดตั้งเป็นโรงเรียนกาสรกสิวิทย์ ด้วยวัตถุประสงค์ที่
ต้องการให้เป็นศูนย์กลางการใช้ประโยชน์จากกระบือในด้านเกษตรกรรม
ระดับพื้นบ้าน และเป็นสถานที่สาหรับฝึกกระบือให้สามารถไถนาและทางาน
ด้านการเกษตรกรรมร่วมกับชาวนาได้อย่างมีประสิทธิภาพ
โดยทางโรงเรียนได้เชื่อมโยงกับธนาคารโคกระบือ เมื่อมีนักเรียนเข้ามาฝึก
กับปราชญ์ท้องถิ่นภายในโรงเรียน ก็จะมีการเบิกกระบือออกมาจากธนาคาร
เพื่อให้กระบือตัวนั้นมาเรียนรู้ ร่วมไปกับนักเรียน อีกทั้งยังให้ความรู้ในเรื่อง
ของวิถีชีวิตชุมชน วัฒนธรรมการเกษตรท้องถิ่น ความเป็นอยู่แบบพื้นบ้านที่
เรียบง่าย และการใช้ชีวิตแบบพอเพียงตามแนวพระราชดาริของ
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 9) เพื่อนาไปประยุกต์ใช้ใน
ชีวิตประจาวันพร้อมกับดูแลสภาพแวดล้อมและรักษาธรรมชาติให้สามารถ
อยู่ร่วมกัน ได้อย่างยั่งยืน
โรงเรียนกาสรกสิวิทย์ 999 ต.ศาลาลาดวน อ.เมืองฯ จ.สระแก้ว 27000
โทร : 0 3724 4657 เว็บไซต์ : www.kasorn.com
เปิดทาการ : เปิดทุกวัน เวลา 08.00 - 17.00 น.
ฤดูกาลท่องเที่ยว : ตลอดทั้งปี
การเดินทาง กรุงเทพฯ - โรงเรียนกาสรกสิวิทย์
พิกัดภูมิศาสตร์ : N13° 51.340’ E102° 01.160’
LAT 13.859060 LONG 102.018866
ใช้เส้นทางหลวงหมายเลข 1 (พหลโยธิน) ถึงรังสิต แล้วใช้สะพานวงแหวน แยกขวา
เข้าเส้นทางหมายเลข 305 เลียบคลองรังสิต ผ่านอาเภอองครักษ์ จังหวัดนครนายก
แล้วแยกขวาใช้เส้นทางหมายเลข 33 ผ่านอาเภอกบินทร์บุรี อยู่ก่อนถึงจังหวัด
สระแก้วประมาณ5 กิโลเมตร
โครงการพัฒนาพืนที่ลุ่มนาปากพนัง

ลุ่มน้าปากพนังในอดีตเคยอุดมสมบูรณ์ เปรียบเป็นอู่ข้าวอู่น้าของจังหวัด
นครศรีธรรมราช แต่เมื่อกาลเวลา ผ่านไป กลับประสบปัญหาหลายประการ
ด้วยสาเหตุจากสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนไป ประชากรมีจานวนเพิ่มมากขึ้น สภาพ
ดินมีปัญหา นิเวศแหล่งน้าขาดสมดุล เกิดปัญหาอุทกภัย น้าเค็มรุกเข้าไปใน
แม่น้าปากพนัง ทาให้ชาวบ้านใช้น้าในการอุปโภค บริโภคไม่ได้ ปัญหาของดิน
เปรี้ยวรวมทั้งน้าเน่าเสียจากพื้นที่ทานากุ้ง ไหลลงสู่ลาน้าต่างๆ จนไม่สามารถ
นาน้าไปใช้ในการเพาะปลูกได้ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 9) จึงมี
พระราชดาริให้จัดตั้งโครงการพัฒนาพื้นที่ลุ่มน้าปากพนัง
อันเนื่องมาจากพระราชดาริ ขึ้นเพื่อเป็นแนวทางหนึ่งที่จะช่วยพลิกฟื้นความอุดม
สมบูรณ์เพื่อให้กลับคืนสู่พื้นที่ลุ่มน้าปากพนัง ด้วยวัตถุประสงค์เพื่อให้ราษฎรใน
พื้นที่ได้ใช้ประโยชน์จากทรัพยากรที่มีอยู่ได้อย่างเต็มที่และยั่งยืน มีการน้าระบบ
อนุรักษ์ดินและน้ามาใช้ มีการปรับปรุงบารุงดินเพื่อเพิ่มผลผลิตให้มากขึ้นเป็นการ
สร้างรายได้ ถ่ายทอดเทคโนโลยีการพัฒนาที่ดินให้แก่เกษตรกรได้มีส่วนร่วมและ
รับผิดชอบในการพัฒนาและแก้ไขปัญหาทรัพยากรที่ดินอย่างจริงจังและ ต่อเนื่อง
ส่งเสริมการพัฒนาประสิทธิภาพการผลิตข้าวและการเกษตรในพื้นที่โครงการฯ ให้
เป็นแหล่งผลิต พันธุ์พืชที่เคยเป็นมาในอดีตให้กลับคืนมาสู่ประชาชนลุ่มน้าปากพนัง
เพื่อความเป็นอยู่ที่ยั่งยืนต่อไป
โครงการพัฒนาพื้นที่ลุ่มน้าปากพนัง ม.5 ต.หูล่อง อ.ปากพนัง จ.นครศรีธรรมราช 80140
โทร : 0 7541 6127-8 เปิดทาการ : จันทร์ - ศุกร์ เวลา 09.00-16.00 น.
ฤดูกาลท่องเที่ยว : ตลอดทั้งปี
การเดินทาง กรุงเทพฯ - โครงการพัฒนาพื้นที่ลุ่มน้าาปากพนัง
พิกัดภูมิศาสตร์ : N8° 19.036’ E100° 12.222’
LAT 8.313882 LONG 100.190779
จากกรุงเทพฯ ใช้ทางหลวงหมายเลข 35 (ธนบุรี - ปากท่อ) เข้าสู่ทางหลวงหมายเลข 4 ผ่าน
จังหวัดเพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ จนถึงชุมพร แล้วเปลี่นมาใช้ทางหลวงหมายเลข 41 ผ่านอาเภอ
ทุ่งสง อาเภอร่อนพิบูลย์ จนถึงจังหวัดนครศรีธรรมราช จากตัวเมืองนครศรีธรรมราช ไปตาม
เส้นทางนครศรีธรรมราช-ปากพนังประมาณ 26 กิโลเมตร ถึงสามแยกใกล้ทางไปสะพานปลาให้
เลี้ยวขวาไปทางสะพานปากพนัง ก่อนขึ้นสะพาน ระยะทางประมาณ 2.5 กิโลเมตรภึงสี่แยกเลี้ยว
ขวาไปตามถนนปากพนัง-เชียรใหญ่ ระยะทางประมาณ 2 กิโลเมตร จะถึงโครงการพัฒนาพื้นที่
ลุ่มน้าาปากพนัง
โครงการเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์

อ่างเก็บน้าขนาดใหญ่ มากมายด้วยสัตว์น้านานาชนิด กับภูมิทัศน์รอบด้านที่


สวยงามด้วยธรรมชาติของสายน้าต้นไม้ และเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ หรือโครงการส่ง
น้าและบารุงรักษาเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ เขื่อนแกนดินเหนียว ขนาดยาวที่สุดแห่ง
หนึ่งของประเทศไทย ในโครงการตามพระราชดาริของพระบาทสมเด็จพระ
เจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 9) ที่สร้างขึ้นเพื่อช่วยกักเก็บน้าจากแม่น้าป่าสัก ซึ่งมีต้นน้า
อยู่ในจังหวัดเลย เพื่อป้องกันอุทกภัยและภัยแล้ง เป็นประโยชน์ต่อการ
เกษตรกรรม การอุปโภคบริโภคของประชาชนในพื้นที่จังหวัดลพบุรี สระบุรี และ
จังหวัดใกล้เคียง มีความยาว 4,860 เมตร สูงราว 36.50 เมตร
โครงการเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์
บ้านหนองบัว อ.พัฒนานิคม จ.ลพบุรี 15140
โทร : 0 3649 4243
เปิดทาการ : เปิดทุกวัน เวลา 07.00-18.00 น.
ฤดูกาลท่องเที่ยว : ตลอดทั้งปี
การเดินทาง กรุงเทพฯ - โครงการเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์
พิกัดภูมิศาสตร์ : N14° 51.931’ E101° 03.841’
LAT 14.861348 LONG 101.063221
ใช้ทางหลวงหมายเลข 1 (ถนนพหลโยธิน) เลี้ยวขวาเข้าทางหลวงหมายเลข 21
ผ่านจังหวัดสระบุรีไปประมาณ 33 กิโลเมตร เลี้ยวขวาเข้าทางหลวงหมายเลข
3017 อีกราว 17 กิโลเมตร ถึงเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์
จัดทำโดย

นำงสำวสุพัตรำ คลังทรัพย์ เลขที่ 10


นำงสำงสุธติ ำ อุ่นโรจน์ เลขที่ 14
คอมพิวเตอร์ธุรกิจ

You might also like