Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 62

การบํารุงรักษาทวีผลทีท่ กุ คนมีส่วนร่วม

Total Productive Maintenance


Total Productive
Maintenance
ความหมายของ TPM ในส่ วนการผลิต
1. TPM คือ ระบบการบํารุ งรักษาที่จะทําให้เครื่ องจักรอุปกรณ์เกิดประสิ ทธิ ภาพสู งสุ ด (Overall Efficiency)

2. TPM คือ การประยุกต์ใช้ PM เพื่อให้สามารถใช้เครื่ องจักรได้ตลอดอายุการใช้งาน

3. TPM คือ ระบบการบํารุ งรักษาของทุกคนที่มีส่วนได้ส่วนเสี ยกับเครื่ องจักรอุปกรณ์ ได้แก่ ผูว้ างแผนการผลิต ผูใ้ ช้เครื่ อง
และฝ่ ายซ่อมบํารุ ง
4. TPM คือ ระบบการบํารุ งรักษาที่อยูบ่ นพื้นฐานของการมีส่วนร่ วมตั้งแต่ผบู ้ ริ หารระดับสูงจนถึงผูใ้ ช้เครื่ อง

5. TPM คือ การทําให้ทุกคนเข้ามามีส่วนร่ วมในการทํา PM ในลักษณะเป็ นกลุ่มย่อย


Total Productive
Maintenance
ความหมายของ TPM ทัว่ ทั้งองค์ การ
1. TPM คือ ระบบการบํารุ งรักษาที่ส่งเสริ มให้เกิดความร่ วมมือของทุกฝ่ าย โดยมีความมุ่งมัน่ ว่า
ประสิ ทธิภาพโดยรวมของระบบการผลิตต้องสู งสุ ด
2. TPM คือการทําให้เกิดระบบป้องกันเพื่อไม่ให้มีความสู ญเสี ย (Losses) เกิดขึ้นกับเครื่ องจักร และ
ผลิตภัณฑ์ ซึ่งทั้งนี้ตอ้ งทําให้เกิด “อุบตั ิเหตุเป็ นศูนย์” “ของเสี ยเป็ นศูนย์” และ “เครื่ องเสี ยเป็ น
ศูนย์”
3. TPM คือ การให้ฝ่ายผลิต ฝ่ ายพัฒนา ฝ่ ายบริ หาร ฝ่ ายขาย มาร่ วมกันในการพัฒนาประสิ ทธิภาพ
โดยรวมของระบบการผลิต
4. TPM คือ ระบบการบํารุ งรักษาที่อยูบ่ นพื้นฐานของการมีส่วนร่ วมตั้งแต่ผบู ้ ริ หารระดับสู งจนถึง
ผูใ้ ช้เครื่ อง
5. TPM คือการทําให้ความสู ญเสี ยเป็ นศูนย์โดยผ่านกิจกรรมกลุ่มย่อยที่ทุกกลุ่มมีภาระงานที่คาบเกี่ยว
กัน (Overlapping)
ขัน้ ตอนการทํา TPM
ขันเตรี
้ ยมการ

ขั้นตอนที่ 1 : ประกาศการตัดสิ นใจของผูบ้ ริ หารสู งสุ ดในการนํา TPM มาใช้การประกาศการตัดสิ นใจของผูบ้ ริ หารสามารถ
ทําได้โดยผ่านการสื่ อสารรู ปแบบต่างๆ ที่มีการใช้กนั ภายในบริ ษทั เช่น การประชุม การจัดบอร์ดเผยแพร่
หนังสื อและนิตยสารภายใน

ขั้นตอนที่ 2 : ฝึ กอบรมให้ความรู ้และการเชิญชวนจัดฝึ กอบรม หลักสู ตรTPM ให้กบั พนักงานในระดับต่างๆ รวมถึง


การศึกษาดูงานนอกสถานที่ หรื อการส่ งพนักงานเข้าร่ วมฝึ กอบรมที่หน่วยงานอื่นเป็ นผูจ้ ดั

ขั้นตอนที่ 3 : จัดตั้งคณะกรรมการรณรงค์ส่งเสริ ม TPM และผังการบริ หาร TPM


จัดตั้งคณะทํางานในระดับต่างๆ ไม่วา่ จะเป็ นระดับองค์การ ระดับโรงงาน ระดับแผนกหรื อระดับกลุ่มย่อย
โดยทั้งหมดต้องนํามาจัดทําเป็ นผังบริ หารกิจกรรม TPM

ขั้นตอนที่ 4 : กําหนดปรัชญา นโยบาย และเป้ าหมาย TPM การกําหนดปรัชญา นโยบาย และเป้ าหมายของ TPM สามารถ
ทําได้โดยเทียบเคียงกับอุตสาหกรรมใกล้เคียง หรื อกําหนดขึ้นเองโดยพิจารณาจากสภาพแวดล้อมใน
ปั จจุบนั

ขั้นตอนที่ 5 : จัดทําแผนแม่บท TPMคือ การจัดความสมดุลของเป้ าหมายทางด้านระยะเวลาดําเนินการให้เข้ากับเสาหลัก


ทั้ง 8 ของ TPM

ขั้นตอนที่ 6 : จัดพิธีเปิ ด TPM อย่างเป็ นทางการ จัดพิธีเปิ ดโดยการเชิญลูกค้า บริ ษทั ในเครื อ หรื อบริ ษทั พันธมิตรเข้าร่ วมพิธีดว้ ย
ขั้นปฏิบัติการ
ขั้นตอนที่ 7 : การเพิม่ ประสิ ทธิภาพการผลิต
ขั้นตอนที่ 7.1 : การปรับปรุ งเฉพาะเรื่ อง (เสาหลักที่ 1)
โดยทีมเฉพาะกิจและทีมกิจกรรมกลุ่มบํารุ งรักษา
ขั้นตอนที่ 7.2 : การบํารุ งรักษาด้วยตนเอง (เสาหลักที่ 2)
ดําเนินการ 7 ขั้นตอนของการบํารุ งรักษาด้วยตนเอง และการประกวดกิจกรรมกลุ่มบํารุ งรักษาด้วยตนเอง
ขั้นตอนที่ 7.3 : การบํารุ งรักษาตามแผน (เสาหลักที่ 3)
การเตรี ยมพร้อมรับความความเสี ยหาย การป้องกันความเสี ยหาย การพัฒนาและปรับปรุ งเครื่ องจักร
ขั้นตอนที่ 7.4 : การฝึ กการอบรม
ขั้นตอนที่ 8 : การคํานึงถึงการบํารุงรักษาตั้งแต่ ข้นั การออกแบบ (เสาหลักที่ 5)
พัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ให้ดีข้ ึน ให้เร็วขึ้น ให้ผลิตได้ง่าย และให้บาํ รุ งรักษาได้ง่าย
ขั้นปรับปรุงและยกระดับ TPM
ขั้นตอนที่ 9 : จัดทําระบบการบํารุงรักษาเพื่อคุณภาพ (เสาหลักที่ 6)
สร้างเงื่อนไขการผลิตที่จะไม่ทาํ ให้เกิดของเสี ย และการบํารุ งรักษาเพื่อรักษาสภาพเงื่อนไขดังกล่าวไว้

ขั้นตอนที่ 10 : จัดทําTPM ในสํ านักงาน (เสาหลักที่ 7)


สนับสนุนกิจกรรมของฝ่ ายผลิต และปรับปรุ งประสิ ทธิภาพของงานธุรการในส่ วนที่เกี่ยวข้องกับเครื่ องจักรอุปกรณ์
ขั้นตอนที่ 11 : จัดทําระบบชีวอนามัย ความปลอดภัย และสิ่ งแวดล้อมภายในโรงงาน (เสาหลักที่ 8)
รณรงค์ให้เกิด "อุบตั ิเหตุเป็ นศูนย์" และ "มลพิษเป็ นศูนย์"
ขั้นตอนที่ 12 : การทําทุกอย่ างให้ สมบูรณ์ และยกระดับ TPM
การขอรับรองผลจากสถาบันต่างๆ และการตั้งเป้าหมายให้สูงขึ้น
ภาพรวมของ 12 ขัน้ ตอน
12 ขัน้ ตอนของ TPM ทีจ่ ะกล่าวถึงในส่วนนี้ คือ ขัน้ ตอนของการนํา TPM ไปใช้ทวทั ั ่ ง้
องค์การหรือทีเ่ รียกว่า Company-wide TPM โดยแบ่งการดําเนินการออกเป็ นขัน้ หลักๆ
ดังต่อไปนี้
• ขัน้ การเตรียมการ ได้แก่ ขัน้ ตอนที่ 1 ถึงขัน้ ตอนที่ 6
• ขัน้ ปฏิบตั กิ าร ได้แก่ ขัน้ ตอนที่ 7 และขัน้ ตอนที่ 8
• ขัน้ การปรับปรุงและยกระดับ ได้แก่ ขัน้ ตอนที่ 9 ถึงขัน้ ตอนที่ 12
หลังการเตรียมตัวทีเ่ พียงพอเท่านัน้ จึงจะมีการเปิ ดโครงการ TPM อย่างเป็ น
ทางการ (TPM Kickoff) แม้จะใช้เวลาแตกต่างกันบ้างในช่วงของการเตรียมการตาม
ขนาดและลักษณะของกระบวนการผลิต แต่โดยทัวไปก็ ่ จะอยูท่ ร่ี าว 3 - 4 เดือน ในการ
ดําเนินการตัง้ แต่ขนั ้ ตอนที่ 1 จนถึงการจัดทําแผนแม่บท TPM
ขัน้ ปฏิบตั กิ าร TPM จะเริม่ ขึน้ ทันทีหลังจากพิธเี ปิ ดอย่างเป็ นทางการผ่านพ้นไป โดย
ดําเนินการตามแผนแม่บทไปอย่างต่อเนื่องจนกระทังถึ ่ งขัน้ ตอนที่ 12 ทัง้ นี้หลังจากทีม่ กี าร
ดําเนินการมาจนถึงขันตอนที้ ่ 12 บริษทั ก็มสี ทิ ธิที์ จ่ ะหาสถาบันต่างๆ มาทําการรับรองผลการ
ทํากิจกรรม TPM โดยทั ่วไปตัง้ แต่มพี ธิ เี ปิ ดจนกระทังถึ ่ งขัน้ ที่ 12 จะใช้เวลาประมาณ 2.5 - 3 ปี
อย่างไรก็ตามในกรณีทม่ี พี นักงานและเครือ่ งจักรอุปกรณ์จาํ นวนมาก อาจต้องใช้เวลา
ประมาณ 3 - 5 ปี
แปดเสาหลักของ TPM
1. การปรับปรุงเฉพาะเรือ่ ง (Individual Improvement) เช่น 7waste
2. การบํารุงรักษาด้วยตนเอง (Autonomous Maintenance)
3. การบํารุงรักษาตามแผน (Planned Maintenance) ตามรอบเวลา
4. การศึกษาและฝึกอบรมเพือ่ เพิม่ ทักษะการทํางานและการบํารุงรักษา
(Operation and Maintenance Development)
5. การคํานึงถึงการบํารุงรักษาตัง้ แต่ขนั ้ การออกแบบ (Initial Phase
Management)
6. ระบบการบํารุงรักษาเพือ่ คุณภาพ (Quality Maintenance)
7. ระบบการทํางานของฝ่ ายบริหารทีต่ ระหนักถึงประสิทธิภาพการผลิตหรือ
เรียกว่า TPM ในสํานักงาน (TPM in Office)
8. ระบบชีวอนามัย ความปลอดภัย และสิง่ แวดล้อมภายในโรงงาน (Safety,
Hygiene and Working Environment)
ปริศนา
3
3
2
4
3
Pillar 1 - การปรับปรุงเฉพาะเรื่อง
(Individual Improvement)
การปรับปรุงเฉพาะเรือ่ งเพือ่ การปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิตซึง่ เป็ น 1 ใน 8 เสาหลัก
นัน้ เป็ นความรับผิดชอบโดยตรงของฝ่ ายการผลิตโดยมีฝ่ายอื่นคอยให้การสนับสนุ นควบคูไ่ ป
กับกิจกรรมบํารุงรักษาด้วยตนเองของพนักงานผูใ้ ช้เครือ่ ง ทัง้ นี้เป็ นการปรับปรุงเฉพาะ
เครือ่ งจักรต้นแบบก่อน จากนัน้ จึงขยายการปรับปรุง เครือ่ งจักรไปยังเครือ่ งจักรอื่นๆ ทัวทั
่ ง้
โรงงาน

การปรับปรุงเฉพาะเรือ่ ง ก็คอื การปรับปรุงเพือ่ ลด Loss แต่ละประเภทไปทีละเรือ่ งโดยเริม่


จาก Loss ทีม่ ผี ลต่อค่า OEE มากทีส่ ดุ ซึง่ จะทําให้เห็นผลการเปลีย่ นแปลงได้ชดั เจนทีส่ ดุ

การปรับปรุงเฉพาะเรือ่ งสามารถวัดผลได้โดยการดูจากค่า OEE หรือกล่าวอีกนัยหนึ่ง การ


ปรับปรุงเฉพาะเรือ่ งก็คอื การปรับปรุงค่า OEE ของทีมเฉพาะกิจร่วมกับผูใ้ ช้เครือ่ งจักรนัน่
OEE
• การวัดประสิทธิผลโดยรวมของเครือ่ งจักร (OEE – Overall Equipment
Effectiveness) เป็ นวิธกี ารทีด่ วี ธิ หี นึ่งทีน่ อกจากทําให้รปู้ ระสิทธิผลของเครือ่ งจักร
แล้วยังรูถ้ งึ สาเหตุของความสูญเสียทีเ่ กิดขึน้ ทัง้ ในภาพใหญ่ คือ สามารถแยกประเภทการ
สูญเสียและรายละเอียดของสาเหตุนนั ้ ทําให้สามารถทีจ่ ะปรับปรุง ลดความสูญเสียทีเ่ กิดขึน้
ได้อย่างถูกวิธ ี
การปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิต
การปรับปรุงประสิทธิภาพ หมายถึง การทําให้ระบบการผลิตมีผลลัพธ์ออกมาให้
ได้มากทีส่ ดุ ในขณะทีใ่ ช้ทรัพยากรน้อยลงหรือเรียกอีกอย่างว่า การใช้ทรัพยากรให้
เกิดประโยชน์สงู สุด หรือเพือ่ เป็ นการปรับปรุงการเพิม่ ผลผลิตนันเอง
่ โดยแบ่งออกเป็ น
• การใช้ประโยชน์สงู สุดจากเครือ่ งจักร หรือการปรับปรุงอัตราการเดินเครือ่ ง
• การใช้ประโยชน์สงู สุดจากวิธกี ารทํางาน หรือการปรับปรุงประสิทธิภาพการเดินเครือ่ ง
• การใช้ประโยชน์สงู สุดจากการใช้วตั ถุดบิ หรือการปรับปรุงอัตราคุณภาพ
การปรับปรุงอัตราการเดินเครือ่ ง ก็คอื การปรับปรุงเพือ่ ลด Loss ในกลุม่ ทีท่ าํ ให้
เครือ่ งจักรหยุด การปรับปรุงประสิทธิภาพการเดินเครือ่ ง ก็คอื การปรับปรุงเพือ่ ลด
ความสูญเสียกลุม่ ทีท่ าํ ให้เครือ่ งจักรเสียกําลัง และการปรับปรุงอัตราคุณภาพ ก็คอื การ
ปรับปรุงเพือ่ ลดความสูญเสียกลุม่ ทีท่ าํ ให้เกิดของเสีย
Pillar 2 - การบํารุงรักษาด้วยตนเอง
(Autonomous Maintenance : AM)
ลักษณะเฉพาะอย่างหนึ่งของ TPM ก็คอื การบํารุงรักษาทีม่ งุ่ เน้นให้ผใู้ ช้เครือ่ งจักรมี
ส่วนร่วมในกิจกรรมการบํารุงรักษา โดยเฉพาะการดูแลรักษาเครือ่ งจักรทีต่ นเองใช้ ไม่ปล่อย
ให้เป็ นหน้าทีข่ องฝ่ ายซ่อมบํารุงเท่านัน้

การบํารุงรักษาด้วยตนเองเป็ นการทํากิจกรรมบํารุงรักษาในลักษณะของกิจกรรมกลุ่มย่อย
โดยแต่ละกลุ่มมีหน้าทีด่ แู ลรักษาเครือ่ งจักรของตนเอง ภายใต้ความคิดทีว่ า่ "ไม่มใี ครเข้าใจ
เครือ่ งจักรได้ดเี ท่ากับผูใ้ ช้เครือ่ ง" "ไม่มใี ครคอยสังเกตสิง่ ผิดปกติได้ดเี ท่ากับผูใ้ ช้เครือ่ ง" "ไม่ม ี
ใครคอยดูแลรักษาเครือ่ งจักรได้ดเี ท่ากับผูใ้ ช้เครือ่ ง" และทีส่ าํ คัญหากเครือ่ งจักรเกิดความ
เสียหายขึน้ "ไม่มใี ครได้รบั ผลกระทบมากเท่ากับผูใ้ ช้เครือ่ ง"
การบํารุงรักษาด้วยตนเองคืออะไร
1. การบํารุงรักษาด้วยตนเอง คือ การปกป้ องเครื่องจักรของตนเอง
คําว่า "บํารุงรักษาเครื่องจักรด้วยตนเอง" หมายถึง ผูใ้ ช้เครื่องแต่ละคนสามารถทําการตรวจสอบประจําวัน หล่อลืน่
เปลีย่ นชิน้ ส่วนอะไหล่ ซ่อมแซมเบือ้ งต้น สังเกตความผิดปกติของเครื่อง และตรวจสอบอุปกรณ์หรือเครื่องจักรทีต่ น
เป็ นผูใ้ ช้งานอย่างละเอียดในบางครัง้ โดยมีวตั ถุประสงค์เพื่อ "ปกป้ องเครื่องจักรของตนเอง"
แต่สาํ หรับในบางอุตสาหกรรมทีท่ าํ การผลิตด้วยเครื่องจักรทีม่ คี วามซับซ้อนสูง หรือบริษทั ทีม่ กี ารขยายกําลังการผลิต
เป็ นไปได้วา่ บริษทั จะมีนโยบายให้ผใู้ ช้เครื่องมีหน้าทีแ่ ค่ทาํ การผลิตอย่างเดียว ในขณะทีฝ่ ่ ายซ่อมบํารุงจะเป็ นผูค้ อย
ดูแลบํารุงรักษาเครื่องทัง้ หมด ซึง่ นัน่ ก็คอื แนวความคิดทีว่ า่ "ผูม้ หี น้าทีใ่ ช้...ใช้ ผูม้ หี น้าทีซ่ ่อม....ซ่อม" แนวคิดเช่นนี้จะ
ทําให้ผใู้ ช้เครื่องคอยจับตาดูเฉพาะชิน้ งานทีอ่ อกมาโดยไม่สนใจสภาพของเครื่องจักร โดยฝ่ ายซ่อมบํารุงก็จะไม่
สามารถเข้าไปดูแลอะไรได้จนกว่าเครื่องจักรจะเสีย
ยิง่ ไปกว่านัน้ เมือ่ เครื่องจักรเกิดการเสียหาย ผูใ้ ช้เครื่องจะรูส้ กึ ว่า "ฝ่ ายซ่อมบํารุงไม่คอยดูแลให้ด"ี หรือ "เครื่องจักรไม่
ดี" ซึง่ ความคิดดังกล่าวเป็ นความคิดทีผ่ ดิ เนื่องจากว่า จริงๆ แล้ว ความเสียหายของเครื่องจักรสามารถป้ องกันได้
เพียงแค่ผใู้ ช้เครื่องคอยสอดส่องดูแลในเรื่องของการขันแน่ น การหล่อลืน่ และการทําความสะอาด นอกจากนัน้ ในขณะ
ทีเ่ ครื่องเริม่ แสดงอาการว่าจะเสีย ผูท้ ป่ี ระสบเป็ นคนแรกก็คอื ผูใ้ ช้เครื่องนัน่ เอง
ดังนัน้ ไม่วา่ จะเป็ นอุตสาหกรรมประเภทใด เครื่องจักรซับซ้อนเพียงใด ผูใ้ ช้เครื่องยังคงมีบทบาทสําคัญในการ
"บํารุงรักษาเครื่องจักรด้วยตนเอง"
2. การบํารุงรักษาด้วยตนเอง คือ การเป็ นผูเ้ ชี่ยวชาญในการใช้เครื่องจักรของตนเอง

เพือ่ ให้สามารถบํารุงรักษาเครือ่ งจักรของตนเองได้ ผูใ้ ช้เครือ่ งต้องเป็ นผูท้ เ่ี ชีย่ วชาญในการใช้
เครือ่ งจักรของตนเอง กล่าวคือ ผูใ้ ช้เครือ่ งต้องสามารถทําการปรับปรุงเครือ่ งจักรประจําวันได้
เช่น การทําความสะอาด การหล่อลื่น และการตรวจสอบ การพิจารณาออกแบบ หรือการหา
ระบบอัตโนมัตเิ ข้ามาช่วยในการผลิต ซึง่ ถือเป็ นความจําเป็ นทีผ่ ใู้ ช้เครือ่ งต้องพัฒนาต่อไป

การจะเป็ นผูเ้ ชีย่ วชาญในการใช้เครือ่ งจักรของตนเองได้นนั ้ อันดับแรกต้องสามารถ "ตรวจจับ


ความผิดปกติได้" และอันดับทีส่ องต้องสามารถ "สัมผัสได้ถงึ ความผิดปกติทก่ี าํ ลังจะเกิดขึน้ "
โดยพิจารณาจากคุณภาพการใช้งานของเครือ่ งจักรและเมือ่ ใดก็ตามทีค่ ุณภาพการใช้งาน
ตํ่าลงไป ผูเ้ ชีย่ วชาญในการใช้เครือ่ งจักรของตนเองต้องรูส้ กึ ทันทีวา่ "มันต้องมีอะไรผิดปกติ
เกิดขึน้ " ซึง่ ทัง้ หมดดังทีก่ ล่าวมาอาจจะเกิดขึน้ ได้ ผูใ้ ช้เครือ่ งจะต้องมีความสามารถอย่างมาก
ดังต่อไปนี้
ยกตัวอย่างความผิดปกติ
• ความสามารถในการตัง้ เกณฑ์วดั ความผิดปกติ
• ความสามารถในการตรวจจับสิง่ ผิดปกติ
• ความสามารถในการสังเกตสิง่ ผิดปกติ
• ความสามารถในการแก้ไขสิง่ ผิดปกติได้อย่างเหมาะ
จากความสามารถดังกล่าวจะทําให้ผใู้ ช้เครือ่ งสามารถ
• หาจุดทีผ่ ดิ ปกติและแก้ไขให้ถกู ต้องได้
• เข้าใจโครงสร้างของเครือ่ งจักรและหน้าทีต่ ่างๆ ของชิน้ ส่วนแต่ละชิน้ ในขณะทีท่ าํ งานได้อย่าง
ปกติ หรือในขณะทีก่ าํ ลังมีความผิดปกติเกิดขึน้
• เข้าใจผลกระทบจากความผิดปกติของเครือ่ งจักรทีม่ ตี ่อคุณภาพการใช้งาน
ผูใ้ ช้เครือ่ งจักรทีม่ คี วามสามารถดังกล่าวครบถ้วนจึงจะเรียกได้วา่ เป็ นผูเ้ ชีย่ วชาญใน
การใช้เครือ่ งจักรของตนเอง เนื่องจากเป็ นผูท้ ส่ี ามารถหาจุดผิดปกติ สัมผัสได้ถงึ สิง่ ผิดปกติท่ี
กําลังจะเกิดขึน้ และหาทางป้ องกันความ
บทบาทของผูใ้ ช้เครื่องและฝ่ ายซ่อมบํารุงในการบํารุงรักษาด้วยตน
บทบาทของผูใ้ ช้เครื่อง
• กิจกรรมเพือ่ ป้ องกันความเสือ่ มสภาพ
o จัดทํามาตรฐานการปฏิบตั งิ านทีถ่ ูกต้อง (การป้ องกันความผิดพลาดจากผูป้ ฏิบตั งิ าน)
o ปรับปรุงสภาพการใช้งานขัน้ พืน้ ฐาน (การทําความสะอาด การหล่อลื่น การขันแน่น)
o การปรับแต่ง (การปรับแต่งค่าต่างๆ ในการใช้งานเพือ่ ให้ชน้ิ งานออกมามีคณุ ภาพ)
o การพยากรณ์และการตรวจจับความผิดปกติ (การป้ องกันความเสียหายและอุบตั เิ หตุ)
• การวัดความเสือ่ มสภาพ
o การตรวจสอบประจําวัน
o การตรวจสอบตามคาบเวลา
• กิจกรรมเพือ่ ฟื้ นความเสือ่ มสภาพ
o การปรับปรุงเล็กๆ น้อยๆ (การเปลีย่ นชิน้ ส่วนต่างๆ เท่าทีท่ าํ ได้ และการแก้ไขจุดผิดปกติทม่ี คี วามเร่งด่วน)
o รายงานความผิดปกติและความเสียหายทุกครัง้ อย่างเร่งด่วนให้กบั ฝ่ ายซ่อมบํารุง
o ให้ความร่วมมือและความช่วยเหลือในการซ่อมแซมเครือ่ งจักรของฝ่ ายซ่อมบํารุง
ทัง้ หมดนี้เป็ นการป้ องกันความเสือ่ มสภาพของเครื่องจักรทีเ่ กิดจากการใช้งาน โดยการทําความสะอาด การหล่อ
ลืน่ และการขันแน่ น รวมถึงการตรวจสอบประจําวัน และการตรวจสอบตามคาบเวลา โดยมีบางจุดทีผ่ ใู้ ช้เครื่องมี
หน้าทีด่ แู ลความเสือ่ มสภาพได้ดว้ ยตนเอง แต่สาํ หรับจุดใหญ่ๆ ก็ยงั คงเป็ นหน้าทีข่ องฝ่ ายซ่อมบํารุง
Pillar 3 - การบํารุงรักษาตามแผน
(Planned Maintenance)

การบํารุงรักษาตามแผนเป็ นกิจกรรมของฝ่ ายซ่อมบํารุงและเป็ นเสาหลักหนึ่งใน TPM ในขณะทีฝ่ ่ ายผลิตทํา


กิจกรรมการปรับปรุงเฉพาะเรือ่ ง และผูใ้ ช้เครือ่ งทํากิจกรรมการบํารุงรักษาด้วยตนเอง
การบํารุงรักษาตามแผน คือ การทีฝ่ ่ ายซ่อมบํารุงดําเนินกิจกรรมต่างๆ เพือ่ ให้เครือ่ งจักรใช้งานได้ดี
ตลอดเวลา นันก็่ คอื กิจกรรมเพือ่ ให้เครือ่ งจักรมีอตั ราการใช้งานสูง (Availability) และเพือ่ เพิม่ พูนทักษะ
ความสามารถในการซ่อมบํารุง (Maintainability) โดยแบ่งย่อยออกเป็ น การบํารุงรักษาเชิงป้ องกัน การ
บํารุงรักษาเชิงพยากรณ์ การบํารุงรักษาเชิงแก้ไขปรับปรุง การป้ องกันการบํารุงรักษา และการบํารุงเมือ่
ขัดข้อง
การบํารุงรักษาตามแผนจะทํากับเครือ่ งจักรต้นแบบและชิน้ ส่วนต้นแบบเป็ นอันดับแรกก่อน จากนัน้ จึง
ขยายผลจนครบทุกเครือ่ งจักรในโรงงาน นอกจากนัน้ ยังต้องมีกจิ กรรมอื่นสนับสนุ นด้วย เช่น กิจกรรมการ
ช่วยเหลือผูใ้ ช้เครือ่ งในการบํารุงรักษาด้วยตนเอง กิจกรรมสําหรับการบํารุงรักษาเชิง แก้ไขปรับปรุง
กิจกรรมเพือ่ การป้ องกันการบํารุงรักษา และกิจกรรมเพือ่ การบํารุงรักษาเชิงพยากรณ์
กิจกรรมในระบบการบํารุงรักษาตามแผน
1. กิจกรรมเพื่อให้เครื่องจักรใช้งานได้ดีตลอดเวลา

กิจกรรมเพือ่ ให้เครือ่ งจักรใช้งานได้ดตี ลอดเวลาประกอบไปด้วยกิจกรรมเพือ่ ให้เครือ่ งจักรมี


อัตราการใช้งานสูง (Availability) และเพือ่ ความสามารถในการซ่อมบํารุง (Maintainability)
วิธกี ารบํารุงรักษาทีจ่ ะช่วยส่งเสริม Availability และ Maintainability ประกอบด้วยการบํารุงรักษาแบบ
ต่างๆ ดังต่อไปนี้
เพือ่ หยุดความเสียหาย - การบํารุงรักษาเชิงป้ องกัน (Preventive Maintenance)
- การบํารุงรักษาเชิงพยากรณ์ (Predictive Maintenance)
เพือ่ ป้ องกันความเสียหาย - การบํารุงเชิงแก้ไขปรับปรุง (Corrective Maintenance)
- การป้ องกันการบํารุงรักษา(Maintenance Prevention)
เพือ่ เตรียมพร้อมเมือ่ เกิดการเสียหาย - การบํารุงรักษาเมือ่ ขัดข้อง (Breakdown Maintenance)
2. กิจกรรมในเชิงการบริหารการบํารุงรักษา

เพือ่ ให้การบํารุงรักษาตามแผนได้รบั การสนับสนุน ไม่วา่ จะเป็ นข้อมูลเครือ่ งจักร


อะไหล่
หรืองบประมาณต่างๆ โดยทัวไปต้ ่ องมีกจิ กรรมเชิงบริหาร อันประกอบด้วย
• การจัดการข้อมูลด้านต่างๆ ในการบํารุงรักษา (Maintenance Information
Management)
• การจัดการชิน้ ส่วนและอะไหล่ (Spare Part Management)
• การจัดการต้นทุนการบํารุงรักษา (Maintenance Cost Management)
3. กิจกรรมสนับสนุนจากฝ่ ายผลิต

เพือ่ ให้การบํารุงรักษาบรรลุวตั ถุประสงค์ ในการดําเนินการตามแนวทางของ


TPM จําเป็ นอย่างยิง่ ทีฝ่ ่ ายซ่อมบํารุงและฝ่ ายผลิตต้องดําเนินกิจกรรมดังกล่าวร่วมกัน
โดยกิจกรรมของฝ่ ายผลิตทีต่ อ้ งการเพือ่ สนับสนุ นการบํารุงรักษาตามแผน ก็คอื
• การบํารุงรักษาด้วยตนเอง (Autonomous Maintenance)
• การปรับปรุงเฉพาะเรือ่ ง (Individual Improvement)
การบํารุงรักษาตามแผนโดยการดําเนินกิจกรรมต่างๆ ทัง้ หมดนัน้ จะทําให้
สามารถเพิม่ ผลผลิตได้โดยการปรับปรุงผลิตผล (Output) ทีจ่ ะออกมาในรูปของความ
พยายามให้เครือ่ งจักรเสียเป็ นศูนย์ (Zero Failure) ของเสียเป็ นศูนย์ (Zero Defect) และ
อุบตั เิ หตุเป็ นศูนย์ (Zero Accident)
Pillar 4 - การพัฒนาทักษะการปฏิบตั งิ านและการบํารุงรักษา
TPM เป็ นกิจกรรมในเชิงโครงสร้างทีต่ อ้ งการความร่วมมือจากทัง้ องค์การ เพือ่ ช่วยกัน
เปลีย่ นแปลงบรรยากาศในการทํางานด้วยเครือ่ งจักรให้มบี รรยากาศทีด่ แี ละมีการจัดการที่
ทันสมัย ดังนัน้ เพือ่ ให้ทุกฝ่ ายสามารถปฏิบตั งิ านได้โดยสนองวัตถุประสงค์ดงั กล่าว ทักษะและ
ความชํานาญของพนักงานทุกคนในการปฏิบตั งิ านและการบํารุงรักษาจึงเป็ นสิง่ จําเป็ น
อย่างไรก็ตามการรณรงค์สง่ เสริมให้เกิดจิตสํานึก TPM อย่างประสบความสําเร็จ โดยทําให้
ผูใ้ ช้เครือ่ งจักรคิดได้วา่ "เครือ่ งจักรของเรา เราต้องรักษา" นัน้ มักประสบปั ญหาทีว่ า่
ผูใ้ ช้เครือ่ งไม่มคี วามรูท้ างด้านเทคนิค ไม่มคี วามรูเ้ กีย่ วกับพืน้ ฐานการออกแบบเครือ่ งจักร
และไม่มคี วามรูท้ างด้านบริหารจัดการ

หากต้องการพัฒนา TPM ให้ได้ผลอย่างต่อเนื่องนัน้ การพัฒนาทักษะการปฏิบตั งิ านและการ


บํารุงรักษาเป็ นสิง่ ทีต่ อ้ งให้ความสําคัญและหลีกเลีย่ งไม่ได้ แต่บอ่ ยครัง้ การพัฒนาดังกล่าวก็
ไม่ประสบความสําเร็จ หากองค์การไม่สามารถหาแนวทางการพัฒนาทีเ่ หมาะสมกับ
ลักษณะเฉพาะในหน่วยงานของตนเองทัง้ ในด้านความสามารถ ความสัมพันธ์ของบุคลากร
และลักษณะของการปฏิบตั งิ าน
Pillar 5 - การคํานึ งถึงการบํารุงรักษาตัง้ แต่ขน้ั ของการออกแบบ
(Initial-Phase Management)
เมือ่ ใดก็ตามทีม่ กี ารออกผลิตภัณฑ์ใหม่ ภารกิจสําคัญ คือ ประสิทธิภาพในการ
พัฒนาผลิตภัณฑ์และประสิทธิภาพการลงทุนในตัวเครือ่ งจักร พร้อมกับการพัฒนา
กระบวนการผลิตให้ผลิตออกมาได้คราวละมากๆ อย่างมีประสิทธิภาพ ทัง้ นี้ผลิตภัณฑ์
ทีไ่ ด้รบั การพัฒนาต้องเป็ นทีต่ อ้ งการของลูกค้า หรืออาจเรียกได้วา่ บริษทั ต้องการ
พัฒนาศักยภาพในการแข่งขันด้วยกรรมวิธกี ารผลิตทีง่ า่ ยภายใต้กระบวนการผลิตที่
ปราศจากความสูญเสีย นันก็ ่ คอื การมีเครือ่ งจักรทีใ่ ช้งา่ ย ซ่อมแซมได้งา่ ย เพือ่ ให้
ผลิตภัณฑ์ทไ่ี ด้ไม่มขี องเสียหลุดออกมานันเอง ่

การคํานึงถึงการบํารุงรักษาตัง้ แต่ขนั ้ ของการออกแบบ ก็คอื การคํานึงถึงรายละเอียด


ต่างๆ ในการออกผลิตภัณฑ์ใหม่ เช่น การออกแบบผลิตภัณฑ์ การออกแบบเครือ่ งจักร
และการบริหารการผลิตทีอ่ ยูบ่ นหลักการของการออกแบบเพือ่ ป้ องกันการบํารุงรักษา
(MP Design) และการพิจารณาค่าใช้จา่ ยตลอดวงจรชีวติ (Life-Cycle Cost : LCC )
เพือ่ เป็ นการส่งเสริมประสิทธิภาพการผลิต ตัวของผลิตภัณฑ์ตอ้ งสามารถทํา
การผลิตได้งา่ ยเป็ นอันดับแรก เพราะจะทําให้ปัญหาอื่นๆ ทีต่ ามมามีน้อยลง หรือใน
บางประเด็นอาจจะไม่มปี ั ญหาเลย
การออกแบบเครือ่ งจักรเพือ่ ป้ องกันการบํารุงรักษาต้องทําให้เครือ่ งจักรมีความ
น่าเชือ่ ถือ (Reliability) ส่งเสริมการบํารุงรักษา (Maintainability) ส่งเสริมการ
บํารุงรักษาด้วยตนเอง ส่งเสริมการใช้งานอย่างมีประสิทธิภาพ (Operability) ประหยัด
ทรัพยากร ส่งเสริมความปลอดภัย และมีความอเนกประสงค์ (Flexibility)
การบริหารการผลิตประกอบด้วยการวางแผนกําลังการผลิต (Product Capacity
Planning) การวางแผนและควบคุมการผลิต (Production Planning and Control) และ
การบริหารของคงคลัง (Inventory Management) ซึง่ ทัง้ หมดสามารถส่งผลกระทบต่อ
การบํารุงรักษาได้ ดังนัน้ การบริหารการผลิตจึงต้องคํานึงถึงการบํารุงรักษา
Pillar 6 - การบํารุงรักษาเพื่อคุณภาพ
(Quality Maintenance)
การผลิตชิน้ งานให้ได้คุณภาพและความประณีต (Precision) ตามพิกดั ความเผือ่
ทีไ่ ด้ตกลงกับลูกค้าไว้นนั ้ ความแม่นยําของเครือ่ งจักรมีสว่ นสําคัญเป็ นอย่างมาก
ดังนัน้ จึงต้องมีการควบคุมความแม่นยําของเครือ่ งจักรและอุปกรณ์ ด้วยการ
บํารุงรักษาเพือ่ คุณภาพ
การดําเนินกิจกรรมการบํารุงรักษาเพือ่ คุณภาพ คือ การเชือ่ มโยงความสัมพันธ์
ระหว่างกิจกรรมการประกันคุณภาพและกิจกรรมการควบคุมเครือ่ งจักรเข้าด้วยกัน
โดยการติดตามคุณลักษณะทางด้านคุณภาพของชิน้ งานและการใช้งานของเครือ่ งจักร
ให้ได้ตามเงือ่ นไขทีก่ าํ หนดไว้
การจัดทําตารางมาตรฐานการบํารุงรักษาเพือ่ คุณภาพจะแสดงให้เห็นถึง
ความสัมพันธ์ของคุณลักษณะทางด้านคุณภาพกับค่ามาตรฐานของการตัง้ เครือ่ งจักร
เพือ่ ให้ได้ชน้ิ งานทีม่ คี วามประณีตตามพิกดั ความเผือ่ ที่ กําหนด
แนวคิดและความสําคัญของการบํารุงรักษาเพือ่ คุณภาพ
1. การประกันคุณภาพกับการบํารุงรักษาเพื่อคุณภาพ
การประกันคุณภาพ (Quality Assurance) หมายถึง กิจกรรมต่างๆ ทีก่ ระทําเพือ่ ความมันใจว่
่ า
ผลิตภัณฑ์ทอ่ี อกมาจะต้องมีคุณภาพเป็ นทีต่ อ้ งการของลูกค้า โดยกระบวนการคุณภาพเริม่
ตัง้ แต่การออกแบบมาจนถึงการคัดเลือกปั จจัยในการผลิต การควบคุมกระบวนการผลิต และ
การป้ องกันไม่ให้ชน้ิ งานทีไ่ ม่มคี ุณภาพหลุดไปถึงมือลูกค้า
การบํารุงรักษาเพือ่ คุณภาพ (Quality Maintenance) คือ การประกันคุณภาพในส่วนของ
เครือ่ งจักรและอุปกรณ์ทงั ้ หมด ตัง้ แต่การออกแบบหรือการเลือกซือ้
การบํารุงรักษาให้อยูใ่ นสภาพทีผ่ ลิตชิน้ งานได้อย่างมีคุณภาพตลอดเวลา โดยการหา
ความสัมพันธ์ของคุณลักษณะทางคุณภาพกับ ความแม่นยําของเครือ่ งจักรและอุปกรณ์
ความสัมพันธ์ของคุณลักษณะทางคุณภาพกับเงือ่ นไขต่างๆ ในการตัง้ เครือ่ งจักร
ความสัมพันธ์ของคุณลักษณะทางคุณภาพกับวิธกี ารทํางาน โดยความสัมพันธ์ทงั ้ หลาย
ดังกล่าวนัน้ กําหนดขึน้ มาเพือ่ หาทางควบคุมต่อไป
2. ความหมายของการบํารุงรักษาเพื่อคุณภาพ

การบํารุงรักษาเพือ่ คุณภาพ คือ การประกันคุณภาพในส่วนของเครือ่ งจักร


และอุปกรณ์เพือ่
1. ความมันใจในคุ
่ ณภาพทีเ่ กิดจากการบํารุงรักษาเครือ่ งจักร
2. เงือ่ นไขต่างๆ ของเครือ่ งจักรหรืออุปกรณ์ทจ่ี ะไม่ทาํ ให้เกิดของเสีย
3. ป้ องกันปั ญหาทางด้านคุณภาพด้วยการควบคุมเงือ่ นไขทีจ่ ะไม่ทาํ ให้เกิดของ
เสีย
4. ตรวจวัดความเบีย่ งเบนของเงือ่ นไขต่างๆ เพือ่ พยากรณ์โอกาสทีจ่ ะเกิดของ
เสียและหาทางป้ องกัน
3. การบํารุงรักษาเพื่อคุณภาพกับ 5 เสาหลักของกิจกรรม TPM

ความจําเป็ นขันพื
้ น้ ฐานในการบํารุงรักษาเพือ่ คุณภาพ คือ การทําให้เครือ่ งจักร
อุปกรณ์ และเครือ่ งมือ อยูใ่ นสภาพทีด่ ี มีประสิทธิภาพสูงสุด เช่นเดียวกับ
สภาพแวดล้อม ทักษะ และวิธกี ารทํางาน ทีต่ อ้ งเอือ้ อํานวยต่อการเกิดคุณภาพ และเพือ่ ให้
บรรลุความจําเป็ นขันพื ้ น้ ฐานดังกล่าว จึงมีความจําเป็ นอย่างยิง่ ทีต่ อ้ งเพิม่ วัตถุประสงค์ในการ
มุง่ มั ่นไม่ให้เกิดของเสียเข้าไปใน 5 เสาหลักของ กิจกรรม TPM อันประกอบไปด้วย การ
ปรับปรุงเฉพาะเรือ่ ง การบํารุงรักษาด้วยตนเอง การบํารุงรักษาตามแผน การคํานึงถึงการ
บํารุงรักษาตัง้ แต่ขนตอนของการออกแบบ
ั้ การพัฒนาทักษะการปฏิบตั งิ านและการ
บํารุงรักษา
ในภาพจะเห็นได้วา่ การปรับปรุงเฉพาะเรื่อง จะเพิม่ เติมเรือ่ งของการปรับปรุงและการแก้ปัญหา
ทางด้านคุณภาพเข้าไปด้วย ในขณะที่ การบํารุงรักษาด้วยตนเอง จะเพิม่ เติมทักษะในเรือ่ งของการ
สังเกตและแก้ไขปั ญหาทางด้านคุณภาพเข้าไป ในส่วนของ การบํารุงรักษาตามแผน จะเพิม่ เรือ่ งของการ
ตรวจสอบเงือ่ นไขทางด้านคุณภาพเข้าไปในแผนการบํารุงรักษาตามคาบเวลา เพือ่ เป็ นการติดตามความ
เบีย่ งแบนของเงือ่ นไขต่างๆ ว่าอยูใ่ นระดับทีย่ อมรับได้หรือไม่ สําหรับการ คํานึ งถึงการบํารุงรักษาตัง้ แต่
ขัน้ ตอนของการออกแบบ จําเป็ นทีจ่ ะต้องสร้างเงือ่ นไขต่างๆ ทีค่ ดิ ว่า จะทําให้เกิดการผลิตได้อย่างมี
คุณภาพ ทัง้ การออกแบบเครือ่ งจักรและการออกแบบผลิตภัณฑ์
Pillar 7 - กิจกรรม TPM ในสํานักงาน
(TPM in Office)
หน่วยงานทีไ่ ม่ได้ทาํ การผลิตโดยตรง เช่น ฝ่ ายบริหาร ฝ่ ายวิจยั และพัฒนา ฝ่ าย
จัดซือ้ ควรจะให้การสนับสนุ นงานในส่วนของการผลิตให้สาํ เร็จลุลว่ งไปด้วยดีโดยการ
นําแนวคิดกิจกรรม TPM มาประยุกต์ใช้ในงานเพือ่ ลดความสูญเสียในงานสํานักงาน

กิจกรรม TPM ในสํานักงาน ต้องดําเนินอยูบ่ นพืน้ ฐานของ 5 เสาหลัก ได้แก่


การปรับปรุงเฉพาะเรือ่ ง การบํารุงรักษาด้วยตนเอง การศึกษาและฝึกอบรม การจัดทํา
ระบบการ มอบหมายงาน และการจัดทําระบบประเมินผลงาน

กิจกรรม TPM ในสํานักงาน ต้องมีการกําหนดหน่วยวัด ดัชนีวดั ความสําเร็จ


และค่า มาตรฐานทีย่ อมรับได้ เพือ่ ใช้ในการติดตามความคืบหน้าของการปรับปรุงงาน
ในสํานักงาน
1. บทบาทของงานบริหารและงานสนับสนุน
หน่วยงานทีไ่ ม่ได้ทาํ การผลิตโดยตรง เช่น ฝ่ ายบริหาร ฝ่ ายวิจยั และพัฒนา ฝ่ ายจัดซือ้ ก็มบี ทบาทสําคัญต่อ
การอํานวยความสะดวกให้กบั ฝ่ ายผลิต เช่น
การประสานงานต่างๆ การจัดเตรียมงานเอกสาร การจัดซือ้ จัดจ้าง ซึง่ ถ้างานบริหารและงานสนับสนุน
ต่างๆ กระทําด้วยความล่าช้า ไม่มปี ระสิทธิภาพหรืออาจกล่าวได้วา่ เกิดความสูญเสียนันเอง ่ ก็จะทําให้ฝ่าย
ผลิตซึง่ ถือว่าเป็ นหน่วยงานหลักในการสร้างรายได้เข้าสูบ่ ริษทั ไม่สามารถทํางานได้ดว้ ยความราบรืน่
นอกจากนัน้ งานสํานักงานต่างๆ ยังต้องมีหน้าทีใ่ นการปรับปรุงการเพิม่ ผลผลิตของตนเอง ลดต้นทุนตาม
กลยุทธ์หรือนโยบายในการแข่งขันของบริษทั
กิจกรรม TPM ในสํานักงานจะช่วยให้การทํางานบริหารและงานสนับสนุนของหน่วยงานทีไ่ ม่ได้ทาํ การผลิต
โดยตรงบรรลุตามบทบาทดังกล่าว เนื่องจากการปรับปรุงกิจกรรมในสํานักงานมี
วัตถุประสงค์ดงั ต่อไปนี้
• ช่วยให้การทํากิจกรรม TPM ในส่วนการผลิตของพนักงานกลุ่มต่างๆ ได้รบั ความสะดวกมากยิง่ ขึน้
• ลดความสูญเสียต่างๆ ทีเ่ กิดขึน้ ในงานสํานักงาน
2. การเพิ่มผลผลิตในสํานักงาน

การเพิม่ ผลผลิตในสํานักงาน คือ การเพิม่ ผลงาน (การปรับปรุงคุณภาพและการบริหาร) และ


การลดปั จจัยทีใ่ ช้ในการทํางาน (ลดความสูญเสียและความสิน้ เปลือง) ซึง่ การเพิม่ ผลงาน
ประกอบด้วย การพัฒนาศักยภาพการตัดสินใจ การปรับปรุงการทํางาน การสร้างภาพลักษณ์
ทีด่ ใี ห้กบั บริษทั และการปรับปรุงสถานทีท่ าํ งาน สําหรับการลดปั จจัยการทํางานสามารถทํา
ได้โดยการใช้ทรัพยากรต่างๆ ให้คมุ้ ค่า เช่น ลดค่าใช้จา่ ยในสํานักงาน ลดจํานวนแรงงาน
ทํางานให้งา่ ยขึน้ และปรับปรุงคุณภาพของการประสานงาน ภาพด้านล่างแสดงโครงสร้างของ
การปรับปรุงการเพิม่ ผลผลิตในสํานักงาน
3. ความสูญเสียในสํานักงาน

ความสูญเสียในการทํางาน (Waste) ประกอบไปด้วย ความสูญเสียจากกระบวนการตัดสินใจ ความ


สูญเสียจากการประสานงาน และความสูญเสียจากการทําเอกสารและการประมวลผลข้อมูล ดังภาพแสดง
โครงสร้างของความสูญเสียทีเ่ กิดขึน้
Pillar 8 - ระบบชีวอนามัย ความปลอดภัย และสิง่ แวดล้อมภายในโรงงาน

(Safety, Hygiene and Working Environment)

ปั ญหาของกิจกรรม TPM กับการบริหารความปลอดภัย คือ ทําอย่างไรให้การ


ทํางานมีความปลอดภัยมากยิง่ ขึน้ โดยการปรับปรุงอุปกรณ์และเงือ่ นไขในการทํางาน

ทุกคนควรจะทํางานโดยระลึกอยูเ่ สมอว่า อุบตั เิ หตุและมลพิษเป็ นศูนย์ เพราะว่าใน


การทํางานมีโอกาสจะเกิดอุบตั เิ หตุขน้ึ ได้ตลอดเวลา ส่วนการใช้เครือ่ งจักรได้ไม่เต็ม
ประสิทธิภาพนัน้ ก็มสี ว่ นในการทําลายสิง่ แวดล้อมอีกด้วย

ขัน้ ตอนการบริหารความปลอดภัยในกิจกรรม TPM นัน้ ประกอบด้วยขัน้ ตอนความ


ปลอดภัยในการบํารุงรักษาด้วยตนเอง ความปลอดภัยในการบํารุงรักษาตามแผน และ
ความปลอดภัยในการป้ องกันการบํารุงรักษา
กิจกรรม TPM กับสิง่ แวดล้อมและความ
ปลอดภัย
ความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารความปลอดภัยกับกิจกรรม TPM แสดงให้เห็นในภาพ
เป็ นส่วนหนึ่งทีจ่ ะช่วยเพิม่ สมรรถนะขององค์การดังทีไ่ ด้เคยกล่าวมาแล้ว ซึง่ สมรรถนะของ
องค์การจะประกอบไปด้วย การเพิม่ ผลผลิต การควบคุมคุณภาพ การควบคุมต้นทุน การส่ง
มอบตรงเวลา สิง่ แวดล้อมและความปลอดภัย รวมถึง ขวัญและกํา ลัง ใจของพนักงานโดย
กิจกรรม TPM กับการบริหารความปลอดภัยจะช่วยในการบริหารเครื่องจักร อุปกรณ์ และ
โรงงาน เพือ่ ช่วยควบคุม สิง่ แวดล้อมและความปลอดภัย
5 เสาหลักของ TPM ในส่วนการผลิต และ 3 เสาหลักของการขยายสู่ TPM ทัวทั
่ ง้ องค์การ
ในขัน้ การปฏิบตั กิ ค็ อื การทํา TPM เฉพาะในส่วนการผลิต ตาม 5 เสาหลักต่อไปนี้
1. การปรับปรุงเฉพาะเรื่อง
2. การบํารุงรักษาด้วยตนเอง
3. การบํารุงรักษาตามแผน
4. การศึกษาและฝึ กอบรมเพื่อเพิ่มทักษะการทํางานและการบํารุงรักษา
5. การคํานึ งถึงการบํารุงรักษาตัง้ แต่ขนั ้ ของการออกแบบ
และเมือ่ ดําเนินการจนสามารถเพิม่ ประสิทธิภาพของการผลิตได้ TPM ในส่วนของการผลิตก็จะขยาย
ไปสู่ TPM ทัวทั
่ ง้ องค์การ จํานวนของเสาหลักก็จะเพิม่ ขึน้ มาเป็ น 8 อันประกอบไปด้วย
6. ระบบการบํารุงรักษาเพื่อคุณภาพ
7. ระบบการทํางานของฝ่ ายบริหารที่ตระหนักถึงประสิทธิภาพการผลิต (TPM ในสํานักงาน)
8. ระบบชีวอนามัย ความปลอดภัย และสิ่งแวดล้อมภายในโรงงาน
พืน้ ทีห่ มายเลข 1 คือการปรับปรุงในส่วนทีเ่ ป็ นการปรับปรุงเฉพาะเรือ่ งเพียงอย่างเดียว
พืน้ ทีห่ มายเลข 2 คือการปรับปรุงในส่วนทีเ่ ป็ นการบํารุงรักษาด้วยตนเองเพียงอย่างเดียว
พืน้ ทีห่ มายเลข 3 คือการปรับปรุงในส่วนทีเ่ ป็ นการบํารุงรักษาตามแผนเพียงอย่างเดียว
พืน้ ทีห่ มายเลข 4 คือการปรับปรุงทีต่ อ้ งทําร่วมกันในส่วนทีเ่ ป็ นการปรับปรุงเฉพาะเรือ่ งและการ
บํารุงรักษาด้วยตนเอง
พืน้ ทีห่ มายเลข 5 คือการปรับปรุงทีต่ อ้ งทําร่วมกันในส่วนทีเ่ ป็ นการบํารุงรักษาด้วยตนเองและการ
บํารุงรักษาตามแผน
พืน้ ทีห่ มายเลข 6 คือการปรับปรุงทีต่ อ้ งทําร่วมกันในส่วนทีเ่ ป็ นการปรับปรุงเฉพาะเรือ่ งและการ
บํารุงรักษาตามแผน
พืน้ ทีห่ มายเลข 7 คือการปรับปรุงทีต่ อ้ งทําร่วมกันทัง้ หมดไม่ว่าจะเป็ นการปรับปรุงเฉพาะเรือ่ ง การ
บํารุงรักษาด้วยตนเอง และการบํารุงรักษาตามแผน
พืน้ ทีห่ มายเลข 8 คือการปรับปรุงในส่วนอืน่ ๆ ทีไ่ ม่ใช่ทงั ้ การปรับปรุงเฉพาะเรือ่ ง การบํารุงรักษาด้วย
ตนเอง และการบํารุงรักษาตามแผน เช่น กิจกรรมของฝ่ ายบริหาร ฝ่ ายขาย
สรุป
TPM อย่างแท้จริงไม่ใช่เครือ่ งมือในการบํารุงรักษา แต่ TPM เป็ นปรัชญาในการบริหาร
การผลิตทีเ่ น้นเครือ่ งจักรและอุปกรณ์เป็ นสําคัญ ดังนัน้ จึงต้องมีความเข้าใจทีถ่ กู ต้องใน
แนวคิดและความสําคัญทีแ่ ท้จริงของ TPM เพือ่ การเริม่ ต้นไปสูค่ วามสําเร็จในการบํารุงรักษา
ทวีผลแบบทุกคนมีสว่ นร่วม
การบ้าน
• หากหัวหน้าของคุณต้องการให้คุณเป็ นส่วนหนึ่งของกิจกรรมTPM เพือ่ รับผิดชอบเสาใดเสา
หนึ่งของกิจกรรม คุณจะเลือกอะไรเพราะอะไร

• หากคุณเข้าไปอยูใ่ นโรงงานทีม่ กี ารทํากิจกรรม TPM และมีพนักงานในสังกัดของคุณเข้ามา


ขอคําปรึกษาคิดว่ากิจกรรมนี้ไม่มวี แ่ี ววจะสําเร็จ คุณจะแนะนําหรือให้คาํ ปรึกษาเค้าอย่างไร

You might also like