Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 4

จม.

จากอเมริ กาถึงเมืองไทย โดยนักเรี ยนทุนกระทรวงวิทย์ เพือศึกษาต่ อปริ ญญาเอกทางด้ านวิศวกรรมศาสตร์


กค. 2535 – กค.2542

คํานํา

“Letters From New York” นีLผมเกิดแนวความคิดจากการทีOพบจดหมายทีOส่งมาถึงครอบครัวทาง


เมืองไทยจากประเทศสหรัฐอเมริ กา ตัLงแต่ปี 2535 สําหรับภารกิจศึกษาต่อ โดยทุนกระทรวงวิทยาศาสตร์
เพืOอศึกษาวิชา Microelectronic Manufacturing หรื อการผลิตลายวงจรอิเล็กทรอนิ กส์ขนาดเล็ก ในระดับ
ปริ ญญาโท และปริ ญญาเอกเป็ นเวลา 7 ปี ณ รัฐนิวยอร์ค ประเทศสหรัฐอเมริ กา จากการเข้ารับตําแหน่ ง
อาจารย์ในสาขาอิเล็กทรอนิ กส์ สถาบันเทคโนโลยีเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ลาดกระบัง กรุ งเทพมหานคร
ตัLงแต่ปี 2542 ซึO งได้เป็ นเวลา 15 ปี กว่าแล้ว เมืOอย้อนหลังไปถึงชีวิตทีOอยู่ ณ รัฐนิวยอร์ ค ประเทศสหรัฐอเมริ กา
นัLนมีหลายส่ วน หลายฉาก หลายตอน ทีOได้เลือนลางไป จึงอาศัยจดหมายเหล่านีL รLื อฟืL นความทรงจําในอดีต
แทนภาพต่างๆ ในเมืองไทยทีOเข้ามาแทนทีO เพืOอนําสิO งดีๆมาพัฒนาประเทศของเราครับ
ความตัLงใจหลักอีกอย่างคือ ต้องการส่ งผ่านประสบการณ์ และแรงกระตุน้ ให้แก่ผอู ้ า่ น โดยเฉพาะ
นักศึกษา ให้สร้างสิO งทีOประทับใจให้กบั ตนเอง เพิOมเติมวิชาความรู้ทีOจะนําไปใช้กบั ชีวิตในอนาคต โดยเฉพาะ
สร้างสิO งทีOเป็ นประโยชน์ให้กบั สังคม ไม่จาํ เป็ นต้องเดินเส้นทางเดียวกับผม ไม่วา่ จะเป็ นประเทศทีOไปศึกษา
ต่อ หรื อสาขาวิชาทีOศึกษาต่อ อีกทัLงในปั จจุบนั นีLเป็ นยุคของเทคโนโลยีสารสนเทศ ข้อมูลข่าวสารโดยส่ วน
ใหญ่แล้ว รับและส่ งโดยปลายนิLวบนแป้ นคียบ์ อร์ดคอมพิวเตอร์ ไม่ตอ้ งเดินไปทีOไปรษณี ย์ หรื อหาซืL อ
แสตมป์ ระยะเวลาในการรับข่าวสารเป็ นเหมือน Time Machine ร่ นระยะเวลาจากสัปดาห์เป็ นเสีL ยวนาที
เท่านัLน
ผมยินดียอมรับคําติชม พร้อมข้อบกพร่ องใดๆ จากหนังสื อเล่มนีL อีกครัLงขอกราบขอบพระคุณบิดา
มารดา ทีOสร้างแนวทางตัLงแต่เปิ ดเปลือกตามองดูโลก จนได้รับประสบการณ์ในหลายสิO งหลายอย่างทีOไม่
คาดคิดว่าจะเดินไปถึงได้ พีOสาวทัLงสอง และน้องชายทีO เป็ นกําลังใจให้ตวั ผมตลอดเวลา ศาสตราจารย์ ดร.
สุทศั น์ ยกส้าน ทีOเป็ นเหมือนพีOเลีLยง และทีOลืมไม่ได้คือรัฐบาลไทยทีOได้ให้เงินทุนเพืOอการศึกษาต่อในประเทศ
ทีOอยูค่ นละทวีปกับประเทศไทยของเรา และสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบังทีOให้
อิสระในการทํางาน เพืOอสร้างงานให้แก่สังคมของเรา

อาจารย์ กุ๊ก 10/07/60

Youtube Channel “cookrit”


อ.อิทธิ ภูมิ บุญพิคาํ (กุ๊ก) 1
ภาควิชาอิเล็กทรอนิ กส์ คณะวิศวกรรมศาสตร์
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
www.kmitl.ac.th/~kbittibh, kbittibh@kmitl.ac.th
(02)-326-4222 ต่อ 110
จม. จากอเมริ กาถึงเมืองไทย โดยนักเรี ยนทุนกระทรวงวิทย์ เพือศึกษาต่ อปริ ญญาเอกทางด้ านวิศวกรรมศาสตร์
กค. 2535 – กค.2542

ประวัตโิ ดยย่อของอาจารย์ก๊กุ
อิทธิ ภูมิ บุญพิคาํ
สาขาวิชาอิเล็กทรอนิ กส์ คณะวิศวกรรมศาสตร์
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
ถ. ฉลองกรุ ง ลาดกระบัง กทม.
e-mail ittibhoomcook@gmail.com, kbittibh@kmitl.ac.th, youtube “cookrit”

การศึกษา:
Thomas J. Watson School of Engineering, กันยายน 2539 -
State University of New York at Binghamton, NY, USA
Ph.D.(วิศวกรรมไฟฟ้ า) หัวข้อวิทยานิพนธ์ “Single Electron
Transistor”
University of Rochester, Rochester, NY กันยายน 2537- พฤษภาคม 2539
M.Sc.(วิศวกรรมไฟฟ้ า) หัวข้อวิทยานิพนธ์ “High Tc Superconductor”
Rochester Institute of Technology, Rochester, NY มิถุนายน 2535 – มิถุนายน 2537
M.Eng.(อุตสาหกรรมการผลิตเส้ นลายวงจรขนาดเล็ก) หัวข้อวิทยานิพนธ์ “Microelectronics
Processing”
จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย มีนาคม 2531 – มีนาคม 2534
วิทยาศาสตร์ มหาบัณฑิต(ฟิ สิ กส์ ) หัวข้อวิทยานิพนธ์ “ High Tc Superconductor”
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร มีนาคม 2527 – มีนาคม 2531
วิทยาศาสตร์ บัณฑิต(ฟิ สิ กส์ ) ฟิ สิ กส์ ของแข็ง
วิชาทีLได้ ศึกษา:
Device Physics Thin Films and Nanoelectronics Optoelectronics and Fiber
Optics
Semiconductor Devices Logic Design Electromagnetic Field Theory
Electronics Packaging System Digital Circuit Design Microwaves
Microelectronics Manufacturing CMOS Microlithography
Signal Transmission in Computers Manufacturing Science Digital Signal Processing
อ.อิทธิ ภูมิ บุญพิคาํ (กุ๊ก) 2
ภาควิชาอิเล็กทรอนิ กส์ คณะวิศวกรรมศาสตร์
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
www.kmitl.ac.th/~kbittibh, kbittibh@kmitl.ac.th
(02)-326-4222 ต่อ 110
จม. จากอเมริ กาถึงเมืองไทย โดยนักเรี ยนทุนกระทรวงวิทย์ เพือศึกษาต่ อปริ ญญาเอกทางด้ านวิศวกรรมศาสตร์
กค. 2535 – กค.2542

ทักษะทางคอมพิวเตอร์ :
VLSI Design - PSPICE, Magic, Expresso, and Nova
Microelectronics Manufacturing - SUPREM I, II, and III
Microlithography - Prolith/2
โปรแกรมคอมพิวเตอร์ สําเร็จรู ป - Matlab, Mathcad, Microsoft Excel, Microsoft Words และ
อืOนๆ
ประสบการณ์ :
สาขาวิชาอิเล็กทรอนิกส์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้ าเจ้ าคุณทหารลาดกระบัง
อาจารย์ สอน ตุลาคม 2542 – ปัจจุบนั
มหาวิทยาลัยแห่ งชาติลาด เวียงจันทร์ มีนาคม 2544 – เมษายน 2544
อาจารย์ พเิ ศษ
ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้ า, State University of New York at Binghamton, NY มกราคม 2542 –
มิถุนายน 2542
ผู้ช่วยสอนห้ องปฏิบัตกิ ารอิเล็กทรอนิกส์
ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้ า, State University of New York at Binghamton, NY กันยายน 2541 –
ธันวาคม 2541
ผู้ช่วยสอนวิชาอุปกรณ์ สารกึง# ตัวนํา
Research Foundation of New York State, SUNY at Binghamton, NY มกราคม 2540 –
มิถุนายน 2540
ผู้ช่วยปรึกษาวิชาวิศวกรรมศาสตร์ และฟิ สิกส์
Rochester Institute of Technology, Rochester, NY มีนาคม 2537 –
มิถุนายน 2537
วิศวกรขบวนการการผลิต, สร้ างเส้ นลายวงจรรวมอิเล็กทรอนิกส์ ขนาดเล็ก(CMOS and NMOS)
Phillips Semiconductor(Thailand) Ltd., Bangkok, Thailand พฤษภาคม 2536–
กรกฏาคม 2536
วิศวกรความเชื#อถือขบวนการการผลิตบรรจุครุภัณฑ์ ทางอิเล็กทรอนิกส์
Seagate Technology(Thailand) Ltd., Bangkok, Thailand พฤศจิกายน2534–
พฤษภาคม2535
อ.อิทธิ ภูมิ บุญพิคาํ (กุ๊ก) 3
ภาควิชาอิเล็กทรอนิ กส์ คณะวิศวกรรมศาสตร์
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
www.kmitl.ac.th/~kbittibh, kbittibh@kmitl.ac.th
(02)-326-4222 ต่อ 110
จม. จากอเมริ กาถึงเมืองไทย โดยนักเรี ยนทุนกระทรวงวิทย์ เพือศึกษาต่ อปริ ญญาเอกทางด้ านวิศวกรรมศาสตร์
กค. 2535 – กค.2542

ผู้ช่วยวิจยั High – Temperature Superconductors


ภาควิชาฟิ สิ กส์ , มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร เมษายน 2532 –
กรกฏาคม 2533
นักศึกษาฝึ กงาน
สถาบันพลังงานปรมณูเพืLอสั นติ เมษายน 2530 –
พฤษภาคม 2530
สมาชิก:
IEEE student member ตัLงแต่เดือนธันวาคม 2539
งานวิจยั ตีพิมพ์ (JOURNALS):
Boonpikum I. and Yoksan S., Role of Bounding Layer in High-Temperature Superconductors, Journal of
Temperature Physics 83(1991): 117.
Boonpikum, I. and Yoksan, S., Cooper Pairing in Oxide Superconductor, Solid State Communication,
79(1991); 417.
หนังสื อ: Electronic Packaging System(Thai), unprinted

อ.อิทธิ ภูมิ บุญพิคาํ (กุ๊ก) 4


ภาควิชาอิเล็กทรอนิ กส์ คณะวิศวกรรมศาสตร์
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
www.kmitl.ac.th/~kbittibh, kbittibh@kmitl.ac.th
(02)-326-4222 ต่อ 110

You might also like