A 2000042549

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 114

ช่องทรูปลูกปัญญา

โทรทัศน์ความรูด้ สู นุก ทางทรูวชิ นั่ ส์ 6 ทุกรายการสาระความรู้


สาระบันเทิง และการปลูกฝังคุณธรรมจริยธรรมตลอด 24 ชั่วโมง
พบกับเรื่องราวสร้างแรงบันดาลใจ
• รายการสอนศาสตร์ รายการสอนเสริมแนวใหม่ครบ 8 วิชา
ม.3 ม.6 ติวสดทุกวันโดยติวเตอร์ชื่อดัง
• รายการ I AM แนะน�ำอาชีพน่าสนใจโดยรุ่นพี่ในวงการ
• รายการสารสังเคราะห์ น�ำข่าวสารมาสังเคราะห์อัพเดทกัน
ทรูปลูกปัญญา แบบไม่ตกเทรนด์
หน่ ว ยงานเพื่ อ การศึ ก ษา ภายใต้ ก ลุ ่ ม บริ ษั ท ทรู
คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน) ที่บูรณาการเทคโนโลยีและความ
นิตยสารปลูก plook
เชี่ยวชาญด้านคอนเทนต์ พัฒนาเป็นสื่อไลฟ์สไตล์เพื่อส่งเสริม
นิตยสารส่งเสริมความรู้คู่คุณธรรมส�ำหรับเยาวชนฉบับแรก
การศึกษาและคุณธรรม สามารถเชื่อมโยงทุกมิติการเรียนรู้ได้
ในประเทศไทย วางแผงทุกสัปดาห์แรกของเดือน หยิบฟรีได้ที่ True
อย่างครบวงจร
Coffee TrueMove Shop สถานศึกษา แหล่งการเรียนรู้ ห้องสมุด
และโรงพยาบาล ทั่วประเทศ หรืออ่านออนไลน์ใน
www.trueplookpanya.com www.trueplookpanya.com
ทรูปลูกปัญญาดอทคอม คลังความรู้คู่คุณธรรมที่ใหญ่
ทีส่ ดุ ในประเทศไทย อัดแน่นด้วยสาระความรูใ้ นรูปแบบมัลติมเี ดีย
แอพพลิเคชั่น Trueplookpanya.com
สนุกกับการเรียนรู้ด้วยตัวเอง ทั้งยังเปิดโอกาสให้ทุกคนสร้าง
ตอบโจทย์ไลฟ์สไตล์การเรียนรูข้ องคนรุน่ ใหม่ ด้วยฟรีแอพพลิ
เนื้อหา แบ่งปันความรู้ร่วมกัน โดยไม่มีค่าใช้จ่าย
เคชัน่ “Trueplookpanya.com” ให้คุณพร้อมส�ำหรับการเรียนรู้ใน
ทุกที่ทุกเวลา รองรับการใช้งานบน iOS (iPhone, iPod, iPad) และ
พบกับความเป็นที่สุดทั้ง 4 ด้านแห่งการเรียนรู้ Android
• คลังความรู้ รวบรวมเนื้อหาการเรียนทุกระดับชั้นครบ 8
กลุ่มสาระการเรียน
• คลังข้อสอบ ข้อสอบออนไลน์พร้อมเฉลยที่ใหญ่ที่สุดใน : www.trueplookpanya.com
ประเทศไทย พร้อมการประเมินผลสอบทางสถิติ : TruePlookpanya
• แนะแนว ข้อมูลการศึกษาต่อ พร้อมเจาะลึกประสบการณ์
การเรียนและการท�ำงาน
• ศูนย์ข่าวสอบตรง/Admissions ข่าวการสอบทุกสนาม
ทุกสถาบัน พร้อมระบบแจ้งเตือนเรียลไทม์
หนังสือชุด “ติวเข้ม O-NET Get 100”

สร้างสรรค์โดย
ทรูปลูกปัญญา มีเดีย
โครงการเพื่อสังคมของบริษัท ทรู คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด (มหาชน)
เลขที่ 46/8 อาคารรุ่งโรจน์ธนกุล ตึก B ชั้น 9 ถนนรัชดาภิเษก
แขวงห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10310

โทร : 02-647-4511, 02-647- 4555


โทรสาร : 02-647-4501
อีเมล : admin@trueplookpanya.com

: www.trueplookpanya.com
: TruePlookpanya

หนังสือชุด “ติวเข้ม O-NET Get 100” ใช้สัญลักษณ์อนุญาตของครีเอทีฟคอมมอนส์


แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช่เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย
คำนำ
การสอบ O-NET หรือชื่ออย่างเป็นทางการว่า การจัดการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน
(Ordinary National Educational Test) โดย สทศ. ถือเป็นอีกสนามสอบที่ส�ำคัญส�ำหรับน้องๆ ในระดับ ป.6, ม.3,
ม.6 เพื่อเป็นการประเมินผลการเรียนรู้ของน้องๆ ในระดับชาติเลยทีเดียว และยังเป็นตัวชี้วัดคุณภาพการเรียนการ
สอนของแต่ละโรงเรียนอีกด้วย คะแนน O-NET ก็ยังเป็นส่วนส�ำคัญในการคิดคะแนนในระบบ Admissions เพื่อ
สมัครเข้าคณะที่ใจปรารถนา ได้คะแนนดีก็มีชัยไปกว่าครึ่ง

และเพือ่ เป็นอีกตัวช่วยหนึง่ ในการเตรียมความพร้อมให้นอ้ งๆ ก่อนการลงสนามสอบ O-NET ทางทรูปลูก


ปัญญาจึงได้จัดท�ำหนังสือชุด “ติวเข้ม O-NET Get 100” สุดยอดคู่มือเตรียมตัวสอบ O-NET ส�ำหรับน้องๆ ในระดับ
ม.3 และ ม.6 ทีเ่ จาะลึกเนือ้ หาทีม่ กั ออกสอบบ่อยๆ โดยเหล่ารุน่ พีเ่ ซียนสนามในวงการติว รวบรวมแนวข้อสอบตัง้ แต่
อดีตจนถึงปัจจุบัน พร้อมเฉลยอย่างละเอียด และค�ำอธิบายที่เข้าใจง่าย จ�ำได้แม่นย�ำ น�ำน้องๆ Get 100 ท�ำคะแนน
สู่เป้าหมายในอนาคต
หนังสือชุด “ติวเข้ม O-NET Get 100” โดยทรูปลูกปัญญา ประกอบด้วยวิชาคณิตศาสตร์ ภาษาไทย
สังคมศึกษา ภาษาอังกฤษ ที่รวบรวมเนื้อหาระดับมัธยมศึกษาตอนต้น และมัธยมศึกษาตอนปลาย และวิชาฟิสิกส์
เคมี ชีววิทยา ของระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย รวมทั้งหมด 11 เล่ม โดยสามารถศึกษาเนื้อหาหรือท�ำข้อสอบ
ออนไลน์เพิ่มเติมได้จาก www.trueplookpanya.com ที่มี link ให้ในท้ายบท

สามารถดาวน์โหลดหนังสือได้ฟรี ผ่านเว็บไซต์ทรูปลูกปัญญา ที่ www.trueplookpanya.com/onet

ทีมงานทรูปลูกปัญญา
สารบัญ
เรื่อง หน้า

คุยก่อนอ่าน 5
บทที่ 1 เซต : Set 6
บทที่ 2 จ�ำนวนจริง 25
บทที่ 3 การให้เหตุผล 40
บทที่ 4 เลยยกก�ำลัง 44
บทที่ 5 ฟังก์ชัน 47
บทที่ 6 อัตราส่วนตรีโกณมิติ 59
บทที่ 7 ล�ำดับและอนุกรม 69
บทที่ 8 ความน่าจะเป็น 81
บทที่ 9 สถิต 98
คุยกอนอาน
หนังสือเล่มนี้ จัดท�ำขึ้นส�ำหรับน้องๆ ที่ก�ำลังศึกษาอยูใ่ นระดับมัธยมปลาย (ม.4-ม.6) ที่ตอ้ งการจะเตรียม
ความพร้อมในการสอบ O-NET วิชาคณิตศาสตร์ ซึ่งเป็นวิชาที่น้องๆ หลายคนคิดว่ายาก แต่ในความเป็นจริงแล้ว
วิชาคณิตศาสตร์นนั้ เป็น 1 ในวิชาทีน่ อ้ งๆ สามารถเก็บคะแนนได้มากทีส่ ดุ โดยในปีการศึกษาหนึง่ ๆ นัน้ มีคนจ�ำนวน
มากที่สามารถท�ำข้อสอบวิชานี้ได้ 100 คะแนนเต็ม หมายความว่ามันไม่ใช่วิชาที่ยากเลย ส�ำหรับน้องๆ ที่มีความ
ตั้งใจและหมั่นท�ำแบบฝึกหัดทบทวนอยู่เสมอ

ในหนังสือเล่มนี้ ได้รวบรวมเนื้อหาที่มักจะออกข้อสอบ O-NET พร้อมทั้งแบบฝึกหัดและเทคนิคต่างๆ ที่


จะช่วยให้นอ้ งๆ สามารถท�ำข้อสอบได้เร็วยิง่ ขึน้ และมีประสิทธิภาพมากยิง่ ขึน้ พีๆ่ หวังเป็นอย่างยิง่ ว่าหนังสือเล่ม
นี้ จะช่วยให้น้องๆ มีความเข้าใจ และสามารถท�ำข้อสอบ O-NET วิชาคณิตศาสตร์ได้ด้วยความมั่นใจยิ่งขึ้น

ทีมงานทรูปลูกปัญญา
บทที่1
เซต : Set

ส�ำหรับเนื้อหาในเรื่องเซต น้องๆ หลายคนจะได้เรียนเป็นเรื่องแรกหลังจากที่น้องๆ ขึ้นม.ปลาย เนื่องจากเป็นเรื่องที่เป็น


พืน้ ฐานส�ำหรับความเข้าใจในการแปลงภาษาเขียนเป็นสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ ทีน่ อ้ งๆ จะต้องเจอในเรือ่ งต่อๆ ไป อีกทัง้ ยังเป็นการ
ฝึกให้นอ้ งๆ เขียนช่วงของค�ำตอบ โดยทีน่ อ้ งๆ สามารถเขียนให้อยูใ่ นรูปเซตจ�ำกัดหรือเซตอนันต์ ซึง่ สามารถเข้าใจได้โดยสากลมากกว่า
การเขียนเป็นภาษาเขียน ส�ำหรับการท�ำข้อสอบเรื่องเซตนั้น ให้น้องๆ ท�ำความเข้าใจในเรื่องของนิยามของค�ำว่าสับเซต เซตว่าง และ
พาวเวอร์เซต เนื่องจากเป็นจุดที่สามารถสร้างความสับสนให้เราได้มาก
เซต คือ อนิยาม (กลุ่มของสิ่งต่างๆ ในวงเล็บปีกกาและคั่นด้วยเครื่องหมายจุลภาค) ใช้สัญลักษณ์ว่า แทนค�ำว่า เป็น
สมาชิกของ

ชนิดของเซต
1. เซตจ�ำกัด เช่น {1, 2, 3,… ,100}
2. เซตอนันต์ เช่น [0, 1] หรือ {1, 2, 3,...} เป็นเซตจ�ำกัด
3. เซตว่าง เป็นเซตที่ไม่มีสมาชิกอยู่เลย และ
4. เอกภพสัมพัทธ์ ( ) คือ เซตที่ประกอบด้วยสมาชิกทั้งหมดของสิ่งที่เราต้องการ


การเขียนเซต
การเขียนเซตจะแบ่งเป็น 2 ชนิด คือ
1. เขียนแบบแจกแจงสมาชิก
2. เขียนแบบบอกเงื่อนไข

1) วิธีแจกแจงสมาชิก (Tubular form) มีหลักการเขียน ดังนี้


1. เขียนสมาชิกทั้งหมดในวงเล็บปีกกา
2. สมาชิกแต่ละตัวคั่นด้วยเครื่องหมายจุลภาค (,)
3. สมาชิกที่ซ�้ำกันให้เขียนเพียงตัวเดียว
4. ในกรณีที่จ�ำนวนสมาชิกมากๆ ให้เขียนสมาชิกอย่างน้อย 3 ตัวแรก แล้วใช้จุด 3 จุด (Tripple dot)
แล้วจึงเขียนสมาชิกตัวสุดท้าย

2) วิธีบอกเงื่อนไขของสมาชิก (Set builder form) หลักการเขียนมีดังนี้


1. เขียนเซตด้วยวงเล็บปีกกา
2. ก�ำหนดตัวแปรแทนสมาชิกทั้งหมดตามด้วยเครื่องหมาย | (| อ่านว่า “โดยที่”) แล้วตามด้วยเงื่อนไขของตัวแปรนั้น
ดังรูปแบบ {x | เงื่อนไขของ x}

6 ติวเข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya


ตัวอย่างเช่น

เซต แบบแจกแจงสมาชิก แบบบอกเงื่อนไข


A เป็นเซตของจ�ำนวนเต็มบวกที่มีค่า A = {1, 2, 3, 4} A = {x | x เป็นจ�ำนวนเต็มบวกที่มีค่า
น้อยกว่า 5 น้อยกว่า 5}


B เซตของวันในหนึ่งสัปดาห์ B = {วันอาทิตย์, วันจันทร์, วัน B = {x | x เป็นชื่อวันในหนึ่งสัปดาห์}
อังคาร, วันพุธ, วันพฤหัสบดี, วัน
ศุกร์, วันเสาร์}
C เป็นเซตของตัวอักษรในภาษา C = {a, b, c, ... ,z} C = {y | y เป็นตัวอักษรในภาษา
อังกฤษ อังกฤษ}

การกระท�ำของเซต
1. การยูเนียน ( ) คือการรวมกันของสมาชิก เช่น A B จะได้ว่า

A B

2. การอินเตอร์เซคชัน ( ) คือ การซ�้ำกันของสมาชิก เช่น A B จะได้ว่า

A B

ติวเข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya 7


3. ผลต่างเซต (-) คือเอาแค่เซตใดเซตหนึ่ง ไม่เอาเซตที่ซ�้ำกัน เช่น A - B จะได้ว่า

A B

4. การคอมพลีเมนท์ (A’, Ac) คือ ไม่ต้องการเซตนั้นๆ เช่น A’ คือไม่เอาเซต A

A B

ตัวอย่าง. 1. ถ้า = {0,1,2,3,4,5,6,7,8} เซต A = {0,2,4,6,8} เซต B = {1,3,5,7} เซต C = {3,4,5,6}

จงเขียนเซตต่อไปนี้ ในรูปแบบแจกแจงสมาชิก
1. A U B =

………………………………………………………………………………………………………………………….

2. A B=

………………………………………………………………………………………………………………………….

3. A - B =

………………………………………………………………………………………………………………………….

4. C’ B =

………………………………………………………………………………………………………………………….

8 ติวเข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya


ตัวอย่าง 2

A B

จงแรเงาแผนภาพที่กำ�หนดให้
1. B’ 2. A’ U B 3. A’ B’

ตัวอย่าง 3

A B

ในแผนภาพข้างต้น กำ�หนดให้ , A, B และ A B เป็นเซตที่มีจำ�นวนสมาชิก 100, 40, 25 และ 6 ตามลำ�ดับ

จงเติมจำ�นวนสมาชิกของเซตต่างๆ ลงในตารางต่อไปนี้

เซต A–B B–A AUB A’ B’ (AUB)’

จ�ำนวนสมาชิก

ติวเข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya 9


สับเซต
สับเซต คือ เซตย่อย เช่น ก็ต่อเมื่อ สมาชิกทุกตัวของ A เป็นสมาชิกของ B เช่น

A = {1, 2, 3}

สับเซตของ A คือ {1}, {2}, {3}, {1, 2}, {1, 3}, {2, 3}, {1, 2, 3},

ดังนั้น จำ�นวนสับเซตของ A =

เป็นสับเซตที่เล็กที่สุดของทุกเซตและ
เซตทุกเซตเป็นสับเซตที่ใหญ่ที่สุดของตัวเอง

ตัวอย่าง 4 ให้ A = {2, {4, 5}, 4} จงพิจารณาว่าข้อความใดถูกต้อง


…………………… {4, 5} A

…………………… {4, 5} A

…………………… {5} A

…………………… {5} A

พาวเวอร์เซตหรือเซตกำ�ลัง
คือ เซตที่รวมสับเซตของเซตทั้งหมด
P(A) = {สับเซตทั้งหมดของ A}
เช่น A= {1, 2, 3} ดังนั้น P(A) = { {1}, {2}, {3}, {1, 2}, {1, 3}, {2, 3}, {1, 2, 3}, }

ข้อสังเกต
1. จำ�นวนสมาชิกของ P(A) = n(P(A)) =
2. เมื่อ A เป็นเซตจำ�กัดและ n(A) = K จะได้
2.1 n (P(A)) =
2.2 n (P(P(A))) =
2.3 n (P(P(P(A)))) =

ดังนั้น จ�ำนวนสมาชิกที่ต�่ำที่สุดของพาวเวอร์เซตคือ P(A) = =1=

10 ติวเข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya


ตัวอย่าง 5 กำ�หนดให้ A = { } จงพิจารณาว่าข้อใดถูกต้อง

…………………… {{ }} P(A)

…………………… {0} P(A)

…………………… {{0, 1}} P(A)

…………………… {{0, 1}} P(A)

คุณสมบัติของการ Operation
1. กฎการยุบ
A A = A AUA=A
2. กฎการสลับที่
A B = B A AUB=BUA
3. กฎการเปลี่ยนหมู่
(A B) C = A (B C) (A U B) U C = A U (B U C)
4. กฎการแจกแจง
A (B U C) = (A B) U (A C)
A U (B C) = (A U B) (A U C)
5. กฎเดอร์มอแกน
(A B)’ = A’ U B’ (A U B)’ = A’ B’
A – B = A – (A B) = A B’ = B’ – A’

สูตรลดทอน
(A’)’ = A =
= A – B = A B’
จะได้ เซตที่เล็กกว่า
A = A =A
A = A A =
U จะได้ เซตที่ใหญ่กว่า
A (A U B) = A A U (A B) = A
A (A’ U B) = A B A U (A’ B) = A U B
(A U B) (A U B’) = A (A B) U (A B’) = A

จำ�นวนสมาชิกของเซต
สูตรจำ�นวนสมาชิก
• n(A U B) = n(A) + n(B) – n(A B)
• n(A U B U C) = n(A) + n(B) + n(C) – n( A B ) - n(A C) – n(B C) + n(A B C)
• n(A’) = n( ) – n(A)
• n(A-B) = n(A) – n( A B )

ติวเข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya 11


ตัวอย่าง 5 ในการสอบของนักเรียนชั้นประถมศึกษากลุ่มหนึ่ง พบว่า มีผู้สอบผ่านวิชาต่างๆ ดังนี้
คณิตศาสตร์ 36 คน
สังคมศึกษา 50 คน
ภาษาไทย 44 คน
คณิตศาสตร์และสังคมศึกษา 15 คน
ภาษาไทยและสังคมศึกษา 12 คน
คณิตศาสตร์และภาษาไทย 7 คน
ทั้งสามวิชา 5 คน
จำ�นวนผู้สอบผ่านอย่างน้อยหนึ่งวิชามีกี่คน (o-net 53)

วิธีทำ�
ให้ A = วิชาคณิตศาสตร์ B = วิชาสังคมศึกษา C = วิชาภาษาไทย

A B = คณิตศาสตร์และสังคมศึกษา B C = ภาษาไทยและสังคมศึกษา

A C = คณิตศาสตร์และภาษาไทย A B C = ทั้งสามวิชา

A U B U C = สอบผ่านอย่างน้อยหนึ่งวิชา

n(A U B U C) = n(A) + n(B) + n(C) - n(A B) - n(B C) + n(A B C)

n(A U B U C)= 36+50+44-15-12-7+5 = 101 คน

ตัวอย่าง 6 ในการลงพื้นที่ของชุมชนแห่งหนึ่งมีประชากร 200 คน พบว่า


120 คน ชอบอ่านหนังสือ
110 คน ชอบดูภาพยนตร์
130 คน ชอบเล่นกีฬา
60 คน ชอบอ่านหนังสือและชอบดูภาพยนตร์
70 คน ชอบอ่านหนังสือและชอบเล่นกีฬา
50 คน ชอบดูภาพยนตร์และชอบเล่นกีฬา
ประชากรที่ชอบเล่นกีฬาอย่างเดียวมีกี่คน (O-net 54)

12 ติวเข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya


แผนภาพเวนส์ – ออยเลอร์

A B A B

A U B A B

A B

A – B A’

โจทย์เรื่องเซต

1. ถ้า A = { , 0, 1, {0}, {0,1}} และ P(A) เป็นพาวเวอร์เซตของ A แล้วเซต P(A) – A มีสมาชิกกี่ตัว (Ent’ 41)
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………

2. ถ้า A = {1,2,3,4,…} และ B ={{1,2},{3,4,5},6,7,8,…} แล้ว (A - B) U (B - A) มีสมาชิกกี่ตัว (Ent’ 42)


…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ติวเข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya 13


3. ให้ A และ B เป็นเซต ซึ่ง n(A) = 5 , n(B) = 4 , n(A B) = 2 ถ้า C = (A-B)U(B-A) แล้ว n(P(C)) เท่ากับเท่าไหร่ (O-net 54)
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………

4. ให้เซต A, B, C เป็นเซตที่กำ�หนดให้ดังรูป ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง

A B

1. A-(B C) = {1, 2} 2. (AUB)-C = {1, 2, 7}

3. A (BUC) = {3, 4, 6} 4. (C-B) (A-B)= {6}

5. กำ�หนดให้ A, B, C เป็นเซตใดๆ ซึ่ง A B พิจารณาข้อความต่อไปนี้


ก. (C-A) (C-B) ข. ( C) ( B)
ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง (O-net 54)
1. ก ถูก ข ถูก 2. ก ถูก ข ผิด
3. ก ผิด ข ถูก 4. ก ผิด ข ผิด

6. กำ�หนดให้ เอกภพสัมพัทธ์คือเซตของจำ�นวนเต็ม
ถ้า A = {x | |x - 3| 2}
B = {x | (1 + x) (3 – x) 0}
แล้ว A B’ คือข้อใดต่อไปนี้
1. {2} 2. {2,3} 3. {3,4} 4. {4}

14 ติวเข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya


7. ถ้า A และ B เป็นเซตที่มีจำ�นวนสมาชิกเท่ากัน โดย n(A B) = 2 และ n(A U B) = 10 แล้วจำ�นวนสมาชิกของ B – A
เท่ากับเท่าใด
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………

8. พิจารณาการอ้างเหตุผลต่อไปนี้
เหตุ 1. ไม่มีคนเก่งคนใดเป็นคนสอบตก
2. มีคนสอบตกที่เป็นคนขยัน
3. มีคนเก่งที่ ไม่เป็นคนขยัน

ผล ……………………………………………………………
ในข้อใดต่อไปนี้เป็นการสรุปผลจากเหตุ ข้างต้นที่เป็นไปอย่างสมเหตุสมผล
1. มีคนเก่งที่เป็นคนขยัน 2. มีคนขยันที่เป็นคนสอบตก
3. มีคนขยันที่เป็นคนเก่ง 4. มีคนสอบตกที่เป็นคนเก่ง

9. พิจารณาการอ้างเหตุผลต่อไปนี้
ก. เหตุ 1. ถ้าฝนไม่ตก แล้ว น้องเอ๋ไปโรงเรียน
2. ฝนตก
ผล น้องเอ๋ไม่ไปโรงเรียน

ข. เหตุ 1. แสนแสบขยันเรียน หรือ แสนแสบสอบชิงทุนเรียนต่อต่างประเทศได้


2. แสนแสบไม่ขยันเรียน
ผล แสนแสบสอบชิงทุนเรียนต่อต่างประเทศได้
ข้อใดต่อไปนี้ ถูกต้อง
1. ก สมเหตุสมผล และ ข สมเหตุสมผล
2. ก สมเหตุสมผล และ ข ไม่สมเหตุสมผล
3. ก ไม่สมเหตุสมผล และ ข สมเหตุสมผล
4. ก ไม่สมเหตุสมผล และ ข ไม่สมเหตุสมผล

ติวเข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya 15


เฉลยแบบฝึกหัด

ตัวอย่างที่ 1

1. ถ้า = {0, 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8} เซต A = {0, 2, 4, 6, 8}, B = {1, 3, 5, 7}, C = {3, 4, 5, 6} จงเขียนเซตต่อไปนี้ในรูปแบบ


แจกแจงสมาชิก
1. A U B = การรวมกันของเซต A และ เซต B
จะได้ว่า A U B = {0,1,2,3,4,5,6,7,8}
2. A B = เอาส่วนที่เหมือนกันหรือซ�้ำกันของเซต A และ เซต B
จะได้ว่า A B = { } หรือ
3. A - B = เอาส่วนที่อยู่ในเซต A แล้วไม่อยู่ในเซต B
จะได้ว่า A - B = {0,2,4,6,8}
4. C’ B = ไม่เอาส่วนของสมาชิกเซต C คือ {0,1, 2, 7, 8} และมาซ�้ำกับเซต B คือ {1, 3, 5, 7}
จะได้ว่า C’ B = {1,7}

ตัวอย่างที่ 2

A B

จงแรเงาแผนภาพที่กำ�หนดให้
1. B’ 2. A’ U B 3. A’ B’

16 ติวเข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya


ตัวอย่างที่ 3

ในแผนภาพข้างต้น กำ�หนดให้ , A, B และ A B เป็นเซตที่มีจำ�นวนสมาชิก 100, 40, 25 และ 6 ตามลำ�ดับ


จงเติมจำ�นวนสมาชิกของเซตต่างๆ ลงในตารางต่อไปนี้

เซต A–B B–A AUB A’ B’ (AUB)’


จ�ำนวนสมาชิก 34 19 59 60 75 41

• หา n(A-B) จาก n( ) = 100


n(A) = 40
n(B) = 25
n(A B) = 6
จะได้ n(A-B) = n(A) – n(A B)

= 40-6
= 34

• หา n(B – A) = n(B) – n(A B)


= 25 – 6
= 19

• หา n(A U B) = n(A)+n(B)-n(A B)
= 40 + 25 – 6
= 59

• หา n(A’) = n( ) – n(A)
= 100 – 40
= 60

ติวเข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya 17


• หา n(B’) = n( ) – n(B)
= 100 - 25
= 75

• หา (A U B)’ = n( ) – n(A U B)
= 100 - 59
= 41

ตัวอย่างที่ 4
ให้ A = {2,{4,5},4} จงพิจารณาว่าข้อความใดถูกต้อง

ก. {4, 5} A
เทคนิค (ตัดปีกเติมขา)
ข. {4, 5} A
ค. {5} A ตัดปีกกาออก 1 คู่ จะสามารถเปลี่ยนจาก

ง. {5} A สับเซตให้เป็นสมาชิกของได้ →

สับเซตของเซต A ได้แก่ {2}, {{4,5}}, {4}, {2,{4,5}}, {2,4}, {{4,5}, 4}, {2,{4,5},4}, มีทั้งหมด 8 ตัว

• ข้อ ก. {4, 5} A ผิด ถ้าจะเขียน {4, 5} เป็นสับเซตของ A จะต้องเขียนว่า {{4, 5}} A จึงจะถูก หรือใช้เทคนิค คือ ตัด
ปีกกา 1 คู่แล้วเปลี่ยนจากสับเซตเป็นสมาชิกของ A จะได้ว่า {{4, 5}} A → {4, 5} A และ 4, 5 ก็ ไม่เป็นสมาชิก
ของเซต A ดังนั้นจึงผิด

• ข้อ ข. {4, 5} A เป็นคำ�ตอบที่ถูกต้อง

• ข้อ ค. {5} A ผิด เพราะเซต A มีสมาชิก {4, 5} ไม่มี {5} เป็นสมาชิก

• ข้อ ง. {5} A ผิด เพราะเซต A มีสับเซต {{4, 5}} ไม่มี {5} เป็นสับเซต

ตัวอย่างที่ 5
กำ�หนดให้ A ={ } จงพิจารณาว่าข้อใดถูกต้อง
ก. {{ }} P (A)
ข. {0} P (A) เทคนิค (ตัดปีกตัด P)
ค. {{0, 1}} P (A) ตัดปีกกาออก 1 คู่จะสามารถตัด P ออกได้ 1 ตัว
ง. {{0, 1}} P (A)

18 ติวเข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya


• ข้อ ก. {{ }} P(A) เป็นคำ�ตอบทีถ่ กู ต้อง เพราะถ้าเราใช้เทคนิคตัดปีกตัด P เราจะได้วา่ { } A ซึง่ เป็นคำ�ตอบทีถ่ กู ต้อง

• ข้อ ข. {0} P(A) เป็นคำ�ตอบที่ถูกต้อง เพราะถ้าเราใช้เทคนิคตัดปีกตัด P เราจะได้ว่า 0 A ซึ่งเป็นคำ�ตอบที่ถูกต้อง

• ข้อ ค. {{0, 1}} P(A) เป็นคำ�ตอบที่ถูกต้อง เพราะถ้าเราใช้เทคนิคตัดปีกตัด P เราจะได้ว่า{0, 1} A ซึ่งเป็นคำ�ตอบที่


ถูกต้อง

• ข้อ ง. {{0, 1}} P(A) เป็นคำ�ตอบที่ถูกต้องเพราะถ้าใช้เทคนิคตัดปีกเติมขาจะได้ว่า {0, 1} P(A)และเราสามารถใช้


เทคนิคตัดปีกตัด P เราจะได้ว่า 0, 1 A ซึ่งเป็นคำ�ตอบที่ถูกต้อง

ตัวอย่างที่ 6
ในการลงพื้นที่ของชุมชนแห่งหนึ่งมีประชากร 200 คน พบว่า
ให้ n(A) = 120 คน ชอบอ่านหนังสือ
ให้ n(B) = 110 คน ชอบดูภาพยนตร์ A B
ให้ n(C) = 130 คน ชอบเล่นกีฬา
ให้ n(A B) = 60 คน ชอบอ่านหนังสือและชอบดูภาพยนตร์
ให้ n(A C) = 70 คน ชอบอ่านหนังสือและชอบเล่นกีฬา
ให้ n(B C) = 50 คน ชอบดูภาพยนตร์และชอบเล่นกีฬา C
และ ประชากรที่ชอบเล่นกีฬาอย่างเดียวมีกี่คน (O-net54)

จากสูตร
n(A U B U C) = n(A) + n(B) + n(C) - n(A B) - n(A C ) - n(B C) + n(A B C)
โดยให้ n(A B C) = X แทนค่าจะได้
200 = 120 + 110 + 130 - 60 - 70 – 50 + x (เรายังไม่รู้ส่วนตรงกลาง)
จะได้ X = n(A B C) = 20
พอเรารู้ตรงกลาง จะสามารถหักออก
จาก n(A C) = 70 – X = 50 n(B C) = 50 – X = 30

เราก็จะรู้สมาชิกที่แท้จริงของข้อนี้ คือ
เราจะสามารถหาประชากรอย่างเดียวได้
โดยให้ ประชากรที่ชอบเล่นกีฬาอย่างเดียว = Y
คือ n(C) = n(A B C) + n(A C) + n(B C) + Y
130 = 20 + 50 + 30 + Y
จะได้ Y = ประชากรที่ชอบเล่นกีฬาอย่างเดียวคือ 30 คน

ติวเข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya 19


โจทย์เรื่องเซต
1. ถ้า A = { 0, 1, {0}, {0, 1}} และ P(A) เป็นพาวเวอร์เซตของ A แล้วเซต P(A) – A มีสมาชิกกี่ตัว (Ent’ 41)
จาก A = { 0, 1, {0}, {0, 1}} จะทำ�ให้เรารู้ n(A) = 5
จะได้ P(A) มีจำ�นวนสมาชิก = = = 32 สมาชิก และเมื่อแจกแจงสมาชิก 32 ตัวใน P(A) จะมี 3 ตัว ที่เป็นสมาชิก
ของ A ด้วย คือ , {0}, {0, 1}
ดังนั้น จำ�นวนสมาชิกของ P(A) – A = 32 – 3 = 29 สมาชิก
2. ถ้า A = {1, 2, 3, 4,…} และ B = {{1, 2}, {3, 4, 5}, 6, 7, 8,…} แล้ว (A - B) U (B - A) มีสมาชิกกี่ตัว (Ent’ 42)
จาก A = {1, 2, 3, 4,…} และ B = {{1, 2}, {3, 4, 5}, 6, 7, 8,…}
จะได้ A – B = {1, 2, 3, 4, 5} และ B – A = {{1, 2}, {3, 4, 5}}
และได้สมาชิกทั้ง A – B = 5 สมาชิก และ B – A = 2 สมาชิก
เมื่อนำ�มารวมกัน หรือยูเนียนกันจะได้ว่า (A - B) U (B - A) = 5 + 2 = 7 สมาชิก
3. ให้ A และ B เป็นเซต ซึ่ง n(A) = 5, n(B) = 4, n(A B) = 2 ถ้า C = (A - B) U (B - A) แล้ว n(P(C)) เท่ากับเท่าไหร่
(O-net 54)

A B จาก n (A B) = 2
จ�ำนวน n(A) = 5 – 2 = 3
แล้ว n(B) = 4 – 2 = 2
แล้วเซต C = (A - B) U (B - A) = 3 + 2 = 5

หาจ�ำนวนสมาชิกของพาวเวอร์เซต n(P(C)) = = = 32 สมาชิก


4. ให้เซต A,B,C เป็นเซตที่กำ�หนดให้ดังรูป ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง
1. A - (B C) = {1, 2} A B
2. (A U B) – C = {1, 2, 7}
3. A (B U C) = {3, 4, 6}
4. (C – B) (A – B) = {6}
C
พิจารณาตัวเลือก
1. จะได้ A คือเลข 1, 2, 3, 4, 6 และ B C คือเลข 6, 5
ดังนั้น A - (B C) = {1,2,3,4} ข้อ 1. จึงผิด
2. จะได้ A U B คือเลข 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7 และ C คือเลข 4, 5, 6, 8, 9
ดังนั้น (A U B) – C = {1, 2, 3, 7} ข้อ 2. จึงผิด
3. จะได้ A คือเลข 1, 2, 3, 4, 6 และ B U C คือเลข 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9
ดังนั้น A (B U C) = {3, 4, 6} ข้อ 3. จึงถูกต้อง
4. จะได้ C – B คือเลข 4, 8, 9 และ A – B คือเลข 1, 2, 4
ดังนั้น (C – B) (A – B) = {4} ข้อ 4. จึงผิด

20 ติวเข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya


5. กำ�หนดให้ A, B, C เป็นเซตใดๆ ซึ่ง A B พิจารณาข้อความต่อไปนี้
ก. (C-A) (C-B)
ข. ( C) ( B)
ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง (O-net 54)
พิจารณา ก. (C - A) (C - B)
จากภาพ C – A = 6, 7 และ C – B = 7 A B
ก. (C - A) (C - B) จึงผิด

พิจารณา ข. ( C) ( B)
= A’ คือไม่เอา A

จากภาพจะได้ ( C) = 6, 7 และ ( B) = 3, 6 C
ข. ( C) ( B) จึงผิด

ตอบ ข้อ 4. ก ผิด ข ผิด

6. กำ�หนดให้ เอกภพสัมพัทธ์คือเซตของจำ�นวนเต็ม
ถ้า A = {x | |x - 3| 2}
B = {x | (1 + x) (3 – x) 0}
แล้ว A B’ คือข้อใดต่อไปนี้
พิจารณา A ดังนี้
|x - 3| 2 x∈∈ΙΙ
-2 x – 3 2 x∈∈ΙΙ
1 x 5 x∈∈ΙΙ
จะได้ A = {2,3,4}
พิจารณา B ดังนี้
(1 + x) (3 – x) 0
(x + 1) (x - 3) 0

x -1 x 3
+ - +
-1 3
(x -1 หรือ x 3) และ x I
จะได้ B’ = {0,1, 2}
พบว่า A B’ = {2}
A B’ = {2} ตอบข้อ 1.

ติวเข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya 21


7. ถ้า A และ B เป็นเซตที่มีจ�ำนวนสมาชิกเท่ากัน โดย n(A B) = 2 และ n(A U B) = 10
แล้วจ�ำนวนสมาชิกของ B – A เท่ากับเท่าใด
เราจะสามารถเขียนแผนภาพเวนส์ – ออยเลอร์ได้ดังนี้

A B

จากโจทย์ 1. A และ B เป็นเซตที่มีจ�ำนวนสมาชิกเท่ากัน


+ = +
จะได้ = …. (1)
2. n(A B) = 2
จะได้ = 2 …. (2)
3. n(A U B) = 10
จะได้ + + = 10 …. (3)

จากโจทย์ต้องการหาจ�ำนวนสมาชิกของ B – A คือ
น�ำมาแทนค่าจากสมการ จะได้ว่า + + 2 = 10
= 4 ตอบข้อ 4.

8. เหตุ 1. ไม่มีคนเก่งคนใดเป็นคนสอบตก
2. มีคนสอบตกที่เป็นคนขยัน
3. มีคนเก่งที่ไม่เป็นคนขยัน
ผล ……………………………………………………………
ในข้อใดต่อไปนี้เป็นการสรุปผลจากเหตุ ข้างต้นที่เป็นไปอย่างสมเหตุสมผล
1. มีคนเก่งที่เป็นคนขยัน 2. มีคนขยันที่เป็นคนสอบตก
3. มีคนขยันที่เป็นคนเก่ง 4. มีคนสอบตกที่เป็นคนเก่ง
จากโจทย์ สามารถเขียนแผนภาพให้สอดคล้องกับเหตุได้ 2 วิธี คือ
1. คนเก่ง คนขยัน คนสอบตก

22 ติวเข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya


2. คนเก่ง คนขยัน คนสอบตก

จากพื้นที่แรเงา ทั้งแบบที่ 1 และแบบที่ 2 เป็นส่วนที่มีข้อความเป็น “มีคนขยันที่เป็นคนสอบตก” ดังนั้น ผลที่มีข้อความ


“มีคนขยันที่เป็นคนสอบตก” เป็นการสรุปผลจากเหตุที่เป็นไปได้อย่างสมเหตุสมผล

ตอบข้อ 2.

9. พิจารณาการอ้างเหตุผลต่อไปนี้
ก. เหตุ 1. ถ้าฝนไม่ตก แล้ว น้องเอ๋ไปโรงเรียน
2. ฝนตก
ผล น้องเอ๋ไม่ไปโรงเรียน
ข. เหตุ 1. แสนแสบขยันเรียน หรือ แสนแสบสอบชิงทุนเรียนต่อต่างประเทศได้
2. แสนแสบไม่ขยันเรียน
ผล แสนแสบสอบชิงทุนเรียนต่อต่างประเทศได้
ข้อใดต่อไปนี้ ถูกต้อง
พิจารณา ก. ตัดชื่อน้องเอ๋ออกไปจะได้ว่า ถ้าฝนไม่ตก แล้ว ไปโรงเรียน
จะได้แผนภาพ โดย วงในคือ ฝนไม่ตก วงนอกคือ ไปโรงเรียน คือ น้องเอ๋

ไปโรงเรียน
ไปโรงเรียน

ฝนตก ฝนตก

เมื่อเราสังเกตจากแผนภาพ จะเห็นได้ว่าข้อนี้ ไม่สามารถสรุป ได้ว่า น้องเอ๋จะไปหรือไม่ไปโรงเรียนจึงไม่


ถูกต้อง ไม่สมเหตุสมผล
พิจารณา ข. ตัดชื่อ แสนแสบออกไปจะได้ว่า ขยันเรียน หรือ สอบชิงทุนเรียนต่อต่างประเทศได้
จากค�ำว่า หรือ นั้นหมายถึง U (ยูเนียน) จะได้แผนภาพ โดย
วงซ้าย คือ ขยัน
วงขวา คือ ชิงทุน

ติวเข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya 23


ขยัน ชิงทุน ขยัน ชิงทุน ขยัน ชิงทุน

ถ้าไม่ขยันเรียน ก็จะสามารถตัดภาพที่ 1 และ 2 ได้ ดังนั้น ผลคือ แสนแสบสอบชิงทุนเรียนต่อต่างประเทศได้


จึงถูกต้องและสมเหตุสมผล
ข้อที่ถูกคือข้อ 3. ก. ไม่สมเหตุสมผลและ ข.สมเหตุสมผล

น้องๆ สามารถศึกษาเพิ่มเติมได้ที่
Tag : สอนศาสตร์, คณิตศาสตร์, เซต, สูตรเตรียมสอบ

• สอนศาสตร์ คณิตศาสตร์ ม.6 : เซต ตรรกศาสตร์


ระบบจำ�นวนจริง
http://www.trueplookpanya.com/book/m6/
onet-math/ch1-1

• คณิตศาสตร์ ม.ปลาย - เซต ตอนที่ 1


http://www.trueplookpanya.com/book/m6/
onet-math/ch1-2

• คณิตศาสตร์ ม.ปลาย - เซต ตอนที่ 2


http://www.trueplookpanya.com/book/m6/
onet-math/ch1-3

• คณิตศาสตร์ ม.ปลาย - เซต ตอนที่ 3


http://www.trueplookpanya.com/book/m6/
onet-math/ch1-4

• สรุปสูตรคณิตศาสตร์สำ�หรับเตรียมสอบ - เรื่อง เซต


http://www.trueplookpanya.com/book/m6/
onet-math/ch1-5

24 ติวเข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya


บทที่2
จ�ำนวนจริง

ระบบจำ�นวนจริง
ในส่วนของจำ�นวนจริง เป็นเรื่องที่กำ�หนดขอบเขตทั้งหมดของข้อสอบที่น้องๆ จะเจอในการทำ�ข้อสอบ O-NET เนื่องจาก
ข้อสอบ O-NET นั้น จะไม่มีการนำ�เอาจำ�นวนจินตภาพมาใช้ ในการออกข้อสอบ จำ�นวนจริงจะมีความสัมพันธ์กับเรื่องเซต โดย
นิยามของจำ�นวนประเภทต่างๆ ที่นักคณิตศาสตร์ ได้ทำ�การจำ�แนกไว้ และไม่ว่าจะเป็นจำ�นวนตรรกยะ จำ�นวนอตรรกยะ จำ�นวนเต็ม
จำ�นวนนับ อีกทั้งเรื่องจำ�นวนจริง จะเป็นเรื่องที่มีความสำ�คัญอย่างยิ่งกับเรื่องความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ซึ่งน้องๆ จะได้เจอคำ�ว่า
เซตของจำ�นวนจริง หรือเซตของจำ�นวนเต็มบวก ซึ่งหมายถึงการกำ�หนดขอบเขตของคำ�ตอบให้กับน้องๆ นั่นเอง

ลักษณะจ�ำนวนจริง
1. จ�ำนวนตรรกยะ (Rational number) คือ จ�ำนวนทีส่ ามารถเขียนอยูใ่ นรูป โดยที ่ ได้แก่ จ�ำนวนเต็ม ทศนิยมซ�ำ

เศษส่วน และ square root (√) ที่หาค่าได้
2. จ�ำนวนอตรรกยะ (Irrational number) คือ จ�ำนวนที่ไม่สามารถเขียนอยู่ในรูป โดยที่ ซึ่งจ�ำนวนอตรรกยะ
สามารถเขียนอยู่ในรูปทศนิยมไม่ซ�้ำ (ทศนิยมไม่รู้จบ) และสามารถประมาณค่าได้ ค่า TT และ square root (√) ที่หาค่า
ไม่ได้ เช่น √2, √3 เป็นต้น
3. จ�ำนวนเต็ม (Integer number) ใช้ แทนเซตของจ�ำนวนเต็ม แบ่งออกได้ 3 ประเภท
3.1. จ�ำนวนเต็มลบ (I-) หรือ I- = {…, -3, -2, -1}
3.2. จ�ำนวนเต็มศูนย์ (I0) หรือ I0 = {0}
3.3. จ�ำนวนเต็มบวก (I+) หรือ I+ = {1, 2, 3, …}
4. จ�ำนวนนับ (Natural number) คือ 1, 2, 3, 4, 5, … ซึ่งมันก็เป็นพวกเดียวกับจ�ำนวนเต็มบวกนั่นเอง เพียงแต่จะใช้
สัญลักษณ์ที่แตกต่างกัน คือ จ�ำนวนนับ สัญลักษณ์ก็คือ N

แผนผังแสดงความสัมพันธ์ของระบบจ�ำนวนจริง

จ�ำนวนจริง (Real Numbers)

จ�ำนวนตรรยกะ จ�ำนวนอตรรยกะ
(Rational Numbers) (Irrational Numbers)

จ�ำนวนเต็ม เศษส่วนหรือทศนิยม
(Integer Numbers) (Fraction & Decimal Numbers)

จ�ำนวนเต็มลบ ศูนย์ จ�ำนวนเต็มบวก


(Negative Integers Number) (Zero) (Positive Integer Numbers)

ติวเข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya 25


แบบฝึกหัดที่ 1
จงพิจารณาว่าจ�ำนวนต่อไปนี้เป็นจ�ำนวนชนิดใด

จ�ำนวน จ�ำนวนนับ จ�ำนวนเต็ม ตรรกยะ อตรรกยะ จ�ำนวนจริง


0

2.999…

3+ 4

จงพิจารณาจ�ำนวนในแต่ละข้อถ้าเป็นจริงให้เขียนเครื่องหมาย ถ้าเป็นเท็จให้เขียนเครื่องหมาย
1. 1 + 3 เป็นจ�ำนวนตรรกยะ ……………………………………………………………………………………………
2. 5.9 เป็นจ�ำนวนคู่ ………………………………………………………………………………………………………
3. มีจ�ำนวนเต็มที่มากที่สุดที่น้อยกว่า 1 …………………………………………………………………………………
4. มีจ�ำนวนเต็มบวกที่น้อยที่สุด …………………………………………………………………………………………
5. มีจ�ำนวนตรรกยะมากที่สุดที่น้อยกว่า 3 ………………………………………………………………………………
6. มีจ�ำนวนอตรรกยะที่น้อยที่สุดที่มากกว่า 0 ……………………………………………………………………………

สมบัติของจ�ำนวนจริง
ก�ำหนด a, b, c เป็นจ�ำนวนจริงใดๆ (a, b, c ∈ ΙR)

คุณสมบัติ การบวก การคูณ


ปิด a+b ∈ ΙR ab ∈ ΙR

การสลับที่ a+b = b+a ab = ba

การเปลี่ยนกลุ่ม (a + b) + c = a + (b + c) (ab)c = a(bc)

การมีเอกลักษณ์ มีจ�ำนวนจริง 0 ซึ่ง มีจ�ำนวนจริง 1 ซึ่ง


0+a = a = a+0 1(a) = a = (a)1
ส�ำหรับจ�ำนวนจริง a จะมี ส�ำหรับจ�ำนวนจริง a 0 จะมี
การมีอินเวอร์ส จ�ำนวนจริง -a ซึ่ง จ�ำนวนจริง a-1 ซึ่ง
a + (-a) = 0 = (-a) + a a(a-1) = 1 = (a-1) a
a(b+c) = ab + ac และ
การแจกแจง (a+b)c = ac + bc

26 ติวเข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya


แบบฝึกหัดที่ 2
จงพิจารณาว่าเซตต่อไปนี้ มีสมบัติของการด�ำเนินการตามตารางหรือไม่

สมบัติปิดส�ำหรับ
เซต
การบวก การคูณ
เซตของจ�ำนวนคู่

เซตของจ�ำนวนคี่บวก

เซตของจ�ำนวนตรรกยะ

เซตของจ�ำนวนอตรรกยะ

ก�ำหนด A = {-1, 0, 1} ข้อความใดต่อไปนี้ถูกหรือผิด


1. เซต A มีสมบัติปิดของการบวก ………………………………………………….
2. เซต A มีสมบัติปิดของการคูณ ………………………………………………….
3. เซต A มีสมบัติการแจกแจง ………………………………………………….
4. มีเอกลักษณ์การบวกในเซต A ………………………………………………….
5. มีเอกลักษณ์การคูณในเซต A ………………………………………………….
6. สมาชิกทุกตัวในเซต A มีอินเวอร์สการบวก ………………………………………………….
7. สมาชิกทุกตัวในเซต A มีอินเวอร์สการคูณ ………………………………………………….

การเท่ากันในระบบจ�ำนวนจริง
สมบัติของการเท่ากันในระบบจ�ำนวนจริง มีดังนี้
1. สมบัติการสะท้อน

2. สมบัติสมมาตร
ถ้า แล้ว
3. สมบัติการถ่ายทอด
ถ้า และ แล้ว
4. สมบัติการบวกด้วยจ�ำนวนที่เท่ากัน
ถ้า แล้ว
5. สมบัติการคูณด้วยจ�ำนวนที่เท่ากัน
ถ้า และ แล้ว

ติวเข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya 27


การแก้สมการพหุนามตัวแปรเดียว
การแก้สมการพหุนามเราสามารถน�ำสมบัติการเท่ากันในระบบจ�ำนวนจริงมาใช้และใช้การแก้สมการที่เราเคยเรียนมา
1. การแยกตัวประกอบ (factor)
2. หาจากสูตร x = − b ± b 2 − 4 ac
2a
3. ทฤษฏีบทเศษเหลือ
3.1. ทฤษฏีบทเศษเหลือ กล่าวว่า “ถ้าหารพหุนาม P(x ) ด้วย x − a เมื่อ a เป็นจ�ำนวนจริงแล้วเศษจากการหารจะ
เท่ากับ P(a )”
3.2. ทฤษฏีตัวประกอบ (factor theorem) ก�ำหนดพหุนาม P(x ) และ a เป็นจ�ำนวนจริงใดๆ แล้ว
3.2.1 ถ้า x − a เป็นตัวประกอบของ P(x ) แล้ว
3.2.2 ถ้า แล้ว จะเป็นตัวประกอบของ P(x )
3.2.3 พอได้ a จากข้อ 3.2.2 ก็น�ำไปหารสังเคราะห์

แบบฝึกหัดที่ 3
1. จงหาค�ำตอบของสมการต่อไปนี้
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
2. ถ้าค�ำตอบของสมการ คือ และเมื่อ n เป็นจ�ำนวนจริง ค�ำตอบอีกค�ำตอบหนึ่งของสมการนี้
คือจ�ำนวนใด
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
3. ถ้าสมการ มีค�ำตอบที่เป็นจ�ำนวนจริง 1 ค�ำตอบ ค่าของ d คือจ�ำนวนใด
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………

28 ติวเข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya


การไม่เท่ากันในระบบจ�ำนวนจริง
สมบัติของการไม่เท่ากันในระบบจ�ำนวนจริง มีดังนี้
1. ถ้า a, b เป็นจ�ำนวนจริงใดๆ จะได้ว่า
1.1. ก็ต่อเมื่อ
1.2. ก็ต่อเมื่อ
1.3. ก็ต่อเมื่อ
2. สมบัติการบวกและการคูณด้วยจ�ำนวนที่ไม่เท่ากันดังนี้
2.1. ถ้า และ แล้ว
หรือ
2.2. ถ้า และ ; แล้ว
ถ้า
ถ้า
3. ให้ a, b, c, d R
3.1. ถ้า a < b และ b < c แล้ว a < c
3.2. ถ้า 0 < a < b แล้ว
3.3. ถ้า a < b < 0 แล้ว
3.4. ถ้า a < b และ c < d แล้ว a + c < b + d
3.5. ถ้า a < b และ c < d แล้ว a – d < b – c
3.6. ถ้า 0 < a < b และ 0 < c < d แล้ว 0 < ac < bd
3.7. ถ้า a < b < 0 และ c < b < 0 แล้ว ac > bd > 0
3.8. ถ้า 0 < a < b และ 0 < c < d แล้ว
3.9. ถ้า a < b < 0 และ c < b < 0 แล้ว

แบบฝึกหัดที่ 4
จงพิจารณาว่าข้อใดถูกต้องหรือข้อใดผิด
1. ถ้า a < b แล้วจะได้ a2 < b2 ……………………………………………………………………………………………
2. ถ้า a < b < 0 แล้วจะได้ว่า ab < b2 …………………………………………………………………………………
3. ถ้า x + y > 0 แล้ว x > 0 แล้ว y > 0 …………………………………………………………………………………
4. ถ้า 0 < a < b และ 0 < c < d แล้ว 0 < ac < bd ………………………………………………………………………
5. ถ้า x < y และ a < b แล้ว x - a < y - b ………………………………………………………………………………
6. ถ้า x < y และ a < b แล้ว x – b < y – a ……………………………………………………………………………

ติวเข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya 29


การแก้อสมการ
1.
จัดรูปอสมการให้ข้างหนึ่งเป็นตัวแปร อีกข้างหนึ่งเป็นศูนย์
***ระวัง!!!! การคูณและการหารจ�ำนวนจริงลบต้องเปลี่ยนเครื่องหมายเสมอ
2.
แยกตัวประกอบ
3.
พิจารณาตามช่วง

3.1 หาจุด x ที่ท�ำให้ (x – a1)(x – a2)(x – a3)…(x – an) = 0 จะได้ x = a1, a2, a3, …, an

3.2 น�ำค่า a1, a2, a3, …, an ก�ำหนดลงบนเส้นจ�ำนวนซึ่งค่าเหล่านี้จะแบ่งเส้นจ�ำนวนเป็นช่วงๆ

(ให้เราเรียงจากน้อยไปหามากบนเส้นจ�ำนวน)

3.3. ใส่เครื่องหมาย + และ - สลับกันโดยเริ่มที่บวกก่อนทางด้านช่องขวาสุด

3.4. ถ้าเป็นเครื่องหมาย เราจะเลือกช่วงที่ลบ ถ้าเป็นเครื่องหมาย
เราจะเลือกช่วงที่บวก

แบบฝึกหัดที่ 5
1. จงหาช่วงค�ำตอบค�ำตอบของอสมการ
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
2. ก�ำหนดให้ S = และ P = ถ้า (c,d) แล้ว c + d เป็น
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ค่าสัมบูรณ์ของจ�ำนวนจริง
ค่าสัมบูรณ์ คือ ระยะทางบนเส้นจ�ำนวนจาก 0 ไปถึง a
เงื่อนไขของค่าสัมบูรณ์

30 ติวเข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya


สมบัติของค่าสัมบูรณ์
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
8. ถ้า แล้ว
9.
10.
11. ก็ต่อเมื่อ

แบบฝึกหัดที่ 6
จงพิจารณาว่าข้อความต่อไปนี้ ถูกหรือผิด
1. ถ้า x และ y เป็นจ�ำนวนจริงซึ่ง |x| < |y| แล้ว x3< y3 ………………………………………………………………..
2. ถ้า a 5 แล้ว ………………………………………………………………………………….…
3. ถ้า |a| < |b| แล้ว a < b ……………………………………………………………………………….…………………

การแก้สมการค่าสัมบูรณ์
เราสามารถแก้สมการได้ทั้งหมด 3 วิธี
1. การใช้คุณสมบัติของค่าสมบูรณ์
2. การยกก�ำลังสองทั้งสองข้าง
3. การพิจารณาตามนิยามค่าสมบูรณ์

ติวเข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya 31


แบบฝึกหัดที่ 7
1. จงหาค�ำตอบของสมการ
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
2. จงหาผลบวกของค�ำตอบทั้งหมดของสมการ
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………

การแก้อสมการค่าสมบูรณ์
คุณสมบัติของอสมการค่าสัมบูรณ์
ก�ำหนดให้
1. ถ้า แล้ว
2. ถ้า แล้ว
3. ถ้า แล้ว หรือ
4. ถ้า แล้ว หรือ
5. ถ้า แล้ว ข้อนี้เราใช้ผลต่างก�ำลังสอง

แบบฝึกหัดที่ 8
1. จงหาช่วงค�ำตอบของอสมการ
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………

32 ติวเข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya


2. จงหาช่วงค�ำตอบของอสมการ
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
3. จงหาช่วงค�ำตอบของอสมการ
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………

สมบัติความบริบูรณ์
บทนิยาม ให้ S R กล่าวว่าจ�ำนวนจริง a จะเป็นค่าขอบเขตบนของ S ก็ต่อเมื่อ a ไม่น้อยกว่าสมาชิกใดๆ ของ S ในกรณี
นี้เรากล่าวว่า S มีขอบเขตบน (Upper Bound)
จากนิยามสรุปได้ว่า S จะมีค่าขอบเขตบน ก็ต่อเมื่อมีจ�ำนวนจริง a ซึ่ง a x ส�ำหรับ x S เรียก a ว่าขอบเขตบนของ S
และสมาชิกที่มีค่าน้อยที่สุดในเซตของขอบเขตบนเรียกว่าขอบเขตบนที่มีค่าน้อยที่สุด (Least upper bound) a จะเป็นค่าขอบเขตบน
น้อยสุด ก็ต่อเมื่อ a เป็นขอบเขตบนของ S และถ้า b เป็นขอบเขตบนของ S จะได้ว่า a b
บทนิยาม ให้ S R และ S จะมีขอบเขตล่างก็ต่อเมื่อมีจ�ำนวนจริง a ซึ่ง a x และ x R เรียก a ว่าเป็นขอบเขตล่าง
(bounded below) ของ S
ก�ำหนดให้ S R,S และ S มีขอบเขตล่าง แล้ว S จะมีขอบเขตล่างค่ามากสุด

แบบฝึกหัดที่ 9
จงพิจารณาเซตต่อไปนี้ว่ามีขอบเขตบนหรือไม่และขอบเขตบนน้อยสุดคือจ�ำนวนใด

1. 2. A = {1, 2, 3, …}
……………………………………… ………………………………………

……………………………………… ………………………………………

……………………………………… ………………………………………

ติวเข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya 33


3. C = {…, -3, -2, -1, 0} 4. [-6,-1]
……………………………………… ………………………………………

……………………………………… ………………………………………
……………………………………… ………………………………………

5. (3, ) 6. E =
……………………………………… ………………………………………

……………………………………… ………………………………………
……………………………………… ………………………………………

เฉลยแบบฝึกหัด
แบบฝึกหัดที่ 1
จงพิจารณาว่าจ�ำนวนต่อไปนี้เป็นจ�ำนวนชนิดใด

จ�ำนวน จ�ำนวนนับ จ�ำนวนเต็ม ตรรกยะ อตรรกยะ จ�ำนวนจริง


0 û ü ü û ü
û û û ü ü
2.999… û û ü û ü
3+ 4 ü ü ü û ü

จงพิจารณาจ�ำนวนในแต่ละข้อถ้าเป็นจริงให้เขียนเครื่องหมาย ü ถ้าเป็นเท็จให้เขียนเครื่องหมาย û
1. ผิด 2. ถูก 3. ถูก
4. ถูก 5. ผิด 6. ผิด

34 ติวเข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya


แบบฝึกหัดที่ 2
จงพิจารณาว่าเซตต่อไปนี้ มีสมบัติของการด�ำเนินการตามตารางหรือไม่.

สมบัติปิดส�ำหรับ
เซต
การบวก การคูณ
เซตของจ�ำนวนคู่ ü ü
เซตของจ�ำนวนคี่บวก û ü
เซตของจ�ำนวนตรรกยะ ü ü
เซตของจ�ำนวนอตรรกยะ û û

ก�ำหนด ข้อความใดต่อไปนี้ถูกหรือผิด
1. ผิด 2. ถูก 3. ถูก 4. ถูก
5. ถูก 6. ถูก 7. ผิด

แบบฝึกหัดที่ 3
1.จงหาค�ำตอบของสมการต่อไปนี้
วิธีท�ำ พิจารณา

ดังนั้น

2. ถ้าค�ำตอบของสมการ คือ และเมื่อ n เป็นจ�ำนวนจริง ค�ำตอบอีกค�ำตอบหนึ่งของสมการนี้คือจ�ำนวนใด


วิธีท�ำ แทน ในสมการ



แทน ในสมการ
พิจารณา


ดังนั้นค�ำตอบอีกค�ำตอบหนึ่งของสมการนี้ คือ -2

ติวเข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya 35


3. ถ้าสมการ มีค�ำตอบที่เป็นจ�ำนวนจริง 1 ค�ำตอบ ค่าของ d คือ จ�ำนวนใด
วิธีท�ำ จาก
พิจารณา
จาก ได้เซตว่างเราจึงพิจารณา


ดังนั้น

แบบฝึกหัดที่ 4
1. ผิด 2. ผิด 3. ผิด
4. ถูก 5. ผิด 6. ถูก

แบบฝึกหัดที่ 5
1. จงหาช่วงค�ำตอบค�ำตอบของอสมการ
วิธีท�ำ พิจารณา

จากตรงนี้เราจะน�ำ คูณตลอด แล้ว มีค่าติดลบเราจึงต้องเปลี่ยนเครื่องหมายด้วย


ดังนั้น

2. ก�ำหนดให้ S = และ P = ถ้า (c, d) แล้ว c + d เป็นเท่าใด


วิธีท�ำ พิจารณา



จะได้ว่า

พิจารณา
น�ำ -1 คูณตลอดเครื่องหมายเปลี่ยน

36 ติวเข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya




จะได้ว่า
ดังนั้น
จาก และ จะได้ว่า

แบบฝึกหัดที่ 6
1. ผิด 2. ผิด 3. ผิด

แบบฝึกหัดที่ 7
1. จงหาค�ำตอบของสมการ
วิธีท�ำ พิจารณา
เราจะได้ และ

จะได้

2. จงหาผลบวกของค�ำตอบทั้งหมดของสมการ
วิธีท�ำ พิจารณา
เราจะได้ และ


จะได้

จากที่เราได้ค�ำตอบแล้วเราจะต้องน�ำค�ำตอบไปแทนในสมการว่าได้จริงตามสมการหรือไม่ แล้วจึงน�ำค�ำตอบมาบวกกัน
พิจารณาค�ำตอบจะได้ว่าค�ำตอบของสมการคือ
จะได้ ผลบวกของค�ำตอบของสมการคือ

แบบฝึกหัดที่ 8
1. จงหาช่วงค�ำตอบของอสมการ และ
วีธีท�ำ เราจะน�ำ ไปพิจารณา ว่าในค่าสัมบูรณ์ติดลบหรือไม่ แล้วท�ำการถอดค่าสัมบูรณ์
พิจารณา เมื่อ แล้ว เป็นบวก และ เป็นบวกเช่นกันเราก็จะถอดค่าสัมบูรณ์ได้เลย

ติวเข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya 37


จะได้

ดังนั้นค�ำตอบของอสมการ คือ ( )
2. จงหาช่วงค�ำตอบของอสมการ
วิธีท�ำ พิจารณา

(2x+7)(2X+7) - (4x-3)(4x-3)
(4x2 + 28x + 49) - (16x2 - 24x + 9)
-12x2 + 52x + 40
3x2 - 13x - 10
(3x + 2) (x - 5)
ดังนั้น ค�ำตอบของอสมการ คือ [ ]
3. จงหาช่วงค�ำตอบของอสมการ
วิธีท�ำ พิจารณา

(2x+7)(2x+7) – (x+2)(x+2)

3x2 + 24x + 45
x2 + 8X +15

ก่อนทีเ่ ราจะตอบเราต้องพิจารณาทีจ่ ดุ ปลายของช่วงทัง้ สองข้างก่อนว่าเป็นจริงตามอสมการหรือไม่ ซึง่ อสมการนีท้ จี่ ดุ ปลาย
ของช่วงไม่เป็นจริงตามอสมการ
ดังนั้น ค�ำตอบของอสมการ คือ [ ]

แบบฝึกหัดที่ 9
จงพิจารณาเซตต่อไปนี้ว่ามีขอบเขตบนหรือไม่และขอบเขตบนน้อยสุดคือจ�ำนวนใด
1. มีขอบเขตบน แต่ไม่มีขอบเขตบนน้อยสุด
2. ไม่มีขอบเขตบน
3. มีขอบเขตบนและขอบเขตบนน้อยสุดคือ 0
4. มีขอบเขตบนและขอบเขตบนน้อยสุดคือ -1
5. ไม่มีขอบเขตบน
6. มีขอบเขตบนและขอบเขตบนน้อยสุดคือ 2

38 ติวเข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya


น้องๆ สามารถศึกษาเพิ่มเติมได้ที่
Tag : สอนศาสตร์, คณิตศาสตร์, จำ�นวนจริง, ระบบจำ�นวนจริง

• สอนศาสตร์ : ม.ปลาย : คณิตศาสตร์ > 14 :


จำ�นวนจริง 1
http://www.trueplookpanya.com/book/m6/
onet-math/ch2-1

• สอนศาสตร์ : ม.ปลาย : คณิตศาสตร์ > 15 :


จำ�นวนจริง 2
http://www.trueplookpanya.com/book/m6/
onet-math/ch2-2

• สอนศาสตร์ คณิตศาสตร์ ม.6 : เซต ตรรกศาสตร์


ระบบจำ�นวนจริง
http://www.trueplookpanya.com/book/m6/
onet-math/ch2-3

• สรุปสูตรคณิตศาสตร์สำ�หรับเตรียมสอบ -
เรื่อง จำ�นวนจริง
http://www.trueplookpanya.com/book/m6/
onet-math/ch2-4

• สรุปสูตรคณิตศาสตร์สำ�หรับเตรียมสอบ -
เรื่อง จำ�นวนเชิงซ้อน
http://www.trueplookpanya.com/book/m6/
onet-math/ch2-5

ติวเข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya 39


บทที่3
การให้เหตุผล

เรือ่ งการให้เหตุผลเป็นอีกเรือ่ งหนึง่ นอกจากเซต ทีเ่ ป็นพืน้ ฐานในการแปลภาษาเขียนต่างๆ เช่น และ หรือ ถ้า...แล้ว ก็ตอ่ เมือ่
และนิเสธ ให้อยูใ่ นรูปของสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ทสี่ ามารถเข้าใจได้ทวั่ กัน ข้อสอบเรือ่ งการให้เหตุผลนัน้ จัดเป็นหนึง่ ในหัวข้อทีง่ า่ ย
และมีการพลิกแพลงน้อยทีส่ ดุ ในวิชาคณิตศาสตร์ ขอเพียงน้องๆ ไม่ประมาทและฝึกฝนท�ำโจทย์ ก็จะเป็นอีกเรือ่ งหนึง่ ทีน่ อ้ งๆ สามารถ
เก็บคะแนนไปได้ไม่ยาก

การให้เหตุผล มีด้วยกันหลักๆ 2 แบบ คือ


• การให้เหตุผลแบบอุปนัย
• การให้เหตุผลแบบนิรนัย

1. การให้เหตุผลแบบอุปนัย
เป็นการให้เหตุผลจากการสังเกตในชีวติ ประจ�ำวัน ประสบการณ์ การทดลองซ�ำ้ ไปซ�ำ้ มา หลายๆ ครัง้ เช่น การเห็นพระอาทิตย์
ขึ้นทางทิศตะวันออก และตกทางทิศตะวันตก เราสังเกตได้อย่างนี้มาเป็นเวลานาน เราจึงสามารถสรุปได้เป็นข้อความใหม่ ซึ่งผลสรุป
เป็นเพียงการคาดคะเน ที่อาจเป็นไปได้เท่านั้น

ตัวอย่าง





ข.

ก. มีชุดตัวเลขดังนี้
3 7 11 15 19 ? ตัวเลขต่อไปจะเป็นเลขอะไร

คือ 23

มีชุดตัวเลขดังนี้
11 x 11 = 121

เราสามารถสังเกตได้จากชุดตัวเลข ซึ่งจะเห็นว่ามีการเพิ่มของทุกจ�ำนวน ด้วยการ +4 ดังนั้น เลขต่อไปจากชุดข้อมูลการ

111 x 111 = 12321


1111 x 1111 = 1234321
11111 x 11111 = ?
เราสามารถสังเกตได้จากชุดตัวเลข ซึ่งจะเห็นว่า ค�ำตอบที่ได้ตัวเลขจะเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ตามจ�ำนวนของ เลข 1 ดังนั้น
ค�ำตอบของข้อมูลชุดนี้ คือ 123454321

40 ติวเข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya


2. การให้เหตุผลแบบนิรนัย
เป็นการให้เหตุผลทีเ่ กิดจากความเชือ่ ของข้อมูล จากทฤษฎีบท ความรูเ้ ก่า กฎต่างๆ ทีไ่ ด้มกี ารยอมรับกันมาว่าเป็นความจริง

ตัวอย่าง
ก. เหตุ 1. คนทุกคนมี 2 ขา


จากตัวอย่างจะเห็นว่า สมเหตุสมผล
2. สมชายเป็นคน
ผล สมชายมี 2 ขา
ข. เหตุ 1. ผลไม้ทุกชนิดเป็นอาหารได้
จากตัวอย่างจะเห็นว่า ไม่สมเหตุสมผล
2. ผักกาดเป็นอาหาร
ผล ผักกาดเป็นผลไม้
จากตัวอย่างข้างต้นเราสามารถพิจารณาได้ ว่าเหตุและผล มีความสอดคล้องกันหรือไม่อย่างไร ซึง่ เราก็มหี ลักการอ้างเหตุผล
ในทางคณิตศาสตร์ซึ่งมีด้วยกัน 6 แบบ คือ
1. สมาชิกทุกตัวของ A เป็นสมาชิกของ B
2. ไม่มีสมาชิกตัวใดของ A เป็นสมาชิกของ B
3. สมาชิกบางตัวของ A เป็นสมาชิกของ B
4. มีสมาชิกบางตัวของ A ไม่เป็นสมาชิกของ B
5. สมาชิกของ A 1 ตัว ที่เป็นสมาชิกของ B
6. สมาชิกของ A 1 ตัว ไม่เป็นสมาชิกของ B

ซึ่งสามารถยกตัวอย่างได้ดังนี้
1. สมาชิกทุกตัวของ A เป็นสมาชิกของ B

ตัวอย่าง ปลาทุกตัวสามารถว่ายน�้ำได้
A โดยที่ A = ปลา B = สัตว์ที่ว่ายน�้ำได้

ติวเข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya 41


2. ไม่มีสมาชิกตัวใดของ A เป็นสมาชิกของ B

A B
ตัวอย่าง ไม่มีแมวตัวใดบินได้
โดยที่ A = แมว B = สัตว์ที่บินได้

3. สมาชิกบางตัวของ A เป็นสมาชิกของ B

A B ตัวอย่าง มีนักเรียนที่ชอบเรียนคณิตศาสตร์บางคน
ชอบเรียนภาษาอังกฤษ
โดยที่ A = นักเรียนที่ชอบเรียนคณิตศาสตร์
B = นักเรียนที่ชอบเรียนภาษาอังกฤษ

4. มีสมาชิกบางตัวของ A ไม่เป็นสมาชิกของ B

A B
ตัวอย่าง มีคนที่ชอบทานผัก บางคนไม่ชอบทานเนื้อสัตว์
โดยที่ A = คนที่ชอบทานผัก
B = คนชอบทานเนื้อสัตว์

5. สมาชิกของ A 1 ตัว ที่เป็นสมาชิกของ B

A B
ตัวอย่าง กฤษดาเป็นเด็กชอบเล่นฟุตบอล
โดยที่ A = เด็ก
B = ชอบเล่นฟุตบอล
= กฤษดา

42 ติวเข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya


6. สมาชิกของ A 1 ตัว ไม่เป็นสมาชิกของ B สามารถเขียนได้ 2 แบบ คือ
แบบที่ 1

A B

ตัวอย่าง กฤษดาเป็นเด็กที่ไม่กลัวผี
แบบที่ 2 โดยที่ A = เด็ก
B = คนกลัวผี
A B
= กฤษดา

ติวเข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya 43


บทที่4
เลขยกก�ำลัง

ส�ำหรับเรื่องเลขยกก�ำลังนั้น เป็นเรื่องที่อาศัยความรอบคอบอย่างมาก เนื่องจากเป็นเรื่องที่ใช้ทั้งทักษะเกี่ยวกับการค�ำนวณ


และทักษะเกี่ยวกับความเข้าใจ เวลาท�ำข้อสอบเรื่องนี้ ให้น้องๆ ท�ำอย่างใจเย็นๆ พิจารณาถึงเลขฐานและเลขชี้ก�ำลังว่าเป็นบวก ลบ
หรือเป็นเศษส่วน และจ�ำเงื่อนไขต่างๆ ให้ได้ เพียงเท่านี้ น้องๆ ก็จะสามารถท�ำข้อสอบในส่วนของเลขชี้ก�ำลังได้

1. ความหมายของเลขยกก�ำลัง
an = a x a x a x a x a x … x a (n ตัว)
เรียก an ว่าเลขยกก�ำลัง (power) ที่มี a เป็นฐาน และมี n เป็นเลขชี้ก�ำลัง

2. สมบัติของเลขยกก�ำลัง
2.1. x = “เลขยกกำ�ลังฐานเหมือนกัน คูณกันเอาเลขชี้กำ�ลังมาบวกกัน”

2.2. = “เลขยกกำ�ลังฐานเหมือนกัน หารกันเอาเลขชี้กำ�ลังมาลบกัน” เมื่อ a ≠ 0


2.3. = เมื่อ ≠

2.4. =

2.5. = เมื่อ b ≠ 0

2.6. = เมื่อ a ≠ 0

2.7. = 1 เมื่อ a ≠ 0 ( ไม่มีความหมายทางคณิตศาสตร์)


ข้อควรระวัง
( a ± b) 2 ≠ ( a 2 ± b 2 ) ให้ใช้ก�ำลังสองสมบูรณ์หรือ ผลต่างก�ำลังสอง
• =
• =
• =
• =
• =
• =

44 ติวเข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya


3. สัญญากรวิทยาศาสตร์
คือ การเขียนตัวเลขที่มีจ�ำนวนมาก หรือ น้อย ให้อยู่ในรูปเลขยกก�ำลัง

; 0 ≤ < 10
เช่น 299,800 = 2.998 x


0.0000034 = 3.4 x

4. ความหมายของรากที่ n
ให้ n เป็นจ�ำนวนเต็มที่มากกว่า 1 เมื่อ a และ b เป็นจ�ำนวนจริง b เป็นรากที่ n ของ a เมื่อ

5. สมบัติของรากที่ n
ก�ำหนดให้ a , b เป็นจ�ำนวนจริงที่มีรากที่ n และ n เป็นจ�ำนวนเต็มบวกที่มากกว่า 1

1. = เมื่อ เป็นจำ�นวนจริง
a เมื่อ a ≥ 0

2. = a เมื่อ a < 0 และ n เป็นจำ�นวนคี่บวก
เมื่อ a < 0 และ n เป็นจำ�นวนคู่บวก
3. = ข้อควรระวัง!!!!
รากล�ำดับคูข่ องจ�ำนวนจริงทีเ่ ป็นลบ
= เมื่อ b ≠ 0
4. หาค่าไม่ได้ เช่น จะหาค่าไม่ได้
5. =

Ex1. จงทำ� ให้อยู่ในรูปอย่างง่าย


…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………

Ex2. จงทำ� ให้อยู่ในรูปอย่างง่าย


…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ติวเข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya 45


Ex3. ถ้า a,b เป็นจำ�นวนจริงบวก จงทำ� ให้อยู่ในรูปอย่างง่าย
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………

Ex4. จงทำ� ให้อยู่ในรูปอย่างง่าย


…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………

เฉลยแบบฝึกหัด
Ex1. จงท�ำ ให้อยู่ในรูปอย่างง่าย


Ex2. จงท�ำ ให้อยู่ในรูปอย่างง่าย

Ex3. ถ้า a, b เป็นจ�ำนวนจริงบวก จงท�ำ ให้อยู่ในรูปอย่างง่าย


=
=
= 3 a4/2 b6/2

= 3a2b
Ex4. จงท�ำ ให้อยู่ในรูปอย่างง่าย
=
=

46 ติวเข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya


บทที่5
ฟังก์ชัน

ในเรื่องฟังก์ชันนี้ จะเป็นบทที่เน้นเรื่องการวาดกราฟต่างๆ และการจัดรูปสมการเพื่อใช้หาค่าโดเมน และเรนจ์เป็นหลัก ห้าม


ลืมเด็ดขาดท่องไว้เลย โดเมน คือ X และ เรนจ์ คือ Y และที่น้องๆ ส่วนใหญ่จะผิดกัน คือ การเขียนกราฟ ดูให้ดีๆ ว่าเป็นกราฟหงาย
หรือกราฟคว�่ำ
คู่อันดับ
ก�ำหนดให้ (a, b) และ (c, d) เป็นคู่อันดับใดๆ จะได้ว่า (a, b) = (c, d) ก็ต่อเมื่อ a = c และ b = d
โดยที่ a เรียกว่า “สมาชิกตัวหน้า” และ b เรียกว่า “สมาชิกตัวหลัง”

ผลคูณคาร์ทีเชียน
ให้ A และ B แทนเซตใดๆ เขียนผลคูณคาร์ทีเชียนของ A และ B ว่า A X B อ่านว่า “A Cross B” จะได้ว่า ผลคูณคาร์ทีเชียน
ของ A และ B (A X B) คือเซตของคู่อันดับที่มีสมาชิกตัวหน้ามาจาก A และสมาชิกตัวหลังมาจาก B

สมบัติที่ควรทราบ
1. ถ้า A มีสมาชิก m ตัว และ B มีสมาชิก n ตัว แล้ว A X B มีสมาชิก mn ตัว n(AxB) = n(A) x n(B)
2. A X B ≠ B X A แต่จะเท่ากันก็ต่อเมื่อ
• A = B •A= ∅ •B= ∅
3. A X ∅ = ∅ = ∅ X A
A× (B ∪C) = (A× B) ∪ (A× C) ,
4. (A∪ B) × C = (A× C) ∪ (B × C)

A× (B ∩C) = (A× B) ∩ (A× C) ,


5. (A∩ B) × C = (A× C) ∩ (B × C)

A× (B − C) = (A× B) − (A× C) ,
6. (A − B) × C = (A× C) − (B × C)

7. r แทน ความสัมพันธ์ที่สอดคล้องกับเงื่อนไขที่ต้องการจากผลคูณคาร์ทีเชียน

ข้อควรระวัง!!!! A∪ (B × C) ≠ (A∪ B) × (A∪C)


A∩ (B × C) ≠ (A∩ B) × (A∩C)
A − (B × C) ≠ (A − B) × (A − C)

ติวเข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya 47


แบบฝึกหัดที่ 1 ก�ำหนดให้ A = {1, 2, 3}, B = {2, 3}, C = {1, 3, 5, 7} และ D = {{2}, 7} จงหา
1. A X B = ………………………………………………………………………………………………………………………
2. B X C = ………………………………………………………………………………………………………………………
3. C X B = ………………………………………………………………………………………………………………………
4. D X D = ………………………………………………………………………………………………………………………
5.
C × (A∩ B) = …………………………………………………………………………………………………………………

6.
(A∩ B) × (C ∪ D) = ……………………………………………………………………………………………………………

7.
P(D) × (A∩ B) = ………………………………………………………………………………………………………………

8.
(C − A) × P(B) = ………………………………………………………………………………………………………………

9.
{(x, y) ∈ A × B x + y เป็นเลขคู่ } = ……………………………………………………………………………………………

10.
{(x, y) ∈ A × B x + y ≥ 7} = ……………………………………………………………………………………………………

ฟังก์ชัน
คือ ความสัมพันธ์ที่สมาชิกตัวหน้าจับคู่กับสมาชิกตัวหลังได้เพียงตัวเดียว หรือ จ�ำง่ายๆ ว่า “โดเมนไม่ซ�้ำ”

โดเมน (Domain) คือ เซตของ x ที่ท�ำให้ y หาค่าได้


เรนจ์ (Range) คือ เซตของ Y ที่ท�ำให้ x หาค่าได้

“ท่องง่ายๆ ว่า โดเมน คือ x และ เรนจ์ คือ Y”

การตรวจสอบฟังก์ชัน
1. ความสัมพันธ์แบบแจกแจงสมาชิก
โดยดูว่าสมาชิกตัวหน้าจับคู่กับสมาชิกตัวหลังมากกว่า 1 คู่หรือไม่ ถ้าจับคู่มากกว่า 1 คู่จะไม่เป็นฟังก์ชัน
เช่น = { (1, 2), (2, 4), (6, 3), (7, 2), (9, 4) }
เป็นฟังก์ชันเพราะ ไม่มีสมาชิกตัวหน้าใดเลยที่จับคู่มากกว่า 1 คู่
= { (2, 2), (2, 4), (4, 1), (5, 8), (7, 1) }
ไม่เป็นฟังก์ชันเพราะ มีสมาชิกตัวหน้าที่จับคู่กันมากกว่า 1 คู่ คือ สมาชิกตัวหน้า 2 จับคู่กับ 2 และ 4
2. ความสัมพันธ์ที่เป็นสมการ
เมื่อแทนค่า x ในสมการ จะต้องให้ค่า y ออกมาเพียงค่าเดียว ถ้าได้ y มากกว่า 1 ค่าแสดงว่าไม่เป็นฟังก์ชัน
เช่น
เป็นฟังก์ชันเพราะเมื่อแทน x = 1 , 2 , 3 , … จะได้ y เพียง 1 ค่าเสมอ

ไม่เป็นฟังก์ชันเพราะเมื่อแทนค่า x = 1 จะได้ y มากกว่าหนึ่งค่า คือ 1 และ -1

48 ติวเข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya


3. กราฟของความสัมพันธ์
ท�ำได้โดยการลากเส้นตรงขนานกับแกน y ถ้าตัดมากกว่า 1 จุดแสดงว่าไม่เป็นฟังก์ชั่น

กราฟ A กราฟ B
y y

x x

กราฟ A เป็นกราฟฟังก์ชัน เพราะเมื่อลากเส้นขนานกับแกน y แล้วได้จุดตัดเพียง 1 จุด



กราฟ B ไม่เป็นกราฟฟังก์ชัน เพราะเมื่อลากเส้นขนานกับแกน y แล้วได้จุดตัด 2 จุด

4. การหาค่าของฟังก์ชัน
หาได้จาก 3 วิธี ได้แก่
1) หาจากเซตที่แจกแจงสมาชิก
2) อ่านจากกราฟ และ
3) แทนค่าในสมการ โดยค่าที่หาได้จากฟังก์ชันจะเป็นค่า y

ตัวอย่างที่ 1 ก�ำหนดให้ f = { (1, 2), (2, 4), (6, 3), (9, 6) } จงหาค่า k เมื่อ f(k) = f(1) + f(2)
วิธีท�ำ จากฟังก์ชันที่ก�ำหนดจะได้ f(1) = 2 และ f(2) = 4 ดังนั้น f(1) + f(2) = 6
จะได้ว่า f(9) = 6 ฉะนั้น k = 9

ตัวอย่างที่ 2 ก�ำหนดให้ f(x) = 2x+1 และ g(x) = -4 จงหาค่าของ f(3) – g(4)


วิธีท�ำ จากโจทย์ พิจารณา f(3) แทน x = 3 ลงในสมการ f(x)
จะได้ f(3) = 2(3) +1 = 7
พิจารณา g(4) จะได้ว่า g(x) = -4 ทุกค่า x ดังนั้น g(4) = -4
ดังนั้น f(3) – g(4) = 7 – ( -4) = 11

5. ฟังก์ชันเชิงเส้น
คือ ฟังก์ชันที่อยู่ในรูป y = f(x) = ax + b เมื่อ a , b ∈ R และ a ≠ 0

ติวเข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya 49


แบบฝึกหัดที่ 2 บริษัทแห่งหนึ่งจ่ายค่าจ้างให้พนักงานโดยคิดจากการขาย ซึ่งเป็นร้อยละจากยอดขายที่พนักงานแต่ละคนขายได้
ปรากฏว่าเดือนที่แล้ว นายเอได้รับเงินจากบริษัท 31,000 บาท โดยเขามียอดขาย 300,000 บาท และนายบีได้รับเงินจากบริษัท 32,500
บาท โดยเขามียอดขาย 350,000 บาท จงเขียนฟังก์ชันแทนรายได้ที่พนักงานได้รับในแต่ละเดือนในรูปแบบสมการ และจงหาว่านายซี
จะได้รับเงินจากบริษัทเท่าไร เมื่อท�ำยอดขายได้ 400,000 บาท

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………

6. ฟังก์ชันก�ำลังสอง
กราฟของฟังก์ชันก�ำลังสอง y = ax 2 + bx + c เมื่อ a ≠ 0 (ม.3) และ = 2a(x
y − yky−== ka(x
ax bx
−+h) +− ck2 =(ม.4)
−y2 h) a(xเป็ 2
− นh)กราฟพาราโบลา
แบ่งเป็น 2 ชนิด คือ
1. a < 0 จะเป็นกราฟพาราโบลาคว�่ำ ให้ค่าสูงสุด

2. a > 0 จะเป็นกราฟพาราโบลาหงาย ให้ค่าต�่ำสุด

สมบัติของพาราโบลา
y

50 ติวเข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya


b 4ac − b2
1. จุดยอด (vertex) หรือ จุดวกกลับ (turning point) หาได้จาก V = (− , )
2a 4a
b 4ac − b2
2. สมการแกนสมมาตรของกราฟ คือ x = − และ ค่าสูงสุดหรือต�่ำสุดของฟังก์ชัน คือ y =
2a 4a
2
3. เมื่อ y = ax + bx + c จะได้ x = K เป็นแกนสมมาตร แล้ว f (k + Δ) = f (k − Δ) กล่าวคือ ค่าของฟังก์ชันที่อยู่ห่าง
จากแกนสมมาตรเท่ากัน จะมีค่าเท่ากัน
4. จุดตัดแกน x หาได้จาก ให้ y = 0 และ จุดตัดแกน y ให้ x = 0

7. ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล
คือ ฟังก์ชันที่อยู่ในรูป
กรณีที่ 1 ถ้า 0 < a < 1 แล้ว f( x ) จะเป็นฟังก์ชันลด

กรณีที่ 2 ถ้า a > 1 แล้ว f ( x ) จะเป็นฟังก์ชันเพิ่ม

y y
y = ax ; 0 < a < 1 y = ax ; a > 1
ฟังก์ชั่นลด ฟังก์ชั่นเพิ่ม
(0, 1) (0, 1)
x x
0 0

การหาค่าของรากที่สองของ x 2 และ

จาก


ก็ต่อเมื่อ

ติวเข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya 51


8. ฟังก์ชันค่าสัมบูรณ์
คือ ฟังก์ชันที่อยู่ในรูป y = x − h + k เมื่อ a, c เป็นจ�ำนวนจริง โดยมี (h, k) เป็นจุดยอด

กรณีที่ 1. a > 0 จะได้กราฟหงาย


กรณีที่ 2. a < 0 จะได้กราฟคว�่ำ
y y

x x

แบบฝึกหัดที่ 3 ก�ำหนดให้ f (x) = x 2 − 2x −15 ข้อใดต่อไปนี้ผิด

1. f (x) ≥ −17 ทุกจ�ำนวนจริง x ………………………………………………………………………………………………

2. f (−3− 2 − 3) > 0 ………………………………………………………………………………………………………

3. f (1+ 3 + 5) = f (1− 3 − 5) ………………………………………………………………………………………

4. f (−1+ 3 + 5) > f (−1− 3 − 5) …………………………………………………………………………………

แบบฝึกหัดที่ 4 ถ้า f (x) = −x 2 + x + 2 แล้วข้อใดสรุปถูกต้อง

1. f (x) ≥ 0 เมื่อ −1 ≤ x ≤ 2
2. จุดวกกลับของกราฟของฟังก์ชัน f อยู่ในจตุภาคที่ 2
3. ฟังก์ชัน f มีค่าสูงสุดเท่ากับ 2
4. ฟังก์ชัน f มีค่าต�่ำสุดเท่ากับ 2

แบบฝึกหัดที่ 5 ก�ำหนดให้ a และ b เป็นจ�ำนวนจริงบวก


ถ้ากราฟของฟังก์ชัน y1 = 1 + a x และ y2 = 1 + b x มีลักษณะดังแสดงภาพต่อไปนี้แล้ว

y2 = 1 + b x y1 = 1 + a x

52 ติวเข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya


ข้อใดต่อไปนี้เป็นจริง
1. 1 < a < b 2. a < 1 < b
3. b < 1 < a 4. b < a < 1

แบบฝึกหัดที่ 6 ฟังก์ชัน f (x) ในข้อใดมีกราฟดังรูปต่อไปนี้


y
1. f (x) = 1− x
2. f (x) = 1+ x
x 3. f (x) = 1− x
4. f (x) = 1+ x

เฉลยแบบฝึกหัด
แบบฝึกหัดที่ 1 ก�ำหนดให้ A = {1, 2, 3}, B = {2, 3}, C = {1, 3, 5, 7} และ D = {{2}, 7} จงหา
1. A X B = {(1, 2), (1,3), (2, 2), (2,3), (3, 2), (3,3)}
2. B X C = {(2,1), (2,3), (2,5), (2, 7), (3,1), (3,3), (3,5), (3, 7)}
3. C X B = {(1, 2), (1,3), (3, 2), (3,3), (5, 2), (5,3), (7, 2), (7,3)}
4. D X D = {({2},{2}), ({2}, 7), (7,{2}), (7, 7)}
5. C × (A∩ B) = {(1, 2), (1,3), (3, 2), (3,3), (5, 2), (5,3), (7, 2), (7,3)}
(A∩ B) คือเอาตัวที่ซ�้ำกันจากเซต A และ เซต B จะได้ {2, 3}
6. (A∩ B) × (C ∩ D) = { 2 , 3 } X { 7 } = {(2, 7), (3, 7)}
(A∩ B) คือเอาตัวที่ซ�้ำกันจากเซต A และ เซต B จะได้ { 2 , 3 }
(C ∩ D) คือเอาตัวที่ซ�้ำกันจากเซต C และ เซต D จะได้ { 7 }
7. P(D) × (A∪ B)
P ( D) คือเซตของสับเซต คือ { {{2},7 }, {{2}}, { 7 }, }
(A∪ B) คือเอาเซต A รวมกับ เซต B จะได้ {1, 2,3}
จะได้ { {{2},7 }, {{2}},{ 7 }, } X {1, 2,3} = {({{2}, 7}, 1), ({{2}, 7}, 2), ({{2}, 7}, 3), ({{2}}, 1), ({{2}}, 2), ({{2}}, 3), ({7}, 1),
({7}, 2), ({7}, 3), ( , 1), ( , 2), ( , 3)}
8. (C − A) × P(B)
(C − A) คืออยู่ในเซต C ห้ามอยู่ใน เซต A จะได้ {5,7}
P( B) คือเซตของสับเซต คือ { {2},{3},{2,3}, }
= จะได้ {5,7} X { {2},{3},{2,3}, }
= {(5,{2}),(5,{3}),(5,{2,3}),(5, ),(7,{2}),(7,{3}),(7,{2,3}),(7, )}
9. {(x, y) ∈ A× B x + y เป็นเลขคู่}
A คือ {1, 2, 3} และ B คือ {2, 3} จะได้ A x B = {(1, 2), (1,3), (2, 2), (2,3), (3, 2), (3,3)}
X +Y เป็นเลขคู่ จะได้ {(1,3), (2, 2), (3,3)}

ติวเข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya 53


10. {(x, y) ∈ A × B x + y ≥ 7}
A คือ {1,2,3} และ B คือ {2,3}, A x B = {(1, 2), (1,3), (2, 2), (2,3), (3, 2), (3,3)}
X + Y 7 จะได้

แบบฝึกหัดที่ 2 บริษัทแห่งหนึ่งจ่ายค่าจ้างให้พนักงานโดยคิดจากการขาย ซึ่งเป็นร้อยละจากยอดขายที่พนักงานแต่ละคนขายได้


ปรากฏว่าเดือนที่แล้ว นายเอได้รับเงินจากบริษัท 31,000 บาท โดยเขามียอดขาย 300,000 บาท และนายบีได้รับเงินจากบริษัท 32,500
บาท โดยเขามียอดขาย 350,000 บาท จงเขียนฟังก์ชันแทนรายได้ที่พนักงานได้รับในแต่ละเดือนในรูปแบบสมการ และจงหาว่านายซี
จะได้รับเงินจากบริษัทเท่าไรเมื่อท�ำยอดขายได้ 400,000 บาท
วิธีท�ำ y แทนรายได้พนักงาน (บาท)
X แทนยอดขาย (บาท)
จะได้สมการเชิงเส้นคือ y = ax + b
นายเอ ได้รับเงินจากบริษัท 31,000 บาท โดยเขามียอดขาย 300,000 บาท
จะได้ สมการคือ 31,000 = 300,000a + b → 1 สมการที่ 1
นายบี ได้รับเงินจากบริษัท 32,500 บาท โดยเขามียอดขาย 350,000 บาท
จะได้สมการคือ 32,500 = 350,000a + b → 2 สมการที่ 2
2 − 1 ; 32,500 − 31,000 = (350,000a + b) − (300,000a + b)
1,500
1,500
= 500,
= 500,
000a
000a
50,000

a = 1,500
50,000
3
a=
100
a = 0.03

3
แทน a =
ในสมการที่ 1
100
3
จะได้ = 31, 000 300, 000( )+b
100
31,= 000 9, 000 + b

b = 22, 000

นายซี ท�ำยอดขายได้ 400,000 บาท


3
นจากบริษัท yx 400, 000(
เขาจะได้รับเงิ= ) + 22, 000
100
yx = 34, 000
ตอบ นายซีจะได้รับเงินจากบริษัท 34,000 บาท เมื่อเขาท�ำยอดขายได้ 400,000 บาท

54 ติวเข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya


แบบฝึกหัดที่ 3 ก�ำหนดให้ f (x) = x 2 − 2x −15 ข้อใดต่อไปนี้ผิด
1. f (x) ≥ −17 ทุกจ�ำนวนจริง x
2. f (−3− 2 − 3) > 0
3. f (1+ 3 + 5) = f (1− 3 − 5)
4. f (−1+ 3 + 5) > f (−1− 3 − 5)

วิธีท�ำ จากโจทย์ f (x) = x 2 − 2x −15 จะได้กราฟพาราโบลาหงาย ( a > 0 )


b 4ac − b2
หาจุดยอดได้โดย V = (− , )
2a 4a
−2 4(1)(−15) − (−2) 2
จะได้จุดยอดคือ (− , ) = (1,−16)
2(1) 4(1)
วาดกราฟได้ดังนี้
y

(1,-16)
หาจุดตัดแกน x ให้ y = 0 จะได้จุดตัดแกน x คือ (-3, 0) และ (5, 0) พิจารณาตัวเลือก
1. f (x) ≥ −17 ทุกจ�ำนวนจริง x → ค่าต�่ำสุดของฟังก์ชันคือ ค่าของ f ( x ) และค่าต�่ำสุดของกราฟนี้ คือ -16 ดังนั้นจะได้
ว่า f (x) ≥ −17 เป็นจริงส�ำหรับทุกจ�ำนวนจริง
ตอบ ถูก

2. f (−3− 2 − 3) > 0 → จากกราฟจะเห็นว่า f ( -3 ) จะได้ค่า y = 0 และ เมื่อ x < 3 จะเห็นว่ากราฟจะอยู่เหนือแกน


x นั้นคือ y > 0 และเนื่องจาก −3− 2 − 3 < −3 ดังนั้น f (−3− 2 − 3) > 0
ตอบ ถูก

3. f (1+ 3 + 5) = f (1− 3 − 5) → f (1+ 3 + 5) และ f (1− 3 − 5) อยูห่ า่ งจากแกนสมมาตร เป็นระยะ


3 + 5 เท่าๆ กัน ดังนั้นค่าฟังก์ชันของทั้งสองจุดมีค่าเท่าๆ กัน ด้วยสมบัติความสมมาตรของพาราโบลา
ตอบ ถูก

4. f (−1+ 3 + 5) > f (−1− 3 − 5) → เนื่องจาก f (– 1) อยู่ทางซ้ายของแกนสมมาตร และเมื่อเทียบแล้ว


f (−1+ 3 + 5) จะอยู่สูงกว่า f (−1− 3 − 5)
ตอบ ผิด

ติวเข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya 55


แบบฝึกหัดที่ 4 ถ้า f (x) = −x 2 + x + 2 แล้วข้อใดสรุปถูกต้อง
1. f (x) ≥ 0 เมื่อ −1 ≤ x ≤ 2
2. จุดวกกลับของกราฟของฟังก์ชัน f อยู่ในจตุภาคที่ 2
3. ฟังก์ชัน f มีค่าสูงสุดเท่ากับ 2
4. ฟังก์ชัน f มีค่าต�่ำสุดเท่ากับ 2
วิธีท�ำ จากโจทย์ f (x) = −x 2 + x + 2 จะได้กราฟพาราโบลาคว�่ำ ( a < 0 )
b 4ac − b2
หาจุดยอดได้โดย V = (− , )
2a 4a
1 4(−1)(2) − (1) 2 1 9
จะได้จุดยอดคือ (− , )=( , )
2(−1) 4(−1) 2 4
หาจุดตัดแกน x ให้ y = 0 จะได้จุดตัดแกน x คือ (-1, 0) และ (2, 0)
พิจารณาตัวเลือก
1. f (x) ≥ 0 เมื่อ −1 ≤ x ≤ 2 → จากกราฟจะเห็นว่า y > 0 บนช่วง -1 < x < 2 แสดงว่า f (x) ≥ 0
เมื่อ −1 ≤ x ≤ 2 จริง
ตอบ ถูก
1 9
2. จุดวกกลับของกราฟของฟังก์ชัน f อยู่ในจตุภาคที่ 2 → จุดวกกลับหรือจุดยอด คือ ( , ) ซึ่งอยู่จตุภาคที่ 1
2 4
ตอบ ผิด
9
3. ฟังก์ชัน f มีค่าสูงสุดเท่ากับ 2 → ค่าสูงสุดของ f คือ
4
ตอบ ผิด
4. ฟังก์ชัน f มีค่าต�่ำสุดเท่ากับ 2 → พาราโบลาคว�่ำหาค่าต�่ำสุดไม่ได้
ตอบ ผิด

แบบฝึกหัดที่ 5 ก�ำหนดให้ a และ b เป็นจ�ำนวนจริงบวก


ถ้ากราฟของฟังก์ชัน y1 = 1 + a x และ y2 = 1 + b x มีลักษณะดังแสดงภาพต่อไปนี้แล้ว

y2 = 1 + b x y1 = 1 + a x

56 ติวเข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya


ข้อใดต่อไปนี้เป็นจริง
1. 1 < a < b 2. a < 1 < b
3. b < 1 < a 4. b < a < 1

วิธีท�ำ จากกราฟจะเห็นว่า y1 = 1 + a x เป็นฟังก์ชันเพิ่ม ฉะนั้น a > 1
และจะเห็นว่า y2 = 1 + b x เป็นฟังก์ชันลด ฉะนั้น 0 < b < 1
จะได้ว่า a > 1 และ b < 1 นั้นคือ b < 1 < a
ตอบ 3

แบบฝึกหัดที่ 6 ฟังก์ชัน f (x) ในข้อใดมีกราฟดังรูปต่อไปนี้

y
1. f (x) = 1− x
2. f (x) = 1+ x

x 3. f (x) = 1− x
4. f (x) = 1+ x

ฟังก์ชันค่าสัมบูรณ์คือ คือ ฟังก์ชันที่อยู่ในรูป y = x − h + k เมื่อ a, c เป็นจ�ำนวนจริง โดยมี (h, k) เป็นจุดยอด

จะได้ (h, k) = (0, 1) ดังนั้นสมการของกราฟคือ f (x) = x − 0 +1 = x +1


ตอบ 2

ติวเข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya 57


น้องๆ สามารถศึกษาเพิ่มเติมได้ที่
Tag : สอนศาสตร์, คณิตศาสตร์, ฟังก์ชัน, ความสัมพันธ์, ลอการิทึม, ภาคตัดกรวย, สูตรเตรียมสอบ

• สอนศาสตร์ : ม.ปลาย : คณิตศาสตร์ > 04 :


ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน 1
http://www.trueplookpanya.com/book/m6/
onet-math/ch5-1
• สอนศาสตร์ : ม.ปลาย : คณิตศาสตร์ > 05 :
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน 2
http://www.trueplookpanya.com/book/m6/
onet-math/ch5-2
• สอนศาสตร์ : ม.ปลาย : คณิตศาสตร์ > 06 :
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน 3
http://www.trueplookpanya.com/book/m6/
onet-math/ch5-3
• สอนศาสตร์ : ม.ปลาย : คณิตศาสตร์ > 07 :
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน 4
http://www.trueplookpanya.com/book/m6/
onet-math/ch5-4
• สอนศาสตร์ คณิตศาสตร์ ม.6 : ภาคตัดกรวยและ
ฟังก์ชัน
http://www.trueplookpanya.com/book/m6/
onet-math/ch5-5
• สรุปสูตรคณิตศาสตร์สำ�หรับเตรียมสอบ -
เรื่อง ฟังก์ชันเอกซ์ โพเนนเชียลและลอการิทึม
http://www.trueplookpanya.com/book/m6/
onet-math/ch5-6
• สรุปสูตรคณิตศาสตร์สำ�หรับเตรียมสอบ -
เรื่อง ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
http://www.trueplookpanya.com/book/m6/
onet-math/ch5-7

58 ติวเข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya


บทที่6
อัตราส่วนตรีโกณมิติ

ส�ำหรับเรื่องอัตราส่วนตรีโกณมิตินั้นถือเป็นเรื่องที่ไม่ได้ยากอะไรมาก สิ่งที่ส�ำคัญที่สุดคือน้องๆ ต้องท่องมุม sin cos tan ให้


ได้ และมุมหลักๆ ที่เราจะเจอ คือ มุม และโจทย์ในหัวข้อนี้จะน�ำไปประยุกต์ออกกับรูปเรขาคณิตต่างๆ ทุกครั้ง สิ่งที่ส�ำคัญในการท�ำ
โจทย์คือการวาดรูป เพื่อท�ำให้น้องๆ มองโจทย์ง่ายขึ้น

1. อัตราส่วนตรีโกณมิติ
อัตราส่วนตรีโกณมิติของรูปภายในเป็นรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก หมายถึง ความสัมพันธ์ระหว่างด้านและมุมภายในของรูป
สามเหลี่ยมมุมฉาก

พิจารณาสามเหลี่ยม ABC

c
a

C b A

จากรูป ABC เป็นรูปสามเหลี่ยมที่มีมุม C เป็นมุมฉากและด้านตรงข้ามมุม A, B และ C ยาว a, b และ c ตามล�ำดับ โดยยึด


มุม B เป็นมุมหลักจะได้
a เป็นความยาวของด้านตรงข้ามมุม A หรือเรียกว่า “ข้าม”
b เป็นความยาวด้านประชิดมุม A หรือเรียกว่า “ชิด”
c เป็นความยาวด้านตรงข้ามมุมฉาก หรือเรียกว่า “ฉาก”

ติวเข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya 59


อัตราส่วนของความยาวด้านต่างๆ มีดังนี้

sin A = cos A = tan A =

cosec A = sec A = cot A =

ข้อสังเกต!!!!!!!!!
sin A และ cot A = cos A
1. tan A = cos A sin A
2. (sin A)(cosec A) = 1, (cos A)(sec A) = 1, (tan A)(cot A) = 1
3.
4.
5.

Ex1. จงเติมอัตราส่วนฟังก์ชันตรีโกณต่อไปนี้

Z p X
sec Y = ………………………
cot X = ………………………
r cos X tan Y = ………………………
q tan Y + cot X = ………………………
sin2Y + cos2Y = ………………………
sin2X + cos2Y = ………………………
Y

การยุบมุมที่ติดลบ
เพิ่มเติม
sin (- ) = -sin มุมก้ม เป็นมุมทีเ่ กิดจากแนวเส้นระดับสายตา
และแนวเส้นจากตาไปยังวัตถุ โดยวัตถุจะอยูใ่ ต้แนวเส้น
cos (- ) = cos ระดับสายตา
tan (- ) = -tan มุมเงย เป็นมุมทีเ่ กิดจากแนวเส้นระดับสายตา
และแนวเส้นจากตาไปยังวัตถุ โดยวัตถุจะอยู่สูงกว่า
แนวเส้นระดับสายตา

60 ติวเข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya


ทบทวนทฤษฏีบทพีธาโกรัส
B
ให้ ABC เป็นสามเหลี่ยมมุมฉาก และ A,B,C
เป็นความยาวด้านแต่ละด้านดังรูป
c
a 2
c= a 2 + b2

C A
b

“ด้านตรงข้ามมุมฉาก = ผลบวกก�ำลังสองของด้านประกอบมุมฉาก”

Co-Function
!+B ! = 90°
จากรูปสามเหลี่ยมมุมฉากด้านบนจะได้ว่า A จะได้
1. sin A = cos B จะได้ว่า sin A = cos (90°- A)
กล่าวคือ sin เป็น co-function กับ cos (cosine)
2. tan A = cot B จะได้ว่า tan A = cot (90°- A)
กล่าวคือ tan เป็น co-function กับ cot (cotangent)
3. sec A = cosec B จะได้ว่า sec A = cosec (90°- A)
กล่าวคือ sec เป็น co-function กับ cosec (cosecant)
เช่น sin 43° = cos 47° เพราะ 43° + 47° = 90°
cot 63° = tan 27° เพราะ 63° + 27° = 90°
cosec 19° = sec 71° เพราะ 19° + 71° = 90°

อัตราส่วนตรีโกณมิติที่ควรทราบ
(0,1) 90°

(-1,0) 180° (1,0) 0° cos = X


sin = Y

(0,-1) 270°

ติวเข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya 61


30° 45°

60° 45°

หมายเหตุ
ข้อสอบ O-net มักจะน�ำตรีโกณไปออกในรูปสามเหลี่ยม สี่เหลี่ยมและวงกลม

อัตราส่วนตรีโกณ 0 30 45 60 90

1 1 3
sin 0 2 2 2 1
3 1 1
cos 1 2 2 2 0
1
tan 0 3
1 3 -

Ex2. สามเหลี่ยมหน้าจั่วมุมฉาก ABC มีพื้นที่เท่ากับ 27 ตารางนิ้ว ด้านที่ยาวที่สุดของสามเหลี่ยม ABC ยาวเท่ากับเท่าไร


1. 3 2. 6 3. 3 6 4. 6 3

Ex3. สามเหลี่ยม ABC เป็นสามเหลี่ยมที่มีมุม C เป็นมุมฉาก มุม B ท�ำมุม 30° และมีพื้นที่ 24 3 ตารางนิ้ว
อยากทราบว่า BC ยาวเท่ากับข้อใด
1. 12 นิ้ว 2. 14 นิ้ว 3. 16 นิ้ว 4. 18 นิ้ว

Ex 4. นายเออยู่บนเรือล�ำหนึ่งมองเห็นยอดตึกที่สูง 25 เมตร เป็นมุมเงย 40๐ แสดงว่าเรือล�ำนี้อยู่ห่างจากตึกเป็นระยะทางประมาณ


เท่าใด
1. 14.43 เมตร θ sin θ cos θ tan θ
2. 20.98 เมตร
40 0.6428 0.7660 0.8391
3. 29.79 เมตร
4. 32.64 เมตร 50 0.7660 0.6428 1.1918
5. 38.89 เมตร 60 0.8660 0.5000 1.7321

62 ติวเข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya


Ex 5. รูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าสองรูป มีขนาดเท่ากัน โดยมีเส้นทแยงมุมยาวเป็นสองเท่าของด้านกว้าง ถ้าน�ำรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้ามาวาง
ต่อกันดังรูปจุด A และจุด B อยู่ห่างกันเป็นกี่เท่าของด้านกว้าง

1. 1.5 2. 3 3. 2 4. 2 2

Ex 6. ก�ำหนดให้ ABCD เป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าซึ่งมีพื้นที่เท่ากับ 12 ตารางนิ้ว และ tan AB! D = 1 ถ้ า AE ตั้ ง ฉากกั บ BD ที่ จุ ด
3
E แล้ว AE ยาวเท่ากับข้อใด

1. 10 นิ้ว 2. 2 10 นิ้ว 3. 10 นิ้ว 4. 3 10 นิ้ว


3 5 2 5

Ex 7. นาย ก และนาย ข ยืนอยู่บนพื้นราบซึ่งห่างจากก�ำแพงเป็นระยะ 10 เมตร และ 40 เมตร ตามล�ำดับ ถ้านาย ก มองหลอดไฟ


บนก�ำแพงด้วยมุมเงย องศา ในขณะที่นาย ข มองหลอดไฟดวงเดียวกันด้วยมุมเงย 90ํ – องศา ถ้าไม่คิดความสูงของ
นาย ก และ นาย ข แล้วหลอดไฟอยู่ห่างจากพื้นกี่เมตร

1. 10 เมตร 2. 10 2 เมตร 3. 10 3 เมตร 4. 20 เมตร

Ex 8. วงกลมหนึ่งมีรัศมี 6 หน่วย และ A,B,C เป็นจุดบนเส้นรอบวง ถ้า AC เป็นเส้นผ่านศูนย์กลางของวงกลม และ !C = 60!


AB

แล้วพื้นที่รูปสามเหลี่ยม ABC เท่ากับข้อใดต่อไปนี้

1. 15 3 ตารางหน่วย 2. 156 3 ตารางหน่วย

3. 17 3 ตารางหน่วย 4. 18 3 ตารางหน่วย

ติวเข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya 63


เฉลยแบบฝึกหัด

EX1. จงเติมอัตราส่วนฟังก์ชันตรีโกณต่อไปนี้

Z p sec Y =
X
cot X =

cos X tan Y =
r
q tan Y + cot X = 2p
r
sin2Y + cos2Y = 1

Y sin2X + cos2Y =

โจทย์ปัญหา
Ex2. สามเหลี่ยมหน้าจั่วมุมฉาก ABC มีพื้นที่เท่ากับ 27 ตารางนิ้ว ด้านที่ยาวที่สุดของสามเหลี่ยม ABC ยาวเท่ากับเท่าไร
1. 3 2. 6 3. 3 6 4. 6 3

ให้ ด้านประกอบมุมฉาก ยาว X


จากพื้นที่ 1
ixix = 27
X
2
x 2
= 27 × 2

x 2
= 54
X

จากทฤษฎีบทปีทาโกรัส ผลรวมก�ำลังสองของด้านที่สั้นที่สุดบวกกันจะได้ด้านที่ยาวที่สุดก�ำลังสอง
x 2
+ x2 =
c2

54 + 54 =
c 2

c = 6 3

ตอบ 4

Ex3. สามเหลี่ยม ABC เป็นสามเหลี่ยมที่มีมุม C เป็นมุมฉาก มุม B ท�ำมุม 30° และมีพื้นที่ 24 3 ตารางนิ้ว
อยากทราบว่า BC ยาวเท่ากับข้อใด
1. 12 นิ้ว 2. 14 นิ้ว 3. 16 นิ้ว 4. 18 นิ้ว

64 ติวเข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya


1
วิธีท�ำ tan 30 =
3 A
AC
AC x x x
ACBC
= ==
BC BC 3 x 33xx
1
พื้นที่ = × ฐาน × สูง
2
AC AC x x
11 3 x = =
24
24BC33=BC
= i3ix 3xi1x
3xi1x
22

x 2
= 48 30ํ
x = 4 3
C B
AC AC x x
= =
จะได้ BCBCยาว
BC
= 3 x 3 3x x 3(4 3) 12
=

ตอบ 1

Ex 4. นายเออยู่บนเรือล�ำหนึ่งมองเห็นยอดตึกที่สูง 25 เมตร เป็นมุมเงย 40๐ แสดงว่าเรือล�ำนี้อยู่ห่างจากตึกเป็นระยะทางประมาณ


เท่าใด
1. 14.43 เมตร θ sin θ cos θ tan
2. 20.98 เมตร 0.6428 0.7660 0.8391
40
3. 29.79 เมตร
50 0.7660 0.6428 1.1918
4. 32.64 เมตร
5. 38.89 เมตร 60 0.8660 0.5000 1.7321

วิธีท�ำ ให้ระยะห่างระหว่างเรือกับตึก เป็น x


25
tan 40 
=
x
25 25
0.8391 =
x
x = 29.79 40ํ

ตอบ 3 ตึก x เรือ

Ex 5. รูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าสองรูป มีขนาดเท่ากัน โดยมีเส้นทแยงมุมยาวเป็นสองเท่าของด้านกว้าง ถ้าน�ำรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้ามาวาง


ต่อกันดังรูปจุด A และจุด B อยู่ห่างกันเป็นกี่เท่าของด้านกว้าง
A
B

1. 1.5 2. 3 3. 2 4. 2 2

ติวเข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya 65


วิธีท�ำ A
C = 8x

C
ให้ด้านกว้างของ สี่เหลี่ยมผืนผ้ายาว x เมตร
จะเห็นว่า สามเหลี่ยมที่ได้ มีด้านสองด้านยาวเท่ากันแสดงว่าสามเหลี่ยมรูปนี้ มี Aˆ= Bˆ= 45 

จากทฤษฎีบทปีทาโกรัส ผลรวมก�ำลังสองของด้านที่สั้นที่สุดบวกกันจะได้ด้านที่ยาวที่สุดก�ำลังสอง
(2 x) + (2 x) = C 2 2 2

C = 8x 2 2

CC==(2 88x2x) x
CCC==(=22222x2x) x
เนื่องจาก ด้านกว้างยาว x ดังนั้นจุด A และจุด B อยู่ห่างเป็นระยะ 2 2 เท่าของด้านกว้าง
ตอบ 4

Ex 6. ก�ำหนดให้ ABCD เป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าซึ่งมีพื้นที่เท่ากับ 12 ตารางนิ้ว และ tan AB! D = 1 ถ้ า AE ตั้ ง ฉากกั บ BD ที่ จุ ด
3
E แล้ว AE ยาวเท่ากับข้อใด

1. 10 นิ้ว 2. 2 10 นิ้ว 3. 10 นิ้ว 4. 3 10 นิ้ว


3 5 2 5

วิธีท�ำ
A 3x B

x
E
D C

จาก !D = 1
tan AB สมมติให้ AD และ AB ยาว X และ 3X ตามล�ำดับ
3
พื้นที่ = กว้าง x ยาว
12 = X (3X)
X = 2

66 ติวเข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya


h
y

จากทฤษฎีบทปีทาโกรัส จะท�ำให้ได้ด้าน BD = 6 + 2 = 2 10 2 2

เนื่องจากสามเหลี่ยม ABD มีพื้นที่เป็นครึ่งหนึ่งของสี่เหลี่ยม ABCD


จะได้ว่า พื้นที่สามเหลี่ยม ABD = 1 × BD × AE
2

1
6 = × 2 10 × AE
2

6
AE =
10 6 6
AE = AE =
( ) ( )
6 610
AE== AE = AE
10 10
AE
AE==
66
== 6101010
10

3 10
AE =
5

ตอบ 4

Ex 7. นาย ก และนาย ข ยืนอยู่บนพื้นราบซึ่งห่างจากก�ำแพงเป็นระยะ 10 เมตร และ 40 เมตร ตามล�ำดับ ถ้านาย ก มองหลอดไฟ


บนก�ำแพงด้วยมุมเงย องศา ในขณะที่นาย ข มองหลอดไฟดวงเดียวกันด้วยมุมเงย 90ํ – องศา ถ้าไม่คิดความสูงของ
นาย ก และ นาย ข แล้วหลอดไฟอยู่ห่างจากพื้นกี่เมตร

1. 10 เมตร 2. 10 2 เมตร 3. 10 3 เมตร 4. 20 เมตร


วิธีท�ำ

สมการที่ 1
สมการที่ 2
h
y น�ำสมการที่ 2 ÷ 1 จะได้ ;

90ํ -
ก ข
10
40
คือ




ตอบ 4
Ex 8. วงกลมหนึ่งมีรัศมี 6 หน่วย และ A,B,C เป็นจุดบนเส้นรอบวง ถ้า AC เป็นเส้นผ่านศูนย์กลางของวงกลม และ !C = 60!
AB

แล้วพื้นที่รูปสามเหลี่ยม ABC เท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. 15 3 ตารางหน่วย 2. 15 3 ตารางหน่วย
3. 17 3 ตารางหน่วย 4. 18 3 ตารางหน่วย

ติวเข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya 67


วิธีท�ำ
B จากทฤษฎีวงกลมมุมในครึ่งวงกลมเป็นมุมฉาก จะได้ มุม Bˆ = 90

90ํ BC AB
จากรูป จะได้ว่า cos 60 
=
12
และ sin 60 =
12
60ํ จะได้ พื้นที่สามเหลี่ยม ABC = 1
(12 cos 60 )(12sin 60 )
A 2
C
= 18 3 ตารางหน่วย
ตอบ 4

น้องๆ สามารถศึกษาเพิ่มเติมได้ที่
Tag : สอนศาสตร์, คณิตศาสตร์, อัตราส่วนตรีโกณมิติ

• สอนศาสตร์ คณิตศาสตร์ ม.6 : ฟังก์ชันตรีโกณมิติ


http://www.trueplookpanya.com/book/m6/
onet-math/ch6-1
• อัตราส่วนตรีโกณมิติ ตอนที่ 1
http://www.trueplookpanya.com/book/m6/
onet-math/ch6-2
• อัตราส่วนตรีโกณมิติ ตอนที่ 2
http://www.trueplookpanya.com/book/m6/
onet-math/ch6-3
• อัตราส่วนตรีโกณมิติ ตอนที่ 3
http://www.trueplookpanya.com/book/m6/
onet-math/ch6-4
• อัตราส่วนตรีโกณมิติ ตอนที่ 4
http://www.trueplookpanya.com/book/m6/
onet-math/ch6-5
• สรุปสูตรคณิตศาสตร์สำ�หรับเตรียมสอบ -
เรื่อง ฟังก์ชั่นตรีโกณมิติ
http://www.trueplookpanya.com/book/m6/
onet-math/ch6-6

68 ติวเข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya


บทที่7
ล�ำดับและอนุกรม

เรือ่ งของล�ำดับและอนุกรม ความยากอยูใ่ นระดับปานกลาง เรือ่ งนีจ้ ดั เป็นหนึง่ ในเรือ่ งทีใ่ ช้ทกั ษะในการค�ำนวณและสูตรต่างๆ
ในหัวข้อนี้ถือเป็นสิ่งส�ำคัญในการสร้างสมการจากโจทย์ต่างๆ อย่างไรก็ตามน้องๆ ต้องอ่านโจทย์และท�ำความเข้าใจว่าโจทย์ให้อะไร
มา และต้องการหาอะไร ที่ส�ำคัญที่สุด คือ ความรอบคอบในการแก้ระบบสมการ

ล�ำดับ (Sequence)
บทนิยาม : ฟังก์ชันที่มีโดเมนเป็นสับเซตของจ�ำนวนเต็มบวก และมีเรนจ์เป็นสับเซตของจ�ำนวนจริง
ถ้า f เป็นฟังก์ชันล�ำดับจ�ำกัดที่มีโดเมนเท่ากับ {1, 2, 3, …, n} แล้ว สมาชิกของ f จะได้ f(1), f(2), f(3), … , f(n) หรือ a1, a2,
a3, … , anเรียกว่า ล�ำดับจ�ำกัด
ถ้า f เป็นฟังก์ชันล�ำดับอนันต์ ที่มีโดเมนเท่ากับ {1, 2, 3, …, n, …} แล้ว สมาชิกของ f จะได้ f(1), f(2), f(3), … , f(n), … หรือ
a1, a2, a3, … , an, … เรียกว่า ล�ำดับอนันต์

ล�ำดับเลขคณิต (Arithmetic Sequence)


บทนิยาม : ล�ำดับเลขคณิต คือ ล�ำดับที่มีผลต่างของพจน์สองพจน์ที่อยู่ติดกัน มีผลต่างที่เท่ากันเสมอ เรียกว่า ผลต่างร่วม (common
different)
เมื่อ a1, a2, a3, … , an, an+1, … เป็นล�ำดับเลขคณิต แล้วผลต่างร่วม(d) โดย d = an+1 – an ทุกจ�ำนวนเต็มบวกที่ n = 1, 2, 3,
… พจน์ที่ n ของล�ำดับเลขคณิต คือ a = a + (n-1)d
n 1

แบบฝึกหัดที่ 1
1. ถ้าพจน์แรกมีค่าเท่ากับ 8 และพจน์ที่ 3 เท่ากับ 16 จงหาพจน์ที่ 15 ของล�ำดับเลขคณิต

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ติวเข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya 69


2. ผลต่างร่วมของล�ำดับเลขคณิตจะมีค่าเท่าไร เมื่อ a25 – a15 = 20
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………

3. ถ้า k, 3k, 6k+2 เป็นสามพจน์ที่เรียงกันในล�ำดับเลขคณิต มีพจน์แรกเป็น -7k จงหาพจน์ที่ 50 มีค่าเท่าไร


…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ล�ำดับเรขาคณิต (Geometric Sequence)


บทนิยาม : ล�ำดับเรขาคณิต คือล�ำดับที่มีอัตราส่วนของพจน์สองพจน์ที่อยู่ติดกัน มีค่าเท่ากันเสมอ อัตราส่วนที่เท่ากันเสมอนี้เรียกว่า
อัตราส่วนร่วม (common ratio)
เมื่อ a1 , a1r , a1r2 , ... เป็นล�ำดับเรขาคณิต แล้วอัตราส่วนร่วม (r) โดย r = ทุกจ�ำนวนเต็มบวกที่ n = 1, 2, 3, … พจน์
ที่ n ของล�ำดับเลขคณิต คือ an = a1 rn-1

4. จงหาพจน์ที่ 8 ของล�ำดับ

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………

70 ติวเข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya


5. จงหาพจน์ทั่วไปของล�ำดับ -27 , 9 , - 3 , 1 , …
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………

6. ถ้า a-3, a และ a+2 เป็นสามพจน์แรกของล�ำดับเรขาคณิต ให้หาอัตราส่วนร่วมของล�ำดับนี้


…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………

การแก้โจทย์ล�ำดับบางครั้งต้องใช้สมมติล�ำดับเพื่อจะท�ำให้สามารถแก้โจทย์ปัญหาได้ง่ายและรวดเร็วยิ่งขึ้น
1. ล�ำดับเลขคณิต
ถ้าจ�ำนวนพจน์ที่เรียงกันเป็นจ�ำนวนคี่ รูปล�ำดับเลขคณิตที่สมมาตรจะได้ดังนี้
เมื่อมี 3 พจน์ : a – d , a , a + d
เมื่อมี 5 พจน์ : a – 2d , a – d , a , a + d , a + 2d
เมื่อมี 7 พจน์ : a – 3d , a – 2d , a – d , a , a + d , a + 2d, a + 3d
ถ้าจ�ำนวนพจน์ที่เรียงกันเป็นจ�ำนวนคู่ รูปล�ำดับเลขคณิตที่สมมาตรจะได้ดังนี้
เมื่อมี 4 พจน์ : a – 3d , a – d , a + d , a + 3d
เมื่อมี 6 พจน์ : a – 5d , a – 3d , a – d , a + d , a + 3d , a + 5d

2. ล�ำดับเรขาคณิต
ถ้าจ�ำนวนพจน์ที่เรียงกันเป็นจ�ำนวนคี่ รูปล�ำดับเรขาคณิตที่สมมาตรจะได้ดังนี้
เมื่อมี 3 พจน์ : , a , ar
เมื่อมี 5 พจน์ : , , a , ar , ar2
ถ้าจ�ำนวนพจน์ที่เรียงกันเป็นจ�ำนวนคู่ รูปล�ำดับเรขาคณิตที่สมมาตรจะได้ดังนี้
เมื่อมี 4 พจน์ : , , ar , ar3
เมื่อมี 6 พจน์ : , , , ar , ar3 , ar5

ติวเข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya 71


7. ล�ำดับเลขคณิตชุดหนึ่งมี 5 พจน์และผลบวกของทุกพจน์เท่ากับ 30 หาพจน์ที่ 3

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………

อนุกรม (Series)
อนุกรม คือ ผลรวมของล�ำดับ โดยจ�ำนวนในอนุกรมเรียกว่า พจน์ (เหมือนกับของล�ำดับ)
บทนิยาม : เมื่อ a1, a2, a3 , … , anเป็นล�ำดับจ�ำกัด ที่มี n พจน์ จะสามารถเขียนแสดงผลบวกของพจน์ทุกพจน์ของล�ำดับในรูป
a1 + a2 + a3 + … + anเรียกว่า “อนุกรมจ�ำกัด”
เมื่อ a1 , a2 , a3 , … , an , … เป็นล�ำดับอนันต์ จะสามารถเขียนแสดงผลบวกในรูป a1 + a2 + a3 + … + an + … เรียก
ว่า “อนุกรมอนันต์”

สัญลักษณ์แทนการบวก
ซิกมา ( sigma : ) คือ สัญลักษณ์แทนการบวก โดยมีรูปแบบการบวกด้วยซิกมาจะเป็นดังนี้


สมบัติของซิกมา
1. เมื่อ c เป็นค่าคงตัว
2.
3.
4.
สูตรผลบวกที่ส�ำคัญ
1.
2.
3.
n
เช่น = 3( )(n +1) − 2n
2
5
= = 3( )(5+1) − 2(5)
2
=
= 35

72 ติวเข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya


8. หาค่า k ซึ่งเป็นจ�ำนวนจริงใดๆ ที่ท�ำให้
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ผลบวกของ n พจน์แรกของอนุกรม
n
เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ Sn = a1 + a2 + a3 + … + an = a
i=1 i
บทนิยาม : ถ้าอนุกรมนั้นเป็นล�ำดับเลขคณิต เรียกว่า “อนุกรมเลขคณิต” และผลต่างร่วมของล�ำดับเลขคณิต เป็นผลต่างร่วมของ
อนุกรมเลขคณิตด้วย
ถ้าอนุกรมนั้นเป็นล�ำดับเรขาคณิต เรียกว่า “อนุกรมเรขาคณิต” และอัตราส่วนร่วมของล�ำดับเรขาคณิตจะเป็นอัตราส่วนร่วม
ของอนุกรมเรขาคณิตด้วย

อนุกรมเลขคณิต
ผลบวกของ n พจน์แรกของอนุกรมเลขคณิต สามารถหาได้จากสมการ

หรือ

n
** หมายเหตุ ในกรณีที่เรารู้ Sn ต้องการจะหา an ได้จากสมการนี้ an = Sn – Sn-1 เมื่อ n ≠ 1 และ Sn = a
i=1 i

9. จงหาผลบวกของอนุกรมเลขคณิต 1 + 5 + 9 + … + 117
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ติวเข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya 73


10. ผลบวกย่อย 18 พจน์แรก ของอนุกรม 2 + 6 + 10 +…
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………

11. ถ้าผลบวกและผลคูณของ 3 พจน์แรกของล�ำดับเลขคณิตที่มีผลต่างร่วม d มีค่าเป็น 15 และ 80 ตามล�ำดับ แล้ว d2



มีค่าเท่ากับเท่าไร
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………

12. หาค่าของ 1 + 3 + 5 + … +101


…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………

อนุกรมเรขาคณิต
ผลบวกของ n พจน์แรกของอนุกรมเรขาคณิต สามารถหาได้จากสมการ
หรือ เมื่อ r ≠ 1

หรือจะใช้สมการ หรือ เมื่อ r ≠ 1 ใช้ในกรณีที่ r < 1

74 ติวเข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya


13. อนุกรมเรขาคณิต 3 + 6 + 12 + … จะต้องบวกกันกี่พจน์จึงจะได้ผลบวกเป็น 765
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………

14. อนุกรมเรขาคณิตอนุกรมหนึง่ มีพจน์แรกเท่ากับ 3 และพจน์ที่ n เท่ากับ 96 และผลบวก n พจน์แรก เท่ากับ 189 จงหา
ผลบวกของ 10 พจน์แรกของอนุกรมนี้
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………

15. ถ้าผลบวกของ n พจน์แรกของอนุกรมหนึ่งคือ Sn= 3n2+2 แล้วพจน์ที่ 10 ของอนุกรมนี้มีค่าเท่ากับเท่าไร


…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
16. ป้าแจ่มขายน�้ำเต้าหู้ในวันที่ 3 มกราคม ในวันแรกขายได้ก�ำไร 100 บาท และในวันต่อๆ ไป ขายได้ก�ำไรเพิ่มขึ้นจากวัน
ก่อนหน้า วันละ 10 บาท ทุกวัน วันที่เท่าไรของเดือนมกราคมที่ป้าแจ่มขายได้ก�ำไรเฉพาะวันนั้น 340 บาท
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ติวเข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya 75


เฉลยแบบฝึกหัด

1. ถ้าพจน์แรกมีค่าเท่ากับ 8 และพจน์ที่ 3 เท่ากับ 16 จงหาพจน์ที่ 15 ของล�ำเลขคณิต


วิธีท�ำ เนื่องจาก a1 = 8 , a3 = 16 หา d = ? หา a15 = ?
จาก an = a1 + (n-1)d
a3 = a1 + 2d
16 = 8 + 2d
2d = 8
จะได้ d=4
จาก an = a1 + (n-1)d
a15 = 8 + 14(4)
a15 = 64

2. ผลต่างร่วมของล�ำดับเลขคณิตจะมีค่าเท่าไร เมื่อ a25 – a15 = 20


วิธีท�ำ เนื่องจาก a25 – a15 = 20 หา d = ?
จะได้ว่า ( a1 + 24d ) – ( a1 + 14d ) = 20
24d – 14d = 20
d = 2

3. ถ้า k, 3k, 6k+2 เป็นสามพจน์ที่เรียงกันในล�ำดับเลขคณิต มีพจน์แรกเป็น -7k จงหาพจน์ที่ 50 มีค่าเท่าไร


วิธีท�ำ จากโจทย์จะได้ว่า 3k-k = (6k+2)-3k
2k = 3k+2
k = -2
d = 3k – k
= 2k
= -4
โจทย์บอกพจน์แรกเป็น -7k a1 = 14
จากสมการ an = a1 + (n-1)d
a50 = a1 + 49d
= 14 + 49(-4) = -182

4. จงหาพจน์ที่ 8 ของล�ำดับ
วิธีท�ำ เนื่องจาก a1 = , r = =
จาก an = a1 rn-1
a8 =

76 ติวเข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya


=
a8 =

5. จงหาพจน์ทั่วไปของล�ำดับ -27, 9, - 3, 1, ...


วิธีท�ำ เนื่องจาก a1 = -27 , r = -
จาก an = a1 rn-1

an= ( -27)
an = ( 81 )

6. ถ้า a+3, a และ a-2 เป็นสามพจน์แรกของล�ำดับเรขาคณิต ให้หาอัตราส่วนร่วมของล�ำดับนี้


วิธีท�ำ จากโจทย์หาอัตราส่วนร่วม
a2 = (a–2)(a+3)
a2 = a 2 + a – 6
a–6=0
a=6
ล�ำดับเรขาคณิต คือ 9, 6, 4

7. ล�ำดับเลขคณิตชุดหนึ่งมี 5 พจน์และผลบวกของทุกพจน์เท่ากับ 30 จงหาพจน์ที่ 3


วิธีท�ำ เนื่องจาก 5 พจน์นี้ คือ a – 2d, a – d, a, a + d, a + 2d
จากโจทย์จะได้ว่า a – 2d + a – d + a + a + d + a + 2d = 30
5a = 30
a=6
10
8. หาค่า k ซึ่งเป็นจ�ำนวนจริงใดๆ ที่ท�ำให้ n = 1
10
วิธีท�ำ จาก
n=1



3,025k + 1155k + 55 = 4,235
4,180k = 4180
k = 1

ติวเข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya 77


9. จงหาผลบวกของอนุกรมเลขคณิต 1 + 5 + 9 + … + 117
วิธีท�ำ เนื่องจาก 1 + 5 + 9 + … + 117 เป็นอนุกรมเลขคณิต
จะได้ a1 = 1 d = 5 – 1 = 4 และ an = 117
ใช้สมการ an = a1 + (n-1)d
117 = 1 + (n-1) 4
117 – 1 = 4n – 4
4n = 116 + 4
4n = 120
n = 30
จะได้ว่า

S30 = 15 (2 + 116)
S30 = 15 (118) = 1770

10. ผลบวกย่อย 18 พจน์แรก ของอนุกรม 2 + 6 + 10 +…


วิธีท�ำ หา a18 ก่อน จากสมการ an = a1 + (n-1)d
a18 = 2 + (17)4 = 70
จากสมการ )
S18 =
S18 = 648

11. ถ้าผลบวกและผลคูณของ 3 พจน์แรกของล�ำดับเลขคณิตที่มีผลต่างร่วม d มีค่าเป็น 15 และ 80 ตามล�ำดับ แล้ว d2 มีค่าเท่ากับ


เท่าไร
วิธีท�ำ
เนื่องจาก ล�ำดับ 3 พจน์แรก คือ a , a + d , a + 2d ………… (1)
และ a + a + d + a + 2d = 15
3a + 3d = 15
จะได้ a + d = 5 แทนใน (1) ; ล�ำดับคือ 5 – d , 5 , 5 + d
ผลคูณของ 3 พจน์แรก = (5 - d)(5)(5 + d) = 80
25 – d2 = 16
d2 = 9

12. หาค่าของ 1 + 3 + 5 +…+101


วิธีท�ำ จากสมการ an = a1 + (n-1) d
จะได้ 101 = 1 + (n-1) 2
101 = 1 + 2n -2

78 ติวเข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya


2n = 102
n = 51
จากสมการ
=
Sn= 2601

13. อนุกรมเรขาคณิต 3 + 6 + 12 + … จะต้องบวกกันกี่พจน์จึงจะได้ผลบวกเป็น 765


วิธีท�ำ จากโจทย์ จะได้ว่า a1 = 3 , r = 2 , Sn = 765
ใช้สมการ

3(2n) – 3 = 765
3(2n) = 768
2n = 256
n = 8
ดังนั้นต้องบวก 8 พจน์ จึงจะได้ผลบวกเป็น 765

14. อนุกรมเรขาคณิตอนุกรมหนึ่ง มีพจน์แรกเท่ากับ 3 และพจน์ที่ n เท่ากับ 96 และผลบวก n พจน์แรก เท่ากับ 189 จงหาผลบวก
ของ 10 พจน์แรกของอนุกรมนี้
วิธีท�ำ ใช้สมการ เพื่ออัตราส่วนร่วมก่อน

189r – 189 = 96r – 3
93r = 186
r = 2
จากสมการ

S10 = 3 (1024 – 1)
S10 = 3 (1023) = 3069

15. ถ้าผลบวกของ n พจน์แรกของอนุกรมหนึ่งคือ Sn = 3n2+2 แล้วพจน์ที่ 10 ของอนุกรมนี้มีค่าเท่ากับเท่าไร


วิธีท�ำ ต้องการหาพจน์ที่ 10 จากสมการ an = Sn – sn-1
a10 = S10 – S9
= ( 3(102) + 2 ) – ( 3(92) + 2 )
= 3(102) - 3(92)
= 3(102 - 92)
= 57

ติวเข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya 79


16. ป้าแจ่มขายน�้ำเต้าหู้ในวันที่ 3 มกราคม ในวันแรกขายได้ก�ำไร 100 บาท และในวันต่อๆ ไป ขายได้ก�ำไรเพิ่มขึ้นจากวันก่อนหน้า
วันละ 10 บาท ทุกวัน วันที่เท่าไรของเดือนมกราคมที่ป้าแจ่มขายได้ก�ำไรเฉพาะวันนั้น 340 บาท
วิธีท�ำ จากโจทย์เรียงเป็นล�ำดับเลขคณิต 100 , 110 , 120 , 130 , …
หาพจน์ทั่วไปจากสมการ an = a1 + (n-1)d
= 100 + (n-1)10
an = 10n + 90
ต้องการรู้วันที่ได้ก�ำไร 340 บาท : 10n + 90 = 340
n + 9 = 34
n = 25
ป้าแจ่มเริ่มขายวันที่ 3 มกราคม วันที่ได้ก�ำไร 340 วันที่ 27 มกราคม

น้องๆ สามารถศึกษาเพิ่มเติมได้ที่
Tag : สอนศาสตร์, คณิตศาสตร์, ลำ�ดับ, อนุกรม, สูตรเตรียมสอบ

• สอนศาสตร์ คณิตศาสตร์ ม.6 : ลำ�ดับและอนุกรม


http://www.trueplookpanya.com/book/m6/
onet-math/ch7-1
• ลำ�ดับและอนุกรม ตอนที่ 1
http://www.trueplookpanya.com/book/m6/
onet-math/ch7-2
• ลำ�ดับและอนุกรม ตอนที่ 2
http://www.trueplookpanya.com/book/m6/
onet-math/ch7-3
• ลำ�ดับและอนุกรม ตอนที่ 3
http://www.trueplookpanya.com/book/m6/
onet-math/ch7-4
• สรุปสูตรคณิตศาสตร์สำ�หรับเตรียมสอบ -
เรื่อง ลำ�ดับและอนุกรม
http://www.trueplookpanya.com/book/m6/
onet-math/ch7-5

80 ติวเข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya


บทที่8
ความน่าจะเป็น

ส�ำหรับในเรือ่ งความน่าจะเป็น เรือ่ งนีจ้ ดั เป็นหนึง่ ในเรือ่ งทีใ่ ช้ทกั ษะในการค�ำนวณและจ�ำสูตรน้อยมากๆ เมือ่ เทียบกับเรือ่ งอืน่ ๆ
แต่การที่น้องๆ จะสามารถท�ำข้อสอบในเรื่องนี้ได้ น้องๆ จะต้องมีความเข้าใจในข้อแตกต่างระหว่างกฎการคูณและกฎการบวก ซึ่งจะ
เป็นตัวก�ำหนดว่าน้องๆ จะต้องแก้โจทย์ปญ ั หาภายใต้เงือ่ นไขทีแ่ ตกต่างกัน ตามล�ำดับขัน้ ตอนใดก่อนหรือหลัง และสิง่ ทีส่ ำ� คัญทีส่ ดุ คือ
การแยกแยะว่าสิ่งที่โจทย์ก�ำหนดให้ อยู่ภายใต้เหตุการณ์หลักหรือเหตุการณ์ย่อย และน�ำมาประยุกต์ใช้กับกฎการคูณและกฎการบวก
นั่นเอง

1. กฎการนับเบื้องต้น (Fundamental Counting Principle)


1.1) กฎการคูณ
ถ้ามีเหตุการณ์ย่อยเกิดขึ้น k เหตุการณ์ (n1, n2, …, nk) และแต่ละเหตุการณ์เกิดขึ้นภายใต้เงื่อนไขหลักและเงื่อนไขย่อย
เดียวกัน
จ�ำนวนเหตุการณ์ทั้งหมด = n1 × n2 × n3 × … × nk
1.2) กฎการบวก
ถ้ามีเหตุการณ์ย่อยเกิดขึ้น k เหตุการณ์ (n1, n2, …, nk) และแต่ละเหตุการณ์เกิดขึ้น ภายใต้เงื่อนไขหลักเดียวกัน แต่มี
เงื่อนไขย่อยที่ต่างกัน
จ�ำนวนเหตุการณ์ทั้งหมด = n1 + n2 + n3 + … + nk

ตัวอย่าง 1 ก�ำหนดให้ n ∈ Ι{1,2,3,4,5,6,7,8,9} จงสร้างจ�ำนวนสามหลัก จากสมาชิกของ n ตามเงื่อนไขดังต่อไปนี้


1) จ�ำนวนมีค่าน้อยกว่า 300
เงื่อนไขหลักและเงื่อนไขย่อย คือ “จ�ำนวนมีค่าน้อยกว่า 300”
ตัวเลขหลักร้อยที่สามารถเป็นได้ ได้แก่ 1 และ 2 = 2 เหตุการณ์
ตัวเลขหลักสิบที่สามารถเป็นได้ ได้แก่ 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8 และ 9 = 9 เหตุการณ์
ตัวเลขหลักหน่วยที่สามารถเป็นได้ ได้แก่ 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8 และ 9 = 9 เหตุการณ์
ดังนั้น จ�ำนวนที่สามารถสร้างได้ = 2 × 9 × 9 = 162 จ�ำนวน
2) จ�ำนวนขึ้นต้นด้วยเลข 5 หรือเลข 6 และลงท้ายด้วยเลข 2
เงื่อนไขหลัก คือ “จ�ำนวนขึ้นต้นด้วยเลข 5 หรือเลข 6 และลงท้ายด้วยเลข 2”
เงื่อนไขย่อย คือ “จ�ำนวนขึ้นต้นด้วยเลข 5 และลงท้ายด้วยเลข 2”
หรือ “จ�ำนวนขึ้นต้นด้วยเลข 6 และลงท้ายด้วยเลข 2”
พิจารณาเงื่อนไขย่อยที่ 1 “จ�ำนวนขึ้นต้นด้วยเลข 5 และลงท้ายด้วยเลข 2”
ตัวเลขหลักร้อยที่สามารถเป็นได้ ได้แก่ 5 = 1 เหตุการณ์
ตัวเลขหลักสิบที่สามารถเป็นได้ ได้แก่ 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8 และ 9 = 9 เหตุการณ์
ตัวเลขหลักหน่วยที่สามารถเป็นได้ ได้แก่ 2 = 1 เหตุการณ์
ดังนั้น จ�ำนวนที่สามารถสร้างได้ = 1 × 9 × 1 = 9 จ�ำนวน

ติวเข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya 81


พิจารณาเงื่อนไขย่อยที่ 2 “จ�ำนวนขึ้นต้นด้วยเลข 6 และลงท้ายด้วยเลข 2”
ตัวเลขหลักร้อยที่สามารถเป็นได้ ได้แก่ 6 = 1 เหตุการณ์
ตัวเลขหลักสิบที่สามารถเป็นได้ ได้แก่ 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8 และ 9 = 9 เหตุการณ์
ตัวเลขหลักหน่วยที่สามารถเป็นได้ ได้แก่ 2 = 1 เหตุการณ์
ดังนั้น จ�ำนวนที่สามารถสร้างได้ = 1 × 9 × 1 = 9 จ�ำนวน
จึงสามารถสรุปได้ว่า จ�ำนวนที่สามารถสร้างได้ภายใต้เงื่อนไขหลัก = 9 + 9 = 18 จ�ำนวน

2. แฟคทอเรียล (Factorial)
นิยาม ให้ n เป็นสมาชิกของจ�ำนวนเต็มบวก
แฟคทอเรียล n หมายถึง ผลคูณของจ�ำนวนเต็มบวก ตั้งแต่ 1 ถึง n
เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ n! อ่านว่า “แฟคทอเรียล n” หรือ “n แฟคทอเรียล”
n! = n × (n-1) × (n-2) × … × 3 × 2 × 1

ค่า n!
0! = 1
1! = 1
2! = 2×1=2
3! = 3×2×1=6
4! = 4 × 3 × 2 × 1 = 24
5! = 5 × 4 × 3 × 2 × 1 = 120
6! = 6 × 5 × 4 × 3 × 2 × 1 = 720
7! = 7 × 6 × 5 × 4 × 3 × 2 × 1 = 5,040
8! = 8 × 7 × 6 × 5 × 4 × 3 × 2 × 1 = 40,320
9! = 9 × 8 × 7 × 6 × 5 × 4 × 3 × 2 × 1 = 362,880
*** n! + m! ≠ (n + m)! n! – m! ≠ (n - m)!
n! × m! ≠ (n × m)! n! ÷ m! ≠ (n ÷ m)! ***

เกร็ดความรู้
ท�ำไม 0 แฟคทอเรียล = 1
เนื่องจากนิยามของ n! คือผลคูณของจ�ำนวนเต็มบวก ตั้งแต่ 1 ถึง n แต่บางครั้ง จ�ำเป็นต้องใช้ 0! จึงก�ำหนดค่า 0! = 1 เพื่อ
ให้สอดคล้องกับนิยามที่บอกว่า เป็นผลคูณจ�ำนวนเต็มบวก (จ�ำนวนนับ)
n! = n (n-1)(n-2)....3.2.1
ดังนั้น ถ้า 2! = 2.(2-1) = 2.1 = 2
แต่ 1! = 1.(1-1)! = 1.0! = ซึ่งค�ำตอบต้องเป็น 1 เท่านั้นจึงจะสอดคล้องกับสมการ
เนื่องจาก 1! = 1 ดังนั้นมันจึงบังคับให้ 0! = 1 จ้า

82 ติวเข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya


3. การสับเปลี่ยน (Permutation)
3.1) การสับเปลี่ยนเชิงเส้น (Linear Permutation)
เมื่อมีสิ่งของที่มีลักษณะแตกต่างกัน n ชิ้น จ�ำนวนวิธีในการสับเปลี่ยนเชิงเส้น จะเท่ากับ n! วิธี
ตัวอย่าง 2 สวนสัตว์แห่งหนึ่ง ประกอบด้วยลิง สิงโต ม้า และนกเพนกวิน 2 ตัว (ด�ำและน�้ำเงิน) ยืนเรียงแถวถ่ายรูปเป็นเส้นตรง
จงหาจ�ำนวนวิธีในการยืนถ่ายรูป ภายใต้เงื่อนไขดังนี้
จ�ำนวนสมาชิกในสวนสัตว์ (n = 5)
1) ไม่มีเงื่อนไข
จ�ำนวนวิธีในการยืนถ่ายรูป = 5!
=5×4×3×2×1
= 120 วิธี
2) นกเพนกวิน 2 ตัวยืนติดกัน
ในกรณีนี้ ให้เราจับเพนกวินทั้ง 2 ตัวมัดรวมกัน แล้วมองก้อนที่เรามัดเป็น 1 ก้อน

เพนกวินน�้ำเงิน เพนกวินด�ำ ลิง สิงโต ม้า

1 2 3 4

จากนัน้ ให้เราท�ำการสับเปลีย่ นเชิงเส้นตามปกติ แต่อย่าลืมท�ำการสับเปลีย่ นเชิงเส้นระหว่างนกเพนกวินทัง้ 2 ตัวด้วย เนือ่ งจาก


ไม่ว่าเพนกวินน�้ำเงินจะอยู่ทางซ้ายหรือทางขวาของเพนกวินด�ำ ทั้งสองตัวยังคงยืนติดกันอยู่
จ�ำนวนวิธีในการยืนถ่ายรูป = 4! (เพนกวินนับรวมกัน) × 2! (สับเปลี่ยนระหว่างเพนกวิน)
=4×3×2×1×2×1
= 48 วิธี
3) ลิง สิงโต และม้ายืนติดกัน

เพนกวินน�้ำเงิน เพนกวินด�ำ ลิง สิงโต ม้า

เหมือนดังข้อที่ 2 ในกรณีนี้ให้เราจับลิง สิงโต และม้ามัดรวมกัน แล้วมองเป็น 1 ก้อน


จ�ำนวนวิธีในการยืนถ่ายรูป = 3! × 3! (สับเปลี่ยนภายในระหว่างลิง สิงโต และม้า)
=3×2×1×3×2×1
= 36 วิธี
4) เพนกวิน 2 ตัว ยืนแยกกัน
ในกรณีนี้ ให้เราจับเพนกวินตัวใดตัวหนึ่งแยกออกไปก่อน (ยกตัวอย่างให้เป็นเพนกวินน�้ำเงิน)

เพนกวินด�ำ ลิง สิงโต ม้า

จากนั้นให้ท�ำการสับเปลี่ยนเชิงเส้นระหว่างสัตว์ทั้ง 4 ตัว
จ�ำนวนวิธีในการยืนถ่ายรูป = 4!
จากนั้น ให้พิจารณาตามเงื่อนไข (เพนกวินน�้ำเงินไม่สามารถยืนติดเพนกวินด�ำได้)

ติวเข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya 83


ดังนั้น ต�ำแหน่งที่เพนกวินด�ำสามารถเข้ามายืนถ่ายรูปได้ จะเป็นดังนี้

เพนกวินด�ำ ลิง สิงโต ม้า

X X

จะเห็นว่า เพนกวินน�้ำเงินไม่สามารถเข้ามายืนในต�ำแหน่งที่ 1 และ 2 ได้


ดังนั้น ตัวเลือกของเพนกวินน�้ำเงิน = 3 ตัวเลือก
ดังนั้น จ�ำนวนวิธีในการยืนถ่ายรูป = 4! × 3
=4×3×2×1×3
= 72 วิธี
5) สิงโตยืนตรงกลาง

เพนกวินน�้ำเงิน เพนกวินด�ำ สิงโต ลิง ม้า

จากรูป จะเห็นว่า เราไม่สามารถขยับต�ำแหน่งชองสิงโตได้


การสับเปลี่ยนเชิงเส้นจึงเหลือแค่สัตว์เพียง 4 ตัว
จ�ำนวนวิธีในการยืนถ่ายรูป = 4!
=4×3×2×1
= 24 วิธี
6) ม้าอยู่ระหว่างเพนกวินทั้ง 2 ตัว
กรณีนี้ ให้มัดม้าและเพนกวินเป็นก้อนเดียวกัน

เพนกวินน�้ำเงิน ม้า เพนกวินด�ำ สิงโต ลิง

เหลือการสับเปลี่ยนเชิงเส้นเพียง 3 กลุ่ม = 3!
จากนั้น สังเกตว่า เพนกวินทั้งสองตัวสามารถสลับที่กันได้ (ยังคงอยู่ภายใต้เงื่อนไข “ม้าอยู่ระหว่างเพนกวินทั้ง 2 ตัว”)
สับเปลี่ยนเชิงเส้นระหว่างเพนกวิน 2 ตัว = 2!
ดังนั้น จ�ำนวนวิธีในการยืนถ่ายรูป = 3! × 2!
=3×2×1×2×1
= 12 วิธี

· การสับเปลี่ยนเชิงเส้นของสิ่งของที่มีบางสิ่งซ�้ำกัน
ในกรณีที่มีสิ่งของที่มีลักษณะเหมือนกัน

84 ติวเข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya


ถ้ามีสิ่งของทั้งหมด n ชิ้น และมีบางชิ้นซ�้ำกัน สมมติให้มีการซ�้ำกัน k กลุ่มดังนี้
กลุ่มที่ 1 มีสิ่งของซ�้ำกัน n1 สิ่ง
กลุ่มที่ 2 มีสิ่งของซ�้ำกัน n2 สิ่ง
• •
• •
• •
กลุ่มที่ k มีสิ่งของซ�้ำกัน nk สิ่ง

จ�ำนวนวิธีในการสับเปลี่ยน = วิธี

ตัวอย่าง 3 ก�ำหนดค�ำ A D M I S S I O N จงหาจ�ำนวนวิธีในการสับเปลี่ยนตัวอักษร (โดยไม่สนใจความหมายของค�ำ) ภายใต้เงื่อนไข


ต่างๆ ดังนี้
1) ไม่มีเงื่อนไข
กลุ่มตัวอักษรที่ซ�้ำกันได้แก่ I (2 ตัว) และ S (2 ตัว)
ดังนั้น จ�ำนวนวิธีในการสับเปลี่ยน = 9!
2! 2!
= 9x8x7x6x5x4x3x2x1
2x1x2x1
= 90,720 วิธี
2) ตัวอักษรที่ไม่ซ�้ำกันอยู่ติดกัน

A D M O N I I S S

อันดับแรกจับอักษรที่ไม่ซ�้ำกันมัดติดกันแล้วมองเป็น 1 ก้อนหลังจากนั้นก็เรียงสับเปลี่ยนได้เท่ากับ 5! = 120 วิธี


อันดับสองอักษรที่ไม่ซ�้ำกันสามารถสลับที่กันได้อีก 5! = 120 วิธี
อันดับสาม ให้นำ� ตัวอักษรทีซ่ ำ�้ กันมาเรียงสับเปลีย่ นแบบการเรียงสับเปลีย่ นสิง่ ของทีซ่ ำ�้ กันได้ 4! = 4 x 3 x 2 x =
1 6 วิธี
ดังนั้น วิธีเรียงสับเปลี่ยนทั้งหมด = 120 + 120 + 6 = 246 วิธี 2! 2! 2x1x2x1

แบบฝึกหัด
1. ครอบครัวหนึ่งประกอบด้วยพ่อ แม่ ลูกชาย 2 คน และลูกสาว 3 คน นั่งเรียงแถวถ่ายรูป โดยให้พ่อและแม่นั่งติดกัน ลูกชายนั่งติด
กัน ลูกสาวนั่งติดกัน แต่ลูกสาวคนแรกไม่นั่งติดกับลูกสาวคนที่สอง และให้พ่อแม่นั่งอยู่ระหว่างกลุ่มของลูกชายและลูกสาว จะมี
วิธีการนั่งทั้งหมดกี่วิธี
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ติวเข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya 85


2. มีทั้งหมดกี่วิธีในการจัดเรียงตัวอักษรค�ำว่า CASABLANCA โดยให้ตัว B อยู่ระหว่างตัว C
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………

3.2) การสับเปลี่ยนแบบวงกลม (Circular Permutation)


เมื่อสิ่งของมีลักษณะแตกต่างกัน n ชิ้น จ�ำนวนวิธีในการสับเปลี่ยนแบบวงกลม จะมีค่าเท่ากับ (n-1)! วิธี

ตัวอย่าง 4 ลูกบอล 6 ลูก ประกอบไปด้วยสีแดง สีด�ำ สีขาว สีน�้ำเงิน สีเขียว และสีเหลือง จงหาจ�ำนวนวิธีทั้งหมด เมื่อน�ำลูกบอล
มาวางเรียงเป็นวงกลม ตามเงื่อนไขต่างๆ ดังนี้
จ�ำนวนลูกบอลที่แตกต่างกัน (n) = 6
1) ไม่มีเงื่อนไข
จ�ำนวนวิธีในการสับเปลี่ยน = (6-1)!
= 120 วิธี
2) สีแดงและสีเหลืองวางติดกัน
ขั้นแรก ให้มัดลูกบอลสีแดงและสีเหลืองไว้ด้วยกัน (เหมือนกับกรณีสับเปลี่ยนเชิงเส้น)

แดง ขาว
เหลือง น�้ำเงิน
ด�ำ เขียว

จากนั้น ให้ท�ำการสับเปลี่ยนแบบวงกลมเช่นเดิม
***(แต่อย่าลืมการสับเปลี่ยนเชิงเส้นระหว่างลูกบอลสีแดงและสีเหลือง)***
จ�ำนวนวิธีในการสับเปลี่ยน = (5-1)! × 2!
= 4! × 2!
= 48 วิธี
3) สีแดงติดสีเหลือง สีน�้ำเงินติดสีขาว และสีด�ำติดสีเขียว

แดง ขาว
เหลือง น�้ำเงิน
ด�ำ เขียว

จ�ำนวนวิธีในการสับเปลี่ยน = (3-1)! × 2! × 2! × 2! (สับเปลี่ยนเชิงเส้นของบอล 3 กลุ่ม)


= 2! × 2! × 2! × 2!
= 16 วิธี

86 ติวเข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya


4) สีขาวไม่ติดกับสีด�ำ
เช่นเดียวกับกรณีสับเปลี่ยนเชิงเส้น ให้เราแยกลูกบอลสีขาวออกมาก่อน

แดง
น�้ำเงิน เหลือง
ด�ำ เขียว

การสับเปลี่ยนแบบวงกลมสามารถท�ำได้ (5-1)! = 4! วิธี

แดง
น�้ำเงิน เหลือง
ด�ำ เขียว

จะเห็นว่า ต�ำแหน่งที่ไม่สามารถวางลูกบอลสีขาว = 2 ต�ำแหน่ง (สามารถวางได้เพียง 3 ต�ำแหน่ง)


ดังนั้น จ�ำนวนวิธีในการสับเปลี่ยน = 4! × 3
= 72 วิธี
เราสามารถหาจ�ำนวนวิธีในการสับเปลี่ยนได้อีกวิธีหนึ่ง ดังนี้
เหตุการณ์ที่ลูกบอลสีขาวไม่ติดกับสีด�ำ = จ�ำนวนวิธีทั้งหมด – เหตุการณ์ที่ลูกบอลสีขาวติดกับสีด�ำ
กรณีที่ 1 จ�ำนวนวิธีในการสับเปลี่ยน ทั้งหมด

แดง ขาว
เหลือง น�้ำเงิน
ด�ำ เขียว

จ�ำนวนวิธีในการสับเปลี่ยน ทั้งหมด = (6-1)!
= 5!
= 120 วิธี
กรณีที่ 2 จ�ำนวนวิธีในการสับเปลี่ยน ที่ลูกบอลสีขาวอยู่ติดกับลูกบอลสีด�ำ

แดง เขียว
เหลือง น�้ำเงิน
ด�ำ ขาว

จ�ำนวนวิธีในการสับเปลี่ยน = (5-1)! × 2!
= 4! × 2!
= 48 วิธี

ติวเข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya 87


ดังนั้น จ�ำนวนวิธีในการสับเปลี่ยนโดยลูกบอลสีขาว ไม่ติดกับลูกบอลสีด�ำ
= 120 – 48
= 72 วิธี
แบบฝึกหัด
3. ถ้าจัดลูกแก้วทั้งหมด 6 ลูก ซึ่งมีสีแดงและสีขาวรวมอยู่ ให้เรียงแถวเป็น 2 แบบ แบบที่หนึ่งให้เรียงลูกแก้วทั้งหมดเป็นเส้นตรง
โดยให้ลูกแก้วสีแดงและสีขาวอยู่ติดกัน แบบที่สองให้เรียงลูกแก้วเป็นวงกลม โดยที่ลูกแก้วสีแดงและสีขาวอยู่ตรงข้ามกัน
จ�ำนวนวิธีของการจัดเรียงแต่ละแบบแตกต่างกันกี่วิธี
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………

4. การจัดหมู่และการเปลี่ยนล�ำดับ (Combination and Permutation)


4.1) การจัดหมู่ (Combination)
n! ⎛ n ⎞
nCr = = ⎜ ⎟
(n − r)!r! ⎝ r ⎠

โดยที่ nCr หมายถึง จ�ำนวนวิธีในการจัดกลุ่มของสิ่งของจ�ำนวน r ชิ้น จาก n ชิ้น โดยไม่สนใจล�ำดับ


4.2) การเปลี่ยนล�ำดับ (Permutation)
n!
n
P r = nCr x r! =
(n − r)!

โดยที่ nPr หมายถึง จ�ำนวนวิธีในการจัดกลุ่มของสิ่งของจ�ำนวน r ชิ้น จาก n ชิ้น โดยสนใจล�ำดับ


***TIPS การคิด nCr อย่างง่าย***
⎛⎜ n ⎞⎟ = n!
=
n(n −1)(n − 2)...(n − r)!
⎝ r ⎠ (n − r)!r! (n − r)!r!

ตัวอย่างเช่น
r=3 ตัว
⎛⎜8⎞⎟ = 8x7x6 = 8x7x6 = 56
⎝ 3⎠ 3! 3x2x1

r=3 เท่ากัน
r=5 ตัว
และ ⎛8 ⎞ 8x7x6x5x4 8x7x6x5x4
⎜ ⎟ = = = 56
⎝ 5⎠ 5! 5x4x3x2x1

r=5
ดังนั้น ถ้า r1+r2=n แล้ว Cr1= nCr2
n

88 ติวเข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya


สมบัติของการจัดหมู่
⎛ n ⎞
⎜ ⎟ = n⎛ n ⎞
⎝1 ⎠ ⎜ ⎟ = n
1.
⎝1 ⎠
⎛ n ⎞
⎜ ⎟⎛=n n ⎞
⎝ n −1⎠⎜
2. ⎟ = n
⎝ n −1⎠
⎛ n ⎞
⎜ ⎟ = 1⎛ n ⎞
⎝ n ⎠ ⎜ ⎟ = 1
3. ⎝ n ⎠
⎛ n ⎞
1
⎜ ⎟ ⎛ n ⎞
=
⎝ 0 ⎠ ⎜ ⎟ = 1
4. ⎝ 0 ⎠

ตัวอย่าง 5 ในกลุ่มตัวอย่าง ประกอบด้วยผู้ใหญ่ 3 คน เด็กผู้ชาย 2 คน และเด็กผู้หญิง 2 คน


1) เลือกตัวแทน 4 คน
7 x 6 x5 x 4
7C4 = 4 x3 x 2 x1
= 35 วิธี
2) เลือกตัวแทน 4 คน โดยต้องเป็นเด็กผู้ชายอย่างน้อย 1 คน จ�ำนวนวิธีในการเลือกตัวแทน 4 คน โดยมีเด็กผู้ชายอย่างน้อย
1 คน = จ�ำนวนวิธีทั้งหมด – จ�ำนวนวิธี โดยไม่มีเด็กผู้ชายเลย
จาก 1) จ�ำนวนวิธีในการเลือกตัวแทน 4 คนแบบไม่มีเงื่อนไข = 35 วิธี
ต้องการหาจ�ำนวนวิธีในการเลือกตัวแทน 4 คนโดยไม่มีเด็กผู้ชายอยู่เลย
เท่ากับว่าคนที่สามารถเป็นตัวแทนได้ มีเพียงผู้ใหญ่ และเด็กผู้หญิงเท่านั้น
จ�ำนวนผู้ใหญ่รวมกับเด็กผู้หญิง = 5 คน
5 x 4 x3 x 2 x1
ดังนั้น 35 – 5C4 = 35 -
4 x3 x 2 x1
= 35 - 5 = 30 วิธี
3) เลือกตัวแทน 4 คน โดยต้องมีผู้ใหญ่ เด็กผู้ชาย และเด็กผู้หญิงอย่างน้อย 1 คน
จ�ำนวนวิธี = 3 C1 x 2 C1 x 2 C1 x 4 C1
โดย 3
C1 มาจากการเลือกผูใ้ หญ่ 1 คน จากจ�ำนวน 3 คน
2C1 มาจากการเลือกเด็กผูช้ าย 1 คน จากจ�ำนวน 2 คน
2C1 มาจากการเลือกเด็กผูห้ ญิง 1 คน จากจ�ำนวน 2 คน
4C1 มาจากการเลือกตัวแทน 1 คน จากจ�ำนวน 4 คน (คนทีเ่ หลืออยู)่
ดังนัน้ จ�ำนวนวิธ ี =3×2×2×4
= 48 วิธี
4) เลือกตัวแทน 3 คน โดยถ้ามีเด็กผู้ชาย ต้องไม่มีเด็กผู้หญิงอยู่ด้วยกัน
กรณีที่ 1 มีเด็กผู้ชาย 1 คน
จ�ำนวนวิธี = 3C2 x 2C1 = 6 วิธี

ติวเข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya 89


กรณีที่ 2 มีเด็กผู้ชาย 2 คน
จ�ำนวนวิธี = 3C1 x 2C2 = 3 วิธี
กรณีที่ 3 มีเด็กผู้หญิง 1 คน
จ�ำนวนวิธี = 3C2 x 2C1 = 6 วิธี
กรณีที่ 4 มีเด็กผู้หญิง 2 คน
จ�ำนวนวิธี = 3C1 x 2C2 = 3 วิธี
กรณีที่ 5 เป็นผู้ใหญ่หมดทั้ง 3 คน
จ�ำนวนวิธี = 3C3 = 1 วิธี
ดังนั้น จ�ำนวนวิธีทั้งหมด = 6+3+6+3+1 = 19 วิธี

แบบฝึกหัด
4. ในการทัศนศึกษาของนักเรียนกลุ่มหนึ่งซึ่งมีจ�ำนวน 14 คน ซึ่งรวม A และ B อยู่ด้วย ในการพักแรม มีห้องพักอยู่ 2 ห้อง โดยห้อง
101 จุคนได้ 8 คน และห้อง 102 จุคนได้ 6 คน จ�ำนวนวิธีที่จัดให้ A และ B อยู่ห้องเดียวกัน ต่างจากจ�ำนวนวิธีที่จัดให้ A และ B อยู่
คนละห้องกันกี่วิธี
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
5. ต้องการแต่งตั้งคณะผู้บริหารบริษัท ประกอบไปด้วยประธานบริษัท รองประธาน เลขานุการ เหรัญญิก อย่างละ 1 คน จากกลุ่มผู้
ถือหุ้นที่มีผู้ชาย 6 คน และผู้หญิง 4 คน จงหา
1) จ�ำนวนรูปแบบของการแต่งตั้งแบบไม่มีเงื่อนไข และ
2) จ�ำนวนรูปแบบของการแต่งตั้ง โดยที่ประธานเป็นผู้ชาย และเลขานุการเป็นผู้หญิง
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………

90 ติวเข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya


5. ความน่าจะเป็น (Probability)
5.1) การทดลองสุ่ม (Random Experiment)
หมายถึง การกระท�ำที่เราไม่รู้ถึงผลลัพธ์แน่นอนที่จะเกิดขึ้นในอนาคต แต่เราสามารถบอกได้ถึงผลลัพธ์ที่มีโอกาสจะ
เกิดขึ้น เช่น การโยนเหรียญ ที่เราสามารถบอกได้ว่าผลลัพธ์สามารถเป็น “หัว” หรือ “ก้อย” ก็ได้ แต่เราไม่สามารถระบุได้
อย่างแน่นอนว่าผลลัพธ์ที่ออกมาจะเป็น “หัว” หรือ “ก้อย”
อีกตัวอย่างหนึง่ คือการทอยลูกเต๋า เราสามารถบอกได้วา่ ผลลัพธ์สามารถเป็นตัวเลข 1-6 แต่เราไม่สามารถระบุได้อย่าง
แน่นอน ว่าตัวเลขที่หงายจะเป็นตัวเลขอะไร
5.2) แซมเปิ้ลสเปซ (Sample Space)
หมายถึง เซตของผลลัพธ์ทั้งหมดที่สามารถเกิดขึ้นได้ โดยทั่วไปใช้ S เป็นตัวอักษร
ตัวอย่าง 6 โยนเหรียญบาท 1 เหรียญ สองครั้ง โดยสนใจหน้าของเหรียญที่จะออก จงหาแซมเปิ้ลสเปซของการโยนเหรียญ
สองครั้ง
ก�ำหนดให้ H เป็นผลลัพธ์ที่เหรียญออก “หัว”
T เป็นผลลัพธ์ที่เหรียญออก “ก้อย”

โยนเหรียญครั้งที่ 1 โยนเหรียญครั้งที่ 2
H
H
T
H
T
T

ดังนั้น แซมเปิ้ลสเปซ หรือ S = {(HH), (HT), (TH), (TT)}


ตัวอย่าง 7 ทอยลูกเต๋าสีแดงและลูกเต๋าสีน�้ำเงินพร้อมกัน 1 ครั้ง จงหาแซมเปิ้ลสเปซของการทอยลูกเต๋าทั้งสองลูก
S = { (1, 1), (1, 2), (1, 3), (1, 4), (1, 5), (1, 6), (2, 1), (2, 2), (2, 3), (2, 4), (2, 5), (2, 6), (3, 1), (3, 2), (3, 3), (3, 4), (3, 5),
(3, 6), (4, 1), (4, 2), (4, 3), (4, 4), (4, 5), (4, 6), (5, 1), (5, 2), (5, 3), (5, 4), (5, 5), (5, 6), (6, 1), (6, 2), (6, 3), (6, 4), (6, 5), (6, 6) }
หรือกล่าวคือ จ�ำนวนแซมเปิ้ลสเปซ หรือ n(S) = 36
5.3) เหตุการณ์ (Event)
หมายถึง ผลลัพธ์ที่เราสนใจจาการทดลองสุ่ม โดยทั่วไปใช้ E เป็นอักษรย่อ
โดยที่ E จะเป็นสับเซตของ S เสมอ
ตัวอย่าง 8 ทอยลูกเต๋าสีแดงและลูกเต๋าสีน�้ำเงินพร้อมกัน 1 ครั้ง จงหาเหตุการณ์ที่ผลรวมของแต้มบนลูกเต๋าเท่ากับ 6
E = { (1,5), (2,4), (3,3), (4,2), (5,1) }
หรือกล่าวคือ จ�ำนวนเหตุการณ์ หรือ n(E) = 5

ติวเข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya 91


5.4) ความน่าจะเป็น (Probability)
ให้ P(E) แทนความน่าจะเป็นของเหตุการณ์

n( E )
P(E) =
n( S )

5.5) สมบัติของความน่าจะเป็นของเหตุการณ์
1. 0 P(E) 1 โดย P(E) = 0 หมายถึงไม่มีเหตุการณ์นั้นเกิดขึ้น
2. P(S) = 1 หมายถึง ความน่าจะเป็นของแซมเปิ้ลสเปซเท่ากับ 1 เสมอ
3. ถ้า P(E’) แทนความน่าจะเป็นที่เหตุการณ์ E จะไม่เกิดขึ้นแล้ว
P(E) = 1 – P(E’)
ตัวอย่าง 9 ในการจับสลากชิงโชค มีสลากทั้งหมด 10 ใบ ซึ่งแต่ละใบมีมูลค่าต่างกัน ดังนี้
สลากหมายเลข 1 มีมูลค่า 500 บาท
สลากหมายเลข 2 มีมูลค่า 300 บาท
สลากหมายเลข 3 มีมูลค่า 200 บาท
สลากหมายเลข 4 - 10 มีมูลค่า 0 บาท
จงหาความน่าจะเป็น ในการหยิบสลาก 2 ใบพร้อมกัน แล้วมีมูลค่ารวม 500 บาท
ก�ำหนดให้ S เป็นแซมเปิ้ลสเปซ และ E เป็นเหตุการณ์ที่สลากสองใบมีมูลค่ารวม 500 บาท
n(S) = จ�ำนวนแซมเปิ้ลสเปซ (จ�ำนวนเหตุการณ์ที่เป็นไปได้ทั้งหมด)
= จ�ำนวนวิธีในการหยิบสลาก 2 ใบ จาก 10 ใบ
= 10C2 = 10x9
2x1
= 45 วิธี
n(E) = จ�ำนวนเหตุการณ์ที่สนใจ (สลากสองใบมีมูลค่ารวม 500 บาท)
= สลากหมายเลข 1 + หมายเลข 4-10 หรือ สลากหมายเลข 2 + หมายเลข 3
= (1,4) (1,5) (1,6) (1,7) (1,8) (1,9) (1,10) (2,3)
= 8 เหตุการณ์ / 8 วิธี

n(E)
จาก P(E) = n(S)
8
ดังนั้น P(E) =
45
= 0.1777...
= 17.7777…%
****เราสามารถเขียน P(E) ให้อยู่ในรูปของร้อยละได้ โดย
P(E) ×100 = P(E)%***

92 ติวเข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya


แบบฝึกหัด
6. จากการส�ำรวจบทความที่เป็นที่นิยมจากสมาชิกนิตยสารเล่มหนึ่ง ซึ่งแต่ละคนจะต้องมีบทความที่ชอบอย่างน้อยคนละ 1
บทความ ซึ่งผลการส�ำรวจเป็นดังนี้
บทความเกี่ยวกับสุขภาพ 24 คน
บทความเกี่ยวกับรถยนต์ 21 คน
บทความเกี่ยวกับกีฬา 23 คน
ชอบทั้งบทความเกี่ยวกับสุขภาพและรถยนต์ 10 คน
ชอบทั้งบทความเกี่ยวกับสุขภาพและกีฬา 9 คน
ชอบทั้งบทความเกี่ยวกับกีฬาและรถยนต์ 8 คน
ชอบทั้ง 3 บทความ 3 คน
สุม่ เลือกสมาชิก 1 คน จากสมาชิกทัง้ หมด จงหาความน่าจะเป็นทีจ่ ะได้สมาชิกทีช่ อบบทความเกีย่ วกับกีฬาหรือบทความเกีย่ ว
กับรถยนต์
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………

เฉลยแบบฝึกหัด

1. ครอบครัวหนึ่งประกอบด้วยพ่อ แม่ ลูกชาย 2 คน และลูกสาว 3 คน นั่งเรียงแถวถ่ายรูป โดยให้พ่อและแม่นั่งติดกัน ลูกชายนั่งติด


กัน ลูกสาวนั่งติดกัน แต่ลูกสาวคนแรกไม่นั่งติดกับลูกสาวคนที่สอง และให้พ่อแม่นั่งอยู่ระหว่างกลุ่มของลูกชายและลูกสาว จะมี
วิธีการนั่งทั้งหมดกี่วิธี
วิธีท�ำ
พ่อ แม่ ลูกชาย1 ลูกชาย2 ลูกสาว1 ลูกสาว3 ลูกสาว2
สับเปลี่ยนระหว่างคน 3 กลุ่ม = 3!
สับเปลี่ยนระหว่างพ่อและแม่ = 2!
สับเปลี่ยนระหว่างลูกชาย 2 คน = 2!
สับเปลี่ยนระหว่างลูกสาวคนที่ 1 และ 2 = 2!
ดังนั้น จ�ำนวนวิธีในการนั่ง = 3! × 2! × 2! × 2!
=3×2×1×2×1×2×1×2×1
= 48 วิธี

ติวเข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya 93


2. มีทั้งหมดกี่วิธีในการจัดเรียงตัวอักษรค�ำว่า CASABLANCA โดยให้ตัว B อยู่ระหว่างตัว C
วิธีท�ำ C B C A A A A S L N
สับเปลี่ยนตัวอักษร 8 กลุ่ม (7 ตัว + 1 กลุ่ม) = 8!
สับเปลี่ยนระหว่างตัว C ทั้งสองตัว = 2!
ตัวอักษร A ซ�้ำ 4 ตัว = 4!
ตัวอักษร C ซ�้ำ 2 ตัว = 2!
ดังนั้น จ�ำนวนวิธีในการจัดเรียงตัวอักษร = 8! x2! = 8 × 7 × 6 × 5 = 1,680 วิธี
4! x 2!
3. ถ้าจัดลูกแก้วทั้งหมด 6 ลูก ซึ่งมีสีแดงและสีขาวรวมอยู่ ให้เรียงแถวเป็น 2 แบบ แบบที่หนึ่งให้เรียงลูกแก้วทั้งหมดเป็นเส้นตรง
โดยให้ลูกแก้วสีแดงและสีขาวอยู่ติดกัน แบบที่สองให้เรียงลูกแก้วเป็นวงกลม โดยที่ลูกแก้วสีแดงและสีขาวไม่อยู่ติดกัน จ�ำนวนวิธี
ของการจัดเรียงแต่ละแบบแตกต่างกันกี่วิธี
วิธีท�ำ 1 2 3 4 แดง ขาว
สับเปลี่ยนเชิงเส้น 5 กลุ่ม = 5!
สับเปลี่ยนลูกแก้วสีแดงและสีขาว = 2!
ดังนั้น จ�ำนวนวิธีในการสับเปลี่ยนเป็นเส้นตรง = 5! × 2!
=5×4×3×2×1×2×1
= 240 วิธี

แดง
1 2
3 4

สับเปลี่ยนเชิงวงกลม 5 กลุ่ม = (5-1)! = 4!
ต�ำแหน่งที่ลูกแก้วสีขาวสามารถเข้าไปได้ = 3
ดังนั้น จ�ำนวนวิธีในการสับเปลี่ยนเชิงวงกลม = 4! × 3
=4×3×2×1×3
= 72 วิธี
ดังนั้น จ�ำนวนวิธีในการสับเปลี่ยนลูกแก้วของทั้ง 2 แบบแตกต่างกัน 240 – 72 = 168 วิธี
4. ในการทัศนศึกษาของนักเรียนกลุ่มหนึ่งซึ่งมีจ�ำนวน 14 คน ซึ่งรวม A และ B อยู่ด้วย ในการพักแรม มีห้องพักอยู่ 2 ห้อง โดยห้อง
101 จุคนได้ 8 คน และห้อง 102 จุคนได้ 6 คน จ�ำนวนวิธีที่จัดให้ A และ B อยู่ห้องเดียวกัน ต่างจากจ�ำนวนวิธีที่จัดให้ A และ B
อยู่คนละห้องกันกี่วิธี
วิธีท�ำ ห้อง 101 ห้อง 102

จัดให้ A และ B อยู่ห้องเดียวกัน


กรณีที่ 1 (A และ B อยู่ห้อง 101) ซึ่งจุได้ 8 คน เมื่อ A และ B ไปอยู่จึงเหลืออีก 6 คน
เลือกคน 6 คน จาก 12 คน = 12C6 = 924

94 ติวเข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya


กรณีที่ 2 (A และ B อยู่ห้อง 102) ซึ่งจุได้ 6 คน เมื่อ A และ B ไปอยู่จึงเหลืออีก 4 คน
เลือกคน 4 คน จาก 12 คน = 12C4 = 495
ดังนั้น จ�ำนวนวิธีในการจัดให้ A และ B อยู่ห้องเดียวกัน = 924+495 = 1,419 วิธี
จัดให้ A และ B อยู่คนละห้องกัน
กรณีที่ 1 (A อยู่ห้อง 101 และ B อยู่ห้อง 102) เหลือคนอยู่อีก 12 คนที่ยังไม่มีห้อง
ห้อง 101 จุคนได้ 8 คน เมื่อ A เข้าไปอยู่จึงเหลือที่ว่าง 7 ที่
เลือกคน 7 คน จาก 12 คนที่เหลืออยู่ให้เข้าพักในห้อง 101 = 12C7 = 792
เหลือคนอยู่อีก 5 คน ให้เข้าพักในห้อง 102 กับ B
กรณีที่ 2 (A อยู่ห้อง 102 และ B อยู่ห้อง 102) เหลือคนอยู่อีก 12 คนที่ยังไม่มีห้อง
ห้อง 102 จุคนได้ 6 คน เมื่อ A เข้าไปอยู่จึงเหลือที่ว่าง 5 ที่
เลือกคน 5 คน จาก 12 คนที่เหลืออยู่ให้เข้าพักในห้อง 102 = 12C5 = 792
เหลือคนอยู่อีก 7 คน ให้เข้าพักในห้อง 101 กับ B
ดังนั้น จ�ำนวนวิธีในการจัดให้ A และ B อยู่คนละห้องกัน = 792 + 792 = 1,584 วิธี
ดังนั้น จ�ำนวนวิธีที่จัดให้ A และ B อยู่ห้องเดียวกัน ต่างจากจ�ำนวนวิธีที่จัดให้ A และ B อยู่คนละห้อง
=1,584 – 1,419 = 165 วิธี
5. ต้องการแต่งตั้งคณะผู้บริหารบริษัท ประกอบไปด้วยประธานบริษัท รองประธาน เลขานุการ เหรัญญิก อย่างละ 1 คน จากกลุ่มผู้
ถือหุ้นที่มีผู้ชาย 6 คน และผู้หญิง 4 คน จงหา
1) จ�ำนวนรูปแบบของการแต่งตั้งแบบไม่มีเงื่อนไข และ
2) จ�ำนวนรูปแบบของการแต่งตั้ง โดยที่ประธานเป็นผู้ชาย และเลขานุการเป็นผู้หญิง
วิธีท�ำ
1) แต่งตั้งแบบไม่มีเงื่อนไข
จากคน 10 คน เลือกคณะผู้บริหารบริษัท 4 คน โดยที่ต�ำแหน่งมีความส�ำคัญ
จ�ำนวนวิธี = 10P4 = 10x9x8x7 x4!
4x3x2x1
= 5,040 วิธี
ดังนั้น จ�ำนวนรูปแบบของการแต่งตั้งคณะผู้บริหารบริษัทแบบไม่มีเงื่อนไข = 5,040 วิธี
2) ประธานเป็นผู้ชาย และเลขานุการเป็นผู้หญิง
จ�ำนวนวิธี = 6 C1 × 4 C1 × 8 C1 × 7C1
โดย 6C1 มาจาก การเลือกผู้ชาย 1 คน จาก 6 คนเป็นประธาน
4C1 มาจาก การเลือกผู้หญิง 1 คน จาก 4 คนเป็นเลขานุการ
8C1 มาจาก การเลือกคน 1 คน จากที่เหลือ 8 คนเป็นรองประธาน (ไม่สนเพศ)
7C1 มาจาก การเลือกคน 1 คน จากที่เหลือ 7 คนเป็นเหรัญญิก (ไม่สนเพศ)
ดังนั้น จ�ำนวนวิธี =6×4×8×7
= 1,344 วิธี
ดังนั้น จ�ำนวนรูปแบบของการแต่งตั้งคณะผู้บริหารบริษัทโดยที่ประธานเป็นผู้ชาย และเลขานุการเป็นผู้หญิง = 1,344 วิธี

ติวเข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya 95


6. จากการส�ำรวจบทความที่เป็นที่นิยมจากสมาชิกนิตยสารเล่มหนึ่ง ซึ่งแต่ละคนจะต้องมีบทความที่ชอบอย่างน้อยคนละ 1 บทความ
ซึ่งผลการส�ำรวจเป็นดังนี้
บทความเกี่ยวกับสุขภาพ 24 คน
บทความเกี่ยวกับรถยนต์ 21 คน
บทความเกี่ยวกับกีฬา 23 คน
ชอบทั้งบทความเกี่ยวกับสุขภาพและรถยนต์ 10 คน
ชอบทั้งบทความเกี่ยวกับสุขภาพและกีฬา 9 คน
ชอบทั้งบทความเกี่ยวกับกีฬาและรถยนต์ 8 คน
ชอบทั้ง 3 บทความ 3 คน
สุ่มเลือกสมาชิก 1 คน จากสมาชิกทั้งหมด จงหาความน่าจะเป็นที่จะได้สมาชิกที่ชอบบทความเกี่ยวกับกีฬาหรือ
บทความเกี่ยวกับรถยนต์
วิธีท�ำ ข้อนี้ ให้เราใช้ความรู้เรื่องเซต และแผนภาพของเวนน์-ออยเลอร์ในการแก้ปัญหา
จาก n(A ∪ B ∪ C) = n(A) + n(B) + n(C) – n(A ∩ B) – n(A ∩ C) – n(B ∩ C) + n(A ∩ B ∩ C)
ก�ำหนดให้ n(A) เป็นจ�ำนวนสมาชิกที่ชอบบทความเกี่ยวกับสุขภาพ
n(B) เป็นจ�ำนวนสมาชิกที่ชอบบทความเกี่ยวกับรถยนต์
n(C) เป็นจ�ำนวนสมาชิกที่ชอบบทความเกี่ยวกับกีฬา
จะได้ n(A)=24, n(B)=21, n(C)=23, n(A ∩ B)=10, n(A ∩ C)=9, n(B ∩ C)=8 และ n(A ∩ B ∩ C)=3

A B

8 7 6
3
6 5

C

จากแผนภาพเวนน์-ออยเลอร์ n(A ∪ B ∪ C) = 44 และ n(B ∪ C) = 36
ดังนั้น เมื่อสุ่มเลือกสมาชิก 1 คน จากสมาชิกทั้งหมด ความน่าจะเป็นที่จะได้สมาชิกที่ชอบบทความเกี่ยวกับกีฬา
หรือบทความเกี่ยวกับรถยนต์เท่ากับ 36 หรือเท่ากับ 0.82
44

96 ติวเข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya


น้องๆ สามารถศึกษาเพิ่มเติมได้ที่
Tag : คณิตศาสตร์, ความน่าจะเป็น, สูตรเตรียมสอบ

• แบบฝึกหัด 3.1 ข้อ 1 ความน่าจะเป็น


http://www.trueplookpanya.com/book/m6/
onet-math/ch8-1

• แบบฝึกหัด 3.1 ข้อ 2 ความน่าจะเป็น


http://www.trueplookpanya.com/book/m6/
onet-math/ch8-2

• แบบฝึกหัด 3.1 ข้อ 3 ความน่าจะเป็น


http://www.trueplookpanya.com/book/m6/
onet-math/ch8-3

• แบบฝึกหัด 3.1 ข้อ 4 ความน่าจะเป็น


http://www.trueplookpanya.com/book/m6/
onet-math/ch8-4

• แบบฝึกหัด 3.1 ข้อ 5 ความน่าจะเป็น


http://www.trueplookpanya.com/book/m6/
onet-math/ch8-5

• สรุปสูตรคณิตศาสตร์สำ�หรับเตรียมสอบ -
เรื่อง ความน่าจะเป็น
http://www.trueplookpanya.com/book/m6/
onet-math/ch8-6

ติวเข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya 97


บทที่9
สถิติ

ส�ำหรับในหัวข้อสถิติ เป็นหัวข้อที่ต้องใช้ทักษะในการค�ำนวณและจ�ำสูตรค่อนข้างมาก แต่ในส่วนของข้อสอบนั้น ค่อนข้างจะ


ออกแบบตรงตัว ไม่มกี ารพลิกแพลงอะไรมากนัก ในการทีน่ อ้ งๆ จะท�ำข้อสอบเรือ่ งสถิตไิ ด้ ให้นอ้ งๆ หมัน่ ท�ำโจทย์ปญ
ั หาอย่างสม�ำ่ เสมอ
และหาจุดเชื่อมโยงของการหาค่ากลางข้อมูล การวัดต�ำแหน่งข้อมูล และการวัดการกระจายข้อมูลให้ได้

สถิต ิ หมายถึง วิชาที่เกี่ยวกับการเก็บรวบรวม น�ำเสนอ และวิเคราะห์ข้อมูล


ข้อมูล หมายถึง ข้อเท็จจริงของเรื่องใดเรื่องหนึ่งที่เราสนใจจะศึกษา ซึ่งอาจจะเป็นตัวเลขหรือข้อความก็ได้

ระเบียบวิธีเชิงสถิติ (Statistic Method)


1. การเก็บรวบรวมข้อมูล (Collection of Data)
2. การน�ำเสนอข้อมูล (Presentation of Data)
3. การวิเคราะห์ข้อมูล (Analysis of Data)
4. การแปลความหมายข้อมูล (Interpretation of Data)

ประเภทของสถิติ


1. สถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistics) คือ การใช้ข้อมูลที่ตีความออกมา ในการสรุปลักษณะเฉพาะของกลุ่ม
ตัวอย่างนั้นๆ ไม่น�ำไปใช้อ้างอิงถึงลักษณะเฉพาะของประชากร
2. สถิติเชิงอนุมาน (Inferences Statistical) คือ การใช้ข้อมูลที่ตีความออกมา ในการสรุปถึงลักษณะเฉพาะของประชากร

การจ�ำแนกข้อมูล
1. จ�ำแนกตามลักษณะของข้อมูล
1.1) ข้อมูลเชิงปริมาณ (Quantitative Data) หมายถึงข้อมูลทีใ่ ช้แทนขนาดหรือปริมาณวัดออกมาเป็นค่าตัวเลขทีส่ ามารถ
น�ำมาใช้เปรียบเทียบขนาดได้โดยตรง
1.2) ข้อมูลเชิงคุณภาพ (Qualitative Data) หมายถึงข้อมูลทีไ่ ม่สามารถวัดออกมาเป็นค่าตัวเลขโดยตรงได้ แต่วดั ออกมา
ในเชิงคุณภาพได้ เช่น การหาค่ากลางข้อมูล
2. จ�ำแนกตามวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล
2.1) ข้อมูลปฐมภูมิ (Primary Data) หมายถึงข้อมูลที่ได้จากการรวบรวมจากผู้ที่ให้ข้อมูล หรือแหล่งที่มาโดยตรง
2.2) ข้อมูลทุติยภูมิ (Secondary Data) หมายถึงการน�ำข้อมูลที่ผู้อื่นได้เก็บรวบรวมไว้แล้ว มาใช้เป็นข้อมูล

ข้อมูลแจกแจงความถี่
หมายถึง จัดข้อมูลที่มีอยู่ให้เป็นกลุ่มๆ คือ ให้ข้อมูลที่มีค่าใกล้เคียงกันอยู่ด้วยกัน เพื่อความสะดวกในการวิเคราะห์

98 ติวเข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya


ตัวอย่าง
ตารางแสดงคะแนนสอบวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนระดับชั้น ม.6
f
คะแนน ความถี่ (f) ความถี่สะสม (fc) ความถี่สัมพัทธ์ ( )
N ความถี่สะสมสัมพัทธ์ ( )
fc
N
5 5


1-10 5 5 40 40
11-20 9 14 9 14
40 40
21-30 15 29 15 29
40 40
11 40
31-40 11 40 40 40

1. อันตรภาคชั้น หมายถึง แต่ละช่วงของข้อมูล เช่น 1-10 เรียกอันตรภาคชั้นที่ 1


2. ขอบบน = ค่ากึ่งกลางระหว่าง Max ของอันตรภาคชั้นนั้นๆ และ Min ของอันตรภาคชั้นถัดไป
3. ขอบล่าง = ค่ากึ่งกลางระหว่าง Min ของอันตรภาคชั้นนั้นๆ และ Max ของอันตรภาคชั้นก่อนหน้า
4. ความกว้างของอันตรภาคชั้น (I) = ขอบบน – ขอบล่าง
5. ความถี่ (f) หมายถึง จ�ำนวนข้อมูลที่อยู่ในอันตรภาคชั้นนั้นๆ
6. ความถี่สะสม (fc) หมายถึง ผลรวมของความถี่ของอันตรภาคชั้นนั้นๆ กับความถี่สะสมของอันตรภาคชั้นก่อนหน้า
***ความถี่สะสมชั้นสุดท้าย = จ�ำนวนข้อมูลทั้งหมด (N)***
7. ความถี่สัมพัทธ์ = Nf
8. ความถี่สะสมสัมพัทธ์ = fc
N

การวิเคราะห์ข้อมูล
1. การหาค่ากลางข้อมูล
1.1) ข้อมูลไม่แจกแจงความถี่
1.1.1) ค่าเฉลี่ยเลขคณิต ( )
Σx
ข้อมูล 1 ชุด = fc
Nn
fc fc fc fc
n x n x fc k xk
n
n1 x1 + nข้2nxอ1 x2มู1+...
ล+knชุ+2 xดn2 k+... nNkfcxk = 1 1fc 2fc 2
N + N +... + N
xk = +Σx
n1 ++nn2 +... + nnΣxN nN1 + nN2 +... + nNk
n1 + n2 +... k
k
n
1.1.2) มัธยฐาน (Median)

ติวเข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya 99


ขั้นตอนการหามัธยฐาน
1. เรียงล�ำดับข้อมูลจากน้อยไปหามาก
2. หาต�ำแหน่งข้อมูล โดยใช้สูตร n 2+ 1
3. ข้อมูลที่ต�ำแหน่งตรงกับสูตร คือค่ามัธยฐาน

1.1.3) ฐานนิยม (Mode) ให้เลือกข้อมูลที่มีค่าซ�้ำกันบ่อยครั้งที่สุด โดยฐานนิยม สามารถมี 1 หรือ 2 ตัวก็ได้


ตัวอย่าง จงหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต มัธยฐาน และฐานนิยมจากชุดข้อมูลที่ก�ำหนดให้
16 14 11 11 20 19 8 5 14 13
1. ค่าเฉลี่ยเลขคณิต = 16 +14 +11+11+ 2010+19 + 8 + 5 +14 +13
ดังนั้น = 131
10
= 13.1
2. มัธยฐาน 1.เรียงล�ำดับข้อมูล จะได้ 5 8 11 11 13 14 14 16 19 20
2.ต�ำแหน่งของข้อมูล = 102+1 = 5.5 (อยู่ระหว่างต�ำแหน่งที่ 5 และ 6)
3.ข้อมูลต�ำแหน่งที่ 5 = 13 ข้อมูลต�ำแหน่งที่ 6 = 14
ดังนั้น มัธยฐาน = 13.5
3. ฐานนิยม ข้อมูลที่มีความถี่มากที่สุด = 11 (2 ตัว) และ 14 (2ตัว)
ดังนั้น ฐานนิยม = 11 และ 14

แบบฝึกหัด
1. คะแนนสอบวิชาภาษาอังกฤษของนักเรียนห้องหนึ่งมีดังนี้ (มีนักเรียนขาดสอบ 1 คน)
2 9 3 11 17 20 19
18 6 13 13 14 16 12
1) คนที่ขาดสอบ ต้องสอบให้ได้กี่คะแนน จึงจะท�ำให้คะแนนเฉลี่ยของการสอบเท่ากับ 12 คะแนน
2) ถ้านักเรียนที่ขาดสอบ สอบได้ 13 คะแนน จงหาผลต่างของมัธยฐานและฐานนิยม
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………

100 ติวเข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya


1.2) ข้อมูลแจกแจงความถี่
1.2.1) ค่าเฉลี่ยเลขคณิต ( ) = Σfx c
n
โดย f = ความถี่ของอันตรภาคชั้นนั้นๆ
xc = จุดกึ่งกลางชั้น Min + Max
2
n = จ�ำนวนข้อมูล หรือความถี่สะสมชั้นสุดท้าย
1.2.2) มัธยฐาน (Med)

ขั้นตอนการหามัธยฐาน fc

1. หาต�ำแหน่งข้อมูล โดยใช้สูตร N2n

2. น�ำต�ำแหน่งของข้อมูลที่ได้ ไปเทียบกับความถี่สะสม ว่าอยู่ในอันตรภาคชั้นใด


fc
n
⎛ N ⎞
⎜ − ΣfL ⎟
3. หาค่ามัธยฐาน โดยใช้สูตร Med = L + I ⎜ 2 ⎟
⎜ fMed ⎟
⎝ ⎠

โดย L = ขอบล่างของชั้นที่มีมัธยฐานอยู่
I = ความกว้างของอันตรภาคชั้น
Σf = ความถี่สะสมจนถึงก่อนหน้าชั้นที่มีมัธยฐานอยู่
L

f = ความถี่ของชั้นที่มีมัธยฐานอยู่
Med

1.2.3) ฐานนิยม (Mode)


⎛ d ⎞
สูตร Mode = L + I ⎜ 1 ⎟
⎝ d1 + d2 ⎠

โดย L = ขอบล่างของชั้นที่มีฐานนิยมอยู่ (ชั้นที่มีความถี่สูงสุด)


I = ความกว้างของอันตรภาคชั้น
d1 = ผลต่างของความถี่ ของชั้นที่มีความถี่สูงสุดกับชั้นก่อนหน้า
d2 = ผลต่างของความถี่ ของชั้นที่มีความถี่สูงสุดกับชั้นถัดไป

ตัวอย่าง ในการตรวจสุขภาพประจ�ำปี ผลน�้ำหนักของนักเรียนห้องหนึ่งเป็นดังนี้


น�้ำหนัก (กิโลกรัม) ความถี่ ความถี่สะสม
41-50 5 5
51-60 11 16
61-70 15 31
71-80 12 43
81-90 5 48
91-100 2 50

ติวเข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya 101


จงหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต มัธยฐาน และฐานนิยมจากข้อมูลดังกล่าว
1) ค่าเฉลี่ยเลขคณิต = Σfx
n

จุดกึ่งกลางชั้น = Min + Max


2

ชั้นที่ 1 = 41+2 50
= 45.5
ดังนัน้ จุดกึง่ กลางแต่ละชัน้ = 45.5, 55.5, 65.5, 75.5, 85.5 และ 95.5 ตามล�ำดับ (แต่ละชัน้ มีความกว้างอันตรภาคชัน้ เท่ากัน)

Σfx
= (45.5)(5) + (55.5)(11) + (65.5)(15)50+ (75.5)(12) + (85.5)(5) + (95.5)(2)
n
= 3345
50

= 66.9 กิโลกรัม
fc
n
N 50
2) มัธยฐาน 1.หาต�ำแหน่ง = = = 25
2 2

น�้ำหนัก (กิโลกรัม) ความถี่ ความถี่สะสม


41-50 5 5
51-60 11 16
61-70 15 31
71-80 12 43
81-90 5 48
91-100 2 50

จากความถี่สะสม จะเห็นว่าต�ำแหน่
fc
งของมัธยฐานอยู่ในอันตรภาคชั้นที่ 3
n
⎛ N ⎞
⎜ − ΣfL ⎟
จาก Med = L + I ⎜ 2 ⎟
⎜ fMed ⎟
⎝ ⎠

⎛ 50 ⎞
⎜ −16 ⎟
Med = 60.5 +10 ⎜ 2 ⎟
⎜ 15 ⎟
⎝ ⎠

ดังนั้น จะได้ Med = 66.5

102 ติวเข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya


3) ฐานนิยม อันตรภาคชั้นที่มีความถี่สูงสุด

น�้ำหนัก (กิโลกรัม) ความถี่ ความถี่สะสม


41-50 5 5
51-60 11 16
61-70 15 31
71-80 12 43
81-90 5 48
91-100 2 50

Mode = L + I ⎜ d d+ ;
⎛ ⎞
จาก 1
d
⎟ d1= 15-11 = 4 และ d2= 15-12 = 3
⎝ 1 2 ⎠

⎛ 4 ⎞
Mode = 60.5 +10 ⎜ ⎟
⎝ 4 + 3 ⎠

ดังนั้น Mode = 66.21

สรุป ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 66.9 มัธยฐานเท่ากับ 66.5 และฐานนิยมเท่ากับ 66.2

แบบฝึกหัด
2. จงหาค่ามัธยฐานและฐานนิยมจากตารางที่ก�ำหนดให้

คะแนน ความถี่สะสม
11-13 3
14-16 8
17-19 15
20-22 21
23-25 25
26-28 30

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ติวเข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya 103


2. การวัดต�ำแหน่งข้อมูล
2.1) ข้อมูลไม่แจกแจงความถี่
2.1.1) ควอไทล์ (Quartile)
ขั้นตอนการหาควอไทล์
1. เรียงล�ำดับข้อมูลจากน้อยไปมาก fc
r(nN +1)
2. หาต�ำแหน่งของควอไทล์จากสูตร Qr = th

4
3. ข้อมูลที่ต�ำแหน่งตรงกับสูตร คือค่าควอไทล์
2.1.2) เดไซล์ (Decile)
ขั้นตอนการหาเดไซล์
1. เรียงล�ำดับข้อมูลจากน้อยไปมาก fc
r(nN +1)
2. หาต�ำแหน่งของเดไซล์จากสูตร Dr = th

10
3. ข้อมูลที่ต�ำแหน่งตรงกับสูตร คือค่าเดไซล์
2.1.3) เปอร์เซ็นไทล์
ขั้นตอนการหาเปอร์เซ็นไทล์
1. เรียงล�ำดับข้อมูลจากน้อยไปมาก fc
r(nN +1)
2. หาต�ำแหน่งของเปอเซ็นไทล์จากสูตร Pr = th

100
3. ข้อมูลที่ต�ำแหน่งตรงกับสูตร คือค่าเปอร์เซ็นไทล์

*** การหาควอไทล์ เดไซล์ และเปอร์เซ็นไทล์ จะคล้ายกับการหามัธยฐาน ซึ่งจริงๆ แล้วมัธยฐานก็จัดเป็นการต�ำแหน่งของ


ข้อมูลเช่นกัน เพียงแต่มัธยฐานเราจะแบ่งข้อมูลออกเป็น 2 ส่วน ในขณะที่ควอไทล์ จะแบ่งข้อมูลออกเป็น 4 ส่วน เดไซล์ 10 ส่วน และ
เปอร์เซ็นไทล์ 100 ส่วน***

***Q2 = D5 = P50 = Median***

ตัวอย่าง

6 10 18 8 13 15 4 7 13 3

จากชุดข้อมูลที่ก�ำหนดให้ จงหา Q3, D8 และ P40

104 ติวเข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya


1) เรียงล�ำดับข้อมูลจากน้อยไปมาก จะได้

3 4 6 7 8 10 13 13 15 18

2) หาต�ำแหน่งของ Q3, D8 และ P40


fc
r(nN +1) 3(10 +1)
ต�ำแหน่งของ Q3 =
= =
= = 8.25
=
4
fc
4
r(nN +1) = 6.6 8(10 +1)
ต�ำแหน่งของ D6 =
= =
= = = 6.6
10
fc
10
r(nN +1) 40(10 +1)
ต�ำแหน่งของ P40 =
= =
= = 4.4
=
100 100

3) เทียบต�ำแหน่งกับ Q, D และ P ด้วยบัญญัติไตรยางศ์


ต�ำแหน่งของ Q3 = 8.25 (อยู่ระหว่างต�ำแหน่งที่ 8 และ 9)
ข้อมูลต�ำแหน่งที่ 8 = 13 ข้อมูลต�ำแหน่งที่ 9 = 15
ผลต่างข้อมูล = 2 (มาจาก 15-13) ผลต่างต�ำแหน่งของข้อมูล = 1 (มาจาก 9-8)
ดังนั้น ต�ำแหน่งที่ 8.25 = ค่าในต�ำแหน่งที่ 8 + (0.25)2 = 13+0.5 = 13.5
ต�ำแหน่งของ D6 = 6.6 (อยู่ระหว่างต�ำแหน่งที่ 6 และ 7)
ผลต่างข้อมูล = 3 (มาจาก 13-10) ผลต่างต�ำแหน่งของข้อมูล = 1 (มาจาก 7-6)
ดังนั้น ต�ำแหน่งที่ 6.6 = ค่าในต�ำแหน่งที่ 6 + (0.6)3 = 10+1.8 = 11.8
ต�ำแหน่งของ P40 = 4.4 (อยู่ระหว่างต�ำแหน่งที่ 4 และ 5)
ผลต่างข้อมูล = 1 (มาจาก 8-7) ผลต่างต�ำแหน่งของข้อมูล = 1 (มาจาก 5-4)
ดังนั้น ต�ำแหน่งที่ 4.4 = ค่าในต�ำแหน่งที่ 4 + (0.4)1 = 7+0.4 = 7.4
ดังนั้น Q3 = 13.5 , D8 = 11.8 และ P40 = 7.4

2.2) ข้อมูลแจกแจงความถี่
2.1.1) ควอไทล์ (Quartile)
fc
rnN
ขั้นตอนการหาควอไทล์ 1. หาต�ำแหน่งของควอไทล์จากสูตร Qrth =
fc 4
⎛ rnN ⎞
⎜ − ΣfL ⎟
2. QDr = L + I ⎜ 10 ⎟
⎜ fD ⎟
⎝ ⎠

2.1.2) เดไซล์ (Decile) fc


rnN
ขั้นตอนการหาเดไซล์ 1.หาต�ำแหน่งของเดไซล์จากสูตร Dr =
th
fc 10
⎛ rnN ⎞
⎜ − ΣfL ⎟
2. Dr = L + I ⎜ 10 ⎟
⎜ fD ⎟
⎝ ⎠

ติวเข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya 105


2.1.3) เปอร์เซ็นไทล์ fc
rnN
ขั้นตอนการหาเปอร์เซ็นไทล์ 1.หาต�ำแหน่งของเปอร์เซ็นไทล์จากสูตร Pr =
th
fc 100
⎛ rnN ⎞
⎜ − ΣfL ⎟
2. Pr = L + I ⎜ 100 ⎟
⎜ fP ⎟
⎝ ⎠

โดย L = ขอบล่างของชั้นที่มีควอไทล์ เดไซล์ เปอเซ็นไทล์อยู่


I = ความกว้างของอันตรภาคชั้น
ΣfL = ความถี่สะสมจนถึงก่อนหน้าชั้นที่มีมีควอไทล์ เดไซล์ เปอเซ็นไทล์
f Q ,D ,P = ความถี่ของชั้นที่มีมีควอไทล์ เดไซล์ เปอร์เซ็นไทล์อยู่

ตัวอย่าง ในการตรวจสุขภาพประจ�ำปี ผลน�้ำหนักของนักเรียนห้องหนึ่งเป็นดังนี้

น�้ำหนัก (กิโลกรัม) ความถี่ ความถี่สะสม


41-50 5 5
51-60 11 16
61-70 15 31
71-80 12 43
81-90 5 48
91-100 2 50

จงหา Q1, D3 และ P70 จากข้อมูลดังกล่าว

1) หาตำ�แหน่ง Q1, D3 และ P70


fc
ตำ�แหน่งของ Q1 = rnN 1(50)
= = 12.5
4 4
fc
ตำ�แหน่งของ D 3 = rnN 3(50)
= = 15
10 10
fc
ตำ�แหน่งของ P70 = rnN 70(50)
= = 35
100 100

น�้ำหนัก (กิโลกรัม) ความถี่ ความถี่สะสม


41-50 5 5
51-60 11 16
61-70 15 31
71-80 12 43
81-90 5 48
91-100 2 50

106 ติวเข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya


จากต�ำแหน่งของ Q1, D3 และ P70 จะเห็นว่า Q1 และ D3 อยู่ในอันตรภาคชั้นที่ 2 ในขณะที่ P70 อยู่ในอันตรภาคชั้นที่ 4
fc
⎛ rnN ⎞
⎜ − ΣfL ⎟
Q1 : จาก Qr = L + I ⎜ 4 ⎟
⎜ fQ ⎟
⎝ ⎠
⎛ 12.5 − 5 ⎞
จะได้ Q1 = 50.5 +10 ⎜ ⎟
⎝ 11 ⎠

ดังนั้น Q1 = 57.32
fc
⎛ rnN ⎞
⎜ − ΣfL ⎟
D3 : จาก Dr = L + I ⎜ 10 ⎟
⎜ fD ⎟
⎝ ⎠
⎛ 15 − 5 ⎞
จะได้ D3 = 50.5 +10 ⎜
⎝ 11 ⎠
⎟

ดังนั้น D3 = 59.59
fc
⎛ rnN ⎞
⎜ − ΣfL ⎟
P70 : จาก Pr = L + I ⎜ 100 ⎟
⎜ fP ⎟
⎝ ⎠
⎛ 35 − 31⎛ 35
⎞ − 31 ⎞
จะได้ P70 = L70.5
P+70I=⎜+L 10
+ I ⎜ ⎟ ⎟
⎝ 12 ⎝ ⎠ 12 ⎠

ดังนั้น P70 = 73.83

ดังนั้น Q1 = 57.32, D3 = 59.59, และ P70 = 73.83

ข้อควรจ�ำ
TIPS ถ้าหากต�ำแหน่งของมัธยฐาน ควอไทล์ เดไซล์ หรือเปอร์เซ็นไทล์ มีค่าตรงกับความถี่สะสมของชั้นใดมัธยฐาน ควอไทล์
เดไซล์ หรือเปอเซ็นไทล์จะมีค่าเท่ากับขอบบนของชั้นนั้นๆ

3. การวัดการกระจายข้อมูล
3.1) พิสัย = Max – Min
Q3 − Q1
3.2) ส่วนเบี่ยงเบนควอไทล์ =
2
Σ | xfc− x |
3.3) ส่วนเบี่ยงเบนเฉลี่ย (M.D) =
nN
fc x )
2
Σ(x − fc
3.4) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) =
n
N N

3.5) ความแปรปรวน (S.D.)2 = Σ(x −fc x )


2

nN

ติวเข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya 107


ตัวอย่าง จงหาพิสัยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานจากข้อมูลต่อไปนี้
16 14 11 11 20 19 8 5 14 13

จากพิสัย = Max – Min = 20 – 5

ดังนั้น พิสัย = 15

จาก x = Σx
n
x = 16 +14
16 +14
+11+ 20 +19
+11+ 20 +19
+ 8 ++58+14
+ 5 +14
+13 +13
10 10

ดังนั้น = 13.1

จาก S.D. = Σ(x − x )2


n
(16 −12)2 + (14 −12)2 + (11−12)2 + (11−12)2 + (20 −12)2 + (19 −12)2 + (8 −12)2 + (5 −12)2 + (14 −12)2 + (13−12)2
S.D. =
10

ดังนั้น S.D. = 4.53

แบบฝึกหัด
3. พิจารณาข้อมูลต่อไปนี้
1) หากก�ำหนดให้ข้อมูลทั้งสองชุด ได้แก่ ก และ ข มีจ�ำนวนข้อมูล และผลรวมของก�ำลังสองข้อมูลแต่ละข้อมูลเท่ากัน หาก
ชุดข้อมูล ก มีค่าเฉลี่ยเลขคณิตมากกว่าชุดข้อมูล ข ชุดข้อมูล ก จะมีค่าการกระจายของข้อมูลสูงกว่าชุดข้อมูล ข
2) หากก�ำหนดให้ข้อมูลทั้งสองชุด ได้แก่ ค และ ง มีค่าเฉลี่ยเลขคณิตเท่ากัน และผลรวมของก�ำลงสองข้อมูลแต่ละข้อมูล
เท่ากัน หากชุดข้อมูล ค มีจำ� นวนประชากรมากกว่าชุดข้อมูล ง ชุดข้อมูล ค จะมีคา่ การกระจายของข้อมูลต�ำ่ กว่าชุดข้อมูล ง

ข้อใดเป็นจริง เมื่อพิจารณาส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของข้อมูล
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………

108 ติวเข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya


เฉลยแบบฝึกหัด

1. คะแนนสอบวิชาภาษาอังกฤษของนักเรียนห้องหนึ่งมีดังนี้ (มีนักเรียนขาดสอบ 1 คน)


2 9 3 11 17 20 19
18 6 13 13 14 16 12
1) คนที่ขาดสอบ ต้องสอบให้ได้กี่คะแนน จึงจะท�ำให้คะแนนเฉลี่ยของการสอบเท่ากับ 12 คะแนน
2) ถ้านักเรียนที่ขาดสอบ สอบได้ 13 คะแนน จงหาผลต่างของมัธยฐานและฐานนิยม
วิธีท�ำ 1) ก�ำหนดให้ x = 12
คะแนนของคนที่ขาดสอบ = x
12 = 2 + 9 + 3+11+17 + 20 +19 +18 + 6 +13+13+14 +16 +12 + x
15
180 = 173 + x
x = 180-173
x = 7
ดังนั้น นักเรียนที่ขาดสอบ ต้องได้คะแนน 7 คะแนน
2) เรียงล�ำดับข้อมูลจากน้อยไปมาก
2 3 6 9 11 12 13 13 14 16 17 18 19 20
ต�ำแหน่งมัธยฐาน = ต�ำแหน่งที่ 8
มัธยฐาน = 13
ฐานนิยม = ข้อมูลที่มีความถี่สูงสุด
= 13
ดังนั้นผลต่างของมัธยฐานและฐานนิยม = 0

2. จงหาค่ามัธยฐานและฐานนิยมจากตารางที่ก�ำหนดให้

คะแนน ความถี่สะสม
11-13 3
14-16 8
17-19 15
20-22 21
23-25 25
26-28 30

ติวเข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya 109


วิธีท�ำ จากตาราง ให้น�ำค่าความถี่สะสมไปหาความถี่ในแต่ละอันตรภาคชั้น

คะแนน ความถี่ ความถี่สะสม


11-13 3 3
14-16 5 8
17-19 7 15
20-22 6 21
23-25 4 25
26-28 5 30

1) ต�ำแหน่งของมัธยฐาน = 15
จาก ***TIPS ถ้าหากต�ำแหน่งของมัธยฐาน ควอไทล์ เดไซล์ หรือเปอเซ็นไทล์ มีค่าตรงกับความถี่สะสมของชั้นใดมัธยฐาน
ควอไทล์ เดไซล์ หรือเปอเซ็นไทล์จะมีค่าเท่ากับขอบบนของชั้นนั้นๆ
20 +19
ดังนั้น มัธยฐาน = 2

= 19.5
2) ฐานนิยม มาจากชั้นที่มีความถี่มากสุด = อันตรภาคชั้นที่ 3 (ความถี่ = 7)
⎛ d ⎞
จาก Mode = L + I ⎜ 1 ⎟
⎝ d1 + d2 ⎠
1 ⎞
Mode = 16.5 + 3⎛⎜ ⎟
⎝ 2 +1 ⎠
ดังนั้น ฐานนิยม = 17.5

3. พิจารณาข้อมูลต่อไปนี้
1) หากก�ำหนดให้ข้อมูลทั้งสองชุด ได้แก่ ก และ ข มีจ�ำนวนข้อมูล และผลรวมของก�ำลังสองข้อมูลแต่ละข้อมูลเท่ากัน หาก
ชุดข้อมูล ก มีค่าเฉลี่ยเลขคณิตมากกว่าชุดข้อมูล ข ชุดข้อมูล ก จะมีค่าการกระจายของข้อมูลสูงกว่าชุดข้อมูล ข
2) หากก�ำหนดให้ข้อมูลทั้งสองชุด ได้แก่ ค และ ง มีค่าเฉลี่ยเลขคณิตเท่ากัน และผลรวมของก�ำลงสองข้อมูลแต่ละข้อมูล
เท่ากัน หากชุดข้อมูล ค มีจ�ำนวนประชากรมากกว่าชุดข้อมูล ง ชุดข้อมูล ค จะมีค่าการกระจายของข้อมูลต�่ำกว่าชุด
ข้อมูล ง

ข้อใดเป็นจริง เมื่อพิจารณาส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของข้อมูล
fc
วิธีท�ำ 1) จาก N fc
ก�ำหนดให้ N มีค่าเท่ากันแต่ ชุดข้อมูล ก มีค่าของ มากกว่า จึงท�ำให้ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของชุดข้อมูล
ก มีค่าน้อยกว่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของชุดข้อมูล ข ดังนั้น ชุดข้อมูล ก มีค่าการกระจายของข้อมูลน้อยกว่า ข้อความ
(1) จึงผิด
2) ก�ำหนดให้ มีค่าเท่ากัน แต่ชุดข้อมูล ค มีค่าของ มากกว่า จึงท�ำให้ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของชุดข้อมูล
ค มีค่าน้อยกว่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของชุดข้อมูล ง ดังนั้น ชุดข้อมูล ค มีค่าการกระจายของข้อมูลน้อยกว่า ข้อความ
(2). จึงถูกต้อง

110 ติวเข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya


น้องๆ สามารถศึกษาเพิ่มเติมได้ที่
Tag : สอนศาสตร์, คณิตศาสตร์, สถิติ

• 20 : สถิติ 1
http://www.trueplookpanya.com/book/m6/
onet-math/ch9-1

• 21 : สถิติ 2
http://www.trueplookpanya.com/book/m6/
onet-math/ch9-2

• 22 : สถิติ 3
http://www.trueplookpanya.com/book/m6/
onet-math/ch9-3

• 23 : สถิติ 4
http://www.trueplookpanya.com/book/m6/
onet-math/ch9-4

• 24 : สถิติ 5
http://www.trueplookpanya.com/book/m6/
onet-math/ch9-5

• สรุปสูตรคณิตศาสตร์สำ�หรับเตรียมสอบ -
เรื่อง สถิติ
http://www.trueplookpanya.com/book/m6/
onet-math/ch9-6

ติวเข้ม O-NET Get 100 by TruePlookpanya 111


บรรณานุกรม
สมัย เหล่าวานิชย์ และ พัวพรรณ เหล่าวานิชย์. (ม.ป.ป.). คณิตศาสตร์ 1 พื้นฐาน + เพิ่มเติม. กรุงเทพมหานคร :
ส�ำนักพิมพ์ไฮเอ็ดพับลิชชิ่ง.

สมัย เหล่าวานิชย์ และ พัวพรรณ เหล่าวานิชย์. (ม.ป.ป.). คณิตศาสตร์ 2 พื้นฐาน + เพิ่มเติม. กรุงเทพมหานคร :
ส�ำนักพิมพ์ไฮเอ็ดพับลิชชิ่ง.

สุเทพ ทองอยู่. (ม.ป.ป.). คู่มือคณิตศาสตร์ ม.5 เล่ม 3 ค.011. กรุงเทพมหานคร : ส�ำนักพิมพ์ภูมิบัณฑิต.

You might also like