Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 160

เอกสารประกอบการสอน

รายวิชา

04-031-202
กลศาสตร์วัสดุ
(Mechanics of Materials)

โดย
ดร.พลเทพ เวงสูงเนิน

สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องจักรกลเกษตร
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน
นครราชสีมา
คานา

เอกสารประกอบการสอนเล่มนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชากลศาสตร์วัสดุ (mechanic of material) รหัสวิชา


04-031-202 อยู่ในกลุ่มวิชาชีพบังคับ กลุ่มรายวิชาของแข็ง ซึ่งนักศึกษาที่เข้าเรียนจาเป็นต้องผ่านการเรียน
และสอบผ่านในรายวิชาสถิตยศาสตร์ (static) ก่อน เป็นวิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับความเค้นและความเครียด
ความสัมพันธ์ระหว่างความเค้นและความเครียด ความเค้นที่เกิดจากอุณหภูมิ ภาชนะอัดความดันและการ
เชื่อมต่อ การบิดตัวของเพลาตันและเพลากลวง การเขียนแผนภาพแรงเฉือนและโมเมนต์ดัด การคานวณหา
ค่าความเค้นดัดและความเค้นเฉือนในคาน พร้อมทั้งการหาค่าระยะโก่งที่เกิดขึ้นในคานโดยใช้วิธีอื่นๆ การโก่ง
ตัวของเสา วงกลมมอร์ ความเค้นผสมและเงื่อนไขการเสียหาย โดยเนื้อหาและรูปภาพส่วนใหญ่จะอ้างอิงมา
จากหนังสือของ Hibberler, R. (2011). Mechanics of Materials (8th ed.). United States of America:
Pearson Prentice Hall. ซึ่งเป็นหนังสือที่ผู้เขียนเคยอ่านแล้วรู้สึกว่าเข้าใจได้ง่าย เนื้อหาครบถ้วนสมบูรณ์
ดังนั้นจึงได้นาเอาเนื้อหาส่วนใหญ่มาจากหนังสือเล่มนี้ และก็มีอีกหลายๆ ส่วนที่นามาจากหนังสือเล่มอื่นๆ
ดังที่ได้แสดงในบรรณานุกรม
ภายในเอกสารประกอบการสอนประกอบไปด้วย 7 หน่วยการเรียนรู้ด้วยกัน โดยแบ่งจากเนื้อหาที่มี
ความง่ายไปจนถึงเนื้อหาที่มีความซับซ้อนมากกว่า ในแต่ละหน่วยจะมีแบบฝึกหัดที่มีช่องว่าง และโจทย์
ปัญหาที่เว้นว่างไว้เพื่อให้นักศึกษาที่เข้าเรี ยนได้ร่วมทาแบบฝึกหัดและคานวณไปพร้อมกับผู้เขียน อนึ่งผู้ที่
เรียนวิชานี้ควรที่จะมีพื้นฐานทางการแก้ไขสมการทางคณิตศาสตร์และการวิเคราะห์ทางสถิตศาสตร์ที่ดี
พอสมควร เพื่อให้สามารถคานวณและวิเคราะห์ตามผู้เขียนได้อย่างเข้าใจ
สุดท้ายผู้เขียนตระหนักดีว่าถึงแม้เอกสารประกอบการสอนที่ผ่านการตรวจทานจากผู้เขียนอย่างเข้มข้น
และผ่านพิจารณาจากผู้ทรงคุณวุฒิ แต่เอกสารเล่มนี้ก็อาจจะมีจุดที่ผิดพลาดบ้างซึ่งหากผู้เขียนพบก็จะได้
นาเอาไปปรับปรุงในโอกาสต่อไป และหวังว่านักศึกษาที่เข้าเรียนและได้นาเอาเอกสารประกอบการสอนเล่มนี้
มาใช้ประกอบกับการเรียนจะได้ผลประโยชน์สูงสุดในการศึกษาเพื่อให้สมกับเป็นวิศวกรนักปฏิบัติต่อไปใน
อนาคต

( นายพลเทพ เวงสูงเนิน )
สารบัญ

หน้า
คานา ก
สารบัญ ข
ลักษณะรายวิชา ฉ
การแบ่งหน่วยเรียน ช
จุดประสงค์การสอน ฌ
กาหนดการสอน ฑ
การประเมินผลรายวิชา ณ
ตารางกาหนดนาหนักคะแนน ด
หน่วยที่ 1 แนวคิดเบื้องต้นและการทบทวนสถิตยศาสตร์ 1-2
1.1 กลศาสตร์ (mechanics) 1-2
1.2 แนวคิดพื้นฐาน 1-3
1.3 สเกลาร์ และเวคเตอร์ 1-3
1.4 กฎของนิวตัน 1-8
1.5 ทบวนสถิตศาสตร์ (static) 1-10
หน่วยที่ 2 ความเค้น (stress) และความเครียด (strain) เฉลี่ย 2-2
2.1 ความเค้น (stress) 2-2
2.2 ความเครียด (strain) 2-15
หน่วยที่ 3 คุณสมบัติทางกลของวัสดุ (mechanical properties of materials) 3-2
3.1 การทดสอบการยืดและการกดอัด (the tension and compression test) 3-2
3.2 แผนภาพความเค้น-ความเครียด (the stress-strain diagram) 3-2
3.3 กฎของฮุค (hooke’s law) 3-4
3.4 อัตราส่วนปัวซอง (poisson’s ratio) 3-9
3.5 การเสียหายของวัสดุเนื่องจากการคืบและความล้า (failure of materials due to creep
and fatigue) 3-11

หน่วยที่ 4 ภาระในแนวแกน (axial Load) และการบิด (torsion) 4-2


4.1 ภาระในแนวแกน (axial load) 4-2
4.2 การบิด (torsion) 4-15
หน่วยที่ 5 การดัด (bending) แรงกระทาตามขวาง (transverse shear) และภาชนะผนังบาง
(pressure vessel) 5-2
5.1 การดัด (bending) 5-2
5.2 แรงกระทาตามขวาง (transverse shear) 5-15
5.3 ภาชนะผนังบาง (thin-walled pressure vessels) 5-21
5.4 ความเค้นผสมเนื่องจากภาระหลายรูปแบบ (state of stress caused by combined
loading) 5-24
หน่วยที่ 6 การเปลี่ยนรูปความเค้น (stress transformation) 6-2
6.1 การแปลงความเค้นระนาบ (plane stress transformation) และสมการที่ใช้ในการหาแปลง
ค่าความเค้น (general equations of plane-stress transformation) 6-2
6.2 ความเค้นหลักและค่าความเค้นเฉือนสูงสุด (principal stresses and maximum in-plane
shear stress) 6-6
6.3 การวิเคราะห์ความเค้นระนาบด้วยวงกลมโมร์ (mohr’s circle-plane stress) 6-10
6.4 ความเค้นเฉือนสูงสุดสัมบูรณ์ (absolute maximum shear stress) 6-12
หน่วยที่ 7 การโก่งเดาะของเสา (bucking of columns) 7-2
7.1 สูตรของออยเลอร์สาหรับเสาในอุดมคติ 7-2
7.2 เสาในอุดมคติที่มีจุดรองรับแบบสลักที่ปลายทั้งสองข้าง (ideal column with pin
supports) 7-2
7.3 การวิเคราะห์เสาที่จุดยึดแบบต่างๆ (columns having various types of supports) 7-5
แบบฝึกหัดเสริม บฝ-1
เฉลยแบบฝึกหัดเสริม ฉฝ-1
บรรณานุกรม บน-1
ภาพผนวก ภผ-1

วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าประสงค์ ประเด็นยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลัย

1) วิสัยทัศน์ (Vision)
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน เป็นมหาวิทยาลัยด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีคุณภาพ
ชั้นนาในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ที่มุ่งเน้นการผลิตนักปฏิบัติด้านวิชาชีพ เพื่อพัฒนาชุมชนและสังคม

2) พันธกิจ (Mission)
1. จัดการศึกษาระดับอุดมศึกษาบนพื้นฐาน ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่มีคุณภาพตาม
มาตรฐานสอดคล้องกับความต้องการของผู้รับบริการ
2. สร้างงานวิจัย สิ่งประดิษฐ์ และนวัตกรรม บนพื้นฐานของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสู่การ
ผลิตการบริการ และการสร้างมูลค่าเพิ่มให้ประเทศ
3. มุ่งบริการวิชาการและถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่สังคม
4. ทานุบารุงศาสนา อนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรม และรักษาสิ่งแวดล้อม
5. บริหารจัดการด้วยระบบธรรมาภิบาลเพื่อเพิ่มศักยภาพการทางานขององค์กร

3) เป้าประสงค์ (Goals)
1. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน เป็นแหล่งการศึกษาด้านวิชาชีพทางเทคโนโลยีเชิง
บูรณาการ ที่มีความเข้มแข็งด้านวิชาการ เป็นที่พึ่งของประชาชนในทุกพื้นที่ ให้สามารถเรียนรู้ได้ตลอดชีวิต
2. ผลิตบัณฑิตทางวิชาชีพ ที่มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยี มีคุณธรรม และปฏิบัติงานได้
อย่างมืออาชีพ
3. ประชาชนมีศักยภาพในการสร้างงานด้านวิชาชีพ ด้านเทคโนโลยี ที่สามารถแข่งขันได้
4) ประเด็นยุทธศาสตร์ (Strategic Issues)
1. ศูนย์กลางการศึกษาและความรู้ (Hub) ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่มีความเข้มแข็ง
2. สร้างคนดี คนเก่ง ที่มีทักษะในการทางานทาให้เป็นทุนมนุษย์ (Human capital) ของ
ประเทศ
3. ศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดจนการถ่ายทอดความรู้ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเชิง
บูรณาการที่ได้ มาตรฐาน เพื่อความเป็นอยู่ที่ดีของคนไทย

ปรัชญา ความสาคัญ และวัตถุประสงค์ของหลักสูตร

1) ปรัชญา
เพื่อผลิ ตบั ณฑิตให้ มีความเป็ นผู้ นาด้านการปฏิบัติ สามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในงานวิศวกรรม
เครื่องจักรกลเกษตร ตลอดจนมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ และมีคุณธรรม จริยธรรม
2) วัตถุประสงค์
1) เพื่อผลิ ตวิศวกรปฏิบั ติการระดับปริญญาตรีที่มี คุณสมบัติเหมาะสม สามารถปฏิบัติ งาน
วิศวกรรมเครื่องจักรกลเกษตรในสภาพปัจจุบัน
2) เพื่อผลิตวิศวกรด้านเครื่องจักรกลเกษตร ที่มีความสามารถปฏิบัติงานเฉพาะด้าน สามารถใช้
หลักวิชาเพื่อแก้ปัญหาในด้านวิศวกรรมเครื่องจักรกลเกษตรและอุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้อง มีความรู้ขั้นพื้นฐาน
ทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ เกษตรศาสตร์ สังคมศาสตร์และอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อนามาประยุกต์ใช้ในงาน
วิ ศ วกรรมเครื่ อ งจั ก รกลเกษตรได้ เป็ น อย่ างดี สามารถปฏิ บั ติ ง านด้ า นวิ ศ วกรรมในลั ก ษณะที่ เ พิ่ ม พู น
ประสิทธิภาพ เพิ่มผลผลิตทางการเกษตร การรักษาสภาวะแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ เพื่อให้คุณภาพ
ชีวิตดีขึ้น
3) เพื่อฝึกฝนให้มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ มีกิจนิสัยในการค้นคว้า ปรับปรุงตนเองให้ก้าวหน้าอยู่
เสมอ สามารถวางแผนเพื่อกาหนดการปฏิบัติงานและควบคุมที่ถูกหลักวิชาการ ซึ่งจะก่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์
ตามเป้าหมายอย่างประหยัด รวดเร็ว ตรงต่อเวลาและมีคุณภาพ
4) เพื่อเสริ มสร้ างคุ ณธรรม จริยธรรม ความมีระเบี ยบวินั ย ตรงต่อเวลา ความซื่อสั ตย์ สุ จ ริ ต
ขยันหมั่นเพียรความสานึกในจรรยาบรรณแห่งวิชาชีพ ความรับผิดชอบต่อหน้าที่และสังคม

ลักษณะรายวิชา
1. รหัสและชื่อวิชา 04-031-202 กลศาสตร์วัสดุ (Mechanics of Materials)
2. สภาพรายวิชา วิชาชีพบังคับกลุ่มรายวิชาของแข็ง
3. ระดับรายวิชา ชั้นปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 1
4. วิชาบังคับก่อน 04-030-101 สถิตยศาสตร์
5. เวลาเรียน ทฤษฎี 45 คาบ ปฏิบัติ – คาบต่อสัปดาห์และนักศึกษาจะต้องใช้เวลาศึกษา
ค้นคว้านอกเวลา 6 ชั่วโมงต่อสัปดาห์
6. จานวนหน่วยกิต 3 (3-0-6) หน่วยกิต
7. จุดประสงค์รายวิชา 1. คานวณความเค้นและความเครียด ความสัมพันธ์ระหว่างความเค้นและ
ความเครียด ความเค้นที่เกิดจากอุณหภูมิ
2. เข้าใจภาชนะอัดความดันและการเชื่อมต่อ
3. คานวณการบิดตัวของเพลาตันและเพลากลวง
4. เขียนแผนภาพแรงเฉือนและโมเมนต์ดัด
5. คานวณหาค่าความเค้นดัดและความเค้นเฉือนในคาน พร้อมทั้งการหาค่า
ระยะโก่งที่เกิดขึ้นในคานโดยใช้วิธีอื่นๆ
6. ค านวณการโก่ งตั ว ของเสา วงกลมมอร์ ความเค้ นผสม และทราบถึ ง
เงือ่ นไขการเสียหายต่างๆ ได้
7. ตระหนักในความสาคัญของการศึกษากลศาสตร์วัสดุ
8. คาอธิบายรายวิชา ศึกษาเกี่ยวกับความเค้นและความเครียด ความสัมพันธ์ระหว่างความเค้น
และความเครียด ความเค้นที่เกิดจากอุณหภูมิ ภาชนะอัดความดันและการ
เชื่อมต่อ การบิดตัวของเพลาตันและเพลากลวง การเขียนแผนภาพแรงเฉือน
และโมเมนต์ดัด การคานวณหาค่าความเค้นดัดและความเค้นเฉือนในคาน
พร้อมทั้งการหาค่าระยะโก่งที่เกิดขึ้นในคานโดยใช้วิธีอื่นๆ การโก่งตัวของเสา
วงกลมมอร์ ความเค้นผสม เงื่อนไขการเสียหาย

การแบ่งหน่วยเรียน
ชั่วโมงเรียน
หน่วยที่ รายการ
ทฤษฎี ปฏิบัติ
1 แนวคิดเบืองต้นและการทบทวนสถิตยศาสตร์ 3
1.1. กลศาสตร์ (mechanics)
1.2. แนวคิดพื้นฐาน
1.3. สเกลาร์ และเวคเตอร์
1.4. กฎของนิวตัน
1.5. ทบวนสถิตศาสตร์ (static)
2 ความเค้น (stress) และความเครียด (strain) เฉลี่ย 9
2.1. ความเค้น (stress)
2.2. ความเครียด (strain)
3 คุณสมบัติทางกลของวัสดุ (mechanical properties of materials) 3
3.1. การทดสอบการยื ดและ การ กดอั ด ( the tension and
compression test)
3.2. แผนภาพความเค้น-ความเครียด (the stress-strain diagram)
3.3. กฎของฮุค (hooke’s law)
3.4. อัตราส่วนปัวซอง (poisson’s ratio)
3.5. การเสียหายของวัสดุเนื่องจากการคืบและความล้า (failure of
materials due to creep and fatigre)
4 ภาระในแนวแกน (axial load) และการบิด (torsion) 9
4.1. ภาระในแนวแกน (axial load)
4.2. การบิด (torsion)
5 การดั ด (bending) แรงกระท าตามขวาง (transverse shear) และ 12
ภาชนะผนังบาง (pressure vessel)
5.1. การดัด (bending)
5.2. แรงกระทาตามขวาง (transverse shear)
5.3. ภาชนะผนังบาง (pressure vessel)
5.4. ความเค้ น ผสมเนื่ องจากภาระหลายรู ปแบบ (state of stress
caused by combined loading)
6 การเปลี่ยนรูปความเค้น (stress transformation) 6

ชั่วโมงเรียน
หน่วยที่ รายการ
ทฤษฎี ปฏิบัติ
6.1. การแปลงความเค้นระนาบ (plane stress transformation)
6.2. ความเค้นหลักและค่าความเค้นเฉือนสูงสุด (principal stresses
and maximum in-plane shear stress)
6.3. การวิเคราะห์ความเค้นระนาบด้วยวงกลมโมร์ (mohr’s circle-
plane stress)
6.4. ความเค้ น เฉื อ นสู ง สุ ด สั ม บู ร ณ์ (absolute maximum shear
stress)
7 การโก่งเดาะของเสา (bucking of columns) 3
7.1. สูตรของออยเลอร์สาหรับเสาในอุดมคติ
7.2. เสาในอุดมคติที่มีจุดรองรับแบบสลักที่ปลายทั้งสองข้าง (ideal
column with pin supports)
7.3. การวิเคราะห์เสาที่จุดยึดแบบต่างๆ (columns having various
types of supports)
รวมทฤษฎี 45 ชม.
ทดสอบ 6 ชม.
รวม 51 ชม.

จุดประสงค์การสอน
เวลาเรียน
หน่วยที่ รายการ ทฤษฎี ปฏิบัติ
(นาที) (นาที)
1 แนวคิดเบื้องต้นและการทบทวนสถิตยศาสตร์ (180)
1.1. รู้ที่มาของกลศาสตร์ 30
1.1.1. บอกความหมายของกลศาสตร์ของวัตถุแกร่ง (rigid-
body mechanics) 30
1.1.2. บอกความหมายของกลศาสตร์ของวัตถุที่สามารถ
เปลี่ยนแปลงรูปร่าง (deformable-body mechanics)
1.1.3. บอกความหมายของกลศาสตร์ของกลศาสตร์ ของ 30
ไหล (fluid mechanic)
1.2. เข้าใจแนวคิดพื้นฐาน
1.2.1. ยกตัวอย่างปริมาณทางฟิสิกส์
1.2.2. ยกตัวอย่างปริมาณพื้นฐาน (basic quantities)
1.3. คานวณสเกลาร์ และเวคเตอร์ 30
-
1.3.1. เข้าใจปริมาณกายภาพ
1.3.2. คานวณหาเวกเตอร์ลัพธ์
1.3.3. คานวณกฎของไซน์ (sine law) และโคไซน์ (cosine
law)
1.4. เข้าใจกฎของนิวตัน 60
1.4.1. อธิบายที่มาของกฎของนิวตัน
1.4.2. อธิบายกฎข้อที่ 1 ของนิวตัน
1.4.3. อธิบายกฎข้อที่ 2 ของนิวตัน
1.4.4. อธิบายกฎข้อที่ 3 ของนิวตัน
1.5. คานวณสถิตศาสตร์ (static)
1.5.1. คานวณแรงลัพธ์
1.5.2. คานวณโมเมนต์ลัพธ์
2 ความเค้น (stress) และความเครียด (strain) เฉลี่ย (540)
2.1. คานวณความเค้น 360 -
2.1.1. คานวณความเค้น (stress)

เวลาเรียน
หน่วยที่ รายการ ทฤษฎี ปฏิบัติ
(นาที) (นาที)
2.1.2. คานวณความเค้นในแนวแกนเฉลี่ย
2.1.3. คานวณความเค้นเฉือนเฉลี่ย
2.1.4. คานวณค่าความปลอดภัย
2.2. คานวณความเครียด (strain) 180
2.2.1. คานวณการเสียรูป (deformation)
2.2.2. คานวณความเครียด (strain)
3 คุณสมบัติทางกลของวัสดุ (mechanical properties of materials) (180)
3.1. รู้ ก ารทดสอบการยื ด และการกดอั ด (the tension and 30
compression test)
3.1.1. บอกความหมายการทดสอบการยืด
3.1.2. บอกความหมายการทดสอบการอัด
3.2. เข้าใจแผนภาพความเค้น-ความเครียด (the stress-strain 30
diagram)
3.2.1. อธิบายแผนภาพความเค้น-ความเครียด
3.2.2. อธิบายพฤติกรรมยืดหยุ่น
3.2.3. อธิบายช่วงครากตัว
-
3.3. เข้าใจกฎของฮุค (hooke’s law) 30
3.3.1. อธิบายกฎของฮุค
3.3.2. อธิบายความหมายของค่ามอดูลัสของยัง
3.4. คานวณอัตราส่วนปัวซอง (poisson’s ratio) 30
3.4.1. อธิบายความหมายของอัตราส่วนปัวซอง
3.4.2. คานวณอัตราส่วนปัวซอง
3.5. คานวณการเสียหายของวัสดุเนื่องจากการคืบและความล้า 60
(failure of materials due to creep and fatigue)
3.5.1. คานวณการคืบ (creep)
3.5.2. คานวณความล้า (fatigue)
4 ภาระในแนวแกน (axial Load) และการบิด (torsion) (540)
4.1. คานวณภาระในแนวแกน (axial load) 360 -

เวลาเรียน
หน่วยที่ รายการ ทฤษฎี ปฏิบัติ
(นาที) (นาที)
4.1.1. ค า น ว ณ ก า ร เ สี ย รู ป ใ น แ น ว แ ก น ( elastic
deformation of an axially loaded member)
4.1.2. คานวณปัญหาที่วิเคราะห์ด้วยสมดุลสถิตอย่างเดียว
ไม่ได้ (statically indeterminate axially loaded member)
4.1.3. ค านวณความเค้ น เนื่ อ งจากอุ ณ หภู มิ (thermal
stress) 180
4.2. คานวณการบิด (torsion)
4.2.1. เข้ า ใจการเสี ย รู ป เนื่ อ งจากการบิ ด (torsional
deformation of a circular shaft)
4.2.2. คานวณการบิด (the torsion formula)
4.2.3. ค า น ว ณ ก า ร ถ่ า ย ท อ ด ก า ลั ง ง า น ( power
transmission)
4.2.4. คานวณมุมบิดของเพลา (angle of twist)
4.2.5. คานวณปัญหาที่วิเคราะห์ด้วยสมดุลสถิตอย่างเดียว
ไม่ได้ (statically indeterminate torque-loaded)
5 การดั ด (bending) แรงกระท าตามขวาง (transverse shear) และ (720)
ภาชนะผนังบาง (pressure vessel)
5.1. คานวณการดัด (bending) ในคาน 360
5.1.1. อธิบายแผนผังแรงเฉือนและโมเมนต์ (shear and
moment diagrams)
5.1.2. ค านวณค่ า ความเค้ น ดั ด ในคาน (the flexure
formula)
-
5.2. คานวณแรงกระทาตามขวาง (transverse shear) 180
5.2.1. ค านวณค่ า แรงเฉื อ นในวั ส ดุ (shear in straight
member)
5.2.2. คานวณความเค้นเฉือน (the shear formula)
5.3. ค านวณเกี่ ย วกั บ ภาชนะผนั งบาง (thin-walled pressure 90
vessels)

เวลาเรียน
หน่วยที่ รายการ ทฤษฎี ปฏิบัติ
(นาที) (นาที)
5.3.1. ค านวณเกี่ ย วกั บ ถั ง ผนั ง บางรู ป ทรงกระบอก
(cylindrical vessels)
5.3.2. ค านวณเกี่ ยวกั บ ผนั งบางรู ปทรงกลม (spherical
vessels) 90
5.4. คานวณความเค้นผสมเนื่องจากภาระหลายรูปแบบ (state
of stress caused by combined loading)
5.4.1. คานวณค่าความเค้นตั้งฉาก
5.4.2. คานวณค่าความเค้นเฉือน
5.4.3. คานวณค่าความเค้นที่เกิดจากภาระบิด
5.4.4. คานวณค่าความเค้นที่เกิดจากภาระดัด
6 การเปลี่ยนรูปความเค้น (stress transformation) (360)
6.1. ค านว ณ การแปลงคว ามเค้ นระนาบ ( plane stress 90
transformation)
6.1.1. อธิบายการแปลงความเค้นระนาบ (plane stress
transformation) 90
6.1.2. ค านวณสมการที่ ใช้ ในการหาแปลงค่ า ความเค้ น
(general equations of plane-stress transformation)
6.2. ค านวณความเค้ น หลั ก และค่ า ความเค้ น เฉื อ นสู ง สุ ด 60
(principal stresses and maximum in-plane shear stress)
6.2.1. คานวณความเค้นหลัก (principal stress) -
6.2.2. ค านวณความเค้ นเฉื อนสู งสุ ด (maximum shear
stress)
6.3. แก้ ปั ญหาการวิ เคราะห์ ความเค้ นระนาบด้ ว ยวงกลมโมร์ 60
(mohr’s circle-plane stress)
6.3.1. สร้างวงกลมโมร์
6.3.2. สาธิตการหาค่าความเค้นหลักและความเค้นเฉือน
จากวงกลมโมร์
6.4. เข้าใจความเค้นเฉือนสูงสุดสัมบูรณ์ (absolute maximum 60
shear stress)

เวลาเรียน
หน่วยที่ รายการ ทฤษฎี ปฏิบัติ
(นาที) (นาที)
6.4.1. อฺธิบายกรณีที่  1 และ 2 เป็นความเค้นดึง โดยที่
1   2  0
6.4.2. อธิบายกรณีที่  1 และ 2 เป็นความเค้นดึง โดยที่
 1  0 และ  2  0
7 การโก่งเดาะของเสา (bucking of columns) (180)
7.1. คานวณสูตรของออยเลอร์สาหรับเสาในอุดมคติ 30
7.1.1. คานวณแรงวิกฤต (critical load)
7.1.2. คานวณความเค้นโก่งเดาะวิกฤต (critical stress)
7.2. คานวณเสาในอุดมคติที่มีจุดรองรับแบบสลักที่ปลายทั้งสอง
ข้าง (ideal column with pin supports) 60
7.2.1. คานวณค่าแรงวิกฤต
7.2.2. คานวณค่าความเค้นวิกฤต
7.3. ค านวณการวิ เ คราะห์ เ สาที่ จุ ด ยึ ด แบบต่ า งๆ (columns
-
having various types of supports) 90
7.3.1. คานวณกรณีเสาถูกยึดด้วยสลักทั้งสองข้าง (pinned
ends)
7.3.2. คานวณกรณี เสาถู ก ยึดแบบตรึ งแน่ นและอี ก ด้ าน
หนึ่งยึดแบบอิสระ (fixed and free ends)
7.3.3. ค านวณกรณี เสาถู กยึ ดแบบตรึ งแน่ นทั้ งสองด้ า น
(fixed ends)
7.3.4. คานวณกรณี เสาถู กยึดแบบตรึ งแน่ นและอี ก ด้ าน
หนึ่งยึดแบบสลัก (pinned and fixed ends)

กาหนดการสอน
สัปดาห์ ว/ด/ป ชม. ที่ รายการ หมายเหตุ
ที่
1. แนวคิดเบื้องต้นและการทบทวนสถิตยศาสตร์
1 1-3 1.1. แนวคิดเบื้องต้น
1.2. การทบกวนสถิตยศาสตร์
2. ความเค้น (stress) และความเครียด (strain) เฉลี่ย
2 1-3
2.1. ความเค้น
3 1-3 2.1. ความเค้น
4 1-3 2.2. ความเครียด (strain)
3. คุ ณ ส ม บั ติ ท า ง ก ล ข อ ง วั ส ดุ ( mechanical
properties of materials)
3.1. การทดสอบการยื ด และการกดอั ด (the
tension and compression test)
3.2. แผนภาพความเค้ น -ความเครี ย ด (the
5 1-3 stress-strain diagram)
3.3. กฎของฮุค (hooke’s law)
3.4. อัตราส่วนปัวซอง (poisson’s ratio)
3.5. การเสียหายของวัสดุเนื่องจากการคืบและ
คว ามล้ า ( failure of materials due to creep and
fatigue)
4. ภาระในแนวแกน (axial load) และการบิ ด
6 1-3 (torsion)
4.1. ภาระในแนวแกน (axial load)
7 1-3 4.1. ภาระในแนวแกน (axial load)
8 1-3 สอบกลางภาค
9 1-3 4.2. การบิด (torsion)
5. ก า ร ดั ด ( bending) แ ร ง ก ร ะ ท า ต า ม ข ว า ง
(transverse shear) และภาชนะผนั ง บาง (pressure
10 1-3
vessel)
5.1. การดัด (bending)

สัปดาห์ ว/ด/ป ชม. ที่ รายการ หมายเหตุ


ที่
11 1-3 5.1. การดัด (bending)
12 1-3 5.2. แรงกระทาตามขวาง (transverse shear)
13 1-3 5.3. ภาชนะผนังบาง (pressure vessel)
6. การเปลี่ยนรูปความเค้น (stress transformation)
14 1-3 6.1. การแปลงความเค้นระนาบ (plane stress
transformation)
6.2. ความเค้นหลักและค่าความเค้นเฉือนสูงสุด
(principal stresses and maximum in-plane shear
stress)
15 1-3 6.3. การวิเคราะห์ความเค้นระนาบด้วยวงกลม
โมร์ (mohr’s circle-plane stress)
6.4. ความเค้ นเฉื อนสู งสุ ดสั มบู รณ์ (absolute
maximum shear stress)
7. การโก่งเดาะของเสา (bucking of columns)
7.1. สูตรของออยเลอร์สาหรับเสาในอุดมคติ
7.2. เสาในอุดมคติที่มีจุดรองรับแบบสลักที่ปลาย
16 1-3
ทั้งสองข้าง (ideal column with pin supports)
7.3. การวิ เ คราะห์ เ สาที่ จุ ด ยึ ด แบบต่ างๆ
(columns having various types of supports)
17 1-3 สอบปลายภาค

การประเมินผลรายวิชา
1. เกณฑ์การพิจารณา
รายวิชานี้แบ่งเป็น 7 หน่วยเรียน การวัดและประเมินผลรายวิชาดาเนินการแยกเป็น 3 ส่วน โดย
แบ่งแยกคะแนนแต่ละส่วนจากคะแนนเต็ม ทั้งรายวิชา 100 คะแนน ดังนี้
1.1 ผลงานที่มอบหมาย 10 คะแนน หรือร้อยละ 10
1.2 พิจารณาจิตพิสัย (กิจนิสัย ความตั้งใจ และการร่วมกิจกรรม) 10 คะแนน หรือร้อยละ 10
1.3 การทดสอบแต่ละหน่วยเรียน 80 คะแนน หรือร้อยละ 80 โดยจัดแบ่งน้าหนักคะแนนในแต่ละ
หน่วยตามตารางกาหนดน้าหนักคะแนน
2. เกณฑ์ผ่านรายวิชา
ผู้ที่จะผ่านรายวิชานี้จะต้อง
2.1 มีเวลาเรียนไม่ต่ากว่า ร้อยละ 80
2.2 คะแนนรวมทั้งรายวิชาไม่ต่ากว่าร้อยละ 50 ของคะแนนรวม
3. เกณฑ์ค่าระดับคะแนน
การประเมินแบ่งออกเป็น 2 ขั้นตอน ดังนี้
3.1 พิจารณาตามเกณฑ์ ผ่ านรายวิช าตามข้ อ 2 ผู้ ไม่ผ่ านเกณฑ์ข้ อ 2 จะได้รับค่ าระดั บคะแนน
จ หรือ F
3.2 ผู้ที่สอบผ่านเกณฑ์ข้อ 2 จะได้รับค่าระดับคะแนน ตามเกณฑ์ ดังนี้
คะแนนร้อยละ 80 ขึ้นไป ได้ ก หรือ A
คะแนนร้อยละ 75-79 ได้ ข+ หรือ B+
คะแนนร้อยละ 70-74 ได้ ข หรือ B
คะแนนร้อยละ 65-69 ได้ ค+ หรือ C+
คะแนนร้อยละ 60-64 ได้ ค หรือ C
คะแนนร้อยละ 55-59 ได้ ง+ หรือ D+
คะแนนร้อยละ 50-54 ได้ ง หรือ D
คะแนนร้อยละ 49 ลงไป ได้ หรือ F

ตารางกาหนดนาหนักคะแนน
คะแนนรายหน่วย น้าหนักคะแนน
และน้าหนักคะแนน พุทธพิสัย
เลขที่หน่วย

คะแนนรายหน่วย

การนาไปใช้
ความเข้าใจ

ทักษะพิสัย
ความรู้

สูงกว่า
ชื่อหน่วย
1 แนว คิ ดเบื้ องต้ นแ ล ะ การ ท บ ท ว น 10 2 3 5
สถิตยศาสตร์
2 ความเค้ น (stress) และความเครี ย ด 20 0 0 20
(strain) เฉลี่ย
3 คุณสมบัติทางกลของวัสดุ( mechanical 10 2 5 3
properties of materials)
4 ภาระในแนวแกน (axial load) และการ 10 0 0 10
บิด (torsion)
5 การดัด (bending) แรงกระทาตามขวาง 10 0 1 9
(transverse shear) และภาชนะผนั ง บาง
(pressure vessel)
6 ก า ร เ ป ลี่ ย น รู ป ค ว า ม เ ค้ น ( stress 10 0 3 7
transformation)
7 การโ ก่ งเดาะของเสา ( bucking of 10 0 0 10
columns)

ก คะแนนภาควิชาการ 80 4 12 64
ข คะแนนภาคผลงาน 10
ค คะแนนภาคจิตพิสัย 10
รวมทั้งสิ้น 100
1-1

สัปดาห์ที่ 1 ใบเตรียมการสอน รหัสวิชา 04-031-202


เวลา 3 ชั่วโมง หน่วยที่ 1 แนวคิดเบื้องต้นและการทบทวนสถิตยศาสตร์
ชื่อบทเรียน 1.1. กลศาสตร์ (mechanics) เวลา 30 นาที
1.2. แนวคิดพื้นฐาน เวลา 30 นาที
1.3. สเกลาร์ และเวคเตอร์ เวลา 30 นาที
1.4. กฎของนิวตัน เวลา 30 นาที
1.5. ทบวนสถิตศาสตร์ (static) เวลา 60 นาที
จุดประสงค์การสอน
1. แนวคิดเบื้องต้นและการทบทวนสถิตยศาสตร์
1.1. รู้ที่มาของกลศาสตร์ (mechanics)
1.1.1. บอกความหมายของกลศาสตร์ ข องวั ต ถุ แ กร่ ง ( rigid-body
mechanics)
1.1.2. บอกความหมายของกลศาสตร์ ข องวั ต ถุ ที่ ส ามารถเปลี่ ยนแปลง
รูปร่าง (deformable-body mechanics)
1.1.3. บอกความหมายของกลศาสตร์ ข องกลศาสตร์ ข องไหล (fluid
mechanic)
1.2. เข้าใจแนวคิดพื้นฐาน
1.2.1. ยกตัวอย่างปริมาณทางฟิสิกส์
1.2.2. ยกตัวอย่างปริมาณพื้นฐาน (basic quantities)
1.3. คานวณสเกลาร์ และเวคเตอร์
1.3.1. เข้าใจปริมาณกายภาพ
1.3.2. คานวณหาเวกเตอร์ลัพธ์
1.3.3. คานวณกฎของไซน์ (sine law) และโคไซน์ (cosine law)
1.4. เข้าใจกฎของนิวตัน
1.4.1. อฺธิบายที่มาของกฎของนิวตัน
1.4.2. อธิบายกฎข้อที่ 1 ของนิวตัน
1.4.3. อธิบายกฎข้อที่ 2 ของนิวตัน
1.4.4. อธิบายกฎข้อที่ 3 ของนิวตัน
1.5. คานวณและทบวนสถิตศาสตร์ (static)
1.5.1. คานวณแรงลัพธ์
1.5.2. คานวณโมเมนต์ลัพธ์
1-2

หน่วยที่ 1 แนวคิดเบื้องต้นและการทบทวนสถิตยศาสตร์

1.1 กลศาสตร์ (mechanics)


กลศาสตร์ เป็นวิทยาศาสตร์กายภาพที่เกี่ยวข้องกับแรงและผลของแรงบนวัตถุ สามารถนาไปประยุกต์ใช้
กับปัญหาหลากหลายในทางวิศวกรรมได้ เช่น การสั่นสะเทือน เสถียรภาพและความแข็งแรงของโครงสร้าง
หรื อเครื่ องจั กร หุ่ น ยนต์ การออกแบบควบคุ มรถยนต์ ยานอวกาศ เครื่ องยนต์ การไหลของของไหล
เครื่องจักรกลทางไฟฟ้า หรือแม้แต่แรงในระดับอะตอม เป็นต้น
วิชากลศาสตร์ เป็ นสาขาหนึ่ งของวิทยาศาสตร์ทางกายภาพ (physical sciences) ที่ศึกษาเกี่ยวกั บ
สภาวะที่อยู่นิ่งหรือเคลื่อนที่ (motions) ของวัตถุต่างๆ (bodies) ซึ่งถูกกระทา โดยแรง (forces) โดยทั่วไป
แล้ววิชากลศาสตร์จะถูกแยกออกได้เป็น 3 สาขาวิชา ประกอบไปด้วย
1.1.1 กลศาสตร์ของวัตถุแกร่ง (rigid-body mechanics)
1) สถิตยศาสตร์ (statics) ซึ่งจะศึกษาเกี่ยวกับสมดุลของวัตถุ (equilibrium of bodies) ที่อยู่
นิ่งกับที่หรือมีการเคลื่อนที่ด้วยความเร็วที่คงที่
2) พลศาสตร์ (dynamics) ซึ่ ง จะศึ ก ษาเกี่ ย วกั บ การเคลื่ อ นที่ ข องวั ต ถุ อ ย่ า งมี ค วามเร่ ง
(acceleration)
1.1.2 กลศาสตร์ของวัตถุที่สามารถเปลี่ยนแปลงรูปร่าง (deformable-body mechanics)
เป็นแขนงวิชาที่วิเคราะห์ถึงพฤติกรรมการเปลี่ยนแปลงรูปร่างของวัสดุเมื่อมีแรงมากระทา ซึ่ง
ส่งผลให้เกิดค่าความเค้นตั้งฉากและความเค้นเฉือนเกินขีดสูงสุดของวัสดุนั้นทาให้เกิดการเสียหาย จะมีภาระ
กระทาที่สาคัญอยู่ 4 ส่วนหลักๆ ได้แก่ ภาระในแนวแกน (axial load) ภาระเฉือน (shear load0 ภาระบิด
(torsion load) และภาระดัด (bending load) ซึ่งภาระเหล่านี้ส่งผลให้วัสดุได้รับความเสียหาย
1.1.3 กลศาสตร์ของไหล (fluid mechanic)
เป็ นแขนงวิชาที่แยกออกมาภายใต้แขนงวิชาทางด้านกลศาสตร์ซึ่งเป็นวิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับ
พฤติกรรมทางธรรมชาติของๆ ไหล เช่น ของเหลว ก๊าซ และพลาสมา และแรงที่กระทาต่อของไหล หากแบ่ง
ตามพฤติกรรมของของไหลแล้วในแขนงวิชานี้สามารถแบ่ งออกได้เป็น 2 ส่วนได้แก่ ของไหลสถิตย์ (fluid
static) และพลศาสตร์ของไหล (fluid dynamic) ที่ศึกษาเกี่ยวกับแรงในการเคลื่อนที่ของของไหล ซึ่งสามารถ
แสดงได้ดังรูปที่ 1-1
1-3

Mechanic

Rigid-body Deformable-body Fluid

Static Dynamic Fluid mechanic Fluid dynamic

รูปที่ 1-1 แผนผังของวิชากลศาสตร์


1.2 แนวคิดพื้นฐาน
ในการที่จะเรียนรู้วิชากลศาสตร์ให้มีประสิทธิภาพนั้นจาเป็นต้องมีพื้นฐานของคาจากัดความทางด้าน
กลศาสตร์เสียก่อน ไม่ว่าจะเป็นสเปซ (spece) เวลา (time) มวล (mass) แรง (force) อนุภาพ (particle)
วัตถุแข็งแกร็ง (rigid body) (ชนัตต์) เป็นต้น
1.2.1 ปริมาณทางฟิสิกส์
ปริมาณทางฟิสิกส์สามารถแบ่งได้เป็น 2 ชนิด ได้แก่
ปริมาณสเกลาร์ เป็นปริมาณซึ่งมีแต่ขนาด เช่น เวลา ปริมาตร ความหนาแน่น อัตราเร็ว อัตรา
เร่ง พลังงาน มวล เป็นต้น
ปริมาณเวคเตอร์ เป็นปริมาณซึ่งมีทั้งขนาด และทิศทาง เช่น การขจัด ความเร็ว ความเร่ง แรง
โมเมนต์ โมเมนตัม เป็นต้น
1.2.2 ปริมาณพื้นฐาน (basic quantities)
ปริมาณพื้นฐาน (basic quantities) คือ ปริมาณพื้นฐานที่ถูกนามาใช้ในทางวิศวกรรม
- ความยาว (length) ใช้ในการบอกตาแหน่งของจุดใน space และจะใช้ในการบอกขนาดของ
วัตถุ
- เวลา (time) เป็นปริมาณที่บ่งบอกถึงลา ดับของเหตุการณ์
- มวล (mass) เป็นคุณสมบัติของสสารที่เราใช้เปรียบเทียบการกระทา ของวัตถุหนึ่งต่อวัตถุอีก
อันหนึ่ง
- แรง (force) แรงอาจจะเกิดขึ้นจากการสัมผัสกันของวัตถุโดยตรงหรืออาจเกิดจากการดึงดูด
กันเมื่อวัตถุไม่มีการสัมผัสกัน เราจะบ่งบอกแรงด้วยขนาดของแรง ทิศทางและตาแหน่งที่แรงกระทา
1.3 สเกลาร์ และเวคเตอร์
1.3.1 ปริมาณกายภาพ คือปริมาณทางฟิสิกส์ที่ใช้ในการบ่งบอกลักษณะทางกายภาพของสิ่งที่สนใจ
สามารถแบ่งออกได้ 2 ประเภท
1-4

1.3.1.1 ปริมาณสเกลาร์ คือปริมาณที่บอกแต่ขนาดอย่างเดียวก็ได้ความหมายสมบูรณ์ ไม่ต้อง


บอกทิศทาง เช่น ระยะทาง มวล เวลา ปริมาตร ความหนาแน่น งาน พลังงาน ฯลฯ การหาผลลัพธ์ของ
ปริมาณสเกลาร์ ก็อาศัยหลังการทางพีชคณิต คือ วิธีการ บวก ลบ คูณ หาร นิยมเขียนสัญลักษณ์เป็นตัวอักษร
แบบ italic (สิทธิชัย, 2546) เช่น m แทนมวล V แทนปริมาตร เป็นต้น
1.3.1.2 ปริมาณเวกเตอร์ คือ ปริมาณที่ต้องบอกทั้งขนาดและทิศทาง จึ งจะได้ความหมาย
สมบูรณ์ มักนิยมเขียนให้มีลูกศรอยู่เหนือตัวอักษรนั้น เช่น A แทนเวกเตอร์ A ที่มีขนาดเท่ากับ A เป็นต้น
ตัวอย่างของปริเวกเตอร์ ได้แก่ การกระจัด ความเร่ง ความเร็ว แรง โมเมนตัม ฯลฯ การหาผลลัพธ์ของ
ปริมาณเวกเตอร์ ต้องอาศัยวิธีการทางเวคเตอร์ โดยต้องหาผลลัพธ์ทั้งขนาดและทิศทาง ซึ่งสามารถทาได้ 2
วิธี คือ 1) วิธีการเขียนรูป 2) วิธีการคานวณ
1.3.2 การหาเวกเตอร์ลัพธ์ การหาเวกเตอร์โดยวิธีการเขียนรูปแบบหางต่อหัว มีขั้นตอนดังนี้
1.3.2.1 เขียนลูกศรตามเวกเตอร์แรกตามขนาดและทิศทางที่กาหนด
1.3.2.2 นาหางลูกศรของเวกเตอร์ที่ 2 ที่โจทย์กาหนด ต่อหัวลูกศรของเวกเตอร์แรก
1.3.2.3 นาหางลูกศรของเวกเตอร์ที่ 3 ที่โจทย์กาหนด ต่อหัวลูกศรของเวกเตอร์ที่ 2
1.3.2.4 ถ้ามีเวกเตอร์ย่อยๆ อีก ให้นาเวกเตอร์ต่อๆไป มากระทาดังข้อ 1.3.2.3 จนครบทุก
เวกเตอร์
1.3.2.5 เวกเตอร์ลัพธ์หาได้โดยการลากลูกศรจากหางของเวกเตอร์แรกไปยังหัวของเวกเตอร์
สุดท้าย เช่นรูปที่ 1-2
B

A B A
A+B

A+B B

รูปที่ 1-2 การคานวณเวกเตอร์ลัพธ์โดยการเขียนรูป


1-5

ตัวอย่างที่ 1-1 Determine vector R by drawing.


1) R1  A  B
2) R2  A  B
3) R3  2 A  B

A
B

1) วิธีทา

2) วิธีทา

3) วิธีทา

สรุป
1-6

1.3.3 กฎของไซน์ (sine law) และโคไซน์ (cosine law) เป็ น หนึ่ ง ในวิ ธี ที่ ส ามารถน ามาใช้ ใ นการ
วิเคราะห์เวกเตอร์ ซึ่งสามารถอธิบายได้ดังนี้
1.3.3.1 กฎของไซน์ (sine law) เป็นกฎที่ใช้สาหรับการหาขนาดของเวกเตอร์ที่ไม่ทราบค่า
สามารถแสดงได้ดังรูปที่ 1-3 และสมการที่ (1-1)

2

1
3

รูปที่ 1-3 เวกเตอร์ที่สามารถใช้กฏของไซน์ในการคานวณ


sin 1 sin 2 sin 3
  (1-1)
R1 R2 R3

ตัวอย่างที่ 1-2 Determine missing component by using the Sine law.

1

2

วิธีทา
1-7

1.3.3.2 โคไซน์ (cosine law) เป็ นกฎที่ ใช้ ส าหรับการหาขนาดของเวกเตอร์ ที่ ไม่ ทราบค่า
สามารถแสดงได้ดังรูปที่ 1-4 และสมการที่ (1-2) (1-3) และ (1-4)

1

2
3

รูปที่ 1-4 เวกเตอร์ที่สามารถใช้กฏของโคไซน์ในการคานวณ

R1  R22  R32  2 R2 R3 cos1 (1-2)


R2  R12  R32  2 R1R3 cos 2 (1-3)
R3  R12  R22  2 R1R2 cos3 (1-4)

ตัวอย่างที่ 1-3 Determine missing component by using the Cosine law

2
3
R1
วิธีทา
1-8

1.4 กฎของนิวตัน
เซอร์ ไอแซค นิวตัน (Sir Isaac Newton) เป็นนักคณิตศาสตร์ชาวอังกฤษ ถือกาเนิดใน ปี ค.ศ.1642 นิว
ตันสนใจดาราศาสตร์ และประดิษฐ์กล้องโทรทรรศน์ชนิดสะท้อนแสง (reflecting telescope) ขึ้นโดยใช้
โลหะเงาเว้าในการรวมแสง แทนการใช้เลนส์ เช่นในกล้องโทรทรรศน์ชนิดหักเหแสง (refracting telescope)
นิวตันติดใจในปริศนาที่ว่า แรงอะไรทาให้ผลแอปเปิลตกสู่พื้นดินและตรึงดวงจันทร์ไว้กับโลก และสิ่งนี้เองที่
นาเขาไปสู่การค้นพบกฎที่สาคัญ 3 ข้อ
กฎข้อที่ 1 กฎของความเฉื่อย (inertia)
“วัตถุที่หยุดนิ่งจะพยายามหยุดนิ่งอยู่กับที่ ตราบที่ไม่มีแรงภายนอกมากระทา ส่วนวัตถุที่เคลื่อนที่จะ
เคลื่อนที่เป็นเส้นตรงด้วยความเร็วคงที่ ตราบที่ไม่มีแรงภายนอกมากระทาเช่นกัน”
สามารถอธิบายได้จากเหตุการณ์ที่ขณะที่รถติดสัญญาณไฟแดง ตัวเราหยุดนิ่งอยู่กับที่ แต่เมื่อสัญญาณ
ไฟแดงเปลี่ยนเป็นไฟเขียว เมื่อคนขับเหยียบคันเร่งให้รถเคลื่อนที่ไปข้างหน้า แต่ตัวของเราจะพยายามคง
สภาพหยุดนิ่งไว้ ผลคือ หลังของเราจะถูกผลักติดกับเบาะ ขณะที่รถเกิดความเร่งไปข้างหน้า
แต่เมื่อสัญญาณไฟเขียวเปลี่ยนเป็นไฟแดง คนขับรถเหยียบเบรคเพื่อจะหยุดรถ ตัวเราซึ่งเคยเคลื่อนที่
ด้วยความเร็วพร้อมกับรถ ทันใดเมื่อรถหยุด ตัวเราจะถูกผลักมาข้างหน้า

รูปที่ 1-5 ผู้ขับขี่ขณะเบรกรถ


กฎข้อที่ 2 กฎของแรง (Force)
“ความเร่งของวัตถุจะแปรผันตามแรงที่กระทาต่อวัตถุ แต่จะแปรผกผันกับมวลของวัตถุ”
สามารถอธิบายได้จากถ้าเราผลักวัตถุให้แรงขึ้น ความเร่งของวัตถุก็จะมากขึ้นตามไปด้วย หรือถ้าเรา
ออกแรงเท่าๆ กัน ผลักวัตถุสองชนิดซึ่งมีมวลไม่เท่ากัน วัตถุที่มีมวลมากจะเคลื่อนที่ด้วยความเร่งน้อยกว่า
วัตถุที่มีมวลน้อย จึงเป็นที่มาของสมการที่ (1-5)
F  ma (1-5)
โดยที่
F = แรง (N)
m = มวล (kg)
1-9

a = ความเร่ง (m/s2)
กฎข้อที่ 3 กฎของแรงปฏิกิริยา
“แรงที่วัตถุที่หนึ่งกระทาต่อวัตถุที่สอง ย่อมเท่ากับ แรงที่วัตถุที่สองกระทาต่อวัตถุที่หนึ่ง แต่ทิศทางตรง
ข้ามกัน” (action = reaction) หรืออาจกล่าวได้ว่าทุกแรงกิริยาย่อมมีแรงปฏิกิริยาขนาดเท่ากันกระทาในทิศ
ตรงกันข้ามเสมอ หรือแรงกระทาซึ่งกันและกันของวัตถุสองก้อนย่อมมีขนาดเท่ากันแต่มีทิศทางตรงกันข้าม

F -F

รูปที่ 1-6 แสดงแรงกิริยาและแรงปฏิกิริยา

ตัวอย่างที่ 1-4 Determine the missing data of below table.


วิธีทา
No. m (kg) a (m2/s) F (N)
1 34.54 3.20 110.53
2 23.11 2.10 48.53
3 765.45 3.70 2,832.17
4 654.34 8.60 5,627.32
5 34.21 5.43 185.76
6 998.65 2.12 2,117.14
7 12.11 55.55 672.71
8 7.99 44.44 355.08
9 64.92 7.89 512.22
10 675.43 34.76 23,477.95
1-10

1.5 ทบวนสถิตศาสตร์ (static)


สถิตศาสตร์เป็นเป็นสาขาหนึ่งของวิชากลศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับการวิเคราะห์แรงหรือโมเมนต์ในระบบ
สมดุลโดยไม่ขึ้นกับเวลา ในขณะที่ระบบเข้าสู่สมดุลระบบจะต้องอยู่นิ่งหรือมีค่าความเร็วคงที่ วัตถุที่อยู่ใน
สภาวะสมดุลจะต้องเป็นไปตามกฎข้อที่ 1 ของนิวตัน คือผลรวมของแรงที่กระทาบนวัตถุต้องมีค่าเท่ากับศูนย์
ดังแสดงได้ ดังสมการที่ (1-6) โดยที่แรงต้องพิจารณาให้ ครบทั้ง 3 มิติ โดยที่  F คือผลรวมของแรงที่
กระทาบนวัตถุในทุกทิศทาง
F 0 (1-6)
ในการนาเอาสมการสมดุลไปใช้ในการคานวณจาเป็นต้องทราบถึงขนาดและทิศทางของแรงรวมทั้งหมด
ที่กระทาบนวัตถุ ขั้นแรกของการคานวณคือการเขียนแผนภาพวัตถุอิสระ ( free-body diagram; FBD) เพื่อ
ใช้ในการคานวณ

รูปที่ 1-7 แผนภาพวัตถุอิสระบนเครน (Hibberler, 2011)


1-11

ตั ว อย่ างที่ 1-5 The screw eye in figure is subjected to two forces, F1 and F2. Determine the
magnitude and direction of the resultant force.

(Hibberler, 2011)
วิธีทา
1-12

ตั ว อย่ างที่ 1-6 If   30 and T= 6 kN, determine the magnitude of the resultant force
acting on the eyebolt and its direction measured clockwise from the positive x axis.

(Hibberler, 2011)
วิธีทา
1-13

ตัวอย่างที่ 1-7 Determine the magnitudes of the forces C and T, which, along with the other
three forces shown, act on the bridge-truss joint.

(Hibberler, 2011)
วิธีทา
1-14

ตั ว อย่ างที่ 1-8 Determine the internal normal force and shear force, and the bending
moment in the beam at points C and D. Assume the support at B is a roller. Point C is
located just to the right of the 8-kip load.

(Hibberler, 2011)
วิธีทา
1-15

1. บอกความสาคัญของหน่วยเรียน
วิธีสอนและ
2. ให้เนื้อหาโดยวิธี บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ
กิจกรรม
3. ถามคาถามในห้องเรียน
หนังสืออ้างอิง -
สื่อการสอน เอกสารประกอบ หน่วยที่ 1
วัสดุโสตทัศน์ Power point หน่วยที่ 1 และ LCD Projector
งานที่มอบหมาย ทาแบบฝึกหัดท้ายบทเรียน
1. สังเกตความสนใจในห้องเรียน
การวัดผล 2. การตอบคาถามขณะเรียน
3. ตรวจผลงานจากแบบฝึกหัดที่มอบหมาย
สัปดาห์ที่ 2 ใบเตรียมการสอน รหัสวิชา 04-031-202
เวลา 9 ชม. หน่วยที่ 2 ความเค้น (stress) และความเครียด (strain) เฉลี่ย
ชื่อบทเรียน 2.1. ความเค้น (stress) เวลา 180 นาที
จุดประสงค์การสอน
2.1. คานวณความเค้น
2.1.1. คานวณความเค้น (stress)
2.1.2. คานวณความเค้นในแนวแกนเฉลี่ย
2-2

หน่วยที่ 2 ความเค้น (stress) และความเครียด (strain) เฉลี่ย

2.1 ความเค้น (stress)


2.1.1 ความเค้น (stress)
กลศาสตร์ของวัสดุเป็นสาขาหนึ่งของวิชากลศาสตร์ที่ศึกษาถึงผลกระทบภายในส่วนเชิงกลเมื่อมี
แรงภายนอกมากระทา ความเค้นหรือหน่วยแรงจะเกี่ยวข้องกับความแข็งแรงของวัสดุ ในขณะที่ความเครียด
(strain) เป็นการบ่งบอกถึงการเสียรูปของวัสดุ ซึ่งก่อนที่จะวิเคราะห์ค่าต่างๆ ได้จาเป็นต้องมีพื้นฐานของการ
วิเคราะห์ทางด้านสถิตศาสตร์ก่อน ค่าความเค้นหมายถึงอัตราส่วนของแรงที่กระทาบนพื้นที่ใดๆ ซึ่งแบ่งออก
ได้เป็น 2 ประเภท ได้แก่ ความเค้นแนวแกน (normal stress) และ ความเค้นเฉือน (shear stress) ซึ่งโดย
ปกติแล้วเมื่อพิจารณา ณ จุดใดๆ ในระบบก็ตามความเค้นจะถูกแบ่งได้เป็น 6 ลักษณะ ดังรูปที่ 2-1

รูปที่ 2-1 ลักษณะทิศทางของความเค้น ณ จุดใดๆ บนวัสดุ (Hibberler, 2011)

2.1.2 ความเค้นในแนวแกนเฉลี่ย
ความเค้นในแนวแกนสามารถคานวณได้เมื่อมีแรงภายนอกมากระทากับชิ้นส่วนเชิงกลดัง รูปที่
2-2 ซึ่งจะขึ้นอยู่กับลักษณะของพื้นที่หน้าตัด (Beer, Johnston, Jr., Dewolf, & Mazurek, 2012) แต่เพื่อให้
สามารถคานวณได้ง่ายจึงใช้ค่าความเค้นในแนวแกนเฉลี่ยโดยคิดให้เมื่อมีแรงมากระทาชิ้นส่วนใดๆ ก็ตามจะมี
แรงภายในที่เท่ากันกับแรงภายนอกกระทาภายในชิ้นส่วน ดังนั้นสามารถคานวณได้ดังสมการ (2-1)
2-3

รูปที่ 2-2 แรงภายนอกและแรงภายใน (Beer, Johnston, Jr., Dewolf, & Mazurek, 2012)

 dF  A dA
P  A
P
 (2-1)
A
โดยที่
 คือ ค่าความเค้น (N/m2)
P คือ ค่าแรง (N)
A คือ พื้นที่ (m2)
ตัวอย่างเช่น หากต้องการคานวณหาค่าความเค้นของวัสดุที่มีแรงที่มีค่าเท่ากับ 1,000 N มากระทาใน
แนวตั้งฉากต่อพื้นที่หน้าตัดของวัสดุที่มีพื้นที่เท่ากับ 35 cm2 สามารถคานวณได้ดังนี้
แรง (F) มีค่าเท่ากับ 1,000 N
พื้นที่ (A) มีค่าเท่ากับ 35 cm2 หรือเท่ากับ 35 x 10-6 m2
1,000
ดังนั้นค่าความเค้นมีค่าเท่ากับ   6
 28.57 x106  28.57 MPa
35 x10

ตัวอย่างที่ 2-1 Determine the missing data as below table.


วิธีทา
No. P (N) A (m2) (Pa)
1 3,452.00 324.76 10.63
2 234.20 43.53 5.38
3 342.27 634.23 0.54
4 53.74 63.45 0.85
5 2,346.23 45.32 51.77
6 634.62 45.34 14.00
2-4

ตัวอย่างที่ 2-1 Determine the missing data as below table.


วิธีทา
7 897.65 34.23 26.22
8 7,788.54 41.11 189.46
9 654.34 8.40 77.90
10 743.30 9.23 80.53

การวิเคราะห์ความเค้นทีเกิดขึ้นในวัสดุยังสามารถนาเอาไปประยุกต์ใช้กับชิ้นส่วนเชิงกลทั่วไป
เช่น โครงสร้างเครื่องกล ชิ้นส่วนเครื่องจักร โต๊ะ เก้าอี้ ฯลฯ ซึ่งตัวอย่างการนาเอาไปใช้สามารถแสดงได้ดัง
ตัวอย่างที่ 2-2
ตัวอย่างที่ 2-2 Bar width = 35 mm, thickness = 10 mm. Determine maximum average normal
stress in bar when subjected to loading shown.

(Hibberler, 2011)

วิธีทา
2-5

ตัวอย่างที่ 2-3 The 80-kg lamp is supported by two rods AB and BC as shown in figure (a). If
AB has a diameter of 10 mm and BC has a diameter of 8 mm, determine the average
normal stress in each rod.

(Hibberler, 2011)
วิธีทา
2-6

1. บอกความสาคัญของหน่วยเรียน
วิธีสอนและ
2. ให้เนื้อหาโดยวิธี บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ
กิจกรรม
3. ถามคาถามในห้องเรียน
หนังสืออ้างอิง -
สื่อการสอน เอกสารประกอบ หน่วยที่ 2
วัสดุโสตทัศน์ Power point หน่วยที่ 2 และ LCD Projector
งานที่มอบหมาย ทาแบบฝึกหัดท้ายบทเรียน
1. สังเกตความสนใจในห้องเรียน
การวัดผล 2. การตอบคาถามขณะเรียน
3. ตรวจผลงานจากแบบฝึกหัดที่มอบหมาย
2-7

สัปดาห์ที่ 3 ใบเตรียมการสอน รหัสวิชา 04-031-202


เวลา 9 ชม. หน่วยที่ 2 ความเค้น (stress) และความเครียด (strain) เฉลี่ย
ชื่อบทเรียน 2.1. ความเค้น (stress) เวลา 180 นาที
จุดประสงค์การสอน
2.1.3. คานวณความเค้นเฉือนเฉลี่ย
2.1.4. คานวณค่าความปลอดภัย
2-8

2.1.3 ความเค้นเฉือนเฉลี่ย
ค่าความเค้นเฉือน (shear stress) หมายถึงหน่วยแรงที่กระทาขนานกับพื้นผิวที่พิจารณาดัง รูปที่ 2-3
ซึ่งสามารถคานวณได้จากสมการที่ (2-2)

รูปที่ 2-3 แรงเฉือนภายในวัสดุ (Hibberler, 2011)


V
 (2-2)
A
โดยที่
 คือ ค่าความเค้นเฉือน (N/m2)
V คือ ค่าแรง (N)
A คือ พื้นที่ (m2)

ตัวอย่างที่ 2-4 Determine the missing data as below table.

(Hibberler, 2011)
วิธีทา
No. F (N) V (N) A (m2) (Pa)
1 100.00 50.00 53.21 1.88
2 324.45 162.23 12.32 26.34
3 435.65 217.83 32.87 13.25
4 889.89 444.95 0.65 1,369.06
5 678.76 339.38 0.43 1,578.51
6 768.56 384.28 456.34 1.68
7 765.67 382.84 87.43 8.76
2-9

ตัวอย่างที่ 2-5 Depth and thickness = 40 mm. Determine average normal stress and average
shear stress acting along (a) section planes a-a, and (b) section plane b-b.

(Hibberler, 2011)
วิธีทา
2-10

2.1.4 ค่าความปลอดภัย
สิ่งที่สาคัญในการออกแบบชิ้นส่วนเชิงกลคือค่าความเค้นต้องอยู่ในระดับที่ปลอดภัย ในการที่จะแน่ใจว่า
ปลอดภัยจริงต้องมีการเลือกค่าความเค้นที่ยอมให้ (allowable stress) เพื่อควบคุมให้ค่าของแรงที่กระทากับ
ชิ้นส่วนไม่เกินค่าสูงสุดของวัสดุ หนึ่งในวิธีการที่จะได้มาซึ่งแรงที่ปลอดภัยคือการเลือกค่าคงที่ความปลอดภัย
(factor of safety: F.S) คืออัตราส่วนระหว่างแรงที่ทาให้ชิ้นส่วนเสียหาย (Ffail) ต่อแรงที่ยอมให้ได้ (Fallow)
ซึ่งคานวณได้จากสมการที่ (2-3)
Ffail
F .S .  (2-3)
Fallow
โดยที่
F .S . คือ ค่าคงที่ความปลอดภัย
Ffail คือ แรงที่ทาให้วัสดุเสียหาย (N)
Fallow คือ แรงที่ยอมให้ได้ (m2)
ซึ่งจากสมการที่ (2-3) แล้วค่าความเค้นตั้งฉากเฉลี่ยและความเค้นเฉือนเฉลี่ยก็สามารถคานวณได้ตาม
หลักการเดียวกัน ดังแสดงในสมการที่ (2-4) และสมการที่ (2-5)
 fail
F .S .  (2-4)
 allow
 (2-5)
F .S .  fail
 allow
โดยที่
 fail คือ ความเค้นที่ทาให้วัสดุเสียหาย (N)
 allow คือ ความเค้นที่ยอมให้ได้ หรือความเค้นที่ใช้ในการออกแบบ (m2)

ตัวอย่างการนาเอาค่าความปลอดภัยไปใช้ในงานออกแบบเชิงกล เช่น ต้องการคานวณหาค่าความเค้นที่


ใช้ในการออกแบบ เมื่อวัสดุมีค่าความเค้นคราก (Yield stress) เท่ากับ 276 MPa .ใช้ในการทาเครื่องจักร
ต้องการให้มีค่าความปลอดภัยเท่ากับ 2.1
 ค่าความเค้นครากหรือความเค้นเสียหายเท่ากับ 276 MPa
 ค่าความปลอดภัยเท่ากับ 2.1
 ดังนั้นค่าความเค้นที่ใช้ในการออกแบบคานวณได้จาก
 fail
F .S . 
 allow
 fail 275
 allow  
F .S . 2.1
2-11

 allow  130.95 MPa

ตัวอย่างที่ 2-6 Determine the missing data as below table.


วิธีทา
No. fail (Pa) allow(Pa) F.S
1 342.34 311.22 1.10
2 45,323.45 37,769.54 1.20
3 45,342.43 34,878.79 1.30
4 7,543.23 2,793.79 2.70
5 4,326.43 2,983.74 1.45
6 8,787.65 4,992.98 1.76
7 8,129.54 3,678.52 2.21
8 8,653.87 3,682.50 2.35
9 100.45 50.73 1.98
10 566.32 306.12 1.85

ตัวอย่างที่ 2-7 Determine the missing data as below table.


วิธีทา
No. Ffail (kN) Fallow(kN) F.S
1 234.43 198.67 1.18
2 645.30 321.04 2.01
3 434.74 245.62 1.77
4 36.89 23.95 1.54
5 89.65 64.50 1.39
6 45.45 22.73 2.00
7 10.36 4.77 2.17
8 743.32 576.22 1.29
9 654.20 540.66 1.21
10 356.10 249.02 1.43
2-12

ตัวอย่ างที่ 2-8 The two members pinned together at B. If the pins have an allowable shear
stress of  allow = 90 MPa, and allowable tensile stress of rod CB is  t allow = 115 MPa.
Determine to nearest mm the smallest diameter of pins A and B and the diameter of rod
CB necessary to support the load.

(Hibberler, 2011)
วิธีทา
2-13

1. บอกความสาคัญของหน่วยเรียน
วิธีสอนและ
2. ให้เนื้อหาโดยวิธี บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ
กิจกรรม
3. ถามคาถามในห้องเรียน
หนังสืออ้างอิง -
สื่อการสอน เอกสารประกอบ หน่วยที่ 2
วัสดุโสตทัศน์ Power point หน่วยที่ 2 และ LCD Projector
งานที่มอบหมาย ทาแบบฝึกหัดท้ายบทเรียน
1. สังเกตความสนใจในห้องเรียน
การวัดผล 2. การตอบคาถามขณะเรียน
3. ตรวจผลงานจากแบบฝึกหัดที่มอบหมาย
2-14

สัปดาห์ที่ 4 ใบเตรียมการสอน รหัสวิชา 04-031-202


เวลา 9 ชม. หน่วยที่ 2 ความเค้น (stress) และความเครียด (strain) เฉลี่ย
ชื่อบทเรียน 2.2. ความเครียด (strain) เวลา 3 ชม.
จุดประสงค์การสอน
2.2. คานวณความเครียด (strain)
2.2.1. คานวณการเสียรูป (deformation)
2.2.2. คานวณความเครียด (strain)
2-15

2.2 ความเครียด (strain)


2.2.1 การเสียรูป (deformation)
ไม่ว่าจะเป็นวัสดุหรือชิ้นส่วนใดก็ตามเมื่อมีแรงกระทาบนชิ้นส่วนแล้วจะทาให้เกิดการเสียรูป
(deformation) ซึ่งในบางครั้งอาจจะมองไม่เห็นด้วยตาเปล่า เช่น ยางเมื่อมีแรงมากระทาจะทาให้เกิดการยืด
ตัวสูง และการเสียรูปยังสามารถเกิดได้เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิ ตัวอย่างของการเสียรูปแสดงได้ดัง
รูปที่ 2-4

ก่อน หลัง

รูปที่ 2-4 ยางก่อนและหลังจากได้รับแรงกระทา (Hibberler, 2011)


2.2.2 ความเครียด (strain)
ในการที่จะอธิบายการเสียรูปของวัตถุโดยการเปลี่ยนแปลงความยาวของเส้นอ้างอิงและมุมที่เปลี่ยนไป
สามารถอฺธิบายได้โดยหลักการของความเครียด (strain) โดยหน่วยของความเครียดมักบอกเป็นอัตราส่วนของ
ความยาวต่อความยาว เช่น mm/mm หรือ in/in ส่วนในห้องปฏิบัติการมักแสดงในรูปของเปอร์เซ็นต์ เช่น
0.001 m/m = 0.1% ค่าของความเครียดแบ่งได้เป็น 2 ประเภทได้แก่ความความเครียดตั้งฉาก (normal
strain) ซึ่งแสดงได้ดังสมการที่ (2-6) และค่าความเครียดเฉือน (shear strain) ซึ่งแสดงได้ดังสมการที่ (2-7)
s  s l
  (2-6)
s L
 (2-7)
  
2

โดยที่
 คือ ค่าความเครียด (m/m, %)
s คือ ความยาวสุดท้าย (m)
s คือ ค่าความยาวเริ่มต้น (m)
l คือ ความแตกต่างของความยาวเริ่มต้นและความยาวสุดท้าย (m)
L คือ ค่าความยาวเริ่มต้น (m)
 คือ ค่าความเครียดเฉือน (rad)
2-16

 คือ มุมสุดท้ายของวัตถุเมื่อมีการเสียรูป (rad)

ตัวอย่างที่ 2-9 Determine the missing data as below table.


วิธีทา
No. L (mm) L (mm) 
1 109.48 342.12 0.32
2 11.03 32.43 0.34
3 18.06 78.54 0.23
4 42.00 56.76 0.74
5 13.53 71.21 0.19
6 30.43 34.98 0.87
7 1.31 3.74 0.35
8 5.63 8.66 0.65
9 65.05 542.12 0.12
10 4.12 45.76 0.09

ตั ว อย่ างที่ 2-10 If the load of P on the beam causes the end B to be displaced 10 mm,
determine the normal strain.

A B
P
50 mm

A B B’
P
10 mm

วิธีทา
2-17

ตั ว อย่ างที่ 2-11 If the load of P on the beam causes the end B to be B’, determine the
normal strain.

A B
P
L

A B B’
P
L

วิธีทา
No. L (m) L (m) 
1 5 0.03 0.60%
2 4 0.02 0.50%
3 10 0.10 1.00%
4 21 0.50 2.38%
5 12 0.30 2.50%
6 3 0.01 0.33%
7 45 0.20 0.44%
8 32 0.10 0.31%
9 100 1.00 1.00%
10 23 0.70 3.04%
2-18

ตั ว อย่ า งที่ 2-12 If the load of P on the beam causes the end B That beam displacement is
700 mm, determine the normal strain.

A B
P
500 mm
A B B’
P
700 mm

วิธีทา
2-19

ตัวอย่ างที่ 2-13 If the load of P on the beam causes the end B That beam displacement at
B’, determine the normal strain.

A B
P
L1
A B B’
P
L2

วิธีทา
No L1 (m) L2 (m) 
1 5 5.001 0.02%
2 4 4.003 0.08%
3 10 10.020 0.20%
4 21 21.010 0.05%
5 12 12.040 0.33%
6 3 3.001 0.03%
7 45 45.310 0.69%
8 32 32.075 0.23%
9 100 102.000 2.00%
10 23 23.831 3.61%
2-20

ตัวอย่างที่ 2-14 An air filled rubber ball has a diameter of 150 mm. If the air pressure within
it is increased until the ball’s diameter becomes 175 mm, determine the average normal
strain in the rubber.

วิธีทา
2-21

ตัวอย่างที่ 2-15 A thin strip of rubber has an upstretched length of 300 mm. If it is stretched
around a pipe having an outer diameter of 100 mm, determine the average normal strain
in the strip.

วิธีทา
2-22

ตัวอย่างที่ 2-16 Plate is deformed as shown in figure. In this deformed shape, horizontal lines
on the on plate remain horizontal and do not change their length.

3.5 mm
3.5000

B
B’ 3 mm
3.0000

10 mm
10.0000

Y
60°
63?

X
C
A 30 mm
30.0000

วิธีทา
2-23

ตัวอย่างที่ 2-17 Plate is deformed as shown in figure. In this deformed shape, horizontal lines
on the on plate remain horizontal and do not change their length.

B
10 mm
10.0000

Y
A C
X 30.0000

10.5 mm
10.5000

B’
34°
34?

30 mm
30.0000

A C
วิธีทา
2-24

1. บอกความสาคัญของหน่วยเรียน
วิธีสอนและ
2. ให้เนื้อหาโดยวิธี บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ
กิจกรรม
3. ถามคาถามในห้องเรียน
หนังสืออ้างอิง -
สื่อการสอน เอกสารประกอบ หน่วยที่ 2
วัสดุโสตทัศน์ Power point หน่วยที่ 2 และ LCD Projector
งานที่มอบหมาย ทาแบบฝึกหัดท้ายบทเรียน
1. สังเกตความสนใจในห้องเรียน
การวัดผล 2. การตอบคาถามขณะเรียน
3. ตรวจผลงานจากแบบฝึกหัดที่มอบหมาย
สัปดาห์ที่ 5 ใบเตรียมการสอน รหัสวิชา 04-031-202
เวลา 3 ชม. หน่วยที่ 3 คุณสมบัติทางกลของวัสดุ (mechanical properties of materials)
ชื่อบทเรียน 3.1. การทดสอบการยืดและการกดอัด (the tension and เวลา 30 นาที
compression test)
3.2. แผนภาพความเค้น-ความเครียด (the stress-strain เวลา 30 นาที
diagram)
3.3. กฎของฮุค (hooke’s law) เวลา 30 นาที
3.4. อัตราส่วนปัวซอง (poisson’s ratio) เวลา 30 นาที
3.5. การเสียหายของวัสดุเนื่องจากการคืบและความล้า เวลา 60 นาที
(failure of materials due to creep and fatigue)
จุดประสงค์การสอน
3. คุณสมบัติทางกลของวัสดุ(mechanical properties of materials)
3.1. รู้การทดสอบการยืดและการกดอัด (the tension and compression test)
3.1.1. บอกความหมายการทดสอบการยืด
3.1.2. บอกความหมายการทดสอบการอัด
3.2. เข้าใจแผนภาพความเค้น-ความเครียด (the stress-strain diagram)
3.2.1. อธิบายแผนภาพความเค้น-ความเครียด
3.2.2. อธิบายพฤติกรรมยืดหยุ่น
3.2.3. อธิบายช่วงครากตัว
3.3. เข้าใจกฎของฮุค (hooke’s law)
3.3.1. อธิบายกฎของฮุค
3.3.2. อธิบายความหมายของค่ามอดูลัสของยัง
3.4. คานวณอัตราส่วนปัวซอง (poisson’s ratio)
3.4.1. อธิบายความหมายของอัตราส่วนปัวซอง
3.4.2. คานวณอัตราส่วนปัวซอง
3.5. ค านวณการเสี ย หายของวั ส ดุ เ นื่ อ งจากการคื บ และความล้ า (failure of
materials due to creep and fatigue)
3.5.1. คานวณการคืบ (creep)
3.5.2. คานวณความล้า (fatigue)
3-2

หน่วยที่ 3 คุณสมบัติทางกลของวัสดุ (mechanical properties of materials)

3.1 การทดสอบการยืดและการกดอัด (the tension and compression test)


ความแข็งแรงของวัสดุขึ้นอยู่กับความสามารถในการต้านทานการเปลี่ยนรูปเมื่อมีแรงมากระทา การที่
จะได้มาซึ่งความสามารถนี้ขึ้นอยู่กับการทดสอบ ณ ห้องปฏิบัติการ หนึ่งในวิธีการทดสอบได้แก่ การทดสอบ
การดึง (tension) หรือการอัด (compression) เป็นการทดสอบเพื่อหาความสัมพันธ์ระหว่างความเค้นและ
ความเครียดของวัสดุทางวิศวกรรม ไม่ว่าจะเป็นเซรามิค โพลิเมอร์ หรือวัสดุผสม โดยในการทดสอบต้องมีการ
เตรียมชิ้นงานตัวอย่าง (specimen) ให้ได้ขนาดและรูปร่างตามมาตรฐานดังรูปที่ 3-1 หลังจากนั้นจึงนาไป
ทดสอบเพื่อหาความสัมพันธ์ที่เกิดขึ้น เครื่องที่ใช้ทดสอบสามารถแสดงตัวอย่างได้ดังรูปที่ 3-2

รูปที่ 3-1 ตัวอย่างของชิ้นงานที่ติดสเตรนเกจ (Hibberler, 2011)

รูปที่ 3-2 เครื่องที่ใช้ทดสอบคุณสมบัติวัสดุ (Hibberler, 2011)


3.2 แผนภาพความเค้น-ความเครียด (the stress-strain diagram)
จากผลการทดสอบคุณสมบัติของวัสดุนั้น ผลการทดสอบที่ได้จะแสดงค่าออกมาเป็นกราฟความสัมพันธ์
ระหว่างความเค้นและความเครี ยด หรื อเรียกว่า stress-strain diagram ซึ่งจะคานวณค่าความเค้นจาก
พื้นที่หน้าตัด (A0) และความยาวเริ่มต้น (L0) ถ้าเป็นการทดสอบวัสดุเหนียวจะแสดงได้ดังรูปที่ 3-3 โดยการ
3-3

คานวณจะใช้ค่าความเค้น (engineering stress) และความเครียด (engineering strain) ทางวิศวกรรมดัง


สมการที่ (3-1) และ(3-2)
P
 (3-1)
A0

 (3-2)
L0

รูปที่ 3-3 แผนภาพ stress-strain diagram (Hibberler, 2011)


โดยกราฟสามารถอฺธิบายได้ดังนี้
ช่วงพฤติกรรมยืดหยุ่น (elastic behavior) เป็นช่วงที่เมื่อออกแรงดึงวัสดุแล้ววัสดุจะยังสามารถคืนสู่
ความยาวปกติได้ ช่วงแรกของการดึงจะมีความสัมพันธ์ระหว่างความเค้นและความเครียดเป็นเส้นตรง (linear
elastic) จุดที่มีค่าความเค้นสูงที่สุดของช่วงนี้เรียกว่า ขีดจากัดความเป็นสัดส่วน (proportional limit) แทน
สัญลักษณ์ด้วย  pl จากนั้นเมื่อถึงอีกเพียงเล็กน้อยจะเข้าสู่ ขีดจากัดสภาพยืดหยุ่น (elastic limit) แทน
สัญลักษณ์ด้วย  e
ช่วงครากตัว (yielding) เป็นช่วงที่อยู่ในช่วงพฤติกรรมแบบพลาสติก (plastic behavior) คือเมื่อวัสดุ
ถูกดึงต่อไปแล้วจะไม่สามารถคืนตัวได้ จุดที่ค่าความเค้นมีค่าถึงจุดครากตัวเรียกว่า ความเค้นคราก (yield
stress หรือ yield point) แทนสัญลักษณ์ด้วย  Y หลังจากนั้นจะเป็นช่วงที่เรียกว่า ช่วงต้านแรงหลักคราก
ตัว (strain hardening) จากนั้นเมื่อชิ้นงานถูกดึงต่อไปจะเข้าสู่จุดที่มีค่าความเค้นสูงที่สุดหรือเรียกว่า ความ
เค้นประลัย (ultimate stress) หรือใช้สัญลักษณ์  u
3-4

ช่วงที่เกิดคอคอด (necking) เมื่อผ่านจุดที่มีค่าความเค้นสูงสุดแล้วชิ้นงานจะเข้าสู่ช่วงคอคอด จากนั้น


ชิ้นงานจะเสียหาย ค่าความเค้นสุดท้ายที่ทาให้ชิ้นงานเสียหายเรียกว่า ความเค้นทาลาย (rupture stress)
หรือใช้สัญลักษณ์  f
3.3 กฎของฮุค (hooke’s law)
จากการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความเค้นตั้งฉาก (  ) และความเครียดตามยาว (  ) ภายใต้การดึง
ทดสอบ โดยเฉพาะในช่ว งยื ดหยุ่ นที่ ความเค้นและความเครี ยดมี ความสั มพั นธ์กั นเป็นเส้ นตรง ได้มี นั ก
คณิ ต ศาสตร์ ค นหนึ่ ง ชื่ อ รอเบิ ร์ ต ฮุ ก (Robert Hooke) พบว่ า อั ต ราส่ ว นของระหว่ า งความเค้ น และ
ความเครียดในช่วงนี้จะมีค่าคงที่ สามารถเขียนเป็นสมการที่ได้ดังสมการที่ (3-3) ซึ่งเรียกสมการนี้ว่า กฎของ
ฮุก (hooke’s law)
  (3-3)
จากนั้นทอมัส ยัง (Thomas Young) ได้พบค่าคงตัวของความเป็นสัดส่วน หรือเรียกว่ามอดุลัสของยัง
(Young’s modulus) หรือนิยมเรียกกันว่า มอดุลักสสภาพยืดหยุ่น แทนสัญลักษณ์ด้วย E ซึ่งแสดงได้ดัง
สมการที่
  E (3-4)
ตัวอย่างเช่นจากรูปที่ 3-4 แสดงแผนภาพ stress-strain ของเหล็กเหนียว (mild steel) ซึ่งในช่วงที่
ความสัมพันธ์ระหว่างความเค้นและความเครียดเป็นเส้นตรงนั้นจะได้ค่าของ  pl = 35 ksi และค่า  pl =
0.0012 in/in ดังนั้นจะสามารถคานวณค่ามอดุลัสของยังได้จาก
 35 ksi
E  pl 
 pl 0.0012 in. / in.
 29  103 ksi

รูปที่ 3-4 แผนภาพ stress-strain ของเหล็กเหนียว (Hibberler, 2011)


3-5

ตัวอย่างที่ 3-1 Determine the missing data as below table.


วิธีทา
No.  (Pa)  E (Pa)
1 234.23 0.01 23.42
2 4,645.73 0.02 232.29
3 542.23 0.03 18.07
4 3,462.34 0.01 346.23
5 2,467.24 0.19 12.99
6 7,845.24 0.03 261.51
7 500.55 0.12 4.17
8 1,945.56 0.26 7.48
9 8,899.60 0.13 68.46
10 4,563.52 0.07 65.19
3-6

ตั ว อย่ า งที่ 3-2 A tension test for a steel alloy results in the stress-strain diagram shown in
figure. Calculate the modulus of elasticity and the yield strength based on a 0.2% offset.
Identify on the graph the ultimate stress and the fracture stress.

(Hibberler, 2011)
วิธีทา
3-7

ตัวอย่างที่ 3-3 the stress-strain diagram for an aluminum alloy that is used for making aircraft
parts is shown in figure. If a specimen of this material is stressed to 600 MPa, determine
the permanent strain that remains in the specimen when the load is released. Also, find
the modulus of resilience both before and after the load application.

(Hibberler, 2011)
วิธีทา
3-8

ตัวอย่างที่ 3-4 an aluminum rod, shown in figure, has a circular cross section and is subjected
to an axial load of 10 kN. If a portion of the stress-strain diagram is shown in figure,
determine the approximate elongation of the rod when the load is applied. Take Eal = 70
GPa.

(Hibberler, 2011)
วิธีทา
3-9

3.4 อัตราส่วนปัวซอง (poisson’s ratio)


เมื่อวัสดุที่นามาใช้ในการทดสอบ หรือวัสดุต่างๆ มีแรงมากระทาในทิศทางใดทางหนึ่งแล้ว วัสดุจะมีการ
หดตัวในทิศทางขวางกับแนวการยึดตัว และเมื่อสมมติให้วัสดุมีคุณสมบัติเป็นวัสดุไอโซทรอปิก (isotropic
material) แล้ว เมื่อนาเอาค่าสัมบูรณ์ของความเครียดตามแนวขวางหารด้วยความเครียดตามแนวการยืดตัว
แล้ว จะได้ค่าคงตัวของวัสดุนั้นๆ เรียกค่า อัตราส่วนของปัวซง (poisson’s ratio) ซึ่งเขียนแทนสัญลั กษณ์
ด้วย  ซึ่งเรียกตามชื่อของซีเมอง เดอนี ปัวซง ซึ่งเป็นนักคณิตศาสตร์ชาวฝรั่งเศส สามารถเขียนได้ตาม
สมการที่ (3-5) และรูปที่ 3-5 แสดงให้เห็นถึงเพลาที่มีการยืดและหดตัวเนื่องจากแรงดึงในแนวแกน
 lat
  (3-5)
 long

รูปที่ 3-5 เพลาที่มีการยืดและหดตัวเนื่องจากแรงดึงในแนวแกน (Hibberler, 2011)

ตัวอย่างที่ 3-5 Determine the missing data as below table.


วิธีทา
No. lat long 
1 -0.03 0.10 -0.33
2 -0.06 0.23 -0.25
3 -0.06 0.33 -0.17
4 0.11 -0.41 -0.28
5 -0.01 0.12 -0.09
6 -0.04 0.28 -0.13
7 -0.01 0.31 -0.04
8 -0.02 0.22 -0.11
9 0.20 -0.86 -0.23
3-10

ตั ว อย่ างที่ 3-6 Bar is made of A-36 steel and behaves elastically. Determine change in its
length and change in dimensions of its cross section after load is applied.

(Hibberler, 2011)
วิธีทา
3-11

3.5 การเสียหายของวัสดุเนื่องจากการคืบและความล้า (failure of materials due to creep and


fatigue)
3.5.1 การคืบ (creep)
การเสียหายของวัสดุโดยการคืบ (creep) เป็นกระบวนการที่ขึ้นอยู่กับเวลา เมื่อวัสดุอยู่ภายใต้
การรับแรงเค้นจนทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงขนาด (dimensional change) เป็นเวลานานๆ จะทาให้เกิดการ
เสี ยหาย ส่ วนใหญ่จะเกิดขึ้นในสภาวะที่อุณหภูมิสู ง (Creep Experiment; Creep deformation, 2014)
โดยการคืบหรือการเปลี่ยนแปลงขนาดจะเกิดขึ้นเมื่อวัสดุได้รับความเค้นมากระทาและอุณหภูมิการใช้งาน
สูงขึ้น วัสดุจะเกิดการเสียหายจากการคืบเมื่อเกิดการเปลี่ยนแปลงขนาดจนไม่สามารถใช้งานได้ตามหน้าที่ที่
ออกแบบไว้ การยืดตัวหรือการคืบที่มากเพียงพอสามารถทาให้เกิดการแตกหักได้ หรือที่ทราบกัน ดี คือ การ
แตกขาดจากกัน (stress rupture)
การทดสอบคุ ณ สมบั ติ ก ารคื บ มี ห ลายวิ ธี ก ารด้ ว ยกั น หนึ่ ง ในนั้ น ได้ แ ก่ ก ารทดสอบการ
ความสัมพันธ์ระหว่างค่าความเค้นและเวลาที่ทาให้เกิดการเสียหายของวัสดุ การคืบจะแสดงอยู่ในลักษณะ
ของแผนภาพของ   t ซึ่งแสดงได้ดังรูปที่ 3-6 แผนภาพ   t ของแสตนเลสสตีลที่อุณหภูมิ 1200 F
และความเครียด 1%

รูปที่ 3-6 แผนภาพ   t ของแสตนเลสสตีลที่อุณหภูมิ 1200 F และความเครียด 1% (Hibberler,


2011)
3.5.2 ความล้า (fatigue)
เมื่อวัสดุถูกกระทาด้วยค่าความเค้นหรือความเครียดซ้าๆ จะส่งผลให้เกิดการเสียหาย ทั้งที่ค่า
ความเค้นและความเครียดไม่เกินขีดจากัด พฤติกรรมลักษณะนี้เรียกว่า ความล้า ในการที่จะกาหนดค่าความ
ปลอดภัยของวัสดุภายใต้โหลดที่มีการกระทาซ้าไปซ้ามานั้นจาเป็นต้องทราบถึงจานวนรอบที่ต่าที่สุดที่ยอมให้
ได้ การทดสอบค่าความล้าจะเขียนกราฟให้อยู่ในรูปของค่าความเค้น (S หรือ  ) และจานวนรอบที่ทาให้
วัสดุเสียหาย N ซึ่งแสดงได้ดังรูปที่ 3-7
3-12

รูปที่ 3-7 แผนภาพ S  N ของการทดสอบเหล็กและอลูมิเนียม (Hibberler, 2011)


3-13

1. บอกความสาคัญของหน่วยเรียน
วิธีสอนและ
2. ให้เนื้อหาโดยวิธี บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ
กิจกรรม
3. ถามคาถามในห้องเรียน
หนังสืออ้างอิง -
สื่อการสอน เอกสารประกอบ หน่วยที่ 3
วัสดุโสตทัศน์ Power point หน่วยที่ 3 และ LCD Projector
งานที่มอบหมาย ทาแบบฝึกหัดท้ายบทเรียน
1. สังเกตความสนใจในห้องเรียน
การวัดผล 2. การตอบคาถามขณะเรียน
3. ตรวจผลงานจากแบบฝึกหัดที่มอบหมาย
4-1

สัปดาห์ที่ 6 ใบเตรียมการสอน รหัสวิชา 04-031-202


เวลา 9 ชม. หน่วยที่ 4 ภาระในแนวแกน (axial load) และการบิด (torsion)
ชื่อบทเรียน 4.1. ภาระในแนวแกน (axial load) เวลา 180 นาที.
จุดประสงค์การสอน
4.1. คานวณภาระในแนวแกน (axial load)
4.1.1. ค านวณการเสี ย รู ป ในแนวแกน (elastic deformation of an
axially loaded member)
4-2

หน่วยที่ 4 ภาระในแนวแกน (axial Load) และการบิด (torsion)

4.1 ภาระในแนวแกน (axial load)


4.1.1 การเสียรูปในแนวแกน (elastic deformation of an axially loaded member)
สืบเนื่องจากการใช้กฎของฮุคและคานิยามของความเค้นและความเครียดจะสามารถนาไปสู่การ
วิเคราะห์การเสียรูปในแนวแกนของวัสดุ โดยเมื่อพิจารณาให้หน้าตัดของวัสดุคงที่ (A) คุณสมบัติของวัสดุ
สม่าเสมอทัง้ ก้อน จะได้ว่าค่า E คงที่ตลอดหน้าตัด ความยาวของวัสดุเท่ากับ L และอยู่ภายใต้แรงดึง P ดังรูป
ที่ 4-1 จะสามารถคานวณหาระยะการยืดหรือหดตัวได้จากสมการที่ (4-1) ซึ่งหากชิ้นส่วนมีแรงกระทาใน
แนวแกนหลายแรงจะสามารถคานวณระยะยืดได้จากสมการที่ (4-2) โดยการแทนค่าของแรงจะต้องคานึงถึง
เครื่ องหมาย โดยกาหนดให้ แรงดึงมีเครื่ องหมายเป็นบวก (+) และแรงอัดมีเครื่องหมายเป็นลบ (-) ส่ วน
เครื่องหมายของคาตอบที่ได้จากการคานวณจะบ่งบอกถึงการยืดหรือการหด
PL
 (4-1)
AE
PL (4-2)
 
AE

โดยที่
 คือ ระยะการยืดหรือหดตัว (m)
P คือ แรงที่กระทาต่อวัสดุ (N)
L คือ ความยาวของวัสดุ (m)
A คือ พื้นที่หน้าตัดของวัสดุ (m2)
E คือ ค่ายังส์มอดูลัส (Pa)

รูปที่ 4-1 แท่งเหล็กที่ถูกแรง P กระทาในแนวแกน (Hibberler, 2011)


4-3

ตัวอย่างที่ 4-1 Determine the missing data as below table.


วิธีทา
No. P (kN) L (m) A (m2) E (GPa)  (mm)
1 5000.00 4.30 0.0538 200.00 2.00
2 2000.00 3.00 0.0053 324.00 3.52
3 3546.33 2.50 0.0092 234.00 4.13
4 6573.32 4.20 0.0898 59.00 5.21
5 356.31 1.70 0.0062 123.00 0.79
6 3451.98 0.80 0.0258 243.00 0.44
7 121.21 4.00 0.0521 186.00 0.05
8 445.42 3.62 0.0058 217.00 1.28
9 264.43 2.44 0.0019 155.00 2.19
10 345.00 5.00 0.0071 136.00 1.79

ตัวอย่างที่ 4-2 The 5 m steel column is used to support the P loads. Determine the vertical
displacement of its top, if P = 500 kN, and the column has a cross-sectional area of 14,625
mm2. Take E = 200 GPa.

P= 500 kN

วิธีทา
4-4

ตัวอย่างที่ 4-3 The 50 m aluminum column is used to support the loads P. Determine the
vertical displacement of its top, if P = 10,000 kN, and the column has a cross-sectional
area of 20,000 mm2. Take E = 68.9 GPa.

P= 10,000 kN

วิธีทา
4-5

ตัวอย่างที่ 4-4 Composite A-36 steel bar shown made from two segments AB and BD. Area
AAB = 600 mm2 and ABD = 1200 mm2. Determine the vertical displacement of end A and
displacement of B relative to C.

(Hibberler, 2011)
วิธีทา
4-6

1. บอกความสาคัญของหน่วยเรียน
วิธีสอนและ
2. ให้เนื้อหาโดยวิธี บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ
กิจกรรม
3. ถามคาถามในห้องเรียน
หนังสืออ้างอิง -
สื่อการสอน เอกสารประกอบ หน่วยที่ 4
วัสดุโสตทัศน์ Power point หน่วยที่ 4 และ LCD Projector
งานที่มอบหมาย ทาแบบฝึกหัดท้ายบทเรียน
1. สังเกตความสนใจในห้องเรียน
การวัดผล 2. การตอบคาถามขณะเรียน
3. ตรวจผลงานจากแบบฝึกหัดที่มอบหมาย
4-7

สัปดาห์ที่ 7 ใบเตรียมการสอน รหัสวิชา 04-031-202


เวลา 6 คาบ หน่วยที่ 4 ภาระในแนวแกน (axial load) และการบิด (torsion)
ชื่อบทเรียน 4.1 ภาระในแนวแกน (axial load) เวลา 180 นาที
จุดประสงค์การสอน
4.1.2. คานวณปัญหาที่วิเคราะห์ด้วยสมดุลสถิตอย่างเดียวไม่ได้ (statically
indeterminate axially loaded member)
4.1.3. คานวณความเค้นเนื่องจากอุณหภูมิ (thermal stress)
4-8

4.1.2 ปัญหาที่วิเคราะห์ด้วยสมดุลสถิตอย่างเดียวไม่ได้ (statically indeterminate axially loaded


member)
ในการวิเคราะห์ปัญหาที่มีตัวรองรับเกินความจาเป็นจะอาศัยการวิเคราะห์สมการสภาวะสมดุ ล
เพียงอย่างเดียวไม่ได้ เนื่องจากจานวนแรงตัวแปรมากกว่าจานวนสมการสภาวะสมดุล จะต้องพิจารณาใช้
สมการเพิ่มเติมซึ่งเป็นสมการที่สร้างจากความสั มพันธ์ทางเรขาคณิตของการเปลี่ยนแปลงความยาวของ
ชิ้นส่วนที่พิจารณา หรือวิธีการซ้อนทับ (superposition) (มนตรี, 2554) ตัวอย่างของปัญหานี้สามารถแสดง
ได้ดังรูปที่ 4-2

รูปที่ 4-2 ชิ้นส่วนที่นามาวิเคราะห์ในปัญหา statically indeterminate (Hibberler, 2011)

เมื่อพิจารณาแท่งโลหะดังรูปที่ 4-2 (a) ซึ่งมีจุดยึดตายที่บนและล่างทาให้เกิดสมการที่ (4-3) ซึ่ง


เป็นสมการที่ไม่สามารถแก้ไขได้โดยวิธีการทางสถิตศาสตร์แต่ต้องอาศัยเงื่อนไขอื่นเข้าช่วย
   F  0; FB  FA  P  0 (4-3)
โดยเมื่อพิจารณารูปที่ 4-2 (b) แล้วจะได้ว่าเมื่อแท่งเหล็กมีแรงมากระทาจะทาให้เกิดการยืดและ
หดตัวของแท่งเหล็ก แต่เนื่องจากผนังทั้งด้านบนและด้านล่างไม่สามารถเคลื่อนตัวได้ทาให้ระยะยืดและหด
ของแท่งเหล็กรวมกันทั้งหมดเท่ากับ 0 ซึ่งแสดงได้ดังสมการที่
 A/ B  0
FA LAC FB LCB
 0 (4-4)
AE AE
ดังนั้นจากสมการที่ (4-3) และ (4-4) เราจะสามารถคานวณหาค่าแรงปฏิกิริยาที่จุด A และจุด B
ได้จากสมการที่ (4-5) และ (4-6)
L
FA  P  CB  (4-5)
 L 
4-9

L
FB  P  AC  (4-6)
 L 

ตั ว อย่ างที่ 4-5 Steel rod shown has diameter of 5 mm. Attached to fixed wall at A, and
before it is loaded, there is a gap between the wall at B’ and the rod of 1 mm. Determine
reactions at A and B’ if rod is subjected to axial force of P = 20 kN. Neglect size of collar at
C. Take Est = 200 GPa

(Hibberler, 2011)
วิธีทา
4-10

4.1.3 ความเค้นเนื่องจากอุณหภูมิ (thermal stress)


ในการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิสามารถทาให้ขนาดของวัตถุเปลี่ยนไป ซึ่งโดยปกติแล้วถ้าอุณหภูมิ
เพิ่ มขึ้ น จะส่ งผลให้ ความยาวเพิ่ ม ขึ้ น แต่ ถ้ าอุ ณหภู มิ ล ดลงจะส่ ง ผลให้ ขนาดของวั ตถุ ล ดลงตามไปด้ ว ย
ความสัมพันธ์ของการเปลี่ยนแปลงส่วนใหญ่จะเป็นเชิงเส้นในกรณีที่วัตถุมีความสม่าเสมอตลอดทั้งวัตถุ การ
เปลี่ยนแปลงความยาวของวัตถุสามารถคานวณได้จากสมการที่ (4-7)
T  TL (4-7)
โดยที่
T คือ การเปลี่ยนแปลงขนาดเนื่องจากอุณหภูมิ (m)
 คือ สัมประสิทธิ์การขายตัวของวัสดุ (linear coefficient of thermal expansion) (1/K)
T คือ ผลต่างของอุณหภูมิเริ่มต้น และอุณหภูมิที่พิจารณา (K)
L คือ ความยาวเริ่มต้นของวัสดุ (m)

ตัวอย่างที่ 4-6 Determine the missing data as below table.


วิธีทา
No.  ( x10-6 1/K) L (m) T1 (K) T2 (K) T (mm)
1 6.60 4.30 300.00 357.00 1.62
2 7.32 3.00 345.00 440.00 2.09
3 3.43 2.50 273.00 234.00 -0.33
4 2.46 4.20 290.00 329.00 0.40
5 4.67 1.70 342.00 475.00 1.06
6 5.31 0.80 400.00 317.00 -0.35
7 1.72 4.00 322.00 432.00 0.76
8 2.22 3.62 298.00 375.00 0.62
9 9.34 2.44 309.00 432.00 2.80
10 6.76 5.00 327.00 312.00 -0.51

จากผลของการเปลี่ยนแปลงความยาวนั้นเมื่อชิ้นส่วนไม่สามารถขยายตัวออกได้แล้วจะส่งผลให้
อาจจะเกิดค่าความเค้นที่เรียกว่า ความเค้นความร้อน (thermal stress) ซึ่งเป็นตัวแปรที่จาเป็นต้องนามาใช้
ในการวิเคราะห์การออกแบบด้วย ตัวอย่างของการเกิดความเค้นความร้อนสามารถแสดงได้ดังตัวอย่างที่ 4-7
4-11

ตั ว อย่ างที่ 4-7 A-36 steel bar shown is constrained to just fit between two fixed supports
when T1 = 30 C. If temperature is raised to T2 = 60 C, determine the average normal
thermal stress developed in the bar.

วิธีทา
4-12

1. บอกความสาคัญของหน่วยเรียน
วิธีสอนและ
2. ให้เนื้อหาโดยวิธี บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ
กิจกรรม
3. ถามคาถามในห้องเรียน
หนังสืออ้างอิง -
สื่อการสอน เอกสารประกอบ หน่วยที่ 4
วัสดุโสตทัศน์ Power point หน่วยที่ 4 และ LCD Projector
งานที่มอบหมาย ทาแบบฝึกหัดท้ายบทเรียน
1. สังเกตความสนใจในห้องเรียน
การวัดผล 2. การตอบคาถามขณะเรียน
3. ตรวจผลงานจากแบบฝึกหัดที่มอบหมาย
4-13

สัปดาห์ที่ 8 ใบเตรียมการสอน รหัสวิชา 04-031-202


เวลา 150 นาที สอบกลางภาคเรียน หน่วยที่ 1 ถึง 4
ชื่อบทเรียน หน่วยที่ 1 แนวคิดเบื้องต้นและการทบทวนสถิตยศาสตร์ เวลา 150 นาที
หน่วยที่ 2 ความเค้น (stress) และความเครียด (strain)
เบื้องต้น
หน่วยที่ 3 คุ ณ สมบั ติ ท างกลของวั ส ดุ (mechanical
properties of materials)
หน่วยที่ 4 ภาระในแนวแกน (axial load) และการบิ ด
(torsion)
บทเรียนที่สอบ
หน่วยที่ 1 แนวคิดเบืองต้นและการทบทวนสถิตยศาสตร์
1.1. กลศาสตร์ (mechanics)
1.2. แนวคิดพื้นฐาน
1.3. สเกลาร์ และเวคเตอร์
1.4. กฎของนิวตัน
1.5. ทบวนสถิตศาสตร์ (static)
หน่วยที่ 2 ความเค้น (stress) และความเครียด (strain) เบืองต้น
2.1. ความเค้น (stress)
2.2. ความเครียด (strain)
หน่วยที่ 3 คุณสมบัติทางกลของวัสดุ (mechanical properties of materials)
3.1. ก า ร ท ด ส อ บ ก า ร ยื ด แ ล ะ ก า ร ก ด อั ด ( the tension and
compression test)
3.2. แผนภาพความเค้น-ความเครียด (the stress-strain diagram)
3.3. กฎของฮุค (hooke’s law)
3.4. อัตราส่วนปัวซอง (poisson’s ratio)
3.5. การเสี ยหายของวัสดุเนื่องจากการคืบและความล้ า (failure of
materials due to creep and fatigre)
หน่วยที่ 4 ภาระในแนวแกน (axial load) และการบิด (torsion)
4.1. ภาระในแนวแกน (axial load)
4-14

สัปดาห์ที่ 9 ใบเตรียมการสอน รหัสวิชา 04-031-202


เวลา 6 ชม. หน่วยที่ 4 ภาระในแนวแกน (axial load) และการบิด (torsion)
ชื่อบทเรียน 4.2. การบิด (torsion) เวลา 180 นาที
จุดประสงค์การสอน
4.2. คานวณการบิด (torsion)
4.2.1. เข้าใจการเสียรูปเนื่องจากการบิด (torsional deformation of a
circular shaft)
4.2.2. คานวณสูตรการคานวณเกี่ยวกับการบิด (the torsion formula)
4.2.3. คานวณการถ่ายทอดกาลังงาน (Power transmission)
4.2.4. คานวณมุมบิดของเพลา (Angle of twist)
4.2.5. ค านวณปั ญ หาที่ วิ เ คราะห์ ด้ ว ยสมดุ ล สถิ ต อย่ า งเดี ย วไม่ ไ ด้
(statically indeterminate torque-loaded)
4-15

4.2 การบิด (torsion)


4.2.1 การเสียรูปเนื่องจากการบิด (torsional deformation of a circular shaft)
ทอร์ค หมายถึง โมเมนต์ที่กระทาตามแนวแกนหมุน โดยส่วนใหญ่ค่าทอร์คจะเป็นตัวแปรที่สาคัญ
ในการวิเคราะห์เพลาในเครื่องยนต์หรือยานพาหนะ ตัวอย่างของพฤติกรรมของเพลาหลังจากมีทอร์คมา
กระทาสามารถแสดงได้ดังรูปที่ 4-3

รูปที่ 4-3 เพลาก่อนและหลังเมื่อมีทอร์คมากระทา (Hibberler, 2011)

4.2.2 สูตรการคานวณเกี่ยวกับการบิด (the torsion formula)


เมื่อมีทอร์คภายนอกมากระทาที่เพลาแล้วค่าทอร์คจะมีค่าสูงที่สุดที่ผิวนอกของเพลาและจะมีค่า
ต่าสุดที่ภายในเนื้อวัสดุเพลา ถ้าสมมติให้เพลามีความยื ดหยุ่นเป็นเชิงเส้น และพฤติกรรมเป็นไปตามกฎของ
ฮุคแล้ว วัสดุจะมีความเป็นเชิงเส้นของความเครียด ซึ่งจะส่งผลให้มีความเป็นเชิงเส้นของความเค้นด้วย จาก
การวิเคราะห์เพลาที่แสดงในรูปที่ 4-4 จะสามารถคานวณค่าความเค้นเฉือนได้จากสมการที่

รูปที่ 4-4 ค่าความเค้นที่เกิดในแต่ละระดับชั้นของรัศมี (Hibberler, 2011)


4-16


    max (4-8)
c
โดยที่
 คือ ค่าความเค้นเฉือน
 max คือ ค่าความเค้นเฉือนสูงสุดที่เกิดขึ้นบนเพลา
 คือ ระยะจากจุดศูนย์กลางถึงตาแหน่งที่ต้องการพิจารณา
c คือ รัศมีของเพลา
เมื่อทาการอินทริกัลตลอดหน้าตัดของเพลาแล้วจะได้สมการที่นาเอาไปใช้ในการคานวณหาความ
เค้นเฉือนในแต่ละตาแหน่งได้จากสมการที่ (4-9)
T
 (4-9)
J
โดยที่
T คือ ค่าทอร์คที่กระทาบนชิ้นส่วน (N.m)
J คือ ค่าโมเมนต์ความเฉื่อยเชิงขั้วของหน้าตัด
ซึ่งค่า J นั้นสามารถแบ่งเป็นเพลาตัน สามารถคานวณได้จากสมการที่ (4-10) และเพลากลวง
สามารถคานวณได้จากสมการที่ (4-11)

J  c4 (4-10)
2
 (4-11)
J   c o4  c i4 
2

รูปที่ 4-5 ค่าความเค้นเฉือนที่เกิดขึ้นบนเพลากลวง (Hibberler, 2011)


4-17

ตัวอย่างที่ 4-8 determine missing data.

วิธีทา
4
No J (m ) C (m)
-7
1 2.513x10 0.020
-8
2 1.571x10 0.010
-7
3 6.136x10 0.025
-6
4 4.021x10 0.040
-6
5 2.357x10 0.035

ตัวอย่างที่ 4-9 determine missing data.

วิธีทา
4
No Ci (m) Co (m) J (m )
-7
1 0.017 0.020 1.20x10
-8
2 0.005 0.010 1.47x10
-7
3 0.020 0.025 3.62x10
-6
4 0.020 0.035 2.11x10
4-18

4.2.3 การถ่ายทอดกาลังงาน (power transmission)


เพลาหรือท่อที่มีหน้าตัดเป็นวงกลมมักจะถูกนาไปใช้ในการถ่ายทอดกาลังจากเครื่องยนต์ ทอร์ค
ที่มีการส่งผ่านจะขึ้นอยู่กาลังงาน (power) หรือเรียกว่างานต่อหน่วยของเวลา พลังงานที่ส่งถ่ายโดยเพลา
กลมหรือเพลากลวงทั้งหมดสามารถคานวณได้จากสมการที่ (4-12)
P  T (4-12)
โดยที่
P คือ กาลังงาน (W หรือ J/s หรือ N.m/s)
T คือ ทอร์ค (N.m)
 คือ ความเร็วเชิงมุม (rad/s)

ตัวอย่างที่ 4-10 determine missing data as below table.


วิธีทา
No. T (N.m)  (rad/s) P (Watt)
1 6.60 4.30 28.38
2 7.32 3.00 21.96
3 2.46 4.20 10.33
4 20.00 1.70 34.00

สาหรับเครื่องยนต์ที่สามารถวัดความถี่ในการทางานได้ในหน่วยของ รอบต่อวินาที หรือ Hz ก็


สามารถคานวณกาลังงานได้จากสมการที่ (4-13) เนื่องจาก   2 f
P  2 fT (4-13)
ดังนั้นหลักการของการเลือกเพลาที่จะนาไปใช้ในการส่งถ่ายกาลังจึงจาเป็นต้องทราบถึงกาลังงาน
ที่ใช้ (P) ค่าความเค้นเฉือนที่ยอมรับได้ ( allow ) จากนั้นจึงเอาค่าที่ได้ไปใช้ในการออกแบบเพลาส่งกาลัง

ตัวอย่างที่ 4-11 determine missing data as below table.


วิธีทา
No. T (N.m) f (Hz)  (rad/s) P (Watt)
1 34.52 0.68 4.30 148.44
2 45.63 0.48 3.00 136.89
3 654.35 0.67 4.20 2748.27
4 79.78 0.27 1.70 135.63
4-19

จากหลักการที่ได้กล่าวมาแล้วนั้น สมการทั้งหมดสามารถนามาใช้ในการวิเคราะห์ค่าความเค้น
เฉือนที่เกิดขึ้นบนเพลาได้ เช่น เพลาที่มีการหมุนเพื่อส่งถ่ายกาลังจากมอเตอร์ไปสู่เครื่องจักรต่างๆ

ตัวอย่ างที่ 4-12 a 150 mm diameter shaft shown supported by two bearings and subjected
to three torques. Determine shear stress developed at points A and B, located at section
a-a of the shaft.

(Hibberler, 2011)
วิธีทา
4-20

ตัวอย่างที่ 4-13 determine missing data.

วิธีทา
No T (N.m)  (rpm) P (W)
1 204.63 175 3750
2 190.99 200 4000
3 63.66 300 2000
4 23.87 400 1000
5 28.65 500 1500
6 39.79 600 2500
7 57.30 700 4200
8 21.49 800 1800
9 47.75 440 2200
10 44.76 320 1500
4-21

ตั ว อย่ า งที่ 4-14 solid steel shaft shown used to transmit 3750 W from attached motor M.
Shaft rotates at  = 175 rpm and the steel allow = 100 MPa. Determine required diameter
of shaft to nearest mm.

(Hibberler, 2011)
วิธีทา
4-22

4.2.4 มุมบิดของเพลา (angle of twist)


เมื่อเพลากลมรับภาระบิดในช่วงยืดหยุ่น จะพบว่ามุมบิดของเพลากลมจะเป็นปฏิภาคโดยตรงกับ
ทอร์คภายนอกที่กระทาต่อเพลากลมดังกล่าว โดยพิจารณาในช่วงยืดหยุ่นตามกฎของฮุก แล้วจะสามารถ
คานวณหามุมบิดของเพลาได้จากสมการที่ (4-14)
TL
 (4-14)
JG
โดยที่
 คือ มุมบิด (rad)
T คือ ทอร์ค (N.m)
L คือ ความยาวของเพลา (m)
J คือ โมเมนต์ความเฉื่อยเชิงขั้ว (m4)
G คือ ค่ายังส์มอดุลัสเฉือน (N/m2)
ในสมการที่ (4-14) การคานวณจะต้องมีการคานึงถึงทิศทางด้วย โดยหากค่าทอร์คมีทิศพุ่งออก
จะใช้เครื่องหมายบวก (+) และถ้าค่าทอร์คมีทิศพุ่งเข้าสู่ระนาบจะใช้เครื่องหมายเป็นลบ (-) ในสมการ ค่าและ
ถ้าหากบนเพลามีทอร์คมากระทาหลายค่าแล้ว มุมบิดของเพลาจะสามารถคานวณได้จากสมการที่ (4-15)
TL
  (4-15)
JG

ตัวอย่างที่ 4-15 determine missing data as below table.


วิธีทา
No. T (N.m) L (m) J (x10-6 m4) G (GPa)  (rad)
1 3424.00 2.00 0.34 180.00 0.11
2 8764.00 4.30 0.96 150.00 0.26
3 8754.00 3.42 0.67 134.00 0.33
4 7352.00 3.87 0.70 178.00 0.23
5 4563.00 4.65 0.85 123.00 0.20
6 6835.00 1.98 0.45 119.00 0.25
4-23

ตัวอย่างที่ 4-16 the gears attached to the fixed-end steel shaft are subjected to the torques
shown in figure. If the shear modulus of elasticity is 80 GPa and the shaft has a diameter
of 14 mm, determine the displacement of the tooth.

(Hibberler, 2011)
วิธีทา
4-24

4.2.5 ปัญหาที่วิเคราะห์ด้วยสมดุลสถิตอย่างเดียวไม่ได้ (statically indeterminate torque-loaded)


ในการวิเคราะห์ค่าทอร์คที่เกิดขึ้นบนเพลานั้นอาจจะแบ่งปัญหาออกเป็นเป็นหาที่สามารถแก้
สมการด้วยสมดุลสถิตได้เลย กับปัญหาที่ใช้สมดุลสถิตอย่างเดียวไม่ได้ ดัง ที่แสดงให้เห็นว่าเมื่อมีทอร์คมา
กระทาที่เพลาแล้วต้องการที่จะทราบค่าทอร์คต้านที่เกิดขึ้นที่จุดยึด แสดงได้ดั งสมการที่ ซึ่งจากสมการที่ได้
นั้นไม่สามารถทาได้

รูปที่ 4-6 รูปเพลาที่ไม่สามารถวิเคราะห์ได้ด้วยสมดุลสถิตอย่างเดียว (Hibberler, 2011)


4-25

1. บอกความสาคัญของหน่วยเรียน
วิธีสอนและ
2. ให้เนื้อหาโดยวิธี บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ
กิจกรรม
3. ถามคาถามในห้องเรียน
หนังสืออ้างอิง -
สื่อการสอน เอกสารประกอบ หน่วยที่ 4
วัสดุโสตทัศน์ Power point หน่วยที่ 4 และ LCD Projector
งานที่มอบหมาย ทาแบบฝึกหัดท้ายบทเรียน
1. สังเกตความสนใจในห้องเรียน
การวัดผล 2. การตอบคาถามขณะเรียน
3. ตรวจผลงานจากแบบฝึกหัดที่มอบหมาย
5-1

สัปดาห์ที่ 10 ใบเตรียมการสอน รหัสวิชา 04-031-202


เวลา 12 ชม. หน่วยที่ 5 การดัด (bending) แรงกระทาตามขวาง (transverse shear) และภาชนะ
ผนังบาง (pressure vessel)
ชื่อบทเรียน 5.1 การดัด (bending) เวลา 180 นาที
จุดประสงค์การสอน
5.1. คานวณการดัด (bending) ในคาน
5.1.1. อธิ บ ายแผนผั ง แรงเฉื อ นและโมเมนต์ (shear and moment
diagrams)
5-2

หน่วยที่ 5 การดัด (bending) แรงกระทาตามขวาง (transverse shear)


และภาชนะผนังบาง (pressure vessel)

5.1 การดัด (bending)


5.1.1 แผนผังแรงเฉือนและโมเมนต์ (shear and moment diagrams)
โดยส่วนใหญ่แล้วในการวิเคราะห์แผนผังแรงเฉือนและโมเมนต์มักจะใช้ในการวิเคราะห์ คาน
(beam) ซึ่งเป็นชิ้นส่วนทางกลที่รับภาระกระทาตามขวางตั้งฉาก (transverse shear) กับแนวแกนของคาน
ภายใต้ภาระกระทาตามขวางตั้งฉากกับแนวแกนของคานจะทาให้เกิดแรงเฉือนต้าน (shear force) และ
โมเมนต์ดัดในคาน (bending moment) โดยแรงเฉือนจะทาให้เกิดค่าความเค้นเฉือน (shear stress) และ
โมเมนต์ดัดจะทาให้เกิดความเค้นดัด (bending stress หรือ flexural stress) ดังนั้นก่อนที่จะวิเคราะห์ความ
เค้นได้จาเป็นต้องสามารถคานวณหาแผนผังแรงเฉือนและโมเมนต์ดัดได้เสียก่อน
ในการทีจะสร้างสมการของแรงเฉือน (V) และโมเมนต์ (M) ในเริ่มต้นนั้นจาเป็นต้องมีการกาหนด
จุ ดเริ่ มต้น และทิศทางที่เป็ นบวก จากนั้ นจึงกาหนดทิศทางและเครื่องหมายของแรงเฉือนและโมเมนต์
ตัวอย่างการกาหนดเครื่องหมายของแรงเฉือนและโมเมนต์แสดงได้ดังรูปที่ 5-1 และรูปที่ 5-2

รูปที่ 5-1 สัญลักษณ์และทิศทางของตัวแปรที่นามาใช้ในการวิเคราะห์คาน (Hibberler, 2011)


5-3

รูปที่ 5-2 ทิศทางที่เป็นบวก (+) ของค่าแรงเฉือนและโมเมนต์ดัด (Hibberler, 2011)


ขั้นตอนการเขียนแผนภาพแรงเฉือนและโมเมนต์สามารถสรุปเป็นขั้นตอนได้ดังนี้
1) คานวณหาแรงปฏิกิริยาและโมนต์ที่เกิดขึ้นที่จุดยึดให้ครบทุกจุด
2) กาหนดจุดเริ่มต้น และกาหนดทิศทาง x ที่จะใช้ในการวิเคราะห์
3) เลือกหน้าตัดในแต่ละช่วงเพื่อทาการวิเคราะห์แรงเฉือนและโมเมนต์ที่เกิ ดขึ้น โดยทาการ
เขียนแผนผังการวิเคราะห์แรงอิสระ
4) เขียนแผนภาพแรงเฉือนและโมเมนต์ที่ขึ้นกับระยะทาง โดยถ้ามีเครื่องหมายเป็นบวกให้
เขียนไว้ด้านบน ส่วนเครื่องหมายลบให้เขียนไว้ด้านล่าง
5-4

ตั ว อย่ า งที่ 5-1 draw the shear and moment diagrams for the beam shown in figure. If w =
300 N and L = 4 m.

(Hibberler, 2011)
วิธีทา
5-5

ตัวอย่างที่ 5-2 draw the shear and moment diagrams for beam shown below in figure. If W0
= 500 N/m and L = 3 m.

(Hibberler, 2011)
วิธีทา
5-6

ตัวอย่างที่ 5-3 draw the shear and moment diagrams for beam shown below.

(Hibberler, 2011)
วิธีทา
5-7

ตัวอย่างที่ 5-4 draw the shear and moment diagrams for beam shown below.

(Hibberler, 2011)
วิธีทา
5-8

1. บอกความสาคัญของหน่วยเรียน
วิธีสอนและ
2. ให้เนื้อหาโดยวิธี บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ
กิจกรรม
3. ถามคาถามในห้องเรียน
หนังสืออ้างอิง -
สื่อการสอน เอกสารประกอบ หน่วยที่ 5
วัสดุโสตทัศน์ Power point หน่วยที่ 5 และ LCD Projector
งานที่มอบหมาย ทาแบบฝึกหัดท้ายบทเรียน
1. สังเกตความสนใจในห้องเรียน
การวัดผล 2. การตอบคาถามขณะเรียน
3. ตรวจผลงานจากแบบฝึกหัดที่มอบหมาย
5-9

สัปดาห์ที่ 11 ใบเตรียมการสอน รหัสวิชา 04-031-202


เวลา 12 ชั่วโมง หน่วยที่ 5 การดัด (bending) แรงกระทาตามขวาง (transverse shear) และภาชนะ
ผนังบาง (pressure vessel)
ชื่อบทเรียน 5.1. การดัด (bending) เวลา 180 นาที
จุดประสงค์การสอน
5.1.2. คานวณค่าความเค้นดัดในคาน (the flexure formula)
5-10

5.1.2 การคานวณค่าความเค้นดัดในคาน (the flexure formula)


จากการวิเคราะห์ ในปั ญหาแรงเฉือนในคานที่ผ่ านมาและเมื่อสมมติให้ พฤติกรรมของคานมี
ความเครี ย ดเป็ น เชิ งเส้ น ดัง รู ป ที่ 5-3 (a) แล้ ว จะท าให้ เกิ ดความเค้ นที่ เป็ นเชิ งเส้ น (linear variation in
normal stress) เช่นเดียวกัน ดังแสดงในรูปที่ 5-3 (b) ดังนั้นความสัมพันธ์ที่ได้จากการวิเคราะห์จะนาไปสู่
การหาค่าความเค้นดัดในสมการที่ (5-1) และสมการที่ (5-2)

รูปที่ 5-3 ค่าความเครียดและความเค้นดัดเชิงเส้น (Hibberler, 2011)

y
     max (5-1)
c
โดยที่
 คือ ค่าความเค้นดัด (N/m2)
 max คือ ค่าความเค้นดัดสูงสุดที่เกิดบนเพลา (N/m2)
y คือ ระยะจากแกนสะเทินถึงระยะที่สังเกต (m)
c คือ ระยะจากแกนสะเทินถึงผิวด้านนอกที่ยาวที่สุด (m)
My
 max   (5-2)
I
โดยที่
M คือ โมเมนต์ดัด ณ จุดที่สนใจ (N.m)
I คือ โมเมนต์ความเฉื่อย ณ หน้าตัดที่สนใจ (m4)
5-11

ตัวอย่างที่ 5-5 A member having the dimensions shown is used to resist an internal bending
moment of M = 100 kN.m. Determine the maximum stress in the member if the moment
is applied about the x axis and y axis.

x 30 mm
M

40 mm

วิธีทา
5-12

ตั ว อ ย่ า ง ที่ 5-6 a beam has a rectangular cross section and is subjected to the stress
distribution shown in figure. Determine the internal moment M at the section caused by
the stress distribution
(a) using the flexure formula
(b) by finding the the resultant of the stress distribution using basic principles.

(Hibberler, 2011)
วิธีทา
5-13

1. บอกความสาคัญของหน่วยเรียน
วิธีสอนและ
2. ให้เนื้อหาโดยวิธี บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ
กิจกรรม
3. ถามคาถามในห้องเรียน
หนังสืออ้างอิง -
สื่อการสอน เอกสารประกอบ หน่วยที่ 5
วัสดุโสตทัศน์ Power point หน่วยที่ 5 และ LCD Projector
งานที่มอบหมาย ทาแบบฝึกหัดท้ายบทเรียน
1. สังเกตความสนใจในห้องเรียน
การวัดผล 2. การตอบคาถามขณะเรียน
3. ตรวจผลงานจากแบบฝึกหัดที่มอบหมาย
5-14

สัปดาห์ที่ 12 ใบเตรียมการสอน รหัสวิชา 04-031-202


เวลา 12 ชั่วโมง หน่วยที่ 5 การดัด (bending) แรงกระทาตามขวาง (transverse shear) และ
ภาชนะผนังบาง (pressure vessel)
ชื่อบทเรียน 5.2. แรงกระทาตามขวาง (transverse shear) เวลา 180 นาที
จุดประสงค์การสอน
5.2. คานวณแรงกระทาตามขวาง (transverse shear)
5.2.1. คานวณค่าแรงเฉือนในวัสดุ (shear in straight member)
5.2.2. คานวณความเค้นเฉือน (The shear formula)
5-15

5.2 แรงกระทาตามขวาง (transverse shear)


5.2.1 ค่าแรงเฉือนในวัสดุ (shear in straight member)
ในบทก่อนหน้านี้ค่าความเค้นเฉือนได้ถูกอธิบายให้คานวณแล้วมีค่าเท่ากันตลอดหน้าตัด ซึ่งใน
ความเป็นจริงแล้วค่าของความเค้นเฉือนที่เกิดจากแรงเฉือนนั้นจะมีค่าไม่สม่าเสมอตลอดหน้าตัดของคาน ใน
บทนี้จึงเน้นการนาเสนอการวิเคราะห์ความเค้นในคาน โดยปกติแล้วคานจะสามารถรับได้ทั้งแรงเฉือนและ
โมเมนต์ ซึ่งในบทนี้จะเน้นที่การวิเคราะห์ความเค้นที่เกิดจากแรงเฉือนเป็นหลัก ค่าความเค้นที่เกิดที่เกิดขึ้น
เนื่องจากแรงเฉือนจะมีค่าตามแนวยาวดังรูปที่ 5-4

รูปที่ 5-4 ความเค้นเฉือนที่เกิดบนหน้าตัดของคาน (Hibberler, 2011)

5.2.2 ความเค้นเฉือน (shear formula)


จากที่ได้กล่าวมาข้างต้นแล้วว่าความเค้นเฉือนที่เกิดขึ้นบนคานเมื่อมีแรงหลายๆ แรงมากระทาจะ
มีค่าไม่สม่าเสมอตลอดหน้าตัดซึ่งสามารถแสดงได้ดังรูปที่ 5-5 ค่าความเค้นเฉือนบนคานสามารถคานวณได้
จากสมการที่ (5-3)
5-16

รูปที่ 5-5 ค่าความเค้นเฉือนที่เกิดขึ้นบนคานที่มีแรงหลายแรงมากระทา (Hibberler, 2011)


VQ
 (5-3)
It
โดยที่
 คือ ค่าความเค้นเฉือนที่เกิดบนคาน (N/m2)
V คือ ค่าแรงเฉือน (N)
I คือ ค่าโมเมนต์ความเฉื่อยของหน้าตัดของคานที่สนใจจะพิจารณา (m4)
t คือ ความหนาของจุดที่สนใจจะวิเคราะห์ (m)
Q  y A โดยที่ A พื้นที่เหนือและต่ากว่าระดับที่พิจารณาที่ความหนา t ส่วน y  คือระยะจาก
แกนสะเทินถึงจุดเซนทร์อยของพื้นที่ A

ตัวอย่างที่ 5-7 the solid shaft and tube are subjected to the shear force of 4 kN. Determine
the shear stress acting over the diameter of each cross section

4 kN 4 kN

50 mm 50 mm 20 mm

วิธีทา
5-17

ตั ว อย่ า งที่ 5-8 determine the distribution of the shear stress over the cross section of the
beam shown in figure.

(Hibberler, 2011)
วิธีทา
5-18

ตัวอย่างที่ 5-9 Beam shown is made from two boards. Determine the maximum shear stress
in the glue necessary to hold the boards together along the seams where they are joined.
Supports at B and C exert only vertical reactions on the beam.

(Hibberler, 2011)
วิธีทา
5-19

1. บอกความสาคัญของหน่วยเรียน
วิธีสอนและ
2. ให้เนื้อหาโดยวิธี บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ
กิจกรรม
3. ถามคาถามในห้องเรียน
หนังสืออ้างอิง -
สื่อการสอน เอกสารประกอบ หน่วยที่ 5
วัสดุโสตทัศน์ Power point หน่วยที่ 5 และ LCD Projector
งานที่มอบหมาย ทาแบบฝึกหัดท้ายบทเรียน
1. สังเกตความสนใจในห้องเรียน
การวัดผล 2. การตอบคาถามขณะเรียน
3. ตรวจผลงานจากแบบฝึกหัดที่มอบหมาย
5-20

สัปดาห์ที่ 13 ใบเตรียมการสอน รหัสวิชา 04-031-202


เวลา 12 ชั่วโมง หน่วยที่ 5 การดัด (bending) แรงกระทาตามขวาง (transverse shear) และ
ภาชนะผนังบาง (pressure vessel)
ชื่อบทเรียน 5.3. ภาชนะผนังบาง (pressure vessel) เวลา 180 นาที
5.4. ความเค้นผสมเนื่องจากภาระหลายรูปแบบ (state
of stress caused by combined loading)
จุดประสงค์การสอน
5.3. คานวณเกี่ยวกับภาชนะผนังบาง (thin-walled pressure vessels)
5.3.1. ค านวณเกี่ ย วกั บ ถั ง ผนั ง บางรู ป ทรงกระบอก (cylindrical
vessels)
5.3.2. คานวณเกี่ยวกับผนังบางรูปทรงกลม (spherical vessels)
5.4. ค านวณความเค้ นผสมเนื่ องจากภาระหลายรู ปแบบ (state of stress
caused by combined loading)
5.4.1. คานวณค่าความเค้นตั้งฉาก
5.4.2. คานวณค่าความเค้นเฉือน
5.4.3. คานวณค่าความเค้นที่เกิดจากภาระบิด
5.4.4. คานวณค่าความเค้นที่เกิดจากภาระดัด
5-21

5.3 ภาชนะผนังบาง (thin-walled pressure vessels)


สาหรับถังความดันที่ใช้บรรจุแก๊สหรือของเหลวภายใต้ความดันที่สูงกว่าบรรยากาศนั้น ความดันของ
ของไหลที่กระทาต่อผนังของถังจะทาให้ผนังของถังรับภาระดึง โดยเฉพาะกับถังที่มีความหนาน้อยจะเกิด
ความเค้นบนผนังของถังความดันนี้ โดยถังจะมีลักษณะเป็นทรงกระบอกหรือทรงกลมก็แล้วแต่จะมีหลักการ
วิเคราะห์คล้ายๆ กัน โดยเกณฑ์การพิจารณาว่าถังความดันใดเป็นแบบผนังบางจะวิเคราะห์จากอัตราส่วนของ
รัศมีภายใน (r) ต่อความหนา (t) ต้องมีค่ามากกว่า 10 ดังสมการที่ (5-4) โดยสมมติให้ความเค้นตามแนวแกน
(longitudinal หรื อ axial direction) และความเค้ น แนวเส้ น รอบวง (circumferential หรื อ hoop
direction) มีค่าสม่าเสมอ
r
 10 (5-4)
t
5.3.1 ภาชนะผนังบางรูปทรงกระบอก (cylindrical vessels)
ในการวิเคราะห์ถังรูปทรงกระบอกที่มีความหนา (t) มีรัศมีภายใน (r) และถูกกระทาด้วยความ
ดัน (p) ดังรูปที่ 5-6 ความเค้นตั้งฉากที่เกิดขึ้นจะเกิดขึ้นได้ 2 ค่า คือตามแนวรัศมี ( 1 ) และตามแนวยาว
( 2 ) ดังรูปที่ 5-7 ซึ่งความเค้นทั้ง 2 ค่านี้สามารถคานวณได้ดังสมการที่ (5-5) และ (5-6)

รูปที่ 5-6 ถังผนังบางรูปทรงกระบอก (Hibberler, 2011)

รูปที่ 5-7 ความเค้นที่เกิดขึ้นบนถังผนังบางรูปทรงกระบอก (Hibberler, 2011)


5-22

pr
1  (5-5)
t
pr (5-6)
2 
2t
โดยที่
1 คือ ความเค้นตามแนวรัศมี (N/m2)
2 คือ ความเค้นตามแนวยาว (N/m2)
p คือ ความดัน (N/m2)
r คือ รัศมี (m)
t คือ ความหนาของผนัง (m)
5.3.2 ภาชนะผนังบางรูปทรงกลม (spherical vessels)
สาหรับค่าความเค้นที่เกิดบนผนังบางรูปทรงกลมรัศมี r และความหนา t ดังแสดงในรูปที่ 5-8
นั้นมีเพียงค่าความเค้นเพียงค่าเดียวเท่านั้น ซึ่งสามารถคานวณได้จากสมการที่ (5-7)

รูปที่ 5-8 ความเค้นที่เกิดบนถังผนังบางรูปทรงกลม (Hibberler, 2011)


pr
2  (5-7)
2t
5-23

ตั ว อย่ างที่ 5-10 Cylindrical pressure vessel has an inner diameter of 1.2 m and thickness of
12 mm. Determine the maximum internal pressure it can sustain so that neither its
circumferential nor its longitudinal stress component exceeds 140 MPa. Under the same
conditions, what is the maximum internal pressure that a similar-size spherical vessel

วิธีทา
5-24

ตัวอย่างที่ 5-11 A spherical gas tank has an inner radius of r = 1.5 m. If it is subjected to an
internal pressure of P = 300 kPa, Determine its required thickness if the maximum normal
stress is not to exceed 12 MPa.

วิธีทา

5.4 ความเค้นผสมเนื่องจากภาระหลายรูปแบบ (state of stress caused by combined loading)


ในการพิจาณาโครงสร้างใดๆ ก็ตามนั้นในความเป็นจริงแล้วสามารถแบ่งลักษณะของภาระที่มากระทา
กับโครงสร้างได้เป็น 4 แบบ ได้แก่
1) ภาระผสมระหว่างภาระแนวแกนกับภาระดัด
2) ภาระผสมระหว่างภาระแนวแกนกับภาระบิด
3) ภาระผสมระหว่างภาระบิดกับภาระกระทาขวาง
4) ภาระผสมระหว่างภาระแนวแกน ภาระบิดและภาระดัด
5-25

ภาระที่ได้กล่าวมาทั้งหมดนั้นจะก่อให้เกิดความเค้นผสม (combined stress) ภายในโครงสร้าง ดังนั้น


ในการวิเคราะห์ความเค้นที่เกิดขึ้นจาเป็นต้องมีการแยกการวิเคราะห์ออกเป็นส่วนๆ ตามลักษณะของภาระที่
กระทาต่อโครงสร้างหลังจากนั้นจึงนาเอาค่าความเค้นตั้งฉาก และความเค้นเฉือนมาสรุปผล

ตัวอย่างที่ 5-12 the rectangular block of negligible weight in figure is subjected to a vertiacal
force of 40 kN, which is applied to its corner. Determine the normal-stress distribution acting
on a section through ABCD.

(Hibberler, 2011)
วิธีทา
5-26

ตั ว อย่ า งที่ 5-13 The screw of the clamp exerts a compressive force of 500 N on the wood
blocks. Determine the maximum normal stress developed along section a-a. The cross
section there is rectangular, 0.75 cm by 0.50 cm.

วิธีทา
5-27

1. บอกความสาคัญของหน่วยเรียน
วิธีสอนและ
2. ให้เนื้อหาโดยวิธี บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ
กิจกรรม
3. ถามคาถามในห้องเรียน
หนังสืออ้างอิง -
สื่อการสอน เอกสารประกอบ หน่วยที่ 5
วัสดุโสตทัศน์ Power point หน่วยที่ 5 และ LCD Projector
งานที่มอบหมาย ทาแบบฝึกหัดท้ายบทเรียน
1. สังเกตความสนใจในห้องเรียน
การวัดผล 2. การตอบคาถามขณะเรียน
3. ตรวจผลงานจากแบบฝึกหัดที่มอบหมาย
6-1

สัปดาห์ที่ 14 ใบเตรียมการสอน รหัสวิชา 04-031-202


เวลา 6 ชั่วโมง หน่วยที่ 6 การเปลี่ยนรูปความเค้น (stress transformation)
ชื่อบทเรียน 6.1. การแปลง คว า มเ ค้ นร ะ น าบ ( plane stress เวลา 90 นาที
transformation) และสมการที่ใช้ในการหาแปลงค่าความเค้น
(general equations of plane-stress transformation) เวลา 90 นาที
จุดประสงค์การสอน
6.1. คานวณการแปลงความเค้นระนาบ (plane stress transformation)
6.1.1. อ ธิ บ า ย ก า ร แ ป ล ง ค ว า ม เ ค้ น ร ะ น า บ ( plane stress
transformation)
6.1.2. ค านวณสมการที่ ใ ช้ ใ นการหาแปลงค่ า ความเค้ น (general
equations of plane-stress transformation)
6-2

หน่วยที่ 6 การเปลี่ยนรูปความเค้น (stress transformation)

6.1 การแปลงความเค้นระนาบ (plane stress transformation) และสมการที่ใช้ในการหาแปลงค่าความ


เค้น (general equations of plane-stress transformation)
6.1.1 การแปลงความเค้นระนาบ (plane stress transformation)
โดยปกติแล้วความเค้น ณ จุดใดๆ ก็ตามจะถูกแบ่งตามลักษณะของทิศทางได้เป็น 6 ลักษณะ
ด้วยกันดังรูปที่ 6-1(a) ซึ่งในบางปัญหาทางวิศวกรรมก็ได้มีการลดรูปของค่าความเค้นบางตัวเพื่อปรับเปลี่ยน
ให้การวิเคราะห์ง่ายขึ้น โดยวิเคราะห์ในระนาบเดียว (single plane) ซึ่งจะเรียกการวิเคราะห์ระนาบแบบนี้
ว่า plane stress หรือค่าความเค้นที่ตั้งฉากกับระนาบที่วิเคราะห์เท่ากับศูนย์ ซึ่งแสดงดังรูปที่ 6-1(b)

รูปที่ 6-1 ส่วนประกอบของความเค้น ณ วัตถุใดๆ (Hibberler, 2011)


เมื่อมองในระนาบเดียวความเค้นจะประกอบไปด้วยความเค้นตั้งฉาก 2 ทิศทางได้แก่ทิศทาง
x ( x ) และ y ( y ) และความเค้นเฉือน 1 ค่า ( xy ) และเมื่อสภาวะปกติมีการเปลี่ยนแปลงมุมไปเท่ากับ
 แล้วจะทาให้ค่าความเค้นของสภาวะนั้นเป็น  x , y และ  xy ดังรูปที่ 6-2 ซึ่งในการหาค่าความเค้น
ในทิศทางใหม่นั้นสามารถหาได้จากการเขียนแผนผังวัตถุอิสระ จากนั้นจึงหาแรงที่กระทาต่อพื้นที่นั้นๆ และ
คานวณนวนหาความเค้นเฉือนและความเค้นตั้งฉาก

รูปที่ 6-2 สภาวะของความเค้นบนวัสดุ (Hibberler, 2011)


6-3

6.1.2 สมการที่ ใช้ ในการหาแปลงค่ า คว าม เค้ น (general equations of plane-stress


transformation)
หลั กการของการแปลงค่าความเค้นไปยังทิศทางที่ต้ องการทราบนั้นจาเป็นต้องค านึ งถึ ง
ทิศทางและเครื่ องหมายก่อนที่จะใส่ลงไปในสมการคานวณ โดยความเค้นตั้งฉากที่เป็นความเค้นดึ งจะมี
เครื่องหมายเป็นบวก (+) ส่วนความเค้นอัดจะมีเครื่องหมายเป็นลบ (-) ค่าความเค้นเฉือนก็เช่นเดียวกั น
จะต้องมีการกาหนดทิศทางที่เป็นบวก (+) และลบ (-) ให้ชัดเจนก่อนการคานวณ ตัวอย่างของการกาหนด
ทิศทางและเครื่องหมายสามารถแสดงได้ดังรูปที่ 6-3 ค่าความเค้นตั้งฉากและความเค้นเฉือนสามารถคานวณ
ได้จากสมการที่ (6-1) (6-2) และ (6-3)

รูปที่ 6-3 การกาหนดเครื่องหมายของค่าความเค้นตั้งฉากและความเค้นเฉือน (Hibberler, 2011)

รูปที่ 6-4 ทิศทางที่เป็นบวกของวัสดุที่มีการเปลี่ยนแปลงความเค้นแล้ว (Hibberler, 2011)


 x  y  x  y
 x   cos2   xy sin2 (6-1)
2 2
 x  y  x  y (6-2)
 y   cos2   xy sin2
2 2
 x  y (6-3)
 xy   sin2   xy cos2
2
6-4

ตัวอย่างที่ 6-1 determine missing data of below table.

วิธีทา
No x y xy  x’ y’ x’y’
1 5 4 12 13 10.21 -1.21 10.57
2 4 3 -3 14 2.53 4.47 -2.88
3 1 8 -1 32 2.07 6.93 2.71
4 17 2 -12 50 -3.62 22.62 -5.30
5 -6 -1 3 27 -2.54 -4.46 3.79
6 3 -3 10 42 10.26 -10.26 -1.94
7 2 -1 4 12 3.50 -2.50 3.04

ตัวอย่างที่ 6-2 the state of stress at a point is represented by the element shown. Determine
the state of stress at the pt on another element orientated 30 clockwise from the position
shown.

(Hibberler, 2011)
วิธีทา
6-5

สัปดาห์ที่ 15 ใบเตรียมการสอน รหัสวิชา 04-031-202


เวลา 6 ชั่วโมง หน่วยที่ 6 การเปลี่ยนรูปความเค้น (stress transformation)
ชื่อบทเรียน 6.2. ความเค้นหลักและค่าความเค้นเฉือนสูงสุด (principal เวลา 60 นาที
stresses and maximum in-plane shear stress)
6.3. การวิ เ คราะห์ ค วามเค้ น ระนาบด้ ว ยวงกลมโมร์ เวลา 60 นาที
(mohr’s circle-plane stress)
6.4. ความเค้นเฉือนสูงสุดสัมบูรณ์ (absolute maximum เวลา 60 นาที
shear stress)
จุดประสงค์การสอน
6.2. คานวณความเค้นหลักและค่าความเค้นเฉือนสูงสุด (principal stresses and
maximum in-plane shear stress)
6.2.1. คานวณความเค้นหลัก (principal stress)
6.2.2. คานวณความเค้นเฉือนสูงสุด (maximum shear stress)
6.3. แก้ปัญหาการวิเคราะห์ความเค้นระนาบด้วยวงกลมโมร์ (mohr’s circle-
plane stress)
6.3.1. สร้างวงกลมโมร์
6.3.2. สาธิตการหาค่าความเค้นหลักและความเค้นเฉือนจากวงกลมโมร์
6.4. เข้าใจความเค้นเฉือนสูงสุดสัมบูรณ์ (absolute maximum shear stress)
6.4.1. อฺ ธิ บ า ย ก ร ณี ที่  1 แ ล ะ  2 เ ป็ น ค ว า ม เ ค้ น ดึ ง โ ด ย ที่
1   2  0
6.4.2. อธิบายกรณีที่  1 และ 2 เป็นความเค้นดึง โดยที่  1  0 และ
2  0
6-6

6.2 ความเค้นหลักและค่าความเค้นเฉือนสูงสุด (principal stresses and maximum in-plane shear


stress)
6.2.1 ความเค้นหลัก (principal stress)
จากสมการที่ (6-1) (6-2) และ (6-3) นั้ น แสดงให้ เ ห็ น ว่ า ค่ า  x , y และ  xy นั้ น
เปลี่ยนแปลงไปตามมุม  ในการออกแบบนั้น จะมุ่งเน้นหาสภาวะความเค้นที่จุดใดจุดหนึ่งในเนื้อวัสดุมีค่า
สูงที่สุด ( max ) และต่าที่สุด ( min ) ความเค้นทั้งสองตัวนี้เรียกว่าความเค้นหลัก (principal stress) ซึ่งมุมที่
บอกตาแหน่งของระนาบความเค้นหลัก ( p ) สามารถคานวณได้จากสมการที่ (6-4) โดยมุม  p นั้นจะมี 2
ค่าซึ่งมีความแตกต่างกัน 90 และค่าความเค้นหลักสามารถคานวณได้จากสมการที่ (6-5) ในสภาวะนี้ค่า
ความเค้นเฉือนภายในเนื้อวัสดุจะมีค่าเท่ากับ 0
2 xy
tan2 p  (6-4)
 x   y 
 x  y (6-5)
  x  y 
2

 1,2 max,min       xy
2

2  2 

ตัวอย่างที่ 6-3 determine missing data of below table.

No x y xy p 1 2
1 5 4 12 43.81 16.51 -7.51
2 4 3 -3 -40.27 6.54 0.46
3 1 8 -1 7.97 8.14 0.86
4 17 2 -12 -29.00 23.65 -4.65
5 -6 -1 3 -25.10 0.41 -7.41
6 3 -3 10 36.65 10.44 -10.44
7 2 -1 4 34.72 4.77 -3.77

6.2.2 ความเค้นเฉือนสูงสุด (maximum in-plane shear stress)


ทิศทางที่ทาให้เนื้อวัตถุมีค่าความเค้นเฉือนสูงสุดสามารถคานวณได้จากสมการที่ (6-6) และ
ค่าความเค้นเฉือนสูงสุดสามารคานวณได้จากสมการที่ (6-7) ซึ่งสภาวะที่ทาให้เกิดความเค้นเฉือนสูงสุดจะเกิด
ค่าความเค้นตั้งฉากเฉลี่ย ( ave ) ดังสมการที่ (6-8)
6-7

tan2 s  
 x  y 
(6-6)
2 xy
(6-7)
  x  y 
2

 max      xy
2

 2 
  y (6-8)
 ave  x
2

ตัวอย่างที่ 6-4 determine missing data of below table.

No x y xy s max avg


1 5 4 12 -1.19 12.01 4.50
2 4 3 -3 4.73 3.04 3.50
3 1 8 -1 -37.03 3.64 4.50
4 17 2 -12 16.00 14.15 9.50
5 -6 -1 3 19.90 3.91 -3.50
6 3 -3 10 -8.35 10.44 0.00
7 2 -1 4 -10.28 4.27 0.50
6-8

ตั ว อย่ า งที่ 6-5 When torsional loading T=100 N.m is applied to bar, it produces a state of
pure shear stress in the material. Determine
(a) the maximum in-plane shear stress and associated average normal stress, and
(b) the principal stress.

(Hibberler, 2011)
วิธีทา
6-9

ตัวอย่างที่ 6-6 the state of plane stress at a point on a body is represented on the element
shown. Represent this stress state in terms of the maximum in-plane shear stress and
associated average normal stress.

(Hibberler, 2011)
วิธีทา
6-10

6.3 การวิเคราะห์ความเค้นระนาบด้วยวงกลมโมร์ (mohr’s circle-plane stress)


การเขียนแผนภาพวงกลมเพื่อใช้ในการวิเคราะห์ความเค้นระนาบมีชื่อเรียกว่า วงกลมโมร์ (mohr’s
circle) เป็นการเขียนแผนภาพเพื่อใช้ในการคานวณหาความเค้นตั้งฉากและความเค้นเฉือนในทิศทางต่างๆ
โดยไม่จาเป็นต้องใช้สูตรในการคานวณ แต่จะใช้วิธีการเขียนรูปวงกลมบนแกน    เพื่อแสดงถึงความ
เค้นตั้งฉากและความเค้นเฉือนของวัสดุ จากนั้นจึงวิเคราะห์ถึงความเค้นตั้งฉากและความเค้นเฉือนในแต่ละ
ทิศทาง ซึ่งมีหลักการเขียนดังนี้
1) สร้างแกนอ้างอิงโดยให้แกนนอนมีค่าเป็นความเค้นตั้งฉาก และแกนตั้งมีค่าเป็นความเค้น
เฉือน
2) นาค่าความเค้นตั้งฉากและความเค้นเฉือนภายในวัตถุมากาหนดลงบนกราฟ โดยเริ่มจาก
กาหนดจุดศูนย์กลาง C ซึ่งมีพิกัดอยู่บนแกน  มีค่าเท่ากับ  ave หรือ C( ave , 0)
3) กาหนดจุด A โดยให้จุด A อยู่บนพิกัด A( x , xy )
4) ลากเส้นต่อระหว่างจุด C และจุด A จากนั้นทาการวาดวงกลมเพื่อใช้ในการวิเคราะห์
5) จุดที่วงกลมตัดแกน  จะมีค่าเท่ากับ  max และ  min ตามลาดับ (B และ D)
6) มุมที่ทาให้เกิดค่าความเค้นตั้งฉากสูงสุดหรือความเค้นหลัก ( p ) สามารถคานวณหาได้จาก
การวัดค่ามุมที่เส้น AC กระทากับแกน  แล้วหารด้วย 2
7) มุมที่ทาให้เกิดค่าความเค้นเฉือนสูงสุด ( s ) สามารถคานวณหาได้จาก การวัดค่ามุมที่เส้น
AC กระทากับแกน  แล้วหารด้วย 2

รูปที่ 6-5 ตาแหน่งต่างๆ ในแผนภาพวงกลมโมร์ (Hibberler, 2011)


6-11

ตัวอย่างที่ 6-7 the state of plane stress at a point on a body is represented on the element
shown. Determine the in-plane principal stress and the maximum in-plane shear stress
using Mohr’s circle.

(Hibberler, 2011)
วิธีทา
6-12

6.4 ความเค้นเฉือนสูงสุดสัมบูรณ์ (absolute maximum shear stress)


หัวข้อที่ผ่านมาเป็นการวิเคราะห์ความเค้นในระนาบความเฉือนหรือเป็นแบบ 2 มิติ แต่ในหัวข้อนี้เป็น
การวิเคราะห์โดยอาศัย หลักการความเค้นเฉือนสูงสุดสัมบูรณ์ โดยคามเค้นที่เกิดขึ้นจะมีค่าความเค้นสูงสุด (
 max ) ความเค้นกึ่งกลาง ( int ) และความเค้นต่าสุด ( min ) หรือที่เรียกกันว่า triaxial stress ซึ่งแสดงดัง
รูปที่ 6-6 โดยเริ่มจากการพิจาณาวัตถุเล็กๆ ในระบบ 3 มิติ ที่มีความเค้นหลักซึ่งแสดงได้ดัง รูปที่ 6-7 จะ
สามารถแบ่งการวิเคราะห์ทั้งหมดเป็น 3 ระนาบ ดังรูปที่ 6-8 โดยแต่ละระนาบจะสามารถแทนได้ด้วยวงกลม
โมร์ได้ 1 วง

รูปที่ 6-6 triaxial stress (Hibberler, 2011)

รูปที่ 6-7 x-y plane stress (Hibberler, 2011)

รูปที่ 6-8 ความเค้นหลัก 2 มิติในแต่ละระนาบ (Hibberler, 2011)


6-13

6.4.1 กรณีที่  1 และ  2 เป็นความเค้นดึง โดยที่  1   2  0


เมื่อนาเอาค่าความเค้นที่วิเคราะห์ได้มาเขียนวงกลมโมร์ จะได้วงกลมโมร์ทั้งหมด 3 วง ดังรูป
ที่ 6-9

รูปที่ 6-9 วงกลมโมร์แสดงความเค้นเฉือนสูงสุด 3 ระนาบในกรณีของ  1   2  0 (Hibberler, 2011)

จากรู ปที่ 6-9 แสดงให้ เห็ นว่าความเค้นเฉือนสูงสุดสัมบูรณ์อยู่ในระนาบ x-z ซึ่งสามารถ


คานวณได้จากสมการที่ (6-9)
1
 max
abs
 (6-9)
2

6.4.2 กรณีที่  1 และ  2 เป็นความเค้นดึง โดยที่  1  0 และ  2  0


เมื่อนาเอาค่าความเค้นที่วิเคราะห์ได้มาเขียนวงกลมโมร์ จะได้วงกลมโมร์ทั้งหมด 3 วง ดังรูป
ที่ 6-10

รูปที่ 6-10 วงกลมโมร์แสดงความเค้นเฉือนสูงสุด 3 ระนาบในกรณีของ  1  0 และ  2  0


(Hibberler, 2011)
6-14

จากรูปที่ 6-10 แสดงให้เห็นว่าค่าความเค้นเฉือนสูงสุดอยู่บนระนาบ x-y ซึ่งสามารถคานวณ


ค่าได้จากสมการที่ (6-10)
 2
 max
abs
 1 (6-10)
2
ซึ่งในบางกรณีที่ทาการวิเคราะห์จริงแล้วค่าความเค้นตั้งฉากในแกน z อาจจะมีค่าไม่เท่ากับ
ศูนย์ก็ได้ ดังนั้นในกรณีนี้จะต้องเอาค่าสูงสุดลบด้วยค่าต่าสุดจึงจะได้คาตอบที่ถูกต้อง
6-15

1. บอกความสาคัญของหน่วยเรียน
วิธีสอนและ
2. ให้เนื้อหาโดยวิธี บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ
กิจกรรม
3. ถามคาถามในห้องเรียน
หนังสืออ้างอิง -
สื่อการสอน เอกสารประกอบ หน่วยที่ 6
วัสดุโสตทัศน์ Power point หน่วยที่ 6 และ LCD Projector
งานที่มอบหมาย ทาแบบฝึกหัดท้ายบทเรียน
1. สังเกตความสนใจในห้องเรียน
การวัดผล 2. การตอบคาถามขณะเรียน
3. ตรวจผลงานจากแบบฝึกหัดที่มอบหมาย
7-1

สัปดาห์ที่ 16 ใบเตรียมการสอน รหัสวิชา 04-031-202


เวลา 3 ชั่วโมง หน่วยที่ 7 การโก่งเดาะของเสา (bucking of columns)
ชื่อบทเรียน 7.1. สูตรของออยเลอร์สาหรับเสาในอุดมคติ เวลา 60 นาที
7.2. เสาในอุดมคติที่มีจุดรองรับแบบสลั กที่ ปลายทั้ ง เวลา 60 นาที
สองข้าง (ideal column with pin supports)
7.3. การวิ เคราะห์ เสาที่ จุ ดยึ ดแบบต่ างๆ (columns เวลา 60 นาที
having various types of supports)
จุดประสงค์การสอน
7. เข้าใจการโก่งเดาะของเสา (bucking of columns)
7.1. คานวณสูตรของออยเลอร์สาหรับเสาในอุดมคติ
7.1.1. คานวณแรงวิกฤต (critical load)
7.1.2. คานวณความเค้นโก่งเดาะวิกฤต (critical stress)
7.2. คานวณเสาในอุดมคติที่มีจุดรองรับแบบสลักที่ปลายทั้งสองข้าง (ideal
column with pin supports)
7.2.1 คานวณค่าแรงวิกฤต
7.2.2 คานวณค่าความเค้นวิกฤต
7.3. คานวณการวิเคราะห์เสาที่จุดยึดแบบต่างๆ (columns having various
types of supports)
7.3.1. คานวณกรณีเสาถูกยึดด้วยสลักทั้งสองข้าง (pinned ends)
7.3.2. คานวณกรณีเสาถูกยึดแบบตรึงแน่นและอีกด้านหนึ่งยึ ดแบบ
อิสระ (fixed and free ends)
7.3.3. คานวณกรณีเสาถูกยึดแบบตรึงแน่นทั้งสองด้าน (fixed ends)
7.3.4. คานวณกรณีเสาถูกยึดแบบตรึงแน่นและอีกด้านหนึ่งยึดแบบ
สลัก (pinned and fixed ends)
7-2

หน่วยที่ 7 การโก่งเดาะของเสา (bucking of columns)

7.1 สูตรของออยเลอร์สาหรับเสาในอุดมคติ
7.1.1 แรงวิกฤต (critical load)
เมื่อเสาอยู่ ภายใต้แรงกระท า (P) ตามแนวแกน แรงที่ทาให้ เกิ ดการโก่ งตัว ของด้า นข้ าง
(buckling) ภายใต้สมดุลของเสาเรียกว่าแรงวิกฤต (critical load, Pcr) ซึ่งการโก่งตัวของเสานั้นนาไปสู่การ
เสียหายของโครงสร้าง ดังนั้นจึงจาเป็นต้องมีการออกแบบและกาหนดให้แรงที่ใช้งานไม่เกินแรงวิกฤต ภาพ
การโก่งตัวของเสาเนื่องจากแรงวิกฤตสามารถแสดงได้ดังรูปที่ 7-1

รูปที่ 7-1 การโก่งตัวของเสา (Hibberler, 2011)


เมื่อกาหนดแรงวิกฤตที่มีผลต่อการเสียเสถียรภาพของเสาจะสามารถจาแนกเสถียรภาพของ
เสาออกเป็นกรณีต่างๆ ดังนี้
1) ถ้า P < Pcr กระทาต่อเสา จะพบว่าเมื่อปลดแรงออกแล้วเสาจะกลับเข้าสู่แนวตรงดังเดิม เรียก
สภาวะนี้ว่า สมดุลเสถียร (stable equilibrium)
2) ถ้า P = Pcr กระทาต่อเสา จะพบว่าเมื่อปลดแรงออกแล้วเสาจะพยายามกลับเข้าสู่แนวตรงแต่
จะไม่ใช่ตาแหน่งเดิม เรียกสภาวะนี้ว่า สมดุลสะเทิน (neutral equilibrium)
3) ถ้า P > Pcr กระทาต่อเสา จะพบว่าเมื่อปลดแรงออกแล้วเสาจะโก่งตัวถาวร หากมีแรงแนว
ขวางเพี ย งเล็ กน้ อยมากระท าต่ อเสา จะท าให้ เสาเกิ ดความเสี ยหาย เรี ยกสภาวะนี้ ว่ า สมดุ ล ไม่ เสถี ยร
(unstable equilibrium)
7.1.2 ความเค้นโก่งเดาะวิกฤต (critical stress)
ความเค้นโก่งเดาะวิกฤตสามารถคานวณได้จากแรงวิกฤตหารด้วยพื้นที่หน้าตัดของเสาที่ถูก
พิจารณา
7.2 เสาในอุดมคติที่มีจุดรองรับแบบสลักที่ปลายทั้งสองข้าง (ideal column with pin supports)
7-3

การวิเคราะห์ในส่วนนี้ได้สมมติให้เสาเป็นเสาในอุดมคติคือมีความตรง หน้าตัดเท่ากันตลอดทั้ งต้น ซึ่ง


ในทางทฤษฎีนั้นเมื่อเสาถูกกระทาด้วยแรงตามแนวแกน P แรง P จะสามารถเพิ่มขึ้นจนกระทั่งเกิดจุดคราก
เสาจึงจะเกิดความเสียหาย แต่ในความเป็นจริงนั้นเสาจะมีการโก่งตัวก่อนที่จะเสียหาย แรงที่ทาให้เสาในอุดม
คติเกิดการโก่งงอสามารถคานวณได้จากสมการที่ (7-1)
 2 EI
Pcr  2 (7-1)
L

โดยที่
Pcr คือ แรงวิกฤต (N)
E คือ ยังมอดุลัส (Pa)
I คือ ค่าโมเมนต์ความเฉื่อยที่น้อยที่สุดของหน้าตัดที่พิจารณา
L คือ ความยาวของเสาที่ไม่ได้มีการจับยึด
ดังนั้นค่าความเค้นวิกฤตที่เกิดขึ้นบนเสาสามารถคานวณได้จากสมการที่ (7-2)
 2E
 cr  (7-2)
 L / r 2
โดยที่
 cr คือ ความเค้นวิกฤต (Pa)
r คือ รัศมีไจเรชั่นที่น้อยที่สุด (N)

ตัวอย่างที่ 7-1 determine missing data of below table.

No. E (GPa) I (x106 mm4) L (m) Pcr (MN)


1 69 1,290 5 35.14
2 120 985 6 32.41
3 70 875 10 6.05
4 287 764 12 15.03
5 3.2 410 7 0.26
7-4

ตัวอย่างที่ 7-2 determine missing data of below table.

No. E (GPa) r (m) L (m) cr (MPa)


1 69 0.34 12 546.69
2 120 0.10 9 146.22
3 70 0.30 10 621.79
4 76 0.22 8 567.26
5 3.2 0.20 7 25.78

ตัวอย่างที่ 7-3 a 7.2 m long A-36 steel tube having the x-section shown is to be used a pin-
ended column. Determine the maximum allowable axial load the column can support so
that it does not buckle.

(Hibberler, 2011)
วิธีทา
7-5

7.3 การวิเคราะห์เสาที่จุดยึดแบบต่างๆ (columns having various types of supports)


การวิเคราะห์การโก่งตัวของเสาที่มีจุดยึดในแบบต่างๆ นั้น ได้วิเคราะห์อยู่บนพื้นฐานของสูตรของออย
เลอร์ซึ่งเป็นการวิเคราะห์ในเสาที่มีตัวรองรับแบบสลักยึดที่ปลายทั้งสองข้าง การนาสูตรไปใช้กับเสาที่มีจุด
รองรับแบบอื่นๆ จะต้องใช้ความยาวยังผล (Le) ร่วมในการคานวณแทนความยาวจริง (L) ของเสา โดยสมการ
ที่ใช้คานวณสามารถคานวณได้จากสมการที่ (7-3) โดยที่ค่า K คือค่าคงที่ของความยาวยังผลจะมีค่าเปลี่ยนไป
ตามลักษณะของจุดรองรับดังรูปที่ 7-2
Le  KL (7-3)

รูปที่ 7-2 ความยาวยังผลสาหรับเสาที่มีตัวรองรับแตกต่างกัน 4 แบบ (Hibberler, 2011)


สูตรของออยเลอร์ที่ใช้สาหรับวิเคราะห์หาแรงวิกฤตและความเค้นวิกฤตสามารถคานวณได้จากสมการ
ที่ (7-4) และ (7-5)
 2 EI
Pcr  (7-4)
 KL 2
 2E (7-5)
 cr 
 KL / r 2
7-6

ตัวอย่างที่ 7-4 determine missing data of below table.


No. E (GPa) I (x106 mm4) L (m) Pcr (MN)
1 69.00 1290.00 3.00 97.61
2 120.00 985.00 3.00 129.62
3 70.00 875.00 5.00 24.18
4 287.00 764.00 5.00 86.56
5 76.00 445.00 8.00 5.22
6 3.20 410.00 8.00 0.20

ตัวอย่างที่ 7-5 determine missing data of below table.


No. E (GPa) I (x106 mm4) L (m) Pcr (MN)
1 69.00 1290.00 3.00 24.40
2 120.00 985.00 3.00 32.41
3 70.00 875.00 5.00 6.05
4 287.00 764.00 5.00 21.64
5 76.00 445.00 8.00 1.30
6 3.20 410.00 8.00 0.05

ตัวอย่างที่ 7-6 determine missing data of below table.


No. E (GPa) I (x106 mm4) L (m) Pcr (MN)
1 69.00 1290.00 5.00 140.56
2 120.00 985.00 8.00 72.91
3 70.00 875.00 10.00 24.18
4 287.00 764.00 7.00 176.66
5 76.00 445.00 6.50 31.60
7-7

ตัวอย่างที่ 7-7 determine missing data of below table.


No. E (GPa) I (x106 mm4) L (m) Pcr (MN)
1 69.00 315.00 5.00 17.51
2 120.00 212.00 8.00 8.01
3 70.00 186.00 10.00 2.62
4 287.00 227.00 7.00 26.78
5 76.00 160.00 6.50 5.80
6 3.20 121.00 5.90 0.22
7-8

1. บอกความสาคัญของหน่วยเรียน
วิธีสอนและ
2. ให้เนื้อหาโดยวิธี บรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ
กิจกรรม
3. ถามคาถามในห้องเรียน
หนังสืออ้างอิง -
สื่อการสอน เอกสารประกอบ หน่วยที่ 7
วัสดุโสตทัศน์ Power point หน่วยที่ 7 และ LCD Projector
งานที่มอบหมาย ทาแบบฝึกหัดท้ายบทเรียน
1. สังเกตความสนใจในห้องเรียน
การวัดผล 2. การตอบคาถามขณะเรียน
3. ตรวจผลงานจากแบบฝึกหัดที่มอบหมาย
7-9

สัปดาห์ที่ 17 ใบเตรียมการสอน รหัสวิชา 04-031-202


เวลา 150 นาที สอบปลายภาคเรียน หน่วยที่ 4 ถึง 7
ชื่อบทเรียน หน่ ว ยที่ 4 ภาระในแนวแกน (axial Load) และการบิ ด เวลา 150 นาที
(torsion)
หน่ ว ยที่ 5 การดั ด (bending) แรงกระท าตามขวาง
(transverse shear)
และภาชนะผนังบาง (pressure vessel)
ห น่ ว ย ที่ 6 ก า ร เ ป ลี่ ย น รู ป ค ว า ม เ ค้ น ( stress
transformation)
หน่วยที่ 7 การโก่งเดาะของเสา (bucking of columns)
บทเรียนที่สอบ
หน่วยที่ 4 ภาระในแนวแกน (axial load) และการบิด (torsion)
4.2. การบิด (torsion)
หน่วยที่ 5. การดัด (bending) แรงกระทาตามขวาง (transverse shear) และภาชนะผนัง
บาง (pressure vessel)
5.1. การดัด (bending)
5.2. แรงกระทาตามขวาง (transverse shear)
5.3. ภาชนะผนังบาง (pressure vessel)
หน่วยที่ 6. การเปลี่ยนรูปความเค้น (stress transformation)
6.1. การแปลงความเค้นระนาบ (plane stress transformation)
6.2. สมการที่ใช้ในการหาแปลงค่าความเค้น (general equations of plane-stress
transformation)
6.3. ความเค้นหลักและค่าความเค้นเฉือนสูงสุด (principal stresses and maximum in-
plane shear stress)
6.4. การวิเคราะห์ความเค้นระนาบด้วยวงกลมโมร์ (mohr’s circle-plane stress)
6.5. ความเค้นเฉือนสูงสุดสัมบูรณ์ (absolute maximum shear stress)
หน่วยที่ 7. การโก่งเดาะของเสา (bucking of columns)
7.1. สูตรของออยเลอร์สาหรับเสาในอุดมคติ
7.2. เสาในอุดมคติที่มีจุดรองรับแบบสลักที่ปลายทั้งสองข้าง (ideal column with pin
supports)
7.3. การวิเคราะห์เสาที่จุดยึดแบบต่างๆ (columns having various types of supports)
บฝ-1

แบบฝึกหัดเสริม

แบบฝึกหัดเสริม 1 แนวคิดเบื้องต้นและการทบทวนสถิตยศาสตร์
แบบฝึกหัดเสริม 1.1 Determine force of x and y axis.

X
ข้อที่ R (N)  (degree) R x (N) R y (N)
1 200 25 181.26 84.52
2 100 11 98.16 19.08
3 35 29 30.61 16.97
4 40 75 10.35 38.64
5 21 43 15.36 14.32
6 10 157 -9.21 3.91
7 300 97 -36.56 297.76
8 32 145 -26.21 18.35
9 45 238 -23.85 -38.16
10 60 320 45.96 -38.57
บฝ-2

แบบฝึกหัดเสริม 1.2 Determine the resultant internal normal force acting on the
cross section through point A in each column. In (a), segment BC weighs 180 lb/ft
and segment CD weighs 250 lb/ft. In (b), the column has a mass of 200 kg/m.

(Hibberler, 2011)
แบบฝึกหัดเสริม 2 ความเค้น (stress)
แบบฝึกหัดเสริม 2.1 The bars of the truss each have a cross-sectional area of 1.25
in2. Determine the average normal stress in each member due to the loading State
whether the stress is tensile or compressive.
บฝ-3

(Hibberler, 2011)
แบบฝึกหัดเสริม 3 ความเครียด (strain)
แบบฝึกหัดเสริม 3.1 The rigid beam is supported by a pin at A and wires BD and CE.
If the load P on the beam causes the end C to be displaced 10 mm downward,
determine the normal strain developed in wires CE and BD.

(Hibberler, 2011)

แบบฝึกหัดเสริม 4 คุณสมบัติทางกลของวัสดุ (mechanical properties of materials)


แบบฝึกหัดเสริม 4.1 A concrete cylinder having a diameter of 6.00 in. and gauge
length of 12 in. is tested in compression. The results of the test are reported in the
table as load versus contraction. Draw the stress–strain diagram using scales of 1 in
บฝ-4

and 1 in = 0.2x10-3 in./in. From the diagram, determine approximately the modulus of
elasticity.

(Hibberler, 2011)
แบบฝึกหัดเสริม 5 ภาระในแนวแกน (axial load)
แบบฝึกหัดเสริม 5.1 A steel bar of cross section 5 0 0 mm2 is acted upon by the
forces shown in figure. Determine the total elongation of the bar. For steel, consider E
= 200 GPa.

(Nash & Potter, 2011)

แบบฝึกหัดเสริม 6 การบิด (torsion)


แบบฝึกหัดเสริม 6.1 A shaft is made of a steel alloy having an allowable shear stress
of allow = 12 ksi. If the diameter of the shaft is 1.5 in., determine the maximum torque
T that can be transmitted. What would be the maximum torque if a 1-in.-diameter
hole is bored through the shaft? Sketch the shear-stress distribution along a radial line
in each case.
บฝ-5

(Hibberler, 2011)

แบบฝึกหัดเสริม 7 การดัด (bending)


แบบฝึกหัดเสริม 7.1 Draw the shear and moment diagrams for the shaft. The
bearings at A and B exert only vertical reactions on the shaft.

(Hibberler, 2011)

แบบฝึกหัดเสริม 8 แรงกระทาในแนวขวาง (Transverse Shear)


แบบฝึกหัดเสริม 8.1 If the wide-flange beam is subjected to a shear of determine
the shear stress on the web at A. Indicate the shear-stress components on a volume
element located at this point.
บฝ-6

(Hibberler, 2011)

แบบฝึกหัดเสริม 9 ความเค้นผสม (Combined Loading)


แบบฝึกหัดเสริม 9.1 The tank of the air compressor is subjected to an internal
pressure of 90 psi. If the internal diameter of the tank is 22 in., and the wall thickness
is 0.25 in., determine the stress components acting at point A. Draw a volume element
of the material at this point, and show the results on the element.

(Hibberler, 2011)
บฝ-7

แบบฝึกหัดเสริม 10 การเปลี่ยนรูปความเค้น (stress transformation)


แบบฝึกหัดเสริม 10.1 Determine the equivalent state of stress on an element at the
same point which represents (a) the principal stress, and (b) the maximum in-plane
shear stress and the associated average normal stress. Also, for each case, determine
the corresponding orientation of the element with respect to the element shown.
Sketch the results on each element.

(Hibberler, 2011)

แบบฝึกหัดเสริม 11 การโก่งเดาะของเสา (bucking of columns)


แบบฝึกหัดเสริม 11.1 An A-36 steel column has a length of 4 m and is pinned at
both ends. If the cross sectional area has the dimensions shown, determine the critical
load.

4m

Cross section
(Hibberler, 2011)
ฉฝ-1

เฉลยแบบฝึกหัดเสริม

เฉลยแบบฝึกหัดเสริม 1 แนวคิดเบื้องต้นและการทบทวนสถิตยศาสตร์
เฉลยแบบฝึกหัดเสริม 1.1
ข้อที่ R (N)  (degree) R x (N) R y (N)
1 200 25 181.26 84.52
2 100 11 98.16 19.08
3 35 29 30.61 16.97
4 40 75 10.35 38.64
5 21 43 15.36 14.32
6 10 157 -9.21 3.91
7 300 97 -36.56 297.76
8 32 145 -26.21 18.35
9 45 238 -23.85 -38.16
10 60 320 45.96 -38.57

เฉลยแบบฝึกหัดเสริม 1.2 (a) FA=13.8 kip (b) FA = 34.9 kN

เฉลยแบบฝึกหัดเสริม 2 ความเค้น (stress)


เฉลยแบบฝึกหัดเสริม 2.1
JointA: AB = 10.7 ksi (T), AE = 8.53 ksi (C)
JointE: ED = 8.53 ksi (C), EB = 4.80 ksi (T)
JointB: BC = 23.5 ksi (T), BD = 18.7 ksi (C)

เฉลยแบบฝึกหัดเสริม 3 ความเครียด (strain)


เฉลยแบบฝึกหัดเสริม 3.1 CE = 0.00250 mm/mm, BD = 0.00107 mm/mm

เฉลยแบบฝึกหัดเสริม 4 คุณสมบัติทางกลของวัสดุ (mechanical properties of materials)


เฉลยแบบฝึกหัดเสริม 4.1 Eapprox = 3.275 x 103 ksi
ฉฝ-2

เฉลยแบบฝึกหัดเสริม 5 ภาระในแนวแกน (axial load)


เฉลยแบบฝึกหัดเสริม 5.1 The total elongation is 0.00121 m or 1.21 mm

เฉลยแบบฝึกหัดเสริม 6 การบิด (torsion)


เฉลยแบบฝึกหัดเสริม 6.1 T = 7.95 kip.in, T’=6.38 kip.in

เฉลยแบบฝึกหัดเสริม 7 การดัด (bending)


เฉลยแบบฝึกหัดเสริม 7.1

เฉลยแบบฝึกหัดเสริม 8 แรงกระทาในแนวขวาง (Transverse Shear)


เฉลยแบบฝึกหัดเสริม 8.1 A = 2.56 MPa

เฉลยแบบฝึกหัดเสริม 9 ความเค้นผสม (Combined Loading)


เฉลยแบบฝึกหัดเสริม 9.1 1 = 3.96 ksi, 2 = 1.98 ksi

เฉลยแบบฝึกหัดเสริม 10 การเปลี่ยนรูปความเค้น (stress transformation)


เฉลยแบบฝึกหัดเสริม 10.1
1 = 137 MPa, 2 = -86.8 MPa
p = 76.7
max = 112 MPa
ฉฝ-3

s = 31.7
avg = 25 MPa

เฉลยแบบฝึกหัดเสริม 11 การโก่งเดาะของเสา (bucking of columns)


เฉลยแบบฝึกหัดเสริม 11.1
Pcr = 22.7 kN
cr = 20.66 MPa < y = 250 MPa O.K.
บน-1

บรรณานุกรม

ชนัตต์ รัตนสุมาวงศ์. (ม.ป.ป.). เอกสารประกอบการสอนวิชากลศาสตร์วิศวกรรม1. กรุงเทพ, ไทย:


จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
มนตรี พิรุณเกษตร. (2554). กลศาสตร์ของวัสดุ mechanics of material. กรุงเทพฯ, ไทย: บริษัท
วิทยพัฒน์ จากัด.
สิทธิชัย แสงอาทิตย์. (2546). เอกสารประกอบการสอนวิชาสถิตยศาสตร์วิศวกรรม (Engineering Statics).
นครราชสีมา, ไทย: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
Beer, F., Johnston, Jr., E., Dewolf, J., & Mazurek, D. (2012). Mechanics of Materials (6th ed.).
New York, United Stated of America: McGraw-Hill Companies, Inc.
Creep deformation. (2014, December 30). (Wikipedia) Retrieved December 31, 2014, from
http://en.wikipedia.org/wiki/Creep_(deformation)
Creep Experiment. (n.d.). (Michigan Tech) Retrieved December 22, 2014, from Michigan Tech:
http://www.mtu.edu/materials/k12/experiments/creep/
Hibberler, R. (2011). Mechanics of Materials (8th ed.). United States of America: Pearson
Prentice Hall.
Nash, W., & Potter, M. (2011). Strength of Materials (5th ed.). United States of America:
McGraw-Hill.
ภผ-1

ภาพผนวก
ตารางภาคผนวกที่ 1 ค่าคงที่ในการแปลงหน่วย
To Convert from English to
Quantity Symbol SI Units English Units
SI units Multiply by
Length L m ft 0.30480
Mass m kg lbm 0.45360
Time t s sec 1.00000
Area A m2 ft2 0.09290
Volume V m3 ft3 0.02832
Velocity V m/s ft/sec 0.30480
Acceleration a m/s2 ft/sec2 0.30480
Angular
velocity  rad/s rad/sec 1.00000
rad/s rpm 9.55000
Force, Weight F, W N lbf 4.44800
Density  kg/m3 lbm/ft3 16.02000
Specific weight  N/m3 lbf/ft3 157.10000
Pressure, stress P kPa psi 6.89500
Work, Energy W, E, U J ft-lbf 1.35600
Power W W ft-lbf/sec 1.35600
W hp 746.00000
ภผ-2

ตารางภาคผนวกที่ 2 คาอุปสรรค
Multiplication Factor Prefix Symbol
1012 tera T
109 giga G
106 mega M
103 kilo k
10–2 centi* c
10–3 mili m
10–6 micro μ
10–9 nano n
10–12 pico p
*Discouraged except in cm, cm2, cm3, or cm4.
ภผ-3

ตารางภาคผนวกที่ 3 จุดเซนทรอยด์และโมเมนต์ความเฉื่อยของพื้นที่และเส้น

You might also like