Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 6

1

เอกสารประกอบการนาเสนอกรณีศึกษาครั้งที่ 1 ผลัดที่ 5 การฝึกปฏิบัติงาน เภสัชกรรมชุมชน


สถานที่ฝึกปฏิบัติงาน สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
โดย นสภ.จักกฤษ ห่ามกระโทก รหัสนิสิต 51211108 วันที่นาเสนอ 11 ตุลาคม 2556
Patient profile
ผู้ป่วยหญิงไทยโสด อายุ 20 ปี น้าหนัก 46 kg ส่วนสูง 163 cm BMI 17.3 kg/m2
CC: มาด้วยอาการปวดท้องตรงกลาง
PI: 2 อาทิตย์ก่อนหน้ามีอาการปวดท้องรับประทานยาลดกรดชนิดน้าแล้วดีขึ้น
10 วันก่อนมีอาการปวดท้องเช่นเดิมรับประทานยาลดกรดชนิดน้าแล้วอาการดีขึ้น
1 อาทิตย์ ก่อนยังคงมีอาการเช่นเดิม รับประทานยาลดกรดชนิดน้าแล้วอาการดีขึ้น
วันนี้ยังคงมีอาการปวดท้องตรงกลาง รู้สึกอึดอัด แน่นท้องเหมือนอาหารไม่ย่อย จึงมาขอคาปรึกษาที่ร้านยาคณะฯ โดย
อาการปวดจะเป็นมากหลังกินข้าว โดยเฉพาะกินอาหารรสจัด มีอาการแสบร้อนมาตรงกลางยอดอกบ้าง
หลังจากเข้ามาขอคาปรึกษาที่ร้านยาและได้รับยาไปแล้ว 4-5 ชั่วโมง มีอาการอาเจียน
PMH: Thalassemia, ภูมิแพ้, โรคกระเพาะอาหาร
SH: มักรับประทานอาหารไม่ค่อยตรงเวลา, ชอบรับประทานอาหารรสจัด, ช่วงที่ผ่านมาเครียดเรื่องการสอบปลายภาค, ดื่มชา
กาแฟบ้างเป็นครั้งคราว และไม่ดื่มเหล้า/สูบบุหรี่
All: NKDA
Med PTA
Antacil® 30-45 cc x3 po pc
Folic acid 1x1 po pc (ปัจจุบันไม่ได้รับประทานแล้ว)
Problem: Uninvestigated Dyspepsia
Subjective data
ผู้ป่วยหญิงไทยโสด อายุ 20 ปี น้าหนัก 46 kg มาด้วยอาการปวดและแสบท้องตรงกลาง บางครั้งมีอาการร้อนขึ้นมา
ตรงกลางอกด้วย โดยก่อนหน้านี้มักมีอาการปวดท้องตรงกลางมา 3-4 ครั้งแล้ว ทานยาลดกรดชนิดน้าแล้วอาการทุเลาลง
วันนี้ยังคงมีอาการปวดท้องตรงกลาง รู้สึกอึดอัด แน่นท้องเหมือนอาหารไม่ย่อย จึงมาขอคาปรึกษาที่ร้านยาคณะฯ
โดยอาการปวดจะเป็นมากหลังกินข้าว โดยเฉพาะกินอาหารรสจัด มีอาการแสบร้อนมาตรงกลางยอดอกบ้างจึงมาขอคาปรึกษา
ที่ร้านยา
ผู้ป่วยมีพฤติกรรมทานอาหารไม่ตรงเวลาบ่อยครั้ง ชอบทานอาหารรสจัด ดื่มชา กาแฟบ้างเป็นครั้งคราว , มี
ความเครียดเรื่องการสอบ ไม่ดื่มเหล้า ไม่สูบบุหรี่ ไม่มีประวัติแพ้ยา
จากการซักประวัติพบว่าผู้ป่วยไม่มีพฤติกรรมนอนทันทีหลังรับประทานอาหาร
Objective data
- ไม่มีข้อมูล
2

Assessment
สาเหตุและปัจจัยเสี่ยง
Dyspepsia คือ อาการปวดท้อง เจ็บท้อง หรือความผิดปกติอื่นๆ (แสบท้อง อืด จุกเสียด แน่นตึง ลม เฟ้อ ที่บริเวณลิ้นปี่
หรือหน้าท้องช่วงบนเหนือสะดือ1 สามารถแบ่งชนิดของ Dyspepsia ตามสาเหตุได้เป็น 2 ชนิดคือ
1. Organic dyspepsia หรือ Structural dyspepsia2 เป็นชนิดที่หาสาเหตุได้ ดังนั้นต้องทาการรักษาที่สาเหตุ แต่พบ
ได้ค่อนข้างน้อย เช่น
- Peptic ulcer disease
- Gastroesophageal reflux disease (GERD)
- Liver and pancreatic disorders
- Gastric neoplasm
- Strongyloidiasis, Irritable bowel syndrome, chronic intestinal ischemia
2. Functional dyspepsia เป็นชนิดที่หาสาเหตุไม่ได้ พบได้ถึง 60-70% ของผู้ป่วย โดยไม่มีการตรวจพบความผิดปกติ
จาเพาะที่ทาให้เกิดภาวะ Dyspepsia โดยอาจมีปัจจัยเสี่ยงที่ทาให้เกิดกลุ่มอาการขึ้นมา เช่น
- ยา (drug induced dyspepsia) เช่น digoxin, theophylline, iron supplement, colchicines, NSAIDs เป็นต้น
- อาหาร (food intolerance) เช่น การรับประทานอาหารรสจัด กาแฟ อาหารมัน การรับประทานอาหารปริมาณมาก
- ภาวะเครียด หรือวิตกกังวล
- การสูบบุหรี่
อาการแสดงของ Dyspepsia1 แบ่งออกเป็น 3 ประเภท คือ
1) Ulcer-like dyspepsia (กลุ่มอาการที่คล้ายกับ peptic ulcer หรือมีแผลในทางเดินอาหาร)
- มีอาการปวดท้องเป็นอาการเด่น
- กาเริบตอนกลางคืนหรือท้องว่าง
- อาการจะดีขึ้นเมื่อได้รับประทานอาหารหรือยาลดกรด
- อาจจะบอกตาแหน่งได้ชัดเจน
2) Dysmotility-like dyspepsia
- อาการอืดท้อง แน่นท้อง เป็นอาการเด่น
- มักมีอาการคลื่นไส้ อาเจียนร่วมด้วย
- บอกตาแหน่งที่ปวดได้ไม่ชัดเจน
3) Reflux-like dyspepsia
- มักมีอาการแสบร้อนหน้าอก (heart burn)
- เรอเปรี้ยว (acid regurgitation)
- มักพบอาการมากขึ้นเวลานอนราบหรือก้มตัว หรือเวลารับประทานอาหารมันๆ
- อาการจะทุเลาหากได้รับยาลดกรด
สาหรับผู้ป่วยรายนี้ยังไม่ได้รับการตรวจวินิจฉัยที่แน่ชัดว่าอาการดังกล่าวมีสาเหตุหรือไม่ (uninvestigated
dyspepsia) ชนิดของอาการแสดงจากการซักประวัติถือว่ายังไม่สามารถจาแนกได้ชัดเจน โดยปัจจัยเสี่ยงที่พบในผู้ป่วยรายนี้
คือ การรับประทานอาหารไม่ตรงเวลา การรับประทานอาหารรสจัด และภาวะเครียดจากการสอบ
3

Guideline for the management of dyspepsia โดย American college of gastroenterology 20052
- ผู้ป่วยที่มีภาวะ Dyspepsia และมีอายุ> 55 ปีหรือมี alarm
features ควรได้รับการทา endoscopy เพื่อหาสาเหตุที่
แท้จริงของภาวะ dyspepsia

- ผู้ป่วยที่มีภาวะ Dyspepsia และมีอายุ ≤55 ปีและไม่พบ


alarm features ควรพิจารณา (1) ทดสอบและรักษาการ
ติดเชื้อ H. pyroli โดยใช้วิธี non-invasive และพิจารณาใช้
acid suppression (2) ให้ empiric treatment ด้วยยาก
ลุ่ม Proton pump inhibitors เป็นระยะเวลา 4-8 สัปดาห์

แผนภาพแสดง แนวทางการจัดการกับผู้ป่วย Dyspepsia2


แนวทางการรักษาภาวะ Dyspepsia ของประเทศไทย พ.ศ. 25421
สาหรับผู้ที่มีภาวะ dyspepsia ที่ได้รับการแยกออกจากโรคที่น่าจะเป็นสาเหตุอื่นๆและไม่มี alarm symptoms ใดๆ
ควรให้คาแนะนาในการดูแลตนเอง ด้วยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการใช้ชีวิต เช่น การรับประทานอาหาร ใม่ควรทานอิ่มจนเกินไป
ไม่ควรนอนทันทีหลังทานอาหารอิ่มใหม่ๆ กินอาหารตรงตามเวลาทุกมื้อ หลักเลี่ยงอาหารรสจัด ของดอง น้าอัดลม งดสูบบุหรี่ งด
ดื่มสุรา งดการใช้ยาแก้ข้อและกล้ามเนื้ออักเสบ ระวังอย่าให้ท้องผูก ควรออกกาลังกาย ผ่อนคลายความเครียดและพักผ่อนให้
เพียงพอ และให้การรักษาตามอาการ
โดยอาจพิจารณาเลือกใช้ยา antisecretory หรือ prokinetic อย่างใดอย่างหนึ่ง หากมีอาการปวดแบบ ulcer-like
เลือกใช้ antisecretory drug แต่ถ้าหากมีอาการแบบ reflux-like หรือ dysmotility-like เลือกใช้ prokinetic drug ระยะเวลาที่
ให้ยาประมาณ 2 สัปดาห์หากไม่ดีขึ้นพิจารณาเปลี่ยนเป็นยาอีกกลุ่มหนึ่ง หรืออาจพิจารณาให้ยาทั้งสองตัวร่วมกัน กรณีที่อาการดี
ขึ้นหรือหายตั้งแต่ 2 สัปดาห์แรกที่เริ่มให้ยา ควรพิจารณาให้ยาเดิมต่ออีก 4 สัปดาห์ รวมทั้งสิ้นประมาณ 6-8 สัปดาห์
กรณีลองเปลี่ยนยาหรือให้ยาร่วมกันแล้วยังไม่ดีขึ้น ควรพิจารณาการซักประวัติและตรวจร่างกายใหม่โดยละเอียด
4

การประเมินการรักษาที่ได้รับ (IESAC)
จากแนวทางการจัดการภาวะ Dyspepsia ในผู้ป่วยรายนี้ไม่พบว่ามี alarm symptoms ที่ควรส่งต่อการรักษา โดย
เมื่อพิจารณาจากอาการแสดงของผู้ป่วยพบว่าไม่สามารถจาแนกอย่างชัดเจนได้ว่าเป็นกลุ่มอาการ Dyspepsia ประเภทใด (เข้า
ได้กับ Dyspepsia ทั้ง 3 แบบ) ดังนั้นควรพิจารณาการรักษาแบบ Empiric therapy โดยใช้ยากลุ่ม Proton pump
inhibitors ร่วมกับยากลุ่ม prokinetic agents และยาบรรเทาอาการที่สามารถออกฤทธิ์ได้เร็ว

Guidance of the use of proton pump inhibitors in the treatment of dyspepsia, NICE july 20003
การพิจารณาเลือกยา Acid suppression ควรเลือกใช้ยากลุ่ม proton pump inhibitors ซึ่งมีประสิทธิภาพสูงกว่า
ยาในกลุ่ม Histamine-2 receptor antagonists ในการยับยั้งการหลั่งกรดซึ่งจะส่งผลดีต่ออาการ reflux-like และ ulcer-
like dyspepsia โดย NICE guideline กล่าวว่ายาในกลุ่ม PPIs ทุกตัวไม่ได้มีประสิทธิภาพแตกต่างกัน เมื่อใช้ในขนาด
equivalent dose โดยมีความแตกต่างกันที่ราคาและข้อบ่งใช้ที่ได้รับรองเท่านั้น ส่วนด้านความปลอดภัยก็ไม่มีความแตกต่าง
กัน ดังนั้นจึงควรเลือกยารักษาที่ราคาถูกที่สุด คือ Omeprazole 20 mg 1x1 po ac (ผู้ป่วยได้รับยาขนาด 20 mg 1x2 po
ac)1-3
การพิจารณาเลือกยาในกลุ่ม Prokinetic agents โดยยาที่มีจาหน่ายมีเพียงชนิดเดียว Domperidone ยาออกฤทธิ์
เป็น D2 antagonists ทาให้มีการหลั่ง Acetylcholine มากขึ้นช่วยให้เกิดกระบวนการ peristalsis เพื่อช่วยบรรเทาอาการ
reflux-like และ dysmotility-like dyspepsia Domperidone ออกฤทธิ์เป็น peripheral dopamine antagonist จึงไม่
พบภาวะ EPS ดังนั้นควรพิจารณาเพิ่ม Domperidone 10 mg 1x3 po ac1-3
การพิจารณาเลือกยาบรรเทาอาการกลุ่ม Antacids ยากลุ่มนี้ไม่ได้มีฤทธิ์ในการรักษา แต่สามารถช่วยบรรเทาอาการ
ในระยะสั้นได้ดีเนื่องจากออกฤทธิ์โดยการสะเทินกรด และทาให้ pepsinogen ไม่ถูกเปลี่ยนแปลงเป็น pepsin ช่วยลดการเกิด
แผลในกระเพาะได้ โดยจะส่งผลดีต่ออาการ reflux-like และ ulcer-like dyspepsia โดยควรพิจารณาใช้แบบน้าเนื่องจาก
สามารถออกฤทธิ์ได้เร็วกว่าแบบชนิดเม็ด โดยสามารถพิจารณาใช้ยาที่เป็นสูตรผสมกับ anti-flatulence เช่น simethicone
ร่วมด้วยก็ได้ ซึ่งผู้ป่วยได้รับยา antacil gel 30-45 ml x3 po pc ถือว่ามีความเหมาะสมแล้ว1-3
5

ตารางการประเมิน IESAC
Medications Indication1-3 Efficacy1-3 Safety4 Adherence Cost
Proton pump inhibitors
Omprazole 20 mg เป็นยายับยั้งการหลั่งกรดที่แนว ประสิทธิภาพของยาในกลุ่ม PPIs Nausea (4%), Vomiting (3.2%), Flatulence (2.7%), Diarrhea
- GPO® ทางการรักษาของ amreican college ไม่ได้มีความแตกต่างกัน NICE (3.7%), Abdominal pain (5.2%), Headache (6.9%), Clostridium - 63 บาท
- O-Sid® of gastroenterology และประเทศ guideline แนะนาให้ใช้ตัวที่มี difficile diarrhea - 75 บาท
- Miracid® ไทย แนะนาสาหรับให้การรักษาแบบ ราคาถูกที่สุด - 70 บาท

1x1 po ac 14 วัน
Lansoprazole 15 mg Empiric treatment ในผู้ป่วยที่มี Abdominal pain (5%), constipation (1-5%), Diarrhea (7%),
- Prevacid® อาการ ulcer-like dyspepsia nausea (1.3-3%), Headache (1%), Clostridium difficile diarrhea - 910 บาท
Pantoprazole 20 mg Abdominal pain (3%), Diarrhea (4%), Flatulence (4%),
- Controloc® Headache (5%), Clostridium difficile diarrhea - 920 บาท
Esomeprazole 20 mg Headache (≤8%), Flatulence (≤5%), diarrhea (≤7%), abdominal - 465 บาท (40 mg/cap)
- Nexium® pain (1-3.8%), Nausea (1-2%) - 790 บาท (20 mg/cap)
Prokinetic agents
Domperidone เป็นยากลุ่มที่ช่วยเพิ่มการเคลื่อนไหว - Headache (1%),
- Molax-M® ของลาไส้ที่แนวทางการรักษาของ - 25 บาท/10 เม็ด

1x3 po ac
- Dom-M® ประเทศไทยแนะนาให้ใช้ในผู้ป่วยที่มี - 25 บาท/10 เม็ด
- Motiulium® ภาวะ Dysmotility-like และ reflux- - 95 บาท/20 เม็ด
like dyspepsia
Antacids
Antacid ยาลดกรดเป็นยาช่วยบรรเทาอาการ ช่วยบรรเทาอาการแสบร้อน ปวด - อาจให้เกิดอาการท้องผูกหรือท้องเสีย ขนาด 240 ml
- Belcid®

2-3 tbsp x3 po pc
ปวดแสบร้อน จากกรดในกระเพาะ ท้องอย่างรวดเร็ว มีประสิทธิภาพ - อาจลดการดูดซึมยาที่อาศัยกรดในการดูดซึม - 40 บาท
- Maalox® อาหาร ที่มีระยะในการออกฤทธิ์สั้น แต่มีระยะเวลาในการออกฤทธิ์สั้น - 65 บาท
- Antacil gel® แต่สามารถออกฤทธิ์ได้เร็ว โดยเป็นยา - 45 บาท
ที่ใช้สาหรับบรรเทาอาการเท่านั้น
6

Plan
เป้าหมายการรักษา
1. เพื่อบรรเทาอาการปวดของผู้ป่วย
2. ป้องกันการกลับมาเป็นซ้า
3. ลดอาการแทรกซ้อนอื่นๆ เช่น GI perforation, GI bleeding เป็นต้น
แผนการรักษา
1. Omeprazole 20 mg 1x1 po ac 14 วัน
2. Domperidone 10 mg 1x3 po ac
3. Antacid (antacil gel®) 2-3 tbsp x3 po pc
การติดตามประสิทธิภาพการรักษา
- มีอาการแสดงทางคลินิกของภาวะ Dyspepsia ลดลง เช่น อาการปวดท้อง, อาการแสบร้อนตรงกลางอก, อาการ
คลื่นไส้อาเจียน
การติดตามความปลอดภัย
- Omeprazole เช่น clostridium difficile diarrhea, GI S/E (ท้องอืด คลื่นไส้อาเจียน ท้องเสีย)
- Domperidone เช่น อาการปวดหัว (พบได้น้อย)
- Antacid เช่น อาการท้องผูก ท้องเสีย การเกิดอันตรกริยากับยาอื่นๆ
การให้คาแนะนาผู้ป่วย
1. การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการรับประทานอาหาร เช่น การรับประทานอาหารให้ตรงเวลา การหลีกเลี่ยงรับประทาน
อาหารรสจัด น้าอัดลม ชากาแฟ ของหมักดอง
2. พักผ่อนให้เพียงพอ พยายามไม่เครียด
3. การรับประทานยาสม่าเสมอ โดยควรรับประทาน antacid ห่างจาก Omeprazole อย่างน้อย 2 ชั่วโมง
4. การสังเกตอาการที่เป็นสัญญาณของโรคทางระบบทางเดินอาหารที่รุนแรง (alarm sign) ควรได้รับการตรวจวินิจฉัย
โดยแพทย์ เช่น ถ่ายเป็นเลือดสดหรือสีดา อาเจียนเป็นเลือด กลืนลาบาก เป็นต้น
Future plan
1. หากผู้ป่วยตอบสนองต่อการรักษาดี ควรได้รับยารักษาเพิ่มอีก 4 สัปดาห์
2. หากผู้ป่วยไม่ตอบสนองการรักษาใน 2 สัปดาห์ควรพิจารณาเพิ่ม Omeprazole เป็น 20 mg 1x2 po ac จากนั้นดู
การตอบสนองใน 2 สัปดาห์
เอกสารอ้างอิง
1. กรรณิการ์ พรพัฒน์กุล, อุดม คชินทร, วโรชา มหาชัย, กาธร เผ่าสวัสดิ์, ชุติมา ประมูลสินทรัพย์, บัญชา โอวาทฬารพร, และคณะ. แนว
ทางการวินิจฉัยและรักษาผู้ป่วย Dyspepsia และผู้ป่วยที่มีการติดเชื้อ Helicobacter pylori ในประเทศไทย . กรุงเทพ: จิรังรัชต์ ;
2542.
2. Talley NJ, Vakil N, and the Practice Parameters Committee of the American College of Gastroenterology.
Guidelines for the management of dyspepsia. Am J Gastroenterol 2005;100:2324-2337.
3. The national institute for clinical excellent. Guidance on the use of proton pump inhibitors in the treatment of
dyspepsia. London: The national institute for clinical excellent; July 2000.
4. Lacy CF, Armstrong LL, Goldman MP ,Lance LL, et al, editors. Drug information handbook. 19th ed. Ohio: Lexi-
Comp; 2010.

You might also like