Automation 03

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 24

บทที่ 3

วาลวควบคุมในระบบนิวแมติกส
Pneumatic Valves

วาลวควบคุมในระบบนิวแมติกสพื้นฐานนัน้ แบงได 5 ประเภท โดยในแตละประเภทแตกตาง


กันตามลักษณะการใชงาน ในบทนีจ้ ะกลาวเฉพาะวาลวควบคุมทิศทาง(Directional Control) ที่ใช
สําหรับควบคุมการเคลื่อนทีข่ องกระบอกสูบ โดยวาลวประเภทอื่น ๆ จะกลาวถึงในบทถัดไป อาทิเชน
วาลวชนิดลมไหลทางเดียว ในการออกแบบสรางวงจรควบคุมการทํางานแบบมีเงื่อนไขและวงจรควบ
คุมเพื่อความปลอดภัยของผูใชงาน การใชวาลวควบคุมอัตราการไหลในการควบคุมความเร็วของกาน
สูบ การใชวาลวแบบผสมทีอ่ อกแบบสําหรับงานเฉพาะ เปนตน
วาลวควบคุมทิศทาง (Directional control valves)
วาลวชนิดลมไหลทางเดียว (Non-return valves)
วาลวควบคุมความดัน (Pressure control valves)
วาลวควบคุมอัตราการไหล (Flow control valve)
วาลวเปด-ปด และวาลวผสม (Shut-of valve and Valve combination)

3.1 วาลวควบคุมทิศทาง Directional control valves (D.C.V)


มีหนาที่ในการควบคุมทิศทางของลมอัดทีจ่ ายใหกับอุปกรณนิวแมติกส โดยภายในประกอบ
ลิ้นวาลวที่มาเคลื่อนที่ได ตําแหนงของลิน้ วาลวที่เคลื่อนที่ไดจะเรียกวา “ตําแหนงทํางาน (Position)”
ใชสัญลักษณรูปสี่เหลี่ยมแทนจํานวนตําแหนงที่ลนิ้ วาลวที่สามารถเปลี่ยนได ตามขอกําหนดการเรียก
ชื่อวาลวควบคุมตามมาตรฐาน ISO 1219
¾ ก. ความหมายของสัญลักษณตําแหนงทํางาน (Position)
จํานวนชองสีเ่ หลี่ยม (Position) หมายถึง จํานวนตําแหนงทํางานที่ลนิ้ วาลวเปลีย่ นได
ตารางที่ 3.1 แสดงสัญลักษณของจํานวนตําแหนงทํางานของวาลว

สัญลักษณ ความหมาย
ลิ้นวาลวเปลีย่ น 2 ตําแหนงทํางาน
ลิ้นวาลวเปลีย่ น 3 ตําแหนงทํางาน
ลิ้นวาลวเปลีย่ น 4 ตําแหนงทํางาน

55
¾ ข. ความหมายของสัญลักษณของชองตอทอลม (Port)
ตารางที่ 3.2 แสดงความหมายของสัญลักษณชองตอทอลม

สัญลักษณ ความหมาย
ชองตอสําหรับทอลม
ชองตอสําหรับจายลมอัดใหวาลว
ชองตอสําหรับระบายลมทิ้งแบบเปด (มีชองตอทอลม)
ชองระบายลมทิ้งแบบปด (ไมมีชองตอทอลม)

¾ ค. สัญลักษณเสนทางการไหลผาน
ตารางที่ 3.3 แสดงสัญลักษณเสนทางการไหลผานภายในวาลวที่แสดงดวยลูกศรและชองปด

สัญลักษณ ความหมาย

เสนภายในรูปสี่เหลี่ยม หมายถึง เสนทางที่ลมอัดไหลผานไดตามทิศทางลูกศร

เสนทางเดินลมที่ถกู กัน้ แสดงดวยเสนตรงตัดสั้นหัวทาย

เสนทางเดินลมภายใน 2 เสนทางที่ไมไดตัดกัน และมีชองตอทอลม 4 ชอง

เสนทางเดินลมผานไดทางเดียวและมีชองตอทอลม 3 ชอง

เสนทางเดินลมผานไดทางเดียวและมีชองตอทอลม 3 ชอง

เสนทางเดินลมผานไดสองทางและมีชองตอทอลม 5 ชอง

เสนทางเดินลมผานไดสองทางและมีชองตอทอลม 5 ชอง

เสนทางเดินลมที่ตอถึงกันภายในเขียนดวยจุดตัดเต็มและมีชองตอทอลม 4 ชอง

56
ตารางที่ 3.4 แสดงจํานวนชองตอทอลม(Ports) ตอหนึ่งวาลวและประเภทการใชงาน

วาลวปดเปด ( 2 Ports) วาลวปดเปดทีเ่ ปลี่ยนทิศทางได (3 Ports)

- ควบคุมสวานลม - ควบคุมกระบอก
- หัวดูดจับสุญญากาศ สูบทางเดียว

วาลวเปลี่ยนทิศทาง (4 Ports) วาลวเปลี่ยนทิศทาง (5 Ports)

- ควบคุมกระบอก - ควบคุมกระบอก
สูบสองทาง สูบสองทาง

1 = ชองตอลมเขา ; 2 ,4 = ชองตอลมออกไปใชงาน ; 3 ,5 = ชองตอลมระบายออก


¾ ง. ความหมายของสัญลักษณชองตอทอลม
จากรูปที่ 3.1 แสดงสัญลักษณแบบตัวอักษรและแบบตัวเลขที่กาํ หนดใหแตละชอง
ตอทอลมจะมีหนาเฉพาะแตกตางกันดังตารางที่ 3.5

รูปที่ 3.1 แสดงการกําหนดสัญลักษณชองตอลมแบบตัวอักษรและแบบตัวเลขที่มคี วามหมายเดียวกัน

ตารางที่ 3.5 แสดงความหมายของชื่อชองตอลมแบบตัวอักษรและตัวเลข

ตัวเลข ตัวอักษร ความหมายชองตอทอลม


1 P ชองจายลมอัดเขาวาลว
2, 4 B, A ชองลมอัดที่ผา นวาลว
3, 5 S, R ชองระบายลมทิ้ง
12 , 14 , 10 X, Y,Z ชองลมสําหรับเปลี่ยนตําแหนงทํางานของวาลว

Connector,Silencer,PV pipe , http://www.pneumatic.cn/

57
¾ จ. การเรียกชื่อวาลว
ชื่อวาลว จะแสดงจํานวนตําแหนงทํางาน จํานวนชองตอลม และชนิดของการควบคุมวาลว
ตารางที่ 3.6 แสดงสัญลักษณและการเรียกชื่อวาลว

สัญลักษณ การเรียกชื่อวาลว
2/2 NO control valve ( 2 port , 2 positions , Normal Open)

2/2 NC control valve ( 2 port , 2 positions , Normal Close)

3/2 NO control valve ( 3 port , 2 positions , Normal Open)

3/2 NC control valve ( 3 port , 2 positions , Normal Close)


5/2 control valve ( 5 port , 2 positions )

5/3 control valve closed – center ( 5 port , 3 positions)

5/3 control valve open – center ( 5 port , 3positions)

รูปที่ 3.2 แสดงสัญลักษณและการเรียกชือ่ วาลวชนิดตาง ๆ

58
3.2 รูปแบบการควบคุมวาลว Type of Control
การควบคุมการทํางานของวาลวสามารถเลือกไดหลายรูปแบบดังแสดงในรูปที่ 3.3 และ
แสดงรูปแบบควบคุมแตละชนิดดังตารางที่ 3.7

รูปที่ 3.3 แสดงสัญลักษณของรูปแบบที่ใชในการควบคุมวาลว

ตารางที่ 3.7 แสดงความหมายของสัญลักษณของรูปแบบที่ใชควบคุมวาลวชนิดตาง ๆ

2.2.1. ควบคุมดวยคน manual control 2.2.2. ควบคุมดวยกลไก Mechanical control

2.2.3. ควบคุมดวยลมอัด pressure control 2.2.4. ควบคุมดวยไฟฟา electric control

2.2.5. ควบคุมแบบผสม combined control

59
Mechanical valve , http://www.pneumatic.cn/

Hand-draw Valve, Turn valve and Foot valve,hanol-pull Volve , http://www.pneumatic.cn/

60
http://www.jelpc-pneumatic.com

61
solenoid valve , http://www.pneumatic.cn/

62
Coil , DC:12V,24V,110V , AC:24V,36V,110V,220V,380V ,
http://www.pneumatic.cn/

การใชงานวาลวควบคุมนั้นสามารถเลือกจับคูรูปแบบการควบคุมใหเหมาะสมกับลักษณะ
การใชงานไดดังแสดงในรูปที่ 3.4 และตารางที่ 3.8 แสดงภาพอุปกรณวาลวควบคุมทิศทางชนิดตาง ๆ
ดังรูปที่ 3.5

รูปที่ 3.4 แสดงการจับคูของอุปกรณควบคุมกับวาลว

63
ตารางที่ 3.8 แสดงความหมายของสัญลักษณวาลวควบคุมในตําแหนงทํางานและรีเซ็ต

สัญลักษณรูปแบบควบคุมวาลวทํางาน (Set)
Push Button - ดวยมือกดแบบปุมเรียบ
- ดวยมือกดแบบปุมหัวเห็ด
Foot ดวยเทาเหยียบ
Plunger ดวยกานกระทุง
Roller Lever ดวยลูกลอแบบ 2 ทาง
One-way Trip ดวยลูกลอแบบทางเดียว
Hand Lever ดวยมือโยก
Pilot Operated ดวยลม
สัญลักษณรูปแบบรีเซ็ตวาลว (Reset) (กลับตําแหนงปกติหรือตําแหนงเริ่มตน )
Spring Return ดวยสปริง
Detent แบบล็อกตําแหนงได
Pilot Return ดวยลม

64
3/2 Directional Control Valve ,
Pneumatically Operated,
Impulse , N.C./N.O.

3/2 Directional Control Valve ,


Pneumatically Operated,
Change Over , N.C./N.O.

3/2 Directional Control Valve ,


Electrically Operated,
24 V D.C. , N.C

5/2 Directional Control Valve ,


Pneumatically Operated,
Change Over

3/2 Directional Control Valve ,


Electrically Operated ,
Change Over, 24 V D.C.

รูปที่ 3.5 แสดงภาพถายวาลวควบคุมทิศทางชนิดตาง ๆ

65
5/2 Directional Control Valve,
Pneumatically Operated,
Impulse

5/2 Directional Control Valve,


Electrically Operated ,
Impulse , 24 V D.C.

5/3 Directional Control Valve,


Pneumatically Operated ,
Closed Center

5/3 Directional Control Valve,


Electrically Operated ,
24 V D.C.

รูปที่ 3.5 ตอ แสดงภาพถายวาลวควบคุมทิศทางชนิดตาง ๆ

66
Integral Change Valve , http://www.pneumatic.cn/

67
68
3.3 หลักการทํางานภายในวาลวควบคุมทิศทาง
วาลวจะประกอบดวยลิ้นวาลวและกลไกทีค่ วบคุมเสนทางการไหลผานของลมอัด
¾ ก. หลักการทํางานภายในของวาลวควบคุมทิศทาง 3/2

รูปที่ 3.6 แสดงการทํางานภายในวาลว 3/2 ที่มีรูปแบบการควบคุมตาง ๆ

¾ ข. หลักการทํางานภายในของวาลวควบคุมทิศทาง 4/2

รูปที่ 3.7 แสดงการทํางานภายในวาลว 4/2 ที่มีรูปแบบการควบคุมตาง ๆ

69
¾ ค. หลักการทํางานภายในของวาลวควบคุมทิศทาง 5/2

รูปที่ 3.8 แสดงการทํางานภายในวาลว 5/2

¾ ง. หลักการทํางานภายในของวาลวควบคุมทิศทาง 5/3 (ดังรูปที่ 3.9)

รูปที่ 3.9 แสดงการทํางานภายในวาลว 5/2 แบบควบคุมดวยคันโยก

70
3.4 รูปแบบการทํางานของวาลวควบคุมทิศทาง

¾ ก. วาลวควบคุมชนิดคางตําแหนง (Memory)
จากรูปที่ 3.10 (ก) ลิ้นวาลวของวาลวควบคุมจะเคลื่อนทีก่ ็ตอเมื่อมีการจายลมอัดที่ชองตอ
ลม 14 หรือ 12 เมื่อหยุดการจายลมอัดใหวาลว ลิน้ วาลวจะหยุดอยูที่ตําแหนงทีท่ ํางานครั้งสุดทาย
เสมอ ดังนัน้ การใชงานวาลวควบคุมชนิดคางตําแหนงนี้ จําเปนตองทําใหลนิ้ วาลวอยูในตําแหนง
ทํางานตามทีอ่ อกแบบกอนเริ่มใชงานเสมอ (Reset ) มิฉะนัน้ การทํางานจะผิดพลาด
¾ ข. วาลวควบคุมชนิดเลื่อนกลับอัตโนมัติ (Return String)
จากรูปที่ 3.10 (ข) เปนวาลวควบคุมที่มสี ปริงควบคุมภายใน เมื่อมีการจายลมอัดที่ชองตอ
ทอลม 14 ลิ้นวาลวจะเกิดมีการเลื่อนตําแหนงทํางาน เนื่องมาจากลมอัดชนะแรงดึงของสปริง แตเมื่อ
หยุดจายลมอัดใหกับวาลว ลิ้นวาลวจะเลือ่ นกลับดวยแรงดึงของสปริงที่มีตลอดเวลา จากรูปที่ 3.1 (ข)
ถาตองการใหกานสูบเคลื่อนที่ออกตลอดเวลาจะตองมีการจายลมอัดใหชองตอทอลมตลอดเวลาที่
ตองการ

(ก) วาลวควบคุมชนิดคางตําแหนง (ข) วาลวควบคุมชนิดเลื่อนกลับเอง


รูปที่ 3.10 แสดงเปรียบเทียบระหวางวาลวควบคุมชนิดทํางานคางและชนิดเลื่อนกลับเอง

3.5 สัญลักษณทอลม
การเขียนสัญลักษณของทอลมในวงจรนิวแมติกสมีหลายลักษณะตามหนาที่การใชงานดัง
รายละเอียดดังตารางที่ 3.9 แตในการปฏิบัติจริงแลว ทอลมที่ใชทงั้ หมดจะมีลักษณะเดียวกันและไม
สามารถแยกแยะตามสัญลักษณที่กาํ หนดในวงจรนิวแมติกสได แตอาจใชสีเพื่อชวยแยกความแตกตาง
ของหนาที่ได ตัวอยางเชน สีดํา หมายถึงทอลมที่ใชสาํ หรับจายลมอัดใหวาลว สีนา้ํ เงิน หมายถึงทอลม
ที่ออกจากวาลวควบคุม เพือ่ ใชในการสั่งงานตาง ๆ เปนตน

71
ตารางที่ 3.9 แสดงสัญลักษณเสนทอลมชนิดตาง ๆ

สัญลักษณเสนทอลม ความหมาย
Main supply pressure ทอจายลม
Working line ทอลมที่ตอไปยังอุปกรณทาํ งาน
Control line คือ ทอลมที่ตอไปยังวาลว
Assembly line เสนกรอบของชุดอุปกรณ
Drain line ทอระบาย (ระบายน้ําทิง้ )
Plugging ทอที่ถูกอุดตัน
Pressure connection ทอตอชนิดเสียบเขาและถอดออกได
Line connection จุดเชื่อมทอ (สามทาง)
Crossing lines ทอฟาดทับกัน (ไมเชื่อมตอกัน)

72
3.6 องคประกอบของวงจรควบคุมดวยระบบนิวแมติกส
ในการออกแบบระบบนิวแมติกสนั้น เริ่มตนจากการศึกษาขัน้ ตอนและเงื่อนไขตาง ๆ ในการ
ทํางาน โดยแสดงเปนภาพอุปกรณทํางานดังรูปที่ 3.11(ก) และแสดงขั้นตอนการทํางานดวยแผนภาพ
การทํางานของอุปกรณดังรูป 3.11(ข) ตัวอยางอุปกรณทํางาน ไดแก กระบอกสูบ มอเตอร ลางเลื่อน
ตัวบังคับตําแหนง สวิทซ เปนตน แลวจึงออกแบบวงจรนิวแมติกสที่ใชในการควบคุมอุปกรณตาง ๆดัง
รูปที่ 3.12 โดยมีองคประกอบดังนี้
1 อุปกรณทํางาน หรือ กําลัง ไดแก กระบอกสูบ
2 อุปกรณควบคุมความเร็ว ไดแก วาลวควบคุมอัตราการไหล
3 อุปกรณควบคุมทิศทาง ไดแก วาลวที่ใชควบคุมการเคลื่อนที่เขาออกของกระบอกสูบ
4 อุปกรณควบคุมสัญญาณ ไดแก อุปกรณอินพุท และอุปกรณเปรียบคาตามเงือ่ นไข
5 แหลงตนกําลัง ไดแก ปม ลมที่จา ยลมอัดใหระบบทํางาน

(ก) ภาพอุปกรณทาํ งาน (ข) แผนภาพการทํางานของกระบอกสูบ


รูปที่ 3.11 แสดงรูปลักษณะการทํางานและแผนภาพการทํางานของกระบอกสูบ

¾ การกําหนดรหัสอุปกรณในวงจรนิวแมติกส
การกําหนดรหัสใหกับอุปกรณทุกตัวในวงจรนิวแมติกสนั้น เพื่องายตอการแยกแยะหนาทีก่ าร
ทํางานของอุปกรณทํางานแตละตัว ชวยในการตรวจสอบ ติดตั้งและแกไขการทํางานของอุปกรณ
รวมทัง้ เปนเอกสารอางอิงในการอธิบายขัน้ ตอนการทํางาน วงจรนิวแมติกสจะถูกแบงเปน 5 องค
ประกอบหลักดังรูที่ 3.13 และวิธีการทีน่ ิยมใชกันในอุตสากรรมมี 2 รูปแบบดังหัวขอ 3.61 และ 3.62

73
รูปที่ 3.12 แสดงสวนประกอบและลําดับของวงจรควบคุมดวยระบบนิวแมติกส

จากรูปที่ 3.12 ตําแหนงของอุปกรณทวี่ างในวงจรนิวแมติกสจะเรียงตามลําดับหนาที่การ


ทํางาน และไมมีความสัมพันธกับตําแหนงในการจัดวางอุปกรณจริงในการทํางาน ดังแสดงในรูปที่
3.12 อุปกรณหมายเลข 1.5 และ 1.6 เปนวาลว 3/2 Roller Return sprit มีหนาที่ในการตรวจสอบ
ตําแหนงการเขาหรือออกสุดของกระบอกลูกสูบหมายเลข 1.0 ซึ่งในการตออุปกรณจริงอุปกรณทั้งสอง
นี้จะอยูติดกับกระบอกสูบ แตเวลาเขียนในวงจรนิวแมติกสนั้นไวดา นลางในตําแหนงอุปกรณควบคุม

74
3.6.1 การตั้งรหัสอุปกรณนิวแมติกสแบบตัวเลข
¾ 1 อุปกรณทาํ งาน หรือ กําลัง (Working Components or drive element )
กระบอกสูบชนิดตาง ๆ นํามาเรียนแถว แลวกําหนดหมายเลข 1.0 , 2.0 , 3.0 , . . .
¾ 2 อุปกรณวาลวควบคุมความเร็ว (Speed Control)
วาลวควบคุมความเร็วในการเคลื่อนที่ของกระบอกสูบ โดยมีรหัสเดียวกับกระบอกสูบที่ถกู
ควบคุม และกําหนดเพิม่ คาทศนิยมตําแหนงที่สอง ดังตัวอยาง 1.01, 1.02, 1.03 . . .
ตัวเลขหลังจุดทศนิยมจะมีความหมายดังนี้
- เลขคี่ เมื่อเปนวาลวที่ควบคุมการเคลื่อนที่กระบอกสูบเขา (-)
- เลขคู เมื่อเปนวาลวที่ควบคุมการเคลื่อนที่กระบอกสูบออก (+)
¾ 3 อุปกรณวาลวควบคุมทิศทาง (Signal Output or control element)
วาลวควบคุมทิศทางการเคลื่อนที่ของกระบอกสูบใหเคลื่อนที่เขาหรือออก โดยมีรหัสเดียวกับ
ลูกสูบที่ถกู ควบคุมและกําหนดเพิ่มทศนิยมตําแหนงที่หนึ่งดังตัวอยาง 1.1 , 1.2 , 1.3 , ...
¾ 4 อุปกรณวาลวควบคุมเงื่อนไข (Signal Input or processing elements)
วาลวในแถวที่ 4 มีหนาที่ในการสรางสัญญาณในการสั่งงานใหกระบอกสูบเคลื่อนที่ตาม
เงื่อนไขทีก่ ําหนด ดวยการนําวาลวชนิดตาง ๆ มาตอตามเงื่อนไขในการทํางาน โดยมีรหัสเดียวกับ
ลูกสูบทีท่ ํางานดวยและกําหนดเพิ่มทศนิยมในตําแหนงทีห่ นึง่ ดังตัวอยาง 1.2, 1.3, … , 2.2,
2.3, … , 3.2, 3.3, … , 4.2, 4.3, …
¾ 5 แหลงจายลมหรือตนกําลัง (Energy supply)
วาลวที่ใชในการควบคุมการจายลมอัดจากทอสงหลักหรือจากถังเก็บลมจายใหแกระบบทัง้
วงจร กําหนดดวยตัวเลขศูนยและกําหนดเพิ่มทศนิยมตําแหนงทีห่ นึง่ ดังตัวอยาง 0.1 , 0.2 , 0.3 , . . .

3.6.2 การตั้งรหัสอุปกรณนิวแมติกสแบบตัวอักษร
นอกจากการกําหนดรหัสอุปกรณดวยตัวเลขแลว ยังมีรูปแบบที่นิยมในการกําหนดรหัสดวย
ตัวอักษรและมีความหมายเชนเดียวกันกับการกําหนดรหัสดวยตัวเลข ดังแสดงในรูปที่ 3.13

75
รูปที่ 3.13 แสดงการเปรียบเทียบการเขียนรหัสตัวเลขและตัวอักษร

โคดอักษรตัวพิมพใหญ A,B,C,D,… หมายถึงอุปกรณทํางานตาง เชน ลูกสูบ


โคดอักษรตัวพิมพเล็ก a,b,c,d , … หมายถึงวาลวควบคุม โดยกํากับดวยตัวเลข

การกําหนดตัวเลขหลังตัวอักษรมีความหมายดังนี้
a0,b0,c0 ,…. เลขศูนย หมายถึงวาลวควบคุมที่มีผลใหกานสูบเคลือ่ นที่เขา
a1,b1,c1,…. เลขหนึ่ง หมายถึงวาลวควบคุมที่มีผลใหกานสูบเคลือ่ นที่ออก
การแสดงทิศทางการเคลื่อนที่ของกานกระบอกสูบแสดงดวยเครื่องหมายบวกและลบ
A+ หมายถึงกานสูบ A เคลื่อนที่ออก
B+ หมายถึงกานสูบ B เคลื่อนที่ออก
A- หมายถึงกานสูบ A เคลื่อนที่เขา
B- หมายถึงกานสูบ B เคลื่อนที่เขา

76
3.7 สัญลักษณอุปกรณนวิ แมติกพื้นฐาน

77
78

You might also like