Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 10

CHAPTER 10

Strain Transformation(การแปลงความเครียด)
Plane Strain(ความเครียดในระนาบ)

สมการการแปลงความเครียดในระนาบ
Sign Convention
รู ปที่ 10-2a แสดง sign convention ของความเครี ยดที่มีคา่ เป็ นบวกบน
strain element โดยที่
1. ความเครี ยดตั้งฉากε x และ ε y จะมีค่าเป็ นบวก เมื่อความเครี ยดตั้งฉากทั้ง
สองทาให้เกิดการยืดตัวไปในแนวแกน + x และ + y ตามลาดับ
2. ความเครี ยดเฉื อนγxy จะมีค่าเป็ นบวก เมื่อมุมภายใน AOB มีค่าลดลงน้อย
กว่า90°เราควรสังเกตด้วยว่า sign convention ของความเครี ยดนี้จะมีความ
สอดคล้องกับ sign convention ที่เราใช้ในกรณี ของ plane stress ที่
กล่าวถึงไปแล้วในบทที่ 9 คือ หน่วยแรง σ x , σ y , และ τ xy ที่เป็ นบวกจะ
ทาให้เกิดความเครี ยด ε x , ε y , และ γxy ที่เป็ นบวก นอกจากนั้นแล้ว มุม θ
จะมีค่าเป็ นบวก เมื่อมีทิศทางหมุนตามกฎมือขวาจากแกน x ไปยังแกน x′ หรื อ
หมุนทวนเข็มนาฬิกา ดังที่แสดงในรู ปที่ 10-2c
หน่วยแรงและความเครี ยดมีความสอดคล้องกัน ดังที่แสดงในตาราง >

In-Plane Principal Strains

Maximum In-plane Shear Strain


(ซึ่งทามุม 45° กับทิศทางของระบบแกนที่ in-plane principal strains เกิดขึ้น)

EX1 กาหนดให้ strain element ดังที่แสดงในรู ปที่ EX10-1a มีสภาวะของ strain ดังต่อไปนี้
ε x = 500(10-6 ) ,ε y = -300(10-6 ) , γ xy = 200(106 ) จงหา
a.) สภาวะของ strain เมื่อ strain element หมุนทวนเข็มนาฬิกาเป็ นมุม 30°
b.) Principal strains และทิศทางที่เกิด
c.) Maximum in-plane shear strain และทิศทางที่เกิด
สภาวะของ strain เมื่อ strain element หมุนทวนเข็มนาฬิกาเป็ นมุม +30°
Principal strains และทิศทางทีเ่ กิด

ดังนั้น
วงกลมมอร์ - ความเครียดในระนาบ (Mohr’s Circle-Plane Strain)
ในลักษณะเช่นเดียวกับ Mohr’s circle ของ plane stress เราจะเขียน
สมการของ Mohr’s circle ของ plane strain ได้ในรู ป
EX 2 กาหนดให้ strain element มีสภาวะของ strain ดังต่อไปนี้
ε x = 250(10-6 ) , ε y = -150(10-6 ) ,γ xy = 120(106 )
จงหา
a.) Principal strains และทิศทางที่เกิด
b.) Maximum in-plane shear strain และทิศทางที่เกิด
Strain Rosettes
เราจะหาค่าความเครี ยดตั้งฉาก ε x , ε y , และ γ xy ในระนาบ x - y ที่จุดดังกล่าวได้โดยใช้สมการ strain
transformation

เมื่อเราทาการแก้สมการ 3 สมการข้างบน แล้ว เราจะได้ค่าความเครี ยด ε x , ε y , และ γ xy ซึ่งแสดงสภาวะความเครี ยดที่จุด


ดังกล่าวในระนาบ x – y

โดยทัว่ ไปแล้ว strain rosette มักจะมีรูปแบบที่ strain gauges ทั้งสามทามุมต่อกันเท่ากับ 45° หรื อ 60° ในกรณีที่
strain rosette มีรูปแบบที่ทามุม 45° ดังที่แสดงในรู ปที่ (b) แล้ว เราจะได้วา่ θ a = 0° , θ b = 45° , และ θ c = 90° ดังนั้น
จากสมการข้างบน เราจะได้วา่

ในกรณี ที่ strain rosette มีรูปแบบที่ทามุม 60°ดังที่แสดงในรู ปที่ (c) แล้ว เราจะได้วา่ θ a = 0° ,
θ b = 60° , และ θ c = 120° ดังนั้น จากสมการข้างบน เราจะได้วา่

หลังจากที่เราทราบค่าความเครี ยดε x , ε y , และ γ xy แล้ว เราจะใช้สมการ strain transformation หาค่า


principal in-plane strains และ maximum in-plane shear strain ที่เกิดขึ้นที่จุดดังกล่าวได้
EX3 สภาวะความเครี ยดที่เกิดขึ้นที่จุด A บนเท้าแขน (bracket) ดังที่แสดงในรู ปที่ Ex 10-3a ถูกหามาได้โดยใช้ stain
rosette ดังที่แสดงในรู ป Ex 10-3b กาหนดให้ ε a = 60 µε , ε b = 135 µε , and ε c = 264 µε จงหาค่า principal
strains และทิศทางของการเกิด principal strains ของสภาวะความเครี ยดดังกล่าว
10–25. The 45° strain rosette is mounted on the surface of a shell. The following readings are
obtained for each gage: Pa = -200(10-6), Pb = 300(10-6), and Pc = 250(10-6). Determine the in-plane
principal strains.

You might also like