Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 121

หน่ วยที่ 5 คลื่นและสเปกตรัมของคลื่นแม่ เหล็กไฟฟ้า

5.1 คลื่น (Wave)

5.2 คลื่นแม่ เหล็กไฟฟ้า (Electromagnetic)

5.3 คลื่นแม่ เหล็กไฟฟ้าในชีวติ ประจาวัน


5.1 คลื่น
คลื่น (Wave) เป็ นปรากฏการณ์ที่เกิดจากการรบกวนแหล่งกาเนิ ด หรื อตัวกลาง เกิดการสั่นสะทือน
ทาให้มีการแผ่หรื อถ่ายโอนพลังงานจากการสั่นสะเทือนไปยังจุดต่าง ๆ โดยที่ตวั กลางนั้นไม่มีการ
เคลื่อนที่ไปกับคลื่น เช่น เด็กชายนัง่ อยูบ่ นเรื อ แล้วโยนก้อนหิ นขนาดใหญ่ลงไปในน้ าให้เกิดคลื่น
จะสังเกตเห็นว่า คลื่นจะแผ่ขยายออกเป็ นวงกลมโดยรอบจุดที่กอ้ นหินตกกระทบผิวน้ า เรื อที่เด็กชาย
นัง่ จะกระเพื่อมขึ้นลงอยูก่ บั ที่ โดยได้รับพลังงานจลน์จากผิวน้ า แต่จะไม่เคลื่อนที่ไปพร้อมกับคลื่น
ซึ่งแสดงให้เห็นว่า การเกิดคลื่นเป็ นการถ่ายโอนพลังงานโดยผ่านโมเลกุลของน้ า ซึ่ งโมเลกุลของน้ า
(ตัวกลาง) จะไม่เคลื่อนที่ไปกับคลื่น
การจาแนกคลื่น
1.การจาแนกคลื่นตามลักษณะของตัวกลาง แบ่งได้เป็ น 2 ชนิด

1.1 คลื่นกล (Mechanical wave) คือ คลื่นที่แผ่ออกไปได้ตอ้ งอาศัยตัวกลาง เช่น


คลื่ น เชื อ ก คลื่ น น้ า และ คลื่ น เสี ย ง เป็ นต้น คลื่ น เหล่ า นี้ ถ่ า ยทอดพลัง งานและ
โมเมนตัมได้โดยอาศัยความยืดหยุน่ ของตัวกลาง
คลื่นกลมีส่วนประกอบสาคัญ 3 ส่ วนทีเ่ กีย่ วข้ อง คือ

1. แหล่ งกาเนิดคลื่น

2. ตัวกลางทีค่ ลื่นเคลื่อนทีผ่ ่ านหรื อตัวกลางทีถ่ ูกรบกวนโดยคลื่น

3. คุณสมบัติทางฟิ สิ กส์ ที่เกี่ยวข้ องและทาให้ ตัวกลางกระจายไปได้ และ พบว่ าคลื่นทุก


ชนิ ด จะพาพลัง งานไปด้ ว ย โดยปริ ม าณของพลัง งานที่ส่ งผ่ า นตัว กลาง และ วิธี ก าร
ส่ งผ่ านของพลังงานจะแตกต่ างกันไปแล้ วแต่ กรณี
1.2 คลื่นแม่ เหล็กไฟฟ้ า (Electromagnetic wave) คือ คลื่นที่แผ่ออกไปได้โดยไม่
ต้องอาศัยตัวกลาง เช่น คลื่นแสง คลื่นวิทยุ เป็ นต้น
2. การจาแนกคลื่นตามลักษณะของการสั่ นของแหล่ งกาเนิด

2.1 คลื่นตามขวาง (Transverse wave) คือ คลื่นที่แหล่งกาเนิดคลื่นสัน่ ในทิศตั้งฉาก


กับความเร็ วคลื่น เช่น คลื่นเชือก คลื่นน้ า และ คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
2.2 คลื่นตามยาว (Longitudinal wave) คือ คลื่นที่แหล่งกาเนิ ดสั่นในทิศเดียวกับ
ความเร็ วคลื่น เช่น คลื่นเสี ยง และ คลื่นที่เกิดจากการอัดสปริ ง
ข้ อสั งเกต
1. คลื่นตามขวางมีระนาบของการสัน่ แต่คลื่นตามยาวไม่มีระนาบของการสัน่

2. คลื่นกลเป็ นได้ท้ งั คลื่นตามยาวและคลื่นตามขวาง แต่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเป็ นได้


เฉพาะคลื่นตามขวางอย่างเดียว
3. การจาแนกคลื่นตามจานวนลูกคลื่น

1. คลื่นดล (Pulse wave) คือ คลื่นที่เกิดจากแหล่ งกาเนิดคลื่นสั่ นเพียง 1-2 ครั้ง ทาให้
เกิดคลื่ น 1-2 ลูก เช่ น การโยนก้อนหิ นก้อนเดี ยวลงไปในน้ า จะพบว่าเกิ ดคลื่นดล
เพีย งกลุ่มหนึ่ งกระจายออกไปรอบ ๆ ไม่ น านผิว น้ าจะนิ่ ง คลื่ นดลอาจมี ลกั ษณะ
กระจายออกจากแหล่งกาเนิ ดเป็ นแนวตรง หรื อเป็ นวงกลมก็ได้ แล้วแต่แหล่งกาเนิ ด
ที่ทาให้เกิดคลื่น

2. คลื่นต่ อเนื่ อง (Continuous wave) คือ คลื่นที่เกิดจากแหล่ งกาเนิดคลื่นที่สั่นเป็ น


จังหวะต่ อเนื่องกัน ทาให้ เกิดคลื่นหลาย ๆ ลูก
หน้ าคลื่น (Wave front)
ลักษณะสาคัญของหน้าคลื่น มีดงั นี้

1.หน้ าคลื่นตรง หน้ าคลื่นแต่ ละเส้ นจะขนานกัน


2. คลื่นหน้ าโค้ งวงกลมทิศทางคลื่นเป็ นแนวรัศมีของวงกลม
3. ทิศทางคลื่นจะตั้งฉากกับหน้ าคลื่นเสมอ
4. หน้ าคลื่นทีต่ ิดกันจะห่ างกันเท่ ากับความยาวคลื่น
องค์ ประกอบของคลื่นต่ อเนื่อง
ปริ มาณต่าง ๆ ที่ใช้บรรยายลักษณะของคลื่นมีดงั ต่อไปนี้
1. แอมปลิจูด (Amplitude: A)

แอมปลิจูด คือ ขนาดของการกระจัดที่มากที่สุดของคลื่น 1 ลูก หรื อ ถ้าเป็ นคลื่นที่


การรบกวนไม่ใช่การกระจัด แอมปลิจูดจะเป็ นขนาดสู งสุ ดของการรบกวน

โดยทัว่ ไปแอมปลิจูดจะเป็ นตัวแสดงพลังงานของคลื่น นัน่ คือ คลื่นที่มีแอมปลิจูดสู ง


จะพาพลังงานไปกับคลื่นมากกว่าคลื่นที่มีแอมปลิ จูดต่ า ดังนั้นสาหรั บคลื่นเชื อก
แอมปลิจูดจะแสดงความสู งต่าของการสั่นของเชื อก ส่ วนคลื่นเสี ยง แอมปลิจูดจะ
สัมพันธ์กบั ความดังของเสี ยง และ สาหรับคลื่นแสงแอมปลิจูดจะสัมพันธ์กบั ความ
สว่างของแสง
2. ความยาวคลื่น (Wavelength: )

สาหรับคลื่นต่อเนื่อง 2 ลูกที่อยูต่ ิดกัน จะเรี ยกระยะห่ าง ระหว่างตาแหน่งเดียวกันใน


2 ลูกคลื่นนี้ว่า ความยาวคลื่น หรื อในเทอมของเฟส ความยาวคลื่น คือ ระยะระหว่ าง
ตาแหน่ งทีม่ ีเฟสตรงกันของคลื่น 2 ลูกที่อยูต่ ิดกันนัน่ เอง
3. คาบ (Period: T)

คาบของคลื่น คือ เวลาที่จุดใด ๆ บนตัวกลางสั่นครบ 1 รอบ เมื่อจุดใดจุดหนึ่ งบน


ตัวกลางสัน่ ครบ 1 รอบ แสดงว่าจุดนั้นมีคลื่นเคลื่อนที่ผา่ นไปได้ 1 ลูกคลื่นพอดี
4. ความถี่ (Frequency: f)

ความถี่ คือ จานวนรอบต่อหน่ วยเวลาที่แหล่งกาเนิ ดคลื่นสั่น มีหน่ วยเป็ นรอบต่อ


วินาที หรื อ วินาที-1 หรื อ Hertz (Hz) ถ้าแหล่งกาเนิดมีความถี่ f ทุกจุดบนตัวกลางที่
คลื่นเดินทางไปถึงจะสัน่ ด้วยความถี่ f ด้วย ดังนั้น ความถี่ของคลื่น คือ จานวนรอบที่
จุดใด ๆ บนตัวกลางสั่นได้ใน 1 วินาที หรื อ คือ จานวนลูกคลื่นที่เคลื่อนที่ผา่ นจุดใด
ๆ ในเวลา 1 วินาทีนนั่ เอง
ในเวลา T วินาที จุดใด ๆ บนตัวกลางสั่นขึ้นลงครบ 1 รอบ

ในเวลา 1 วินาที จุดใด ๆ บนตัวกลางสั่นขึ้นลงครบ


1 รอบ
T
ดังนั้น
1
f
T
ตัวอย่ างของอุปกรณ์ ทมี่ ีความถี่
โดยปกติหูของมนุษย์สามารถรับเสี ยงที่มีคลื่นความถี่ระหว่าง 20 - 20,000 เฮิรตซ์
(Hz) ถือว่าเป็ นช่วงคลื่นที่มีระยะจากัด แต่ก็ถือว่ายังมากอยู่ โดยถ้าคลื่นเสี ยงต่าหรื อ
สู งกว่านี้ เราจะไม่ได้ยนิ เสี ยง

คลื่นที่อยูต่ ่ากว่า 20 Hz จะเรี ยกว่าเป็ นคลื่นอินฟราโซนิค (Infrasonic) หรื อคลื่น


ใต้เสี ยง ซึ่ งถือว่าเป็ นคลื่นที่มีความถี่ต่ ามาก ๆ มักจะมาจากต้นกาเนิ ดเสี ยงขนาด
ใหญ่ เช่น เสี ยงเครื่ องปรับอากาศ การเกิดเหตุการณ์แผ่นดินไหว เป็ นต้น ตรงกันข้าม
สาหรับคลื่นเสี ยงที่สูงกว่า 20,000 Hz จะเรี ยกว่าคลื่นอัลทราโซนิค (Ultrasonic)
หรื อคลื่นเหนือเสี ยง จะมีความถี่สูง มักจะมาจากต้นกาเนิดเสี ยงขนาดเล็ก
5. ความสั มพันธ์ ระหว่ างความเร็วคลื่นกับความยาวคลื่นและความถี่

ในเวลา T วินาที คลื่นวิ่งผ่านจุดใด ๆ ไปได้ f ลูก แต่ คลื่น 1 ลูกมีความยาวคลื่น 


ดังนั้น ใน 1 วินาที คลื่นวิ่งได้ระยะทาง f

v = f

เมื่อ v = อัตราเร็ วของคลื่น (เมตรต่อวินาที)

f = ความถี่ของคลื่น (เฮิรตซ์, Hz)

= ความยาวคลื่นของคลื่น (เมตร, m)
ปรากฎการณ์ ที่แสดงสมบัติเป็ นคลื่ น ได้แก่ การสะท้อน การหักเห การแทรกสอด และ การ
เลี้ยวเบน ปรากฎการณ์ท้ งั สี่ อาจจะทาให้อตั ราเร็ วและความยาวคลื่นของคลื่นเปลี่ยนแปลงไป แต่
ไม่ทาให้ความถี่ของคลื่นเปลี่ยน
1.การสะท้ อนของคลื่น เป็ นปรากฎการณ์ที่คลื่นเคลื่อนที่ไปที่ปลายสุ ดของตัวกลาง หรื อ เป็ นเขต
ระหว่าง 2 ตัวกลาง ที่ ไม่ยอมให้คลื่นเคลื่อนที่ ผ่านหรื อผ่านบางส่ วน คลื่นจะต้องมีการสะท้อน
กลับสู่ ตวั กลางเดิม
คุณสมบัติของการสะท้อนของคลื่นมีดงั นี้

1.รังสี ตกกระทบ รังสี สะท้อน และ เส้นแนวฉาก (หรื อเส้นปกติ) จะอยูใ่ นระนาบเดียวกัน

2.มุมตกกระทบ = มุมสะท้อน เสมอ สาหรับทุกพื้นผิวที่คลื่นตกกระทบและสะท้อนออกไป


การสะท้ อนในเส้ นเชื อก

คลื่นเคลื่อนที่จากเชือกที่มีความหนาแน่นน้อยกระทบกับรอยต่อระหว่างเชือกทั้งสอง (อีกเส้นมี
ความหนาแน่ นมาก) คลื่นจะสะท้อนกลับในเส้นเชื อกที่ มีความหนาแน่ นน้อยในทิ ศที่ มุมตรง
ข้ามกับคลื่นตกกระทบ
รู ปซ้ ายมือ ปลายเชื อกเป็ นอิสระคลื่นตกกระทบและคลื่นสะท้อนมี ลกั ษณะเหมื อนกัน (มีเฟส
เหมือนเดิม)

รู ปขวามื อ ปลายเชื อกยึดแน่ นกับกาแพง คลื่นตกกระทบและคลื่นสะท้อนมี ลกั ษณะที่ ตรงกัน


ข้าม (มีเฟสตรงข้ามกัน)
2.การหักเหของคลื่น เป็ นปรากฎการณ์ที่คลื่นเคลื่อนที่ผ่านรอยต่อระหว่างตัวกลางต่างชนิ ดกัน
แล้วทาให้อตั ราเร็ วของคลื่น ความยาวคลื่น และ ทิศทางการเคลื่อนที่ของเคลื่อนเปลี่ยนแปลงไป
แต่ความถี่ของคลื่นยังคงเดิมไม่เปลี่ยนแปลง
คุณสมบัติของการหักเหของคลื่นมี 2 ข้อ

1.รังสี ตกกระทบ รังสี หกั เห และ เส้นแนวฉาก อยูใ่ นระนาบเดียวกัน


2.การหักเหของคลื่นเป็ นไปตามกฎของสเนลล์ (Snell’s law)
1 sin 1 v1
 
2 sin  2 v2
เส้ นทางการหักเหของคลื่ นสามารถย้อนกลับได้ (Reversable) และ ความถี่ ของคลื่ นไม่
เปลี่ยนแปลงในตัวกลางทั้งสอง
การหักเหของคลื่นนา้ ในบริเวณนา้ ลึกและนา้ ตืน้

ความยาวคลื่นในบริ เวณน้ าลึกจะมี ค่ามากกว่าความยาวคลื่ นในบริ เวณน้ าตื้น และ ความเร็ ว


ของคลื่ นในบริ เวณน้ าลึ กจะเร็ วกว่าในบริ เวณน้ าตื้ น แต่ความถี่ ของคลื่ นทั้งสองบริ เวณไม่
เปลี่ยนแปลง
แสดงทิศทางของคลื่นนา้ เมื่อเดินทางจากบริเวณนา้ ตื้นไปยังนา้ ลึก

คลื่นเคลื่อนที่จากนา้ ตื้น(v น้ อย , น้ อย) สู่ นา้ ลึก (v มาก , มาก) ทิศทางคลื่นหัก


เหจะเบนออกจากเส้ นแนวฉาก
แสดงทิศทางของคลื่นนา้ เมื่อเดินทางจากบริเวณนา้ ลึกไปยังนา้ ตื้น

คลื่นเคลื่อนที่จากน้าลึก(v มาก ,มาก) สู่ น้าตื้น (v น้ อย ,น้ อย) ทิศทางคลื่นหักเห


จะเบนเข้ าหาเส้ นแนวฉาก
มุมวิกฤตและการสะท้ อนกลับหมด

1.เมื่อคลื่นผิวนา้ เคลื่อนที่จากบริเวณ น้ำตื้นเข้ ำสู่ บริ เวณน้ำลึก


2. มุมตกกระทบทีท่ าให้ เกิดมุมหักเหมีค่าเท่ ากับ 90 เรียกว่ า มุมวิกฤต
3. มุมตกกระทบโตมากกว่ ามุมวิกฤต จะเกิดการสะท้ อนขึ้นที่รอยต่ อของ
ตัวกลางทั้งสอง เรียกปรากฏการณ์ นีว้ ่ า กำรสะท้ อนกลับหมด
3.การแทรกสอดของคลื่น เป็ นปรากฎการณ์ ที่คลื่ นต่อเนื่ องจากแหล่งกาเนิ ดคลื่ น 2 แหล่งที่ มี
ความยาวคลื่น ความถี่ และ แอมปลิจูดเท่ากัน ซึ่ งอาจจะมีเฟสตรงกันหรื อต่างกันเคลื่อนที่มาพบ
กันจะเกิดการซ้อนทับกันระหว่างคลื่นต่อเนื่องทั้งสอง
ก.การแทรกสอดคลื่นแบบเสริ มกัน คือ การแทรกสอดที่ สันคลื่นหรื อท้องคลื่นต่อเนื่ องทั้งสอง
ตรงกัน ทาให้คลื่นลัพธ์ที่เกิดขึ้นมีสันคลื่นสู งขึ้นหรื อมี ทอ้ งคลื่นต่าลง นั่นคือ ทาให้แอมปลิจูด
ของคลื่นมีค่ามากขึ้นและมีพลังงานมากขึ้นด้วย
ข.การแทรกสอดคลื่นแบบหักล้ างกัน คือ การแทรกสอดที่สันคลื่นของคลื่นลูกหนึ่ งตรงกับท้อง
คลื่นของคลื่นอีกลูกหนึ่ ง ทาให้คลื่นลัพธ์ที่เกิดขึ้นมีสันคลื่นต่าลงขึ้นหรื อมี ทอ้ งคลื่นสู งขึ้น นั่น
คือ ทาให้แอมปลิจูดของคลื่นมีค่าน้อยลงและมีพลังงานน้อยลงด้วย
การแทรกสอดแบบเสริ ม กัน เกิ ด จากสั น คลื่ น ของคลื่ น
ขบวนหนึ่ งรวมกับสันคลื่นของคลื่นอีกขบวนหนึ่ งทาให้
คลื่นลัพธ์มีความสู งของสันคลื่นมากขึ้นกว่าเดิม

การแทรกสอดแบบหั ก ล้า งกัน เกิ ด จากสั น การแทรกสอดแบบหักล้างกันเกิ ดจากสันคลื่ น


คลื่ น ของคลื่ นขบวนหนึ่ ง รวมกับ ท้อ งคลื่ น ของคลื่ นขบวนหนึ่ งรวมกับ ท้องคลื่ นของคลื่ น
ของคลื่นอีกขบวนหนึ่ งทาให้คลื่นลัพธ์ไม่มี อีกขบวนหนึ่งทาให้คลื่นลัพธ์มีความสู งลดลง
ความสู ง (แอมปลิจูดเป็ น 0)
การเกิดปรากฎการณ์ แทรกสอดจะใช้ แหล่ งกาเนิดที่เรี ยกว่ า แหล่ งกาเนิด
อาพันธ์ (Coherent Source) โดยแหล่ งกาเนิดทั้งสองต้ องมี ความถี่เท่ ากัน
และเฟสตรงกัน

ริ้วของการแทรกสอด
(Interference pattern)
การแทรกสอดแบบเสริมกัน
(Constructive Interference)

การแทรกสอดแบบหักล้างกัน
(Destructive Interference)
แหล่ งกาเนิดอาพันธ์ (Coherent source)

แสดงแนวเส้ นปฏิบัพ
(Antinode lines)

แสดงแนวเส้ นบัพ (Node lines)


4.การเลี้ยวเบนของคลื่น เป็ นปรากฎการณ์ ที่คลื่นเคลื่อนที่ผ่านสิ่ งกี ดขวาง คลื่นที่
กระทบสิ่ งกีดขวางจะเกิดการสะท้อนกลับ แต่จะมีคลื่นอีกส่ วนหนึ่งเคลื่อนที่แผ่ออ้ ม
ไปทางด้านหลังของสิ่ งกีดขวางได้
การเลีย้ วเบนของคลื่น (Diffraction of wave)

เมื่ อคลื่ นผ่ า นสิ่ ง กีดขวางหรื อช่ อ งเปิ ด


แคบ ๆ จะเกิด การเลี้ยวเบนมากยิ่ง ขึ้น
ถ้ า ช่ องเปิ ดนี้ มี ค วามกว้ า งเท่ า กับ หรื อ
น้ อยกว่ าความยาวคลื่น แล้ วคลื่นจะแผ่
ออกจากช่ องเปิ ดนั้นโดยรอบ ช่ องเปิ ดนี้
เรี ยกว่ า สลิต (Slit) (เปรี ยบเสมื อน
แหล่งกาเนิดวงกลม)

การเลีย้ วเบนของคลื่นผิวนา้ ผ่ านช่ องแคบหรื อสลิตเดีย่ ว


การเลี้ ย วเบนของคลื่ นน้ าจะเลี้ ย วเบนได้ดีเมื่ อ
ความกว้ า งของช่ อ งแคบมี ค่ า เท่ า กับ หรื อ น้ อ ย
กว่ าความยาวคลื่นของคลื่นนา้

รู ปที่ 5 เกิดการเลี้ยวเบนได้ไม่ดีเนื่ องจากช่องแคบ


มีความกว้างมากกว่าความยาวคลื่นของคลื่นน้ า
หลักของฮอยเกนส์ (Huygen’s principle)
ใช้อธิบายปรากฏการณ์เลี้ยวเบนของคลื่น มีใจความว่า “ทุก ๆ จุดบนหน้าคลื่นถือได้
ว่าเป็ นต้นกาเนิดของคลื่นใหม่ ซึ่งให้กาเนิดคลื่นวงกลมที่มีเฟสเดียวกัน เคลื่อนที่ไป
ในทิศเดียวกับทิศการเคลื่อนที่ของคลื่นนั้น”
ลักษณะของ Diffraction pattern ของคลื่นเมื่อผ่ านช่ องแคบเดี่ยว

ลักษณะของแถบสว่าง (การเสริ มกัน) ของแนวปฎิบพั แนวกลางจะมีความกว้างมากที่สุด และ


แถบสว่างลาดับที่ 2, 3,… จะมีความกว้างน้อยลง และ ความเข้มจะลดลงเรื่ อย ๆ
คลื่นแม่ เหล็กไฟฟ้ า

คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าจัดเป็ นพลังงานรู ปหนึ่ งที่มีการสั่นขึ้น – ลง – ขึ้น – ลง


(Sinusoidal oscillation) ของสนามแม่ เหล็ก (B) และ สนามไฟฟ้ า(E) ซึ่งเคลื่อนที่ไป
ในทิ ศ ทางเดี ย วกัน แต่ อ ยู่ใ นระนาบที่ ต้ ัง ฉากซึ่ งกัน และกัน และ ตั้ง ฉากกับ ทิ ศ
ทางการเคลื่อนที่ของคลื่น
สเปกตรัมของคลื่นแม่ เหล็กไฟฟ้ า
สเปกตรั มของคลื่ นแม่เหล็กไฟฟ้ า หมายถึ ง ชุ ดความถี่ ของคลื่ นแม่เหล็กไฟฟ้ าตั้งแต่ต่ ากว่า 1
เฮิรตซ์ ถึง ประมาณ 1025 เฮิรตซ์ หรื อ ชุดความยาวคลื่นตั้งแต่ประมาณ 108 ถึง 10-17 เมตร
จากแผนภาพพบว่า คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าแบ่งได้เป็ น 2 ชนิ ด โดยอาศัยสมบัติทางกายภาพของรังสี
คือ
1.รังสี ทไี่ ม่ เกิดการไอออไนเซชั่น (Non – ionizing radiation) คือรังสี เมื่อชนกับสารแล้วไม่ทาให้
เกิดเป็ นไอออน เช่น รังสี อินฟราเรด คลื่นไมโครเวฟ คลื่นวิทยุ แสง

2.รังสี ที่ทาให้ เกิดการไอออไนเซชั่น (Ionizing radiation) คือรังสี ที่เมื่อชนกับสารแล้วทาให้เกิด


เป็ นไอออนได้ เช่น รังสี แกมมา รังสี เอกซ์ รังสี บีตา รังสี อลั ตราไวโอเลต

สเปกตรัมของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ามีชื่อเรี ยกต่าง ๆ กัน ตามแหล่งกาเนิดและวิธีการตรวจวัดแต่มี


สมบัติที่เหมือนกัน คือ
1.มีความเร็ ว 3 108 เมตรต่อวินาที เท่ากับความเร็ วแสง
2.มีพลังงานส่ งผ่านไปพร้อม ๆ กับคลื่น ค่าพลังงานของคลื่นจะขึ้นอยูก่ บั ความถี่และแปรผกผัน
กับความยาวคลื่น
3.มีการสะท้อน การหักเห การแทรกสอด และ การเลี้ยวเบน
ชนิดของคลื่นแม่ เหล็กไฟฟ้ า ช่ วงความถี่ (Hz) ช่ วงความยาวคลื่น (เมตร)
คลื่นวิทยุ 105 – 109 10-1 - 103

คลื่นโทรทัศน์, คลื่นไมโครเวฟ 108 – 1012 101 – 10-4

รังสี อินฟราเรด 109 – 1012 10-1 – 10-4

แสง 4.31014 – 7.5 1014 4 10-7 - 7 10-7

รังสี อลั ตราไวโอเลต 1015 – 1018 10-7 – 10-10

รังสี เอกซ์ 1016 – 1025 10-8 – 10-17

รังสี แกมมา 31018 – 31022 10-10 – 10-14


1.รังสี แกมมา (Gamma ray)
รังสี แกมมาเป็ นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีความถี่สูงกว่ารังสี เอกซ์ แต่เดิมคาว่ารังสี แกมมาใช้เรี ยกชื่อ
คลื่ นแม่เหล็กไฟฟ้ าความถี่ สูงที่ เกิ ดจากการสลายตัวของนิ วเคลี ยร์ ของธาตุกมั มันตรั งสี โดยมี
ความถี่ในช่วง 1019 – 1022 เฮิรตซ์ แต่ในปั จจุบนั คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีความถี่สูงกว่ารังสี เอกซ์
โดยทัว่ ไปเรี ยกว่ารังสี แกมมาทั้งนั้น รังสี แกมมาที่ไม่ได้เกิดจากการสลายตัวของธาตุกมั มันตรังสี
เช่น รังสี คอสมิก ซึ่ งมาจากนอกโลก
คุณสมบัตขิ องรังสี แกมมา
1.เป็ นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่ไม่มีประจุ ไม่มีมวล มีความถี่สูงและสู งกว่ารังสี เอกซ์

2.ไม่เบี่ยงเบนในสนามไฟฟ้า และ สนามแม่เหล็ก

3.ทาให้สารเรื องแสงเกิดการเรื องแสง

4.ทาปฏิกิริยากับฟิ ล์มถ่ายรู ปและฟิ ล์มที่ไม่ไวต่อแสงได้


ประโยชน์ ของรังสี แกมมา
1.ใช้ในวงการแพทย์เพื่อรังสี เช่น โคบอลต์ 60 ใช้รักษามะเร็ ง

2.ใช้ในการอาบผลผลิตเพื่อที่จะเก็บรักษาไว้ได้นาน ๆ

3.ใช้ในการเปลี่ยนแปลงพันธุ์พืช

4.ใช้ในการตรวจสอบรอยรั่วและรอยร้าวของเครื่ องใช้ที่ทาจากโลหะ

5.ใช้ในการศึกษาการดูดซึ มแร่ ธาตุของพืช และ การสังเคราะห์ดว้ ยแสง


6.ใช้ในการฆ่าเชื้อในเครื่ องมือเวชภัณฑ์ เช่น กระบอกฉี ดยา สายน้ าเกลือ ถุงเลือด ถุงมือยาง

7.ใช้ในการฆ่าไข่พยาธิ ไส้เดือนกลมในหมู

8. การฉายรั ง สี แ กมมาให้กับ หอมหัว ใหญ่ มัน ฝรั่ ง และ กระเที ย ม ด้ว ยปริ ม าณที่ พ อเหมาะ
สามารถควบคุมการงอก และ ลดการสู ญเสี ยน้ าหนักในระหว่างการเก็บรักษาในห้องเย็นได้นาน
6 เดือน

โทษของรังสี แกมมา

1.ทาให้เป็ นโรคมะเร็ ง

2.ทาลายเซลล์ของร่ างกายตลอดจนเนื้อเยือ่ ถ้าได้รับในปริ มาณที่มากจะเป็ นอันตรายต่อชีวิต

3.ท าให้เกิ ดการกลายพันธุ์ เนื่ องจากรั งสี แ กมมาก่ อ ให้เกิ ดไอออนได้ จึ งท าให้อะตอมหรื อ
โมเลกุลของเซลล์และระบบการทางานของเซลล์เปลี่ยนไป
2. รังสี เอกซ์ (X – ray)
รังสี เอกซ์ (X – ray) เป็ นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีความถี่อยูใ่ นช่วง 1016 – 1021 เฮิรตซ์
มี พ ลั ง งานและความถี่ สู งกว่ า รั ง สี อั ล ตราไวโอเลต รั ง สี เอกซ์ ค ้ น พบโดย
นักวิทยาศาสตร์ชาวเยอรมันชื่อ วิลเฮลม์ เริ นต์เกน ในปี พ.ศ. 2438
หลอดผลิตรังสี เอกซ์จะใช้หลักการให้อิเล็กตรอนพลังงานสู งวิ่งเข้าชนเป้าโลหะและ
จะได้รังสี เอกซ์ออกมา
หลอดผลิตรังสี เอกซ์จะเป็ นหลอดสุ ญญากาศที่ต่อเข้ากับเครื่ องกาเนิ ดไฟฟ้ าที่มีความต่างศักย์สูง
เมื่อมี กระแสไฟฟ้ าผ่านไส้หลอดด้านขั้วลบ (แคโทด) ไส้หลอดจะร้อนมากอิเล็กตรอนจะหลุด
ออกจากไส้หลอด และ วิง่ ไปยังขั้วบวก (แอโนด) ที่ทาด้วยโลหะทังสเตน อิเล็กตรอนที่วิ่งออกมา
นี้ มีพลังงานสู ง เมื่ อมาชนทังสเตนซึ่ งดู ดกลื นพลังงานของอิ เล็กตรอนไว้แล้วจึ งคายรั งสี เอกซ์
ออกมา
รั งสี เอกซ์ มีอานาจทะลุทะลวงได้มาก และการทะลุผ่านสิ่ งกี ดขวางของรั งสี เอกซ์ จะขึ้ นอยู่กบั
ความหนาแน่ นของวัตถุ เช่น ตะกัว่ ทองคา เงิ น ส่ วนน้ ารั งสี เอกซ์ทะลุผ่านได้ดี ดังนั้นในการ
วินิจฉัยโรคด้วยรังสี เอกซ์ แพทย์จึงต้องให้คนไข้เอาเครื่ องประดับที่เป็ นโลหะออก เพื่อป้ องกัน
ไม่ให้ภาพของชิ้นส่ วนเหล่านั้นปรากฎบนฟิ ล์มเอกซ์เรย์

ชนิดของสาร ความหนาแน่ น (กิโลกรัมต่ อลูกบาศก์ เมตร)


ทอง 19,300
ตะกัว่ 11,400
น้ า 1,000
คุณสมบัติของรังสี เอกซ์

1.รังสี เอกซ์ เป็ นทั้งคลื่นและอนุภาค การที่มีสมบัติเป็ นคลื่นเพราะมีการสะท้อน การ


หักเห การแทรกสอดและการเลี้ยวเบน และเป็ นอนุ ภาคเพราะมีโมเมนตัมเหมือน
อนุภาคทัว่ ไป

2. รังสี เอกซ์ เป็ นคลื่นแม่ เหล็กไฟฟ้ า ไม่ สามารถที่จะถูกเบี่ยงเบนโดยสนามแม่ เหล็ก


และสนามไฟฟ้ า มีความยาวคลื่นอยู่ในช่วงประมาณ 1.3 x 10-11 ถึง 4.8 x 10-11
เมตร จึงไม่สามารถมองเห็นได้
3.รังสี เอกซ์สามารถทะลุผา่ นวัตถุที่ไม่หนาจนเกินไปและมีความหนาแน่นน้อย ๆได้
เช่น กระดาษ ไม้ เนื้ อเยื่อของคนและสัตว์ แต่ถา้ ผ่านวัตถุที่มีความหนาแน่ นมาก ๆ
เช่น แพลตินมั ตะกัว่ กระดูก อานาจทะลุผา่ นจะลดลง

4. รังสี เอกซ์สามารถทาให้อากาศแตกตัวเป็ นอิออนได้

5. รั งสี เ อกซ์ทาให้เ กิ ด การเปลี่ ย นแปลงทางเคมี ไ ด้ เช่ น เมื่ อ รั งสี เ อกซ์ ไ ปถู ก ฟิ ลม์
ถ่ายรู ปจะทาให้ฟิลม์ดา จึงนาผลอันนี้มาใช้ในการถ่ายภาพบนฟิ ลม์เอกซ์เรย์
ประโยชน์ ของรังสี เอกซ์
1.ทางด้ านการแพทย์
ก.ช่วยในการวินิจฉัยโรคบางชนิ ด เช่น โรคมะเร็ ง กระดูกหัก กระเพาะอาหารเป็ น
แผล และ ความผิดปกติของรากฟัน เป็ นต้น แต่ในการฉายรังสี เอกซ์แต่ละครั้งทาให้
เซลล์เกิดการเสื่ อมสภาพ ตาย หรื อ ผิดปกติ ดังนั้นจึงไม่ควรเข้าใกล้แหล่งกาเนิดรังสี
เอกซ์บ่อยครั้ง ทั้งนี้ข้ ึนอยูก่ บั ความเข้มของรังสี และ ระยะเวลาที่ถูกรังสี ดว้ ย
ข.ใช้รัก ษามะเร็ ง ด้านรั งสี รั ก ษา เรี ย กการใช้รั งสี พ ลังงานสู งเพื่ อรั ก ษาโรค เช่ น
โรคมะเร็ งเต้านม หรื อ เนื้องอกในสมอง
2.ทางอุตสาหกรรม
ก.ใช้ตรวจสอบรอยร้าว รอยรั่วของโครงสร้างต่าง ๆ
ข.ใช้ต รวจสอบอาวุธ หรื อ วัต ถุ ร ะเบิ ด ที่ ซุ ก ซ่ อนในกระเป๋ าเดิ น ทาง หรื อ หี บ ห่ อ
สัมภาระต่าง ๆ ในสนามบิน
3.ทางด้ านงานวิจัย
ก.ใช้ศึกษาโครงสร้างของผลึกชนิดต่าง ๆ

ข.ใช้วิเคราะห์ปริ มาณธาตุที่เป็ นองค์ประกอบของสารประกอบต่าง ๆ ทั้งในทางเคมี


และธรณี วิทยา เป็ นต้น

4.ใช้ ผลิตกล้องจุลทรรศน์ ทมี่ ีกาลังขยายสู ง ๆ


โทษของรังสี เอกซ์

ก.เครื่ องรับโทรทัศน์ อาจจะมีปริ มาณรังสี เอกซ์กระจายออกมา ดังนั้นจึงไม่ควรดู


โทรทัศน์ในระยะใกล้เกินไปหรื อควรดูผา่ นแผ่นกรองรังสี

ข.เมื่อได้รับในปริ มาณที่มาก อาจจะทาให้เกิดมะเร็ งได้

ค.เกิดเป็ นผืน่ แดงขึ้นตามผิวหนัง ผมร่ วง เซลล์ตาย เป็ นแผลเปื่ อย

ง. เกิดโรคเม็ดโลหิ ตขาวมาก (leukemia)

จ. เกิดต้อกระจก (cataracts) ขึ้นในนัยน์ตา


3.รังสี อลั ตราไวโอเลต (Ultraviolet: UV)

เป็ นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีความถี่สูงกว่าแสงที่ตาเปล่ามองเห็น โดยมีความถี่ในช่วง


1015 ถึง 1018 เฮิ รตซ์ เรี ยกว่า รังสี อลั ตราไวโอเลตหรื อ รังสี เหนื อม่วง เกิดจากการ
ปลดปล่อยอิเล็กตรอน รังสี อลั ตราไวโอเลตตามธรรมชาติส่วนใหญ่มาจากการแผ่
รังสี ของดวงอาทิตย์

รังสี อลั ตราไวโอเลตไม่สามารถเคลื่อนที่ทะลุผา่ นสิ่ งกีดขวางหนา ๆ ได้ ดังนั้นบริ เวณผิวโลกจึ ง


ไม่มีรังสี อลั ตราไวโอเลตมากนัก เนื่ องจากบรรยากาศดูดกลืนรังสี ไว้บางส่ วน แต่ในปั จจุบนั รังสี
อัล ตราไวโอเลตมาสู่ พ้ื น โลกมากเนื่ อ งจาก สารบางชนิ ด ที่ ผ สมอยู่ใ นสเปรย์ห รื อ น้ า ยาของ
เครื่ องปรับอากาศ การใช้ปุ๋ยประเภทไนโตรเจน ลูกระเบิดนิ วเคลียร์ การเผาไหม้ของโฟมหรื อ
พลาสติก เป็ นปั จจัยลดปริ มาณแก๊สโอโซนในชั้นสตราโตสเฟี ยร์ ได้มาก และในขณะเดี ยวกัน
รั งสี อลั ตราไวโอเลตสามารถทะลุ แ ผ่นกระดาษ แผ่นแก้วใส และแผ่นพลาสติ กใสได้ แต่ไม่
สามารถทะลุกระดาษหนา ๆ ได้
ส าหรั บ การผลิ ต รั ง สี อ ัล ตราไวโอเลตเพื่ อ น ามาใช้ป ระโยชน์ น้ ัน จะใช้แ หล่ ง ก าเนิ ด รั ง สี
อัลตราไวโอเลตจากหลอดไฮโดรเจน (Hydrogen lamp) หลอดดิวเทอเรี ยม (Deuterium lamp)
หลอดเมอคิวรี (Mercury lamp) และ หลอดซี นอน (Xenon lamp)

Xenon lamp

Mercury lamp
หลอดฟลูออเรสเซนต์เป็ นหลอดที่ผลิตรังสี อลั ตราไวโอเลตได้ โดยภายในหลอดมีไอของปรอท
และแก๊ ส ซี นอนปริ ม าณเล็ก น้อ ย ด้า นในของหลอดจะฉาบสารวาวแสงไว้ เมื่ อ ให้ค วามต่ า ง
ศักย์ไฟฟ้ ากับขั้วทั้งสอง อิ เล็กตรอนจากขั้วทั้งสองของหลอดเคลื่ อนมาชนกับอะตอมของไอ
ปรอท จะทาให้เกิดรังสี อลั ตราไวโอเลตแผ่กระจายออกมา ซึ่ งจะถูกสารวาวแสงดูดกลืนไว้ และ
รังสี อลั ตราไวโอเลตที่ถูกดูดกลืนไว้จะไปกระตุน้ ให้สารวาวแสงเกิดการวาวแสงในช่วงความถี่ที่
ตามองเห็น แสงที่ให้ออกมาจะเป็ นแสงสี ใดขึ้นอยูก่ บั สารวาวแสงที่ใช้เคลือบ เช่น ฟลูออไรต์ จะ
ให้สีม่วงปนน้ าเงิน ยิปซัมจะให้แสงสี เหลือง – เขียว
รังสี อลั ตราไวโอเลต หรื อ รังสี เหนือม่ วง หรื อ รังสี ยูวี (ultraviolet) เป็ นช่วงหนึ่งของ
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีความยาวคลื่นสั้นกว่าแสงสี ม่วง รังสี อลั ตราไวโอเลตแบ่งเป็ น
สามชนิดย่อย ได้แก่
1. รังสี UV –A : ( ความยาวคลื่น 320 – 400 mm ) สามารถลอดผ่านกระจก และเมฆ
เข้าถึงภายในชั้นผิว โดยจะกระตุน้ ให้เกิดการสร้างเมลานิน ทาให้ผวิ คล้ าแดด แต่ไม่
มีอาการแสบและเป็ นสาเหตุให้เกิดรอยเหี่ ยวย่น หรื อผิวหย่อนยาน จา A = Aging

2.รังสี UV –B : ( ความยาวคลื่น 290 -300 mm ) มักเจอในสถานที่ท่องเที่ยวตาม


ธรรมชาติ ซึ่งเป็ นสาเหตุให้เกิดการเกรี ยมแดด เป็ นฝ้า และแห้งร้าน ซึ่งอาจทาให้เกิด
โรคมะเร็ งผิวหน้าได้ จา B = Burn

3.รังสี UV-C : ( ความยาวคลื่น 200-290 mm) รังสี ชนิดนี้จะเจอน้อย เนื่องจากถูกดูด


ซับโดยโอโซนในชั้นบรรยากาศ
ประโยชน์ ของรังสี อลั ตราไวโอเลต
1.ใช้ในการฆ่าเชื้อโรคบางชนิ ดในเครื่ องแพทย์หรื อทางชีววิทยา และ น้ าดื่ม

2.ใช้ในการตรวจสอบลายมือผูฝ้ ากธนาคาร ธนบัตรปลอม


3.ใช้ในการแยกสารเคมีออกจากกัน โดยใช้หลักการว่าสารเคมีต่างกันเมื่อถูกรังสอัลตราไวโอเลต
จะเกิดการเรื องแสงต่างกัน

4.รังสี อลั ตราไวโอเลตทาให้สารเคมีบางชนิ ดในเซลล์ใต้ผิวหนังเปลี่ยนเป็ นวิตามิน D ซึ่ งมีส่วน


สาคัญในการเจริ ญเติบโต (ช่วยดูดซึ มแคลเซี ยมได้ดี)

การที่ รั ง สี อ ัล ตราไวโอเลตท าให้ร่ า งกายผลิ ต วิ ต ามิ น ดี ได้เ นื่ อ งจาก สารเออร์ โ กสเตอรอล
(Ergosterol) ที่ละลายในไขมันเมื่อได้รับรังสี อลั ตราไวโอเลตจะถูกกระตุน้ ให้เปลี่ยนเป็ นวิตามิน
ดี
5.ใช้ในการแสดงและตกแต่งเวที โดยใช้สารเรื องแสงต่าง ๆ กันทาตามเสื้ อผ้าตัวละคร และ
บริ เวณที่ ตกแต่ง เมื่อดับไฟพร้ อมฉายรังสี อลั ตราไวโอเลตทาให้สารที่ ทาเอาไว้เรื องแสงเป็ นสี
ต่าง ๆ กัน แต่ตอ้ งใช้ในช่วงเวลาสั้น ๆ จะได้ไม่อนั ตราย

6.ใช้รังสี อลั ตราไวโอเลตตรวจสอบสารเคมี บางชนิ ดได้ โดยใช้สารเคมี น้ นั ทาบนกระดาษขาว


แล้วนาไปอาบรังสี อลั ตราไวโอเลตในที่มืดแล้วดูการวาวแสง จากนั้นนาไปเทียบสี ที่เกิดจากสาร
มาตรฐานจะท าให้ ท ราบว่ า สารนั้ นเป็ นสารใด และ ในทางนิ ติ วิ ท ยาศาสตร์ ใช้ รั ง สี
อัลตราไวโอเลตในการตรวจสอบคราบเลือด ในที่เกิดเหตุดว้ ย
โทษของรังสี อลั ตราไวโอเลต
1.ถ้าร่ างกายได้รับนานเกินไป จะเป็ นสาเหตุของโรคมะเร็ งได้

2.การใช้รังสี อลั ตราไวโอเลตอาจมีผลต่อสภาวะแวดล้อม คือ ทาให้จุลินทรี ยต์ าย หรื อ เกิดการ


กลายพันธุ์ไปจากเดิม

3.การเชื่ อมโลหะด้วยไฟฟ้ า จะทาให้เกิ ดรั งสี อลั ตราไวโอเลตความเข้มสู งในปริ มาณที่ เป็ น
อันตรายต่อนัยน์ตาได้ จึงจาเป็ นต้องสวมแว่นสาหรับป้องกันโดยเฉพาะ

4.การอยูก่ ลางแดดนาน ๆ จะทาให้ผวิ หนังคล้ า และ ทาให้ผวิ หนังไหม้เกรี ยมได้

5.ในเครื่ องถ่ายเอกสาร อาจมีรังสี อลั ตราไวโอเลตออกมาด้วย ดังนั้นขณะใช้งานจึงไม่ควรสัมผัส


โดยตรงเป็ นเวลานาน ๆ เวลาใช้งานจะต้องปิ ดส่ วนที่แสงลอดออกมาให้หมด
ประสิ ทธิภาพของสารกันแดด
ค่า SPF ( Sun Protection Factor ) เป็ นค่าที่แสดงถึงประสิ ทธิภาพในป้องกันรังสี
UV-B ซึ่ งเป็ นจานวนเท่าของเวลาที่ผิวทนต่อแสง UV –B หลังทาครี มกันแดด
เปรี ยบเทียบกับก่อนทาครี ม

ตัวเลขของ SPF บ่ งบอกถึงความสามารถในการปกป้ องผิวจากการถูกเผาไหม้ จาก


แสงแดด ได้ นานเท่ าไหร่ เช่น SPF15 หมายถึง ป้องกันผิวจากการไหม้ได้ 15 เท่า เช่น
ปกติคุณออกไปสู่ แดดโดยไมได้ทาครี มกันแดดแล้วผิวไหม้ภายใน 20 นาที ถ้าหาก
ทาครี มกันแดด SPF15 แล้ว จะทาให้การที่ผิวจะถูกแสดงแดดทาลายผิวให้ไหม้น้ นั
ต้องใช้เวลา เป็ น 15 เท่าของ 20 นาที หรื อ ประมาณ 300 นาที(5 ชัว่ โมง) ผิวถึงจะถูก
ไหม้จากแสงแดด(ปกติถา้ ไม่ใช่งานกลางแจ้งแล้วก็คงไม่ออกไปหาแดด ถึง 5 ชัว่ โมง
หรอกนะ ร้อนจะตาย )
เมื่อดูจากค่า SPF และปริ มาณการดูดซับรังสี ยวู ีบี พบว่า
ค่า SPF เท่ากับ 2 จะดูดซับ UVB ได้ 50%
ค่า SPF เท่ากับ 4 จะดูดซับ UVB ได้ 75%
ค่า SPF เท่ากับ 8 จะดูดซับ UVB ได้ 87.5%
ค่า SPF เท่ากับ 15 จะดูดซับ UVB ได้ 93.3%
ค่า SPF เท่ากับ 20 จะดูดซับ UVB ได้ 95%
ค่า SPF เท่ากับ 30 จะดูดซับ UVB ได้ 96.7%
ค่า SPF เท่ากับ 45 จะดูดซับ UVB ได้ 97.8%
ค่า SPF เท่ากับ 50 จะดูดซับ UVB ได้ 98%

จะเห็นว่า ค่า SPF หลังจาก 30 แล้ว ค่าที่จะป้องกัน แสง UV ไม่ได้เพิ่มขึ้นมาก


เท่ากับ SPF ที่เพิ่มขึ้นเมื่อผูบ้ ริ โภคตระหนักถึงความสาคัญของครี มกันแดดแล้ว ก็
จะคิดว่า ถ้าหากค่า SPF สู ง ๆ ย่อมที่จะป้องกันแสงแดดได้ดีกว่าแน่นอน
วิธีการเลือกครีมกันแดดให้ เหมาะกับผิว
1.ผิวขาวแบบชาวยุโรป เป็ นผิวบางมาก เกิดผิวไหม้ง่ายมากหลังสัมผัสกับแสงแดด
จึงจาเป็ นต้องใช้ครี มกันแดดที่มี SPF สู ง ๆ (SPF 45 – 60)
2.ผิวขาวอมชมพูในชาวเอเชีย เป็ นผิวที่บอบบางมาก เกิดผิวไหม้ได้ไว เกิดผิวสี แทน
ได้ หลังสัมผัสกับแสงแดด จึงจาเป็ นต้องใช้ครี มกันแดดที่มี SPF สู ง ๆ (SPF 30 –
45)
3.ผิวขาวเหลื องในชาวเอเชี ย ผิวชนิ ดนี้ บางแต่มีเมลานิ นอยู่บา้ งจึ งสามารถทนต่อ
แสงแดด การเกิดผิวหนังร้อนแดงได้ชา้ กว่าผิว 2 ชนิ ดแรก ควรเลือกครี มกันแดด
ชนิดที่มีค่า SPF ปานกลาง (SPF 30)

4.ผิวคล้า มีเมลานิ น ผิวสี น้ าตาลไม่เกิ ดการไหม้ ไม่เกิ ดสี แทน ใช้ครี มกันแดดที่มี
SPF ต่า (SPF 15)
ปั จจุบนั จะมี UPF (Ultraviolet Protection Factor) ซึ่ งถือว่าเป็นมาตรฐานใหม่ ทั้ง UPF
และ SPF แตกต่างกันตรงที่ UPF เป็ นค่ ำที่บอกถึงควำมสำมำรถในกำรป้ องกันรั งสี UVA
และ UVB ในขณะที่ SPF บ่งบอกถึงความสามารถในการป้องกันรั งสี UVB เพียงอย่ างเดียว
เท่ านั้น
ค่ า UPF = 50 (หรื อ 50+) หมายถึ ง มี ค วามสามารถในการป้ อ งกัน รั ง สี
อัลตราไวโอเลตได้สูงสุ ด
ค่ า UPF = 40-49 หมายถึง มีความสามารถในการป้องกันรังสี อลั ตราไวโอเลตได้
ยอดเยีย่ ม (ปริ มาณรังสี ที่ป้องกันได้อยูใ่ นช่วง 97.5 %)
ค่ า UPF = 25-39 หมายถึง มีความสามารถในการป้องกันรังสี อลั ตราไวโอเลตได้ดี
มาก (ปริ มาณรังสี ที่ป้องกันได้อยูใ่ นช่วง 96.0-97.4%)
ค่ า UPF = 15-24 หมายถึง มีความสามารถในการป้องกันรังสี อลั ตราไวโอเลตได้ดี
(ปริ มาณรังสี ที่ป้องกันได้อยูใ่ นช่วง 93.3-95.9 %)
ค่า PA ( Protection grade of UV-A ) เป็ นค่าที่แสดงถึงประสิ ทธิภาพในป้องกัน
รังสี UV-A
PA + : มีประสิ ทธิภาพ PA++: มีประสิ ทธิภาพค่อนข้างมาก

PA +++ : มีประสิ ทธิภาพมากที่สุด


นั้นสาหรับผูท้ ี่ตอ้ งการ การปกป้องสู ง
(เจอกับแสงแดดจัด ๆ เป็ นเวลานาน)

ดังนั้นสาหรับใครที่จะต้องเจอกับแสงแดด
เป็ นเวลาหลายชัว่ โมง ให้เลือก PA++ หรื อ
สู งกว่านี้
4. แสงในช่ วงทีต่ าเปล่ามองเห็น (Visible light)
การมองเห็นแสงสี ต่าง ๆ เกิดจากเซลล์ รูปกรวยถูกกระตุ้นจากแสงสี ต่าง ๆ ในช่ วงคลื่นที่มองเห็น
ได้ แล้ วส่ งความรู้ สึกไปสู่ สมอง เซลล์รูปกรวยแบ่งออกเป็ น 3 ชนิ ด แต่ละชนิ ดจะรับแสงสี แดง สี
เขียว และ แสงสี น้ าเงิ น ไว้ชนิ ดละสี เมื่ อแสงสี ใดมากระทบ เซลล์รูปกรวยที่ รับสี น้ นั ๆ จะถูก
กระตุน้ มากกว่าเซลล์รูปกรวยสี อื่น ๆ ทาให้เกิดความรู ้สึกของการมองเห็นสี น้ นั ๆ ได้
5.รังสี อนิ ฟราเรด (Infrared: IR)
รังสี อนิ ฟราเรด เป็ นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีความถี่อยูใ่ นช่วงประมาณ 1011 – 1014 เฮิรตซ์
หรื อ ความยาวคลื่ นตั้งแต่ประมาณ 10 - 3 ถึ ง 10 – 6 เมตร มี ความถี่ ในช่ วงเดี ยวกับ
ไมโครเวฟ มีความยาวคลื่นอยูร่ ะหว่างแสงสี แดงกับคลื่นวิทยุสสารทุกชนิดที่มีอุณหภูมิอยู่
ระหว่า ง -200 องศาเซลเซี ย สถึ ง 4,000 องศาเซลเซี ย ส จะปล่ อ ยรั ง สี อิ น ฟาเรดออกมา
คุ ณ สมบัติ เ ฉพาะตัว ของรั ง สี อิ น ฟราเรด เช่ น ไม่ เ บี่ ย งเบนในสนามแม่ เ หล็ก ไฟฟ้ า ที่
แตกต่างกันคือ คุณสมบัติที่ข้ ึนอยูก่ บั ความถี่ คือยิง่ ความถี่สูงมากขึ้น พลังงานก็สูงขึ้นด้วย
ชนิดของอินฟราเรด ตัวย่อ ความยาวคลื่น
Near-Infrared NIR 0.78–3 µm
Mid-Infrared MIR 3–50 µm
Far-Infrared FIR 50–1000 µm
แหล่ งก าเนิ ด รั ง สี อิ น ฟราเรดไม่ ได้ม าจากดวงอาทิ ตย์อ ย่า งเดี ย ว กองไฟหรื อ เตารี ด ก็แ ผ่รั ง สี
อินฟราเรดได้เนื่ องจากทาให้เรารู ้สึกร้อน การสั่นของโมเลกุลของวัตถุก็จะแผ่รังสี อินฟราเรดได้
เช่นกัน ร่ างกายของคนเราสามารถแผ่รังสี อินฟราเรดได้ โดยเฉพาะคนไข้ หากเราเอามือแนบใกล้
ๆ จะรู ้สึกอุ่น
Sir William Herschel นักวิทยาศาสตร์ ชาวอังกฤษ ได้คน้ พบ อินฟราเรดสเปกตรัม ในปี 1800
โดยเขาได้ทาการทดลองวัดอุ ณหภูมิของแถบสี ต่างๆที่ เปล่งออกมาเป็ นสี รุ้งจากปริ ซึม พบว่า
อุณหภูมิความร้อนจะเพิ่มขึ้นตามลาดับจากสี ม่วงและสู งสุ ดที่แถบสี สีแดง ซึ่ งขอบเขตนี้ เรี ยกว่า
“อินฟราเรด” (ของเขตที่ต่ากว่าแถบสี แดง)

รังสี อินฟราเรดสามารถแบ่งได้เป็ น 3 ช่วง ตามการกาหนดของ The International Commission


on Illumination (CIE) ดังนี้
1.IR-A: 700 nm–1400 nm
2. IR-B: 1400 nm–3000 nm
3.IR-C: 3000 nm–1 mm
ในขณะเดียวกันแต่ละย่านของอินฟราเรดสามารถแบ่งย่อยออกได้ดงั นี้
1.Near-infrared (NIR, IR-A): มีความยาวคลื่นในช่วง 0.75 ถึง 1.4 ไมโครเมตร ใช้ในการสื่ อสาร
ด้ว ยเส้ น ใยแก้ว น าแสงเพราะเกิ ด การสู ญ เสี ย ของการส่ ง สั ญ ญาณน้อ ยมาก ใช้ใ นกล้อ งส่ อ ง
กลางคืน แต่อินฟราเรดในย่านนี้สามารถถูกดูดกลืนด้วยน้ า

2.Short-wavelength infrared (SWIR, IR-B): มีความยาวคลื่นอยูใ่ นช่วง 1.4 ถึง 3 ไมโครเมตร


ใช้ในการสื่ อสารระยะไกล และ ถูกดูดกลืนด้วยน้ าได้ง่าย

3.Mid-wavelength infrared (MWIR, IR-C ) บางครั้งเรี ยกว่า Intermediate infrared (IIR): มีความ
ยาวคลื่นในช่วง 3 ถึง 8 ไมโครเมตร ใช้ในการเล็งเป้าหมายของจรวดมิสไซด์ (Missile)

4.Long-wavelength infrared (LWIR, IR-C ): 8–15 ไมโครเมตร ใช้ในการถ่ายภาพจากนอกโลก


โดยอาศัยการแผ่รังสี ความร้อนเท่านั้น ในบางครั้งเรี ยกอินฟราเรดย่านนี้ วา่ Far infrared
ประโยชน์ ของรังสี อนิ ฟราเรด
1.ในทางการทหารนาเอารังสี อินฟราเรดเข้ามาใช้เกี่ยวกับการควบคุมให้อาวุธนาวิถี
เคลื่อนที่ไปยังเป้าได้อย่างถูกต้อง

2.ใช้อบอาหารและประกอบอาหาร
3.ใช้ รั ก ษาโรคผิ ว หนั ง หากฉายไปยั ง
กล้ามเนื้ อที่ แ พลงหรื อเจ็บ จะให้ผลทานอง
เดี ย วกั น กั บ วิ ธี ป ระคบ ซึ่ งใช้ ไ ด้ ผ ลดี กั บ
กล้ามเนื้อที่อยูไ่ ม่ลึกมาก

4.ใช้วดั อุณหภูมิของร่ างกาย


5.รังสี อินฟราเรดสามารถทะลุผ่านเมฆหรื อหมอกที่หนาเกินกว่าที่แสงธรรมดาจะ
ผ่านได้ แต่ทะลุผ่านกระจกและน้ าไม่ได้ ดังนั้น จึงมีการผลิตฟิ ล์มถ่ายรู ปที่อาศัย
รังสี อินฟราเรดถ่ายภาพพื้นโลกจากดาวเทียม เพื่อศึกษาการแปรสภาพของป่ าไม้
หรื อ การเคลื่อนย้ายของฝูงสัตว์

6.อุปกรณ์ที่เรี ยกว่า รีโมท คอนโทรล (Remote control) เป็ นอุปกรณ์สาหรับบังคับ


การทางานของเครื่ องรับโทรทัศน์ เช่น การเปิ ด – ปิ ด การเปลี่ยนสถานี ในกรณี น้ ีรังสี
อินฟราเรดจะเป็ นตัวนาคาสัง่ จากรี โมทคอนโทรลไปยังเครื่ องรับ
7.ใช้ในอุตสาหกรรมอบสี ไม่วา่ จะเป็ นเฟอร์นิเจอร์หรื อสี รถ
8.ใช้ในการหาสัตว์ป่าในที่มืด

9.ใช้ในการถ่ายรู ปในช่ วงที่มีเมฆหนาทึบ เพราะรังสี อินฟราเรดสามารถทะลุเมฆ


หมอกได้ดีกว่าแสงธรรมดาและยังให้รายละเอียดที่ดีกว่าฟิ ล์มธรรมดา โดยเฉพาะ
ภาพที่สารวจสภาพทางธรณี วิทยา หรื อ อวกาศได้
10. ม่ านแสงอินฟราเรด (Infrared) (Barrier Curtain Sensor) ม่านแสง อินฟราเรด)
เป็ นอุปกรณ์กนั ขโมยประเภทหนึ่ง โดยม่านแสง อินฟราเรดจะประกอบไปด้วยเสา
ส่ งแสง อินฟราเรด (อินฟราเรด) จานวน 2 เสา ม่านแสง อินฟราเรด มักใช้เป็ น
อุปกรณ์ป้องกันขโมย โดยจะติดไว้บริ เวณหน้าต่าง หรื อบริ เวณทางเข้าประตู การ
ใช้งานจะใช้คู่กบั ตัวควบคุม และตัวส่ งสัญญาณ อาจจะเป็ นสัญญาณเสี ยงดัง เพื่อให้
ผูบ้ ุกรุ กเกิดความกลัวนัน่ เอง
กล้องอินฟราเรดที่ร่วมใช้ในการตรวจสอบระบบ เครื่ องกลในส่ วนการบารุ งรั กษาแบบทานาย
(Predictive Maintenance) เช่น ชุดตลับลูกปื น,มอเตอร์ ,ปั้ ม,คอมเพรสเซอร์ และระบบสายพาน
ซึ่ งกล้องอินฟราเรดสามารถใช้ในการเก็บข้อมูลเพื่อหาสาเหตุและวิเคราะห์การสั่นสะเทือนหรื อ
แนวโน้ม ของอัตราการเสี ยของเครื่ องมือเครื่ องจักรได้
ส าหรั บ การใช้กล้อ งอิ น ฟราเรดกับ อุ ต สาหกรรมปิ โตรเคมี จ ะใช้ในการบ ารุ งรั กษาเช่ น การ
บารุ งรักษาเตาหลอม,การจัดการด้าน Refractory Loss,การตรวจสอบระดับสารเคมีใน ถังกักเก็บ,
การวิเคราะห์ครี บระบายความร้อน หรื ออื่นๆ

โทษของรังสี อนิ ฟราเรด คือ ถ้าร่ างกายได้รับในปริ มาณที่มากเกินไปจะทาให้เนื้อเยือ่


และอวัยวะต่าง ๆ เกิ ดรอยไหม้ นอกจากนี้ ถา้ รั งสี อินฟราเรดไปตกที่ดวงตา (ตรง
บริ เวณเรตินา) อาจทาให้ตาบอดได้
6.ไมโครเวฟ (Microwave)

ไมโครเวฟ คือ คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าซึ่ งมีความยาวคลื่นในช่วงตั้งแต่ 1 มิลลิเมตร ถึง 1 เมตร หรื อ มี


ความถี่ อ ยู่ร ะหว่า ง 0.3 กิ ก ะเฮิ ร ตซ์ (GHz) ถึ ง 300 กิ ก ะเฮิ ร ตซ์ (GHz) ส่ ว นในการใช้ง านนั้น
ส่ วนมากนิยมใช้ความถี่ระหว่าง 1 GHz - 40 GHz เพราะเป็ นย่านความถี่ที่สามารถผลิตขึ้นได้ดว้ ย
อุปกรณ์ อิเล็กทรอนิกส์ เนื่ องจากว่ามีความถี่สูงมากจึ งทาให้สามารถใช้งานได้กว้างมาก และยัง
สื่ อสารข้อมูลได้ในปริ มาณมากๆ อีกด้วย
เตาไมโครเวฟใช้ค ลื่ น ไมโครเวฟในการปรุ ง อาหาร คลื่ น ไมโครเวฟเป็ นคลื่ น
แม่เหล็กไฟฟ้ าชนิ ดหนึ่ งอยู่ในช่วงคลื่นวิทยุซ่ ึ งเป็ น คลื่นที่มีความยาวคลื่นมากกว่า
คลื่นแสงที่ตาเห็น จึงใช้คลื่นที่มีความถี่ประมาณ 2,500 เมกะเฮิรตซ์ (2.5 × 109 Hz)
หรื อมี ความยาวคลื่ นประมาณ 12 เซนติ เมตรในขณะที่คลื่นวิทยุ จส.100 ใช้คลื่ น
ความถี่ 100 เมกะเฮิรตซ์ หรื อมีความยาวคลื่น 3 เมตร

คลื่นไมโครเวฟเกิดขึน้ ได้ อย่ างไร

คลื่นไมโครเวฟหรื อคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า เกิดขึน้ จากการเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนด้วย


ความเร่ ง ทาให้เกิ ดสนามพลังงานขึ้นในบริ เวณรอบ ๆ สนามพลังงานดังกล่าวนี้
ประกอบด้ว ย สนามไฟฟ้ า และสนามแม่ เ หล็ ก ตั้ง ฉากซึ่ งกัน และกัน คลื่ น
ไมโครเวฟนามาใช้กบั อุปกรณ์หลายชนิด เช่น เตาอบ-ไมโครเวฟ เรดาร์ การสื่ อสาร
ของ วิทยุ โทรทัศน์ เป็ นต้น
ลักษณะของคลื่นไมโครเวฟ

เดินทางเป็ นเส้นตรง

สามารถหักเหได้ (Refract)

สามารถสะท้อนได้ (Reflect)

สามารถถูกลดทอนเนื่องจากฝน (Attenuate)

สามารถถูกลดทอนเนื่องจากชั้นบรรยากาศ
มีลกั ษณะเด่น 3 ประการของคลื่นไมโครเวฟ
1.การสะท้ อนกลับ (Reflection) คลื่นไมโครเวฟเมื่ อไปกระทบกับภาชนะที่ เป็ นโลหะหรื อมี
ส่ วนผสมของโลหะ คลื่ นไมโครเวฟไม่สามารถทะลุผ่านภาชนะดังกล่าวได้ จะสะท้อนกลับ
หมด ดังนั้นอาหารที่ ใส่ ในภาชนะที่ เป็ นโลหะก็จะไม่สุก คลื่นไมโครเวฟจะสะท้อนกลับใน
วัสดุเหล่านี้คือ โลหะ กระดาษฟอยล์ จึงทาให้อาหารที่อยูภ่ ายใต้วสั ดุดงั กล่าวนี้ไม่ร้อน

2. การส่ งผ่ าน (Transmission) คลื่นไมโครเวฟสามารถทะลุผ่านภาชนะที่ทาด้วยแก้ว กระดาษ


ไม้ เซรามิ กและพลาสติ กได้ เพราะภาชนะดังกล่าวไม่มีส่วนผสมของโลหะ จึ งเป็ นภาชนะที่
ใช้ได้ดีในเตาไมโครเวฟ คลื่นไมโครเวฟทะลุผา่ นได้ดีในวัสดุเหล่านี้ คือ แก้ว พลาสติก กระดาษ
เซรามิค และถ้วยกระเบื้อง
3. การดูดซึม (Absorption) ปกติอาหารโดยทัว่ ๆไป จะประกอบด้วยโมเลกุลของน้ าในอาหารซึ่ ง
จะดูดซึ มคลื่นไมโครเวฟ ทา ให้อาหารร้อนอย่างรวดเร็ ว และอีกนัยหนึ่ งเมื่อโมเลกุลของน้ าดูด
ซึ มคลื่นไมโครเวฟแล้วจะสลายตัวในทันทีไม่สะสมในอาหาร คลื่นไมโครเวฟจะถูกดูดกลืนได้ดี
ในวัสดุเหล่านี้คือ น้ า ไขมัน โปรตีน และอาหารที่มีน้ าเป็ นองค์ประกอบ

หลักการให้ ความร้ อน
เตาไมโครเวฟทาให้อาหารสุ ก โดยคลื่ นไมโครเวฟ ที่ มีความถี่ สูงทาให้โมเลกุล
ของน้ า ในอาหารเกิ ด การสั่น สะเทื อ นและชนโมเลกุ ล อื่ น ๆ ต่ อ ไป จนเกิ ด เป็ น
พลังงานจลน์และพลังงานจลน์น้ ีเองจะกลายสภาพเป็ นพลังงานความร้อน จึงทา ให้
อาหารสุ กอย่างรวดเร็ วและเร็ วกว่าการประกอบอาหารด้วยระบบอื่น ๆโดยไม่เสี ย
พลังงานความร้อน
ห้ ามต้ มนา้ หรื อกาแฟในเตาไมโครเวฟ
การต้มน้ าในไมโครเวฟอาจกลายเป็ นเรื่ องถึง ห้องฉุ กเฉิ นได้ โดยเฉพาะการต้ม
น้ าในแก้ว เซรามิ ก หรื อ แก้ว ใส ๆ ธรรมดา น้ าที่ ตม้ ในไมโครเวฟบางครั้ งอาจ
ระเบิดได้ เพราะ น้ าจะถูกต้มให้มีอุณหภูมิสูงกว่าจุดเดือดของน้ าปกติ (superheated
water) ปกติเวลาน้ าเดือดเราจะเห็นฟองอากาศลอยผุดขึ้นผิวน้ า ฟองอากาศนี้ช่วยลด
อุณหภูมิของน้ าให้อยูท่ ี่จุดเดือดปกติ ถ้าไม่มีฟองอากาศอุณหภูมิของน้ าอาจสู งกว่า
จุดเดือดมากจนทาให้เกิดน้ าระเบิด ได้
ประโยชน์ ของคลื่นไมโครเวฟ
1.การสื่ อสาร ในช่วงความยาวคลื่นประมาณ 0.5 เซนติเมตร ถึง 1 เมตร ใช้เป็ นเร
ดาห์(Radar) สาหรับตรวจจับวัตถุที่เคลื่อนที่ เช่น เครื่ องบิน หรื อ วัตถุอื่น ๆ ใน
บรรยากาศ

2.ใช้ในการวิจยั ศึกษาโครงสร้างของโมเลกุล โครงสร้างนิวเคลียส

3.ใช้เป็ นแหล่งกาเนิดความร้อน เช่น ทาให้อาหารสุ กโดยใช้เตาไมโครเวฟ

4.ใช้ในวงการบันเทิง เช่น คลื่นโทรทัศน์ สามารถส่ งข้ามทวีปได้ เพราะคลื่นนี้ มี


ความถี่สูงจึงสามารถผ่านชั้นบรรยากาศไอโอโนสเฟี ยร์ออกไปได้ แล้วใช้ดาวเทียม
เป็ นตัวสะท้อนคลื่นไปยังจุดหมายปลายทางได้
5. คลื่นไมโครเวฟมีคุณสมบัติการสะท้อนผิวโลหะได้ดี จึงมีการนาสมบัติน้ ี ไปใช้
ประโยชน์ในการผลิตเครื่ องมือตรวจหาตาแหน่งของอากาศยาน ซึ่งอุปกรณ์ดงั กล่าว
เรี ยกว่า เรดาร์ (RADAR) เป็ นคาย่อมาจาก RAdio Detection and Ranging (การ
ตรวจจับและวัดระยะโดยใช้คลื่นวิทยุ ) เป็ นการตรวจจับวัตถุจากการสะท้อนของ
คลื่ น วิ ท ยุ วัต ถุ ต่ า งๆจะมี ส มบัติ ใ นการดู ด ซับ คลื่ น วิ ท ยุไ ว้ส่ ว นหนึ่ ง และสะท้อ น
ออกไปส่ วนหนึ่ ง สัญญาณส่ วนที่สะท้อนออกจากวัตถุนี่เองถ้าสะท้อนกลับไปใน
ทิศทางที่ส่งคลื่นมา ผูท้ ี่ส่งคลื่นก็จะสามารถตรวจจับสัญญาณที่สะท้อนกลับมาและ
วิเคราะห์ สัญญาณ ทาให้สามารถระบุตาแหน่ งของวัตถุได้ หากวัตถุน้ ันเคลื่ อนที่
ระบบเรดาร์กส็ ามารถระบุทิศทางและความเร็ วของวัตถุน้ นั ได้
หลักการทางานของเรดาร์ คือ ตัวอุปกรณ์เรดาร์ จะส่ งคลื่นวิทยุความถี่สูงออกไปแบบกราด และ
ตรวจจับสัญญาณที่สะท้อนกลับมา ทาให้ทราบตาแหน่งของวัตถุท้ งั ที่อยูก่ บั ที่และเคลื่อนไหวได้
ซึ่ งเป็ นหลักการเดียวกับของค้างคาวนัน่ เอง เพียงแต่คา้ งคาวใช้คลื่นเสี ยงความถี่สูง ส่ วนเรดาร์ ใช้
คลื่นวิทยุความถี่สูงซึ่ งทาให้มีรัศมีในการตรวจจับที่ไกลกว่า
ระบบเรดาร์ ประกอบด้วยส่ วนหลัก 3 ส่ วน คื อ ส่ วนที่ ใช้ส่งคลื่ นวิทยุออกไป ส่ วนที่ ตรวจจับ
คลื่นวิทยุที่สะท้อนกลับมา และส่ วนควบคุมซึ่ งทาหน้าที่วเิ คราะห์สัญญาณ
อันตรายจากไมโครเวฟ
ถ้าส่ งคลื่นไมโครเวฟที่มีความถี่พอดีเท่ากับจังหวะการเต้นของหัวใจไปยังหน้าอก
มนุ ษย์ อาจจะทาให้เกิดอาการหัวใจวายและหัวใจหยุดเต้นในที่สุด คลื่นไมโครเวฟ
ยังมีผลรบกวนการทางานของเครื่ องใช้ อิเล็กทรอนิกส์ ต่างๆที่อยูใ่ นบริ เวณใกล้เคียง
ให้ทางานผิดปกติได้ โดยเฉพาะผูป้ ่ วยโรคหัวใจที่ใช้เครื่ องช่ วยการเต้นของหัวใจ
cardiac pacemaker จะต้องระมัดระวังเป็ นพิเศษเมื่ออยูใ่ กล้เตาอบไมโครเวฟ
รายงานในรั สเซี ย เยอรมนี และสวิส พบว่าคลื่ นไมโครเวฟ จะทาให้คลื่ นสมอง ลดลง
สมองเสื่ อม ทาให้คลื่นสมองมีความยาวคลื่นสั้นลง ในไมโครเวฟนอกจากจะ เป็ นสารก่อ
มะเร็ งแล้ว ยังเป็นสารตกค้างที่ร่างกายขจัดไม่ได้ ในระยะยาวจะทาให้ฮอร์ โมนเพศลดลง
และ เปลี่ ย นแปลงทาลายเกลื อ แร่ ต่ า งๆ ในผัก เปลี่ ย นเป็ นอนุ มู ล อิ ส ระที่ เ ป็ นโทษต่ อ
ร่ า งกาย ยัง มี ค ลื่ น อื่ น ๆ อี ก หลายตัว ในไมโครเวฟ ที่ ล้ว นท าให้ ส ารบ ารุ ง ในอาหาร
เปลี่ยนไป และแปรสภาพเป็ นสารก่อมะเร็ ง
พบการเปลี่ ย นแปลงอย่ า งมี นัย ส าคัญ ในเลื อ ดของผู ้กิ น อาหารที่ ผ่ า นการหุ ง ต้ม ด้ว ย
ไมโครเวฟ เช่ น เฮโมโกลบิ น ลดลง โคเลสเเทอรอลชนิ ด ดี ล ดลง เซลล์เ ม็ด เลื อ ดขาว
เพิ่ ม ขึ้ น ซึ่ งการที่ เ ซลล์ เ ม็ ด เลื อ ดขาวเพิ่ ม ขึ้ น ในเชิ ง โลหิ ต วิ ท ยาถื อ เป็ นสั ญ ญาณ
อันตราย กล่าวคือมีความผิดปกติเกิดขึ้นในร่ างกาย ร่ างกายจึงต้องผลิตเม็ดเลือดขาวขึ้นมา
เพื่อจัดการกับความผิดปกติเหล่านั้น
นักวิจัย อิ นเดี ยได้ร ะบุ ว่า คลื่ นไมโครเวฟจากโทรศัพท์มือถื อ ทาให้จานวนอสุ จิลดลง
ครึ่ งหนึ่ง เช่นเดียวกับการเคลื่อนไหว และคุณภาพของอสุ จิ ถือเป็ นปัญหาร้ายแรงถึงขนาด
ที่ทาให้ผชู ้ ายบางคนกลายเป็ นหมัน
7. คลื่นวิทยุ (Radio wave)

ถ้าพิจารณาจากสเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า จะเห็นว่าคลื่นวิทยุมีความถี่อยู่ในช่วง
106 - 109 เฮิรตซ์ คลื่นช่วงนี้ใช้ในการส่ งข่าวสารและสาระบันเทิงไปยังผูร้ ับ สาหรับ
คลื่นวิทยุความถี่ต้ งั แต่ 530 - 1600 กิโลเฮิรตซ์ ที่สถานีวิทยุส่งออกอากาศใน ระบบเอ
เอ็ม เป็ นการสื่ อสารโดยการผสม (modulate) คลื่นเสี ยงเข้ากับคลื่นวิทยุ ซึ่ งเรี ยกว่า
คลื่นพาหะ และสัญญาณเสี ยงจะบังคับให้แอมพลิจูดของคลื่นพาหะเปลี่ยนแปลงไป
ในการส่ งสัญญาณคลื่นวิทยุโดยผสมสัญญาณคลื่นเสี ยงเข้ากับสัญญาณคลื่นวิทยุ ซึ่ งเรี ยกว่า คลื่น
พาหะ นี้ ที่ นิ ย มใช้กัน อยู่มี 2 วิ ธี คื อ แอมพลิ จู ด โมดู เ ลชั่น เขี ย นย่อ ว่า AM (Amplitude
Modulation) และ ความถี่โมดูเลชัน่ เขียนย่อว่า FM (Frequency Modulation)

1.ระบบเอเอ็ม เป็ นคลื่นวิทยุที่มีความถี่ต้ งั แต่ 530 – 1600 กิโลเฮิรตซ์ การสื่ อสารโดย


ใช้คลื่นวิทยุส่งในระบบเอเอ็มนี้ เป็ นการผสมสัญญาณเสี ยงเข้ากับสัญญาณคลื่นวิทยุ
(เรี ยกว่า คลื่นพาหะ) โดยจะมีเครื่ องมืออิเล็กทรอนิคส์คือตัว Mixer ทาให้แอมปลิจูด
ของคลื่นพาหะเปลี่ยนไปตามจังหวะความดังของสัญญาณเสี ยง แล้วเข้าสู่ วงจรขยาย
สัญญาณ และ ส่ งสัญญาณนั้นออกไปสู่ เครื่ องรับ

ในการส่ ง ระบบเอเอ็ ม ซึ่ งเป็ นการผสมคลื่ น โดยให้ แ อมปลิ จู ด ของคลื่ น พาหะ


เปลี่ยนแปลงตามสัญญาณคลื่นเสี ยงนั้น ขณะที่เคลื่อนที่ไปในบรรยากาศ ถ้ามีคลื่น
แม่เหล็กไฟฟ้ าจากแหล่งอื่ น เช่ น จากฟ้ าแลบ หรื อ ฟ้ าผ่า แอมปลิ จูดของคลื่ นจะ
เปลี่ยนแปลงตามไปด้วย ทาให้เกิดการรบกวนมายังเครื่ องรับวิทยุ
ได้มีการกาหนดแถบความถี่สาหรับการกระจายเสี ยงขึ้น เพื่อมิให้คลื่นวิทยุจากสถานี
กระจายเสี ยงด้วยความถี่ใกล้เคียงกันปะปนกัน ช่วงกว้างของแถบความถี่ของสถานี
วิทยุระบบเอเอ็ม กาหนดไว้เป็ น 10 กิโลเฮิรตซ์ ดังนั้น จะมีสถานี วิทยุกระจายเสี ยง
ระบบเอเอ็มได้ท้ งั หมด

(1600  530) 103 สถานี


 107
10 10 3

ข้ อสั ง เกต การส่ งสัญญาณคลื่ นวิทยุระบบเอเอ็มนั้น ความถี่ จะมี ค่าคงตัว แต่แ อม


ปลิจูดจะเปลี่ยนแปลงไปตามเวลาตลอดเวลา
2.ระบบเอฟเอ็ม เป็ นการผสมสัญญาณเสี ยงเข้ากับคลื่นพาหะโดยให้ความถี่ของคลื่น
พาหะเปลี่ยนแปลงตามสัญญาณเสี ยง ดังนั้นจึงมีความถี่สูงและต่าสลับกัน แต่แอม
ปลิจูดของคลื่นคงที่
การส่ งสัญญาณคลื่นในระบบเอฟเอ็มกระทากันในช่วงความถี่ 87.5 – 108 เมกกะ
เฮิรตซ์ หรื อ ความยาวคลื่น 2.8 – 3.4 เมตร ระบบการส่ งคลื่นแบบเอเอ็มและเอฟ
เอ็มต่างกันที่วิธีการผสมคลื่น ดังนั้นจึงทาให้เครื่ องรับวิทยุแบบเอเอ็มและเอฟเอ็มไม่
สามารถรับคลื่นของอีกฝ่ ายหนึ่งได้
ได้มีการกาหนดแถบความถี่สาหรับการกระจายเสี ยงขึ่น เพื่อมิให้คลื่นวิทยุจากสถานี
กระจายเสี ยงด้วยความถี่ใกล้เคียงกันปะปนกัน ช่วงกว้างของแถบความถี่ของสถานี
วิทยุระบบเอฟเอ็ม กาหนดไว้เป็ น 150 กิโลเฮิรตซ์ ดังนั้นจะมีสถานีวิทยุกระจายเสี ยง
ระบบเอฟเอ็มทั้งหมด
(108  88) 106
 133 สถานี
150 10 3
คลื่นวิทยุมีสมบัติที่น่าสนใจประการหนึ่ ง คือ สามารถสะท้อนได้ที่บรรยากาศชั้นไอโอโนสเฟี ยร์
บรรยากาศชั้นนี้ ประกอบด้วยอนุ ภาคที่ มีประจุ ไฟฟ้ าอยู่เป็ นจานวนมาก เมื่ อคลื่นวิทยุเคลื่อนที่
มาถึงจะสะท้อนกลับสู่ ผิวโลกอีก สมบัติขอ้ นี้ ทาให้สามารถใช้คลื่นวิทยุในการสื่ อสารเป็ นระยะ
ทางไกล ๆ ได้ แต่ถา้ เป็ นคลื่นวิทยุที่มีความถี่สูงขึ้นการสะท้อน ดังกล่าวจะมีได้นอ้ ยลงตามลาดับ

การส่ งกระจายเสี ยงด้วยคลื่นวิทยุระบบเอเอ็มนั้น คลื่นสามารถเคลื่อนที่ไปถึงเครื่ องรับได้ 2 ทาง


คือ

1.คลื่นดิน (Ground wave) คือ คลื่นที่ เคลื่อนที่ไปโดยตรงในระดับสายตาจากสถานี ส่งถึง


เครื่ องรับในแนวเส้นตรง ปกติจะมีรัศมีประมาณ 80 กิโลเมตร

2.คลื่นฟ้ า (Sky wave) คือ คลื่นที่เคลื่อนที่จากสถานี ส่งขึ้นไปกระทบบรรยากาศชั้นไอโอโนส


เฟี ยร์ แล้วสะท้อนกลับลงมายังผูร้ ับ ซึ่ งทาให้เคลื่อนที่ไปได้ไกลขึ้นเป็ นการแก้ปัญหาเรื่ องความ
โค้งของโลกได้
คลื่นวิทยุในระบบเอฟเอ็มซึ่ งมีความถี่สูงกว่าจะมี การสะท้อนชั้นไอโอโนสเฟี ยร์ ได้นอ้ ย จึ งไม่
สามารถใช้คลื่นฟ้ าได้ จึงใช้เฉพาะคลื่นดินอย่างเดียว จึงทาให้การส่ งสัญญาณไปยังเครื่ องรับได้
ระยะใกล้กว่าการส่ งเอเอ็ม ดังนั้นถ้าต้องการจะส่ งกระจายเสี ยงด้วยระบบเอฟเอ็มให้คลุมพื้นที่
ไกล ๆ จึงต้องสร้างสถานี ยอ่ ยเพื่อรับสัญญาณจากสถานี แม่ข่ายแล้วถ่ายทอดไปอีกทอดหนึ่ งเป็ น
ระยะ และ ผูร้ ับต้องตั้งสายอากาศสู ง ๆ

คลื่น FM เป็ นคลื่นที่นิยมส่ งในระบบ VHF (Very High Frequency)ในย่ านความถี่ 30 - 300
MHzคลื่นในย่านนี้ จะไม่มีการสะท้อนกลับลงมาลงมาอีกครั้งเมื่อไปกระทบกับชั้นบรรยากาศไอ
โอโนสเฟี ยร์ ( Ionosphere )ฉะนั้น คลื่นย่านนี้ จะ รับส่ งกันได้ในแนวเส้นตรงเท่านั้นไม่วา่ จะส่ ง
ด้วยกาลังแรงสักเพียงใดโดยจะถูกบดบังด้วยความโค้งของผิวโลกโดยเฉลี่ยจะอยูใ่ นระดับ 50-
100 กม.ขึ้นอยูก่ บั ความสู งของ เสาส่ งและรับสัญญาณ(ยิง่ สู งยิง่ ไกล)
ความแตกต่ างของเสี ยงที่ฟังจากวิทยุระบบเอเอ็ม และ ระบบเอฟเอ็ม

ระบบเอฟเอ็ม ระบบเอเอ็ม
1.มีความถี่สูง (88 – 108 MHz) 1.มีความถี่ต่า (525 – 1605 kHz)
2.มีความถี่ไม่คงที่ แต่แอมปลิจูดคงที่ 2.มีความถี่คงที่ แต่แอมปลิจูดไม่คงที่
3.ทะลุบรรยากาศออกไป จึงมีแต่คลื่นพื้นดิน 3.สะท้อนในบรรยากาศชั้นไอโอโนสเฟี ยร์ ได้
ทาให้ส่งคลื่นไปไม่ได้ไกล ดี ทาให้ส่งไปได้ไกล จัดเป็ นคลื่นฟ้า
4.ไม่มีเสี ยงรบกวน ฟังชัด 4.มีเสี ยงรบกวน
ย่ านที่ ชื่ อย่ านความถี่ ความถี่ ตัวอย่ างการใช้ งาน
1 ELF(Extremely low frequency) 3-30 Hz การสื่ อสารกับเรื อดาน้ า
2 SLF (Super low frequency) 30-300 Hz การสื่ อสารกับเรื อดาน้ า
3 ULF (Ultra low frequency) 300-3000 Hz การสื่ อสารในเหมือง
4 VLF (Very low frequency) 3-30 kHz การสื่ อสารใต้น้ า, ระบบติดตามอัตราการเต้นของหัวใจแบบไร้สาย

5 LF (Low frequency) 30-300 kHz วิทยุนาร่ อง, ออกอากาศวิทยุ AM คลื่นยาว


6 MF (Medium frequency) 300-3000 ส่งกระจายเสี ยงวิทยุ AM คลื่นความยาวกลาง
kHz
7 HF (High frequency) 3-30 MHz วิทยุคลื่นสั้น, วิทยุสมัครเล่น และ การสื่ อสารทางการบินที่ระยะ
ข้ามเส้นขอบฟ้า
8 VHF (Very high frequency) 30-300 MHz ส่งกระจายเสี ยงวิทยุFM, ส่งสัญญาณออกอากาศโทรทัศน์
9 UHF (Ultra high frequency) 300-3000 โทรศัพท์มือถือ , Tablet PC , Laptop , Wireless LAN, บลูทูธ
MHz
10 SHF (Super high frequency) 3-30 GHz อุปกรณ์ไมโครเวฟ, Wireless LAN เรดาห์สมัยใหม่

11 EHF (Extremely high 30-300 GHz ดาราศาสตร์วิทยุ, high-speed microwave radio relay
frequency)
ตำรำงแสดงชื่อและควำมถีก่ บั กำรใช้ งำนของคลืน่ วิทยุ

(VHF)
(UHF)
ผลทีเ่ กิดขึน้ กับร่ างกายเมื่อได้ รับความถี่วทิ ยุย่านต่ าง ๆ
NFC หรื อ Near Field Communication
เนียร์ ฟิลด์ คอมมูนิเคชั น (Near Field Communication ; NFC) เป็ นเทคโนโลยีสื่อสารไร้สาย
ระยะสั้นระยะประมาณ 4 ซม. ที่ ใช้ได้ดีกบั โครงสร้ างพื้นฐานแบบไร้ สัมผัส ช่ วยสนับสนุ น
รองรับการสื่ อสารระหว่างเครื่ องมืออิเล็กทรอนิ กส์ในระยะใกล้ ๆ NFC ถูกพัฒนาขึ้นโดย Sony
และ NXP โดยใช้คลื่นความถี่ 13.56 MHz. บนพื้นฐานมาตรฐาน ISO 14443 (Philips MIFARE
and Sony’s FeliCa) ปั จจุบนั บริ ษทั ทั้งสองได้ร่วมมือกับบริ ษทั ผูล้ ิตและพัฒนาโทรศัพท์เคลื่อนที่
จัดตั้งเป็ น NFC Forum เพื่อให้เกิดการใช้งานในรู ปแบบต่างๆมากขึ้น ในระยะเริ่ มแรกมีบริ ษทั
โทรศัพท์มือถือชั้นนาของโลกประกาศนาเทคโนโลยีน้ ีมา ใช้กบั โทรศัพท์มือถือแล้ว เช่น Nokia,
Samsung, Motorola เป็ นต้น

เทคโนโลยี NFC นอกจากจะมีไว้สาหรับแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างอุปกรณ์ที่รองรับเท่านั้น แต่


ยัง พั ฒ นาให้ ส ามารถอ านวยความสะดวกด้ า นอื่ น ด้ ว ย เช่ น การใช้ โ ทรศั พ ท์ มื อ ถื อ
เพื่อชาระค่าสิ นค้าและบริ การ การชาระค่าอาหารและเครื่ องดื่ม การชาระค่ารถโดยสาร ซื้ อตัว๋ ดู
หนัง การยืนยันตัวตน เป็ นต้น
ประโยชน์ ของ NFC
ความแตกต่ างระหว่ าง NFC และ Bluetooth
ผลของคลื่นวิทยุทมี่ ีต่อร่ างกาย

อวัย วะที่ มี ค วามไวต่ อ คลื่ นวิท ยุ ได้แ ก่ นัย น์ ตา ปอด ถุ งน้ าดี กระเพาะปั ส สาวะ อัณฑะ และ
บางส่ วนของระบบทางเดินอาหาร โดยเฉพาะนัยน์ตา และอัณฑะ เป็ นอวัยวะที่อ่อนแอที่สุดเมื่อ
ได้รับคลื่ นวิทยุช่วงไมโครเวฟ ผลการทาลายจะมากหรื อน้ อย ขึ้นอยู่กับความเข้ ม ช่ วงเวลาที่
ร่ างกายได้ รับคลื่นและชนิดของเนื้อเยื่อ คลื่นวิทยุช่วงความถี่ต่าง ๆ อาจมีผลต่อร่ างกายดังนี้

1. คลื่นวิทยุที่มีความถี่นอ้ ยกว่า 150 เมกะเฮิรตซ์ (มีความยาวคลื่นมากกว่า 2 เมตร) คลื่นจะทะลุ


ผ่านร่ างกายโดยไม่ก่อให้เกิดผลใด ๆ เนื่ องจากไม่มีการดูดกลืนพลังงานของคลื่นไว้ ร่ างกายจึ ง
เปรี ยบเสมือนเป็ นวัตถุโปร่ งใสต่อคลื่นวิทยุช่วงนี้
2. คลื่นวิทยุที่มีความถี่ระหว่าง 150 เมกะเฮิรตซ์ ถึง 1.2 จิกะเฮิรตซ์ (มีความยาวคลื่นระหว่าง 2.00
ถึ ง 0.25 เมตร) คลื่ นวิ ท ยุช่ว งนี้ สามารถทะลุ ผ่านเข้าไปในร่ างกายได้ลึ กประมาณ 2.5 ถึ ง 20
เซนติเมตร เนื้อเยือ่ ของอวัยวะภายในบริ เวณนั้นจะดูดกลืนพลังงานของคลื่นไว้ถึงร้อยละ 40 ของ
พลังงานที่ ตกกระทบ ทาให้เกิ ดความร้ อนขึ้ นในเนื้ อเยื่อ โดยที่ ร่างกายไม่ สามารถรู ้ สึกได้ ถ้า
ร่ างกายไม่สามารถกระจายความร้อนออกไปในอัตราเท่ากับที่รับเข้ามา อุณหภูมิหรื อระดับความ
ร้อนของร่ างกายจะสู งขึ้น เป็ นอันตรายอย่างยิ่งต่อร่ างกาย ความร้ อนในร่ างกายที่ สูงกว่าระดับ
ปกติ อาจก่อให้เกิ ดผลหลายประการ เช่ น ฮี โมโกลบินของเม็ดเลือดแดงจะมี ความจุ ออกซิ เจน
ลดลง ทาให้เลือดมีออกซิ เจนไม่เพียงพอเลี้ยงเนื้อเยือ่ ต่าง ๆ
3. คลื่นวิทยุที่มีความถี่ระหว่ าง 1-3 จิกะเฮิรตซ์ (มีความยาวคลื่นระหว่าง 30 ถึง 10 เซนติเมตร)
ทั้งผิวหนังและเนื้ อเยื่อลึกลงไปดูดกลืนพลังงานได้ราวร้อยละ 20 ถึงร้อยละ 100 ขึ้นอยูก่ บั ชนิ ด
ของเนื้ อเยื่อ คลื่นวิทยุเช่นนี้ เป็ นอันตรายอย่างยิ่งต่อนัยน์ตา โดยเฉพาะเลนส์ตาจะมีความไวเป็ น
พิเศษต่อคลื่นวิทยุความถี่ ประมาณ 3 จิ กะเฮิ รตซ์ เพราะเลนส์ ตามี ความแตกต่างจากอวัยวะอื่ น
ตรงที่ไม่มีเลือดมาหล่อเลี้ยงและไม่มีกลไกซ่ อมเซลล์ ดังนั้นเมื่อนัยน์ตาได้รับคลื่นอย่างต่อเนื่ อง
จะทาให้ของเหลวภายในตามีอุณหภูมิสูงขึ้น โดยไม่สามารถถ่ายโอนความร้อนเพื่อให้อุณหภูมิ
ลดลงได้เหมือนเนื้อเยือ่ ของอวัยวะอื่น ๆ จึงจะก่อให้เกิดอันตรายอย่างรุ นแรงตามมา

4. คลื่นวิทยุที่มีความถี่ระหว่ าง 3-10 จิกะเฮิรตซ์ (มีความยาวคลื่นระหว่าง 10 ถึง 3 เซนติเมตร)


ผิวหนังชั้นบนสามารถดูดกลืนพลังงานมากที่สุด เราจะรู ้สึกว่าเหมือนกับถูกแสงอาทิตย์

5. คลื่นวิทยุที่มีความถี่สูงกว่ า 10 จิกะเฮิรตซ์ (มีความยาวคลื่นน้อยกว่า 3 เซนติเมตร) ผิวหนังจะ


สะท้อนให้กลับออกไป โดยมีการดูดกลืนพลังงานเล็กน้อย

You might also like