Download as docx, pdf, or txt
Download as docx, pdf, or txt
You are on page 1of 17

อาจารย ์ ขอให้นักศึกษา พยายามศึกษาจากแนวตอบเฉลย และ

ศึกษาข้อบกพร่องของตนเองเพือแก ่ ไ้ ข ปรบั ปรุง และ เตรียมสอบในภาคต่อไปค่ะ


นักศึกษาจะเห็ นได้ว่าโจทย ์จะบอกทุกประเด็ นทีถาม ่ และ
ทาให้สามารถวางหลักกฎหมายไดเ้ ป็ นอย่างดี พยายามอ่านโจทย ์ให้ละเอียดจะพบว่า
้ั
มีขนตอนในการตอบ อย่างเป็ นระบบ ขอให้ศก ้ ะ
ึ ษาจากแนวตอบต่อไปนี ค่

ขอ้ สอบและ เฉลยนี เป็ ้ นลิขสิทธิของมหาวิ


์ ทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิร าช ห้ามนักศึกษา
้ นึ่ ง ผูใ้ ด ดัดแปลง ทำซำ้
หรือผูห
หรือเผยแพร่ในทีอื ่ น
่ โดยไม่ไดร้ บั อนุ ญาตจากมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

กฎหมายระหว่างประเทศ
จัดทาโดยผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ลาวัณย์ ถนัดศิลปกุล
คาถาม
นายเดวิดเป็ นบุตรของนายจอห์ นบิดาซึ่งมีสญ ั ชาติองั กฤษ และ
นางโซฟี มารดาซึ่งมีสญ ั ชาติฝรั่งเศส แต่นายเดวิดเกิดทีป ่ ระเทศไทย
เนื่องจากนายจอห์นและนางโซฟี
ได้เข้ามาลงทุนทาธุรกิจตัง้ ภัตตราคารฝรั่งเศสในประเทศไทย
ครอบครัวนี้ ได้อาศัยอยู่ในประเทศไทยเป็ นเวลา 20 ปี
เมือ่ นายเดวิดอายุ 16 ปี
ได้หลงรักนางสาวดวงใจเพือ ่ นร่วมชัน้ เรียนและได้ทาพินยั กรรมยก
ทรัพย์สินทัง้ หมดของตนให้นางสาวดวงใจ
โดยเขียนพินยั กรรมทัง้ ฉบับด้วยตนเอง
ซึ่งนายเดวิดมีเงินเก็บอยู่ในธนาคาร 100,000 บาท และ
เป็ นเจ้าของตึกแถวหนึ่ งคูหา ราคา 1,000,000 บาท
ซึ่งนายจอห์ นยกให้นายเดวิดเป็ นของขวัญวันเกิดเมือ ่ อายุครบ 15 ปี
ต่อมานายเดวิดประสบอุบต ั เิ หตุถึงแก่ความตาย
นางสาวดวงใจจึงมาเรียกร้องทรัพย์มรดกจากบิดา มารดา นายเดวิด
แต่นายจอห์น และ นางโซฟี ปฏิเสธที่จะดาเนินการยกทรัพย์สินให้
โดยอ้างว่าตามกฎหมายอังกฤษและฝรั่งเศส
บุคคลจะทาพินยั กรรมได้ต้องอายุ ครบ 20 ปี บริบูรณ์ และ
พินยั กรรมต้องทาต่อพนักงานเจ้าหน้าทีต ่ ามแบบทีก ่ ฎหมายกาหนด
ดังนั้นพินยั กรรมที่นายเดวิดทาจึงเป็ นโมฆะ
เนื่องจากนายเดวิดไม่มีความสามารถในการทาพินยั กรรม
อีกทัง้ ไม่ได้ทาพินยั กรรมตามแบบที่กฎหมายกาหนดพินยั กรรมจึงเป็ นโมฆ
ะ นักศึกษาจงพิจารณา วินิจฉัยว่าข้อต่อสู้ของนายจอห์นและนางโซฟี
ชอบด้วยกฎหมาย หรือ ไม่ และ
นางสาวดวงใจจะได้รบ ั ทรัพย์มรดกตามพินยั กรรม หรือ ไม่
แนวตอบ
หลักกฎหมาย
พระราชบัญญัติกฎหมายสัญชาติ พ. ศ. 2508, 2535, 2551
มาตรา 7 บุคคลดังต่อไปนี้ ย่อมได้สญ
ั ชาติไทยโดยการเกิด
(1) ผู้เกิดโดยบิดาหรือมารดาเป็ นผู้มีสญ
ั ชาติไทย
ไม่ว่าจะเกิดในหรือนอกราชอาณาจักรไทย
(2) ผูเ้ กิดในราชอาณาจักรไทย ยกเว้นบุคคลตามมาตรา 7 ทวิ
วรรคหนึ่ ง
มาตรา 7 ทวิ ผู้เกิดในราชอาณาจักรไทย
โดยบิดาและมารดาเป็ นคนต่างด้าว ย่อมไม่ได้รบ ั สัญชาติไทย
ถ้าในขณะทีเ่ กิดบิดาตามกฎหมาย
หรือบิดาซึ่งมิได้มีการสมรสกับมารดาหรือมารดาของผู้น้นั เป็ น
(1)
ผู้ที่ได้รบ
ั การผ่อนผันให้พกั อาศัยอยู่ในราชอาณาจักรไทยเป็ นกรณี พิเศษเฉ
พาะราย
(2) ผู้ที่ได้รบ
ั อนุ ญาตให้เข้าอยู่ในราชอาณาจักรไทยเพียงชั่วคราวหรือ
(3)
ผู้ทีเ่ ข้ามาอยู่ในราชอาณาจักรไทยโดยไม่ได้รบ
ั อนุ ญาตตามกฎหมายว่าด้วย
คนเข้าเมือง
มาตรา 8 ผู้เกิดในราชอาณาจักรไทยโดยบิดาและมารดาเป็ นคนต่างด้าว
ย่อมไม่ได้สญ
ั ชาติไทย ถ้าขณะที่เกิดบิดาหรือมารดาเป็ น
(1) หัวหน้าคณะผู้แทนทางทูตหรือเจ้าหน้าทีใ่ นคณะผูแ
้ ทนทางทูต
(2) หัวหน้าคณะผู้แทนทางกงสุลหรือเจ้าหน้าทีใ่ นคณะผูแ
้ ทนทางกงสุล
(3) พนักงานหรือผู้เชี่ยวชาญขององค์การระหว่างประเทศ
(4)
คนในครอบครัวซึ่งเป็ นญาติอยู่ในความอุปการะหรือคนใช้ซึ่งเดินทางจากต่
างประเทศมาอยู่กบ
ั บุคคลใน (1) (2) หรือ (3)
พระราชบัญญัติว่าด้วยการขัดกันแห่งกฎหมาย พ.ศ. 2481
มาตรา 6
………………………………………..
ในกรณี ใดๆ ที่มีการขัดกันในเรือ
่ งสัญชาติของบุคคล
ถ้าสัญชาติหนึ่ งสัญชาติใดซึ่งขัดกันนั้นเป็ นสัญชาติไทย
กฎหมายสัญชาติซึ่งจะใช้บงั คับได้แก่กฎหมายแห่งประเทศสยาม
มาตรา 39 ความสามารถของบุคคลที่จะทาพินยั กรรม
ให้เป็ นไปตามกฎหมายสัญชาติในขณะที่ทาพินยั กรรม
มาตรา 40 บุคคลจะทาพินยั กรรมตามแบบทีก
่ ฎหมายสัญชาติกาหนดไว้ก็ ไ
ด้ หรือจะทาตามแบบทีก
่ ฎหมายของประเทศที่ทาพินยั กรรมกาหนดไว้ก็ได้
มาตรา 41 ผลและการตีความพินยั กรรมก็ดี
ความเสียเปล่าแห่งพินยั กรรมหรือข้อกาหนดพินยั กรรมก็ดี
ให้เป็ นไปตามกฎหมายภูมิลาเนาของผูท ้ าพินยั กรรมในขณะที่ผู้ทาพินยั กรร
มถึงแก่ความตาย
ประมวลกฎหมายแพ่งพาณิ ชย์
มาตรา 25 ผู้เยาว์อาจทาพินยั กรรมได้เมือ ่ อายุ 15 ปี บริบูรณ์
มาตรา 22 ผู้เยาว์อาจทาการใด ๆ ได้ทง้ ั สิ้น
หากเป็ นเพียงเพื่อจะได้ไปซึ่งสิทธิอน
ั ใดอันหนึ่ ง
หรือเป็ นการเพือ
่ ให้หลุดพ้นจากหน้าทีอ ั ใดอันหนึ่ ง ย่อมสามารถทาได้
่ น
มาตรา 1657 พินยั กรรมนั้น จะทาเป็ นเอกสารเขี ยนเองทัง้ ฉบับก็ได้
กล่าวคือผู้ทาพินยั กรรมต้องเขียนด้วยมือตนเองซึ่งข้อความทัง้ หมด วัน
เดือน ปี และลายมือชื่อของตน
วินิจฉัย
ประเด็นปัญหา
1. นายเดวิดมีสญ ั ชาติใด
2. มูลพิพาทเกีย่ วกับเรือ
่ งใด
3. ต้องใช้กฎหมายของประเทศใดบังคับกับคดี
4. ความสามารถในการทาพินยั กรรม และ
แบบของพินยั กรรมบังคับตามกฎหมายประเทศใด และ
มีแบบอย่างใด
5. ปัญหาการตีความ หรือ
การมีผลของพินยั กรรมใช้กฎหมายของประเทศใดบังคับ
1. นายเดวิดเป็ นบุตรของนายจอห์ นบิดาซึ่งมีสญ
ั ชาติองั กฤษ และ
นางโซฟี มารดาซึ่งมีสญ
ั ชาติฝรั่งเศส
แต่นายเดวิดเกิดที่ประเทศไทย โดยนายจอห์นและนางโซฟี
ได้เข้ามาลงทุนทาธุรกิจตัง้ ภัตตราคารฝรั่งเศสในประเทศไทย
ครอบครัวนี้ ได้อาศัยอยู่ในประเทศไทยเป็ นเวลา 20 ปี นายเดวิดจึงมี สญ ั ชา
ติองั กฤษและฝรั่งเศสตามหลักสืบสายโลหิต และ
ได้สญ ั ชาติไทยตามหลักดินแดน
โดยไม่เข้าข้อยกเว้นที่จะไม่ได้สญ ั ชาติไทยตามมาตรา 7 ทวิวรรคหนึ่ ง
เพราะแม้บิดามารดาจะเป็ นต่างด้าวทัง้ คู่
แต่ครอบครัวนี้ ได้เข้ามาอยู่ในประเทศไทยตัง้ 20 ปี
จึงไม่ใช่บุคคลทีเ่ ข้ามาอยู่ช่ วั คราว หรือ ไม่ได้เข้าเมืองมาโดยไม่ชอบ หรือ
ไม่ได้เข้าเมืองมาอยู่โดยได้รบ ั การยกเว้นเป็ นกรณี พิเศษ
เนื่องจากได้เข้ามาประกอบธุรกิจทาภัตราคารฝรั่งเศสโดยชอบด้วยกฎหมาย
อีกทัง้ บิดา มารดา ของเดวิดไม่ได้ เป็ นบุคคลในคณะทูต กงสุล
องค์การระหว่างประเทศ คนใช้ หรือ ครอบครัวทูต
เดวิดจึงมีสญั ชาติไทยด้วย และเดวิดเป็ นบุคคลมีสญ ั ชาติตง้ ั แต่สองสัญชาติขึ้
นไปอันได้รบ ั มาคราวเดียวกัน คือสัญชาติ อังกฤษ ฝรั่งเศส และ
สัญชาติไทย
2. มูลพิพาทในคดีนี้เกีย่ วกับความสามารถในการทาพินยั กรรม
และแบบของพินยั กรรม เนื่องจาก บิดา มารดานายเดวิด อ้างว่า
นายเดวิดไม่มีความสามารถทาพินยั กรรมด้วยยังไม่บรรลุนิตภ ิ าวะตามกฎห
มายอังกฤษและฝรั่งเศส
แต่ตามกฎหมายไทยนายเดวิดสามารถทาพินยั กรรมได้
อีกทัง้ แบบของพินยั กรรมของประเทศอังกฤษ
และฝรั่งเศสก็แตกต่างจากแบบของพินยั กรรมตามกฎหมายไทย
ดังนั้นเมือ่ มีมูลพิพาทกันด้วยความสามารถในการทาพินยั กรรมและแบบขอ
งพินยั กรรมซึ่งนายเดวิดมีหลายสัญชาติรวมทัง้ สัญชาติไทยด้วยจึงจะใช้กฎห
มายไทยทันทีไม่ได้ เนื่องจากเป็ นคดีที่มีองค์ประกอบต่างชาติ (Foreign
Elements)

3. คดีที่พิพ าทกันด้วยเรื่อ งความสามารถในการทาพินย


ั กรรมและแบบขอ
งพินยั กรรมซึ่งเป็ นคดีที่มีองค์ ประกอบต่างชาติดงั กล่าว
จึงต้องพิจารณาตามพระราชบัญญัตก ิ ฎหมายขัดกันอันเป็ นเครื่องมือในการ
หากฎหมายมาบังคับกับคดี ซึ่ง
มาตรา 39 ของพระราชบัญญัตก ิ ฎหมายขัดกัน
บัญญัติว่าความสามารถของบุคคลที่จะทาพินยั กรรม
ให้เป็ นไปตามกฎหมายสัญชาติในขณะที่ทาพินยั กรรม จึงต้องหาสัญชาติขอ
งนายเดวิดเพื่อหากฎหมายสัญชาติมาปรับใช้กบ ั คดี
และ มาตรา 6 ของพระราชบัญญัตก ิ ฎหมายขัดกัน บัญญัติว่า………ในกรณี ใ
ดๆ ที่มีการขัดกันในเรือ
่ งสัญชาติของบุคคล
ถ้าสัญชาติหนึ่ งสัญชาติใดซึ่งขัดกันนั้นเป็ นสัญชาติไทย
กฎหมายสัญชาติซึ่งจะใช้บงั คับได้แก่กฎหมายแห่งประเทศสยาม
ดังนั้นนายเดวิดซึ่งมีหลายสัญชาติแต่มีสญ ั ชาติไทยอยู่ด้วยจึงต้องใช้สญ
ั ชาติ
ไทยในการหากฎหมายมาบังคับกับคดี
4. ดังนั้นเมือ่ หากฎหมายแห่งสัญชาตินายเดวิดได้แล้วคือ กฎหมายไทย
จึงสามารถพิจารณา ความสามารถตามกฎหมายไทยต่อไป
รวมทัง้ แบบของพินยั กรรม ซึ่งมาตรา 25ปพพ บัญญัติว่า
ผู้เยาว์อาจทาพินยั กรรมได้เมือ ่ อายุ 15 ปี บริบูรณ์ และ
มาตรา 40 ของพระราชบัญญัตก ิ ฎหมายขัดกัน บัญญัติว่า
บุคคลจะทาพินยั กรรมตามแบบทีก ่ ฎหมายสัญชาติกาหนดไว้ก็ได้
หรือจะทาตามแบบทีก ่ ฎหมายของประเทศทีท ่ าพินยั กรรมกาหนดไว้ก็ได้
ดังนั้นเดวิดซึ่งมีสญ ั ชาติไทยและทาพินยั กรรมในประเทศไทยจึงสามารถทา
พินยั กรรมตามแบบทีก ่ ฎหมายไทยกาหนดได้ และ
แบบของพินยั กรรมย่อมสมบูรณ์ ตามกฎหมายไทย
หากทาตามแบบทีก ่ ฎหมายไทยกาหนด
เมือ่ พิจารณาแบบของพินยั กรรมตามกฎหมายไทยอันเป็ นกฎหมายสัญชาติ
ของเดวิดและที่ ทีท
่ าพินยั กรรม จะพบว่า
กฎหมายไทยบัญญัตแ ิ บบของพินยั กรรมไว้หลายแบบ
รวมทัง้ แบบเขียนเองทัง้ ฉบับได้ ตาม มาตรา 1657 พินยั กรรมนั้น
จะทาเป็ นเอกสารเขียนเองทัง้ ฉบับก็ได้
กล่าวคือผู้ทาพินยั กรรมต้องเขียนด้วยมือตนเองซึ่งข้อความทัง้ หมด วัน
เดือน ปี และลายมือชื่อของตน
ดังนั้นนายเดวิดจึงทาพินยั กรรมแบบเขียนเองทัง้ ฉบับได้และมีผลสมบูรณ์ ต
ามกฎหมายไทย
5. เกีย่ วกับ ปัญหาการตีความ หรือ
การมีผลของพินยั กรรมใช้กฎหมายของประเทศใดบังคับ มาตรา 41 ของพ
ระราชบัญญัติกฎหมายขัดกัน บัญญัตวิ ่า ผลและการตีความพินยั กรรมก็ดี
ความเสียเปล่าแห่งพินยั กรรมหรือข้อกาหนดพินยั กรรมก็ ดี
ให้เป็ นไปตามกฎหมายภูมิลาเนาของผูท ้ าพินยั กรรมในขณะที่ผู้ทาพินยั กรร
มถึงแก่ความตาย ดังนั้นนายเดวิดมึภูมิลาเนาอยู่ในประเทศไทยในขณะที่
ถึงแก่ความตายจึงต้องใช้กฎหมายไทยบังคับกับคดี
สรุป
1. นายเดวิดมีสญ
ั ชาติองั กฤษ ฝรั่งเศส และ ไทย
2. มูลพิพาทในคดีนี้เกีย่ วกับเรื่องความสามารถในการทาพินยั กรรมซึ่ง
ต้องใช้กฎหมายสัญชาติมาบังคับกับคดี และ
แบบของพินยั กรรม ซึ่งสามารถทาตามแบบกฎหมายสัญชาติ หรือ
ตามแบบกฎหมายของประเทศทีท ่ าพินยั กรรม นั่นคือกฎหมายไทย
3. ต้องใช้กฎหมายของประเทศไทยบังคับกับคดี
เมือ่ นายเดวิดเป็ นบุคคลที่มีหลายสัญชาติที่ได้มาในเวลาเดียวกัน
แต่นายเดวิดมีสญ ั ชาติไทยด้วย กฎหมายขัดกันของไทย
ให้ใช้กฎหมายสยามเป็ นกฎหมายสัญชาติที่จะมาบังคับกับคดี
4. นายเดวิด มีค วามสามารถในการทาพินย ั กรรม
ซึ่งตามกฎหมายไทยผู้เยาว์สามารถทาพินยั กรรมได้ตง้ ั แต่อายุ 15 ปี บ
ริบูรณ์ และ
แบบของพินยั กรรมบังคับตามกฎหมายประเทศไทยได้เพราะเป็ นกฎ
หมายสัญชาติของผูท ้ าพินยั กรรม และ
แบบของพินยั กรรมแบบเขียนเองทัง้ ฉบับเป็ นแบบของพินยั กรรมทีส ่ า
มารถทาได้ตามกฎหมายไทยได้โดยสมบูรณ์
5. ส่วนปัญหาการตีค วาม หรือ
การมีผลของพินยั กรรมให้ใช้กฎหมายของประเทศไทยบังคับกับคดี
6. ดังนั้นนางสาวดวงใจจึงสามารถรับมรดกตามพินย ั กรรมได้
แม้นางสาวดวงใจจะเป็ นผูเ้ ยาว์แต่การทานิติกรรมตาม มาตรา ๒๒
ผู้เยาว์อาจทาการใด ๆ ได้ทง้ ั สิ้น
หากเป็ นเพียงเพื่อจะได้ไปซึ่งสิทธิอนั ใดอันหนึ่ ง
หรือเป็ นการเพือ่ ให้หลุดพ้นจากหน้าทีอ ั ใดอันหนึ่ ง
่ น
ย่อมสามารถทาได้
วิเคราะห์
ข้อสอบข้อนี้ มีวต
ั ถุประสงค์ในการประเมินความรูข ้ องนักศึกษาว่าสา
มารถวิเคราะห์ประเด็นโจทย์ทีถ ่ ามเกีย่ วกับการกาหนดสัญชาติได้หรือไม่
และ สามารถวิเคราะห์
การใช้เครือ ่ งมือในการหากฎหมายมาบังคับกับคดีได้หรือไม่
ตามพระราชบัญญัตก ิ ฎหมายขัดกัน ในเรือ
่ งการหาสัญชาติของบุคคล
การหากฎหมายสัญชาติที่จะมาบังคับกับคดี และ การวิเคราะห์มูลคดีพิพาท
ตลอดจนการปรับใช้กฎหมายไทยบังคับกับคดีได้ถูกต้องหรือไม่
เป็ นการศึกษาอย่างบูรณาการในการใช้กฎหมาย
ซึ่งจาเป็ นสาหรับนักศึกษาวิชากฎหมายระหว่างประเทศ
จุดบกพร่องที่นกั ศึกษาไม่สามารถทาข้อสอบข้อนี้ ได้
มีตง้ ั แต่การไม่ได้ศกึ ษามาอย่างเพียงพอ
ยังไม่เข้าใจหลักกฎหมายดังกล่าวข้างต้นทัง้ หมด
รวมทัง้ ไม่มีความรูก ้ ฎหมายไทยด้วย นักศึกษาไม่ได้คด

วิเคราะห์ให้รอบด้าน
นักศึกษาเกือบทัง้ หมดไม่ได้ตอบเกีย่ วกับการหาสัญชาติของบุคคลที่มีหลาย
สัญชาติ และ การหากฎหมายสัญชาติมาบังคับกับคดี
ส่วนใหญ่มกั จะรวบรัดตอบว่า
นายเดวิดเป็ นคนไทยและใช้กฎหมายไทยบังคับไปทันที
ทาให้ไม่ได้ตอบครอบคลุมทุกด้าน จึงแนะนาให้นกั ศึกษาฝึ กการ คิด
วิเคราะห์เป็ นระบบ รอบด้าน ศึกษาโจทย์ทีถ ่ ามมาให้ละเอียด ทุกประเด็น
แล้วกาหนดประเด็นคาถาม
แล้วจึงวางหลักกฎหมายให้ครบถ้วนและวิเคราะห์ตามหลักกฎหมายที่ได้วาง
ไว้ นักศึกษาก็จะสามารถตอบคาถามได้อย่างครบถ้วนครอบคลุม
และเป็ นขัน้ ตอน
ขอให้นก ั ศึกษาตัง้ ใจเรียนแล้ วสารวจความผิดพลาดในการทาสอบของตนเอ
งแล้วแก้ไขให้ดีขึ้นย่อมประสบความสาเร็ จในการสอบ

หวังว่าจะเป็ นประโยชน์แก่นักศึกษา
และขอให้ท่านประสบความสาเร็จในการศึกษาเล่าเรียนต่อไป สูๆ้ ค่ะ

บุคคลย่อมล่วงทุกข ์ไดด้ ว้ ยวามเพียร

ครู
อาจารย์ ขอให้นก ั ศึก ษา พยายามศึก ษาจากแนวตอบเฉลย และ
ศึกษาข้อบกพร่องของตนเองเพื่อแก้ไข ปรับปรุง และ
เตรียมสอบในภาคต่อไปค่ะ
นักศึกษาจะเห็นได้ว่าโจทย์จะบอกทุกประเด็นที่ถาม และ
ทาให้สามารถวางหลักกฎหมายได้เป็ นอย่างดี
พยายามอ่านโจทย์ให้ละเอียดจะพบว่า มีขน
้ ั ตอนในการตอบ อย่างเป็ นระบบ
ขอให้ศึกษาจากแนวตอบต่อไปนี้ ค่ะ

ข้อสอบและ เฉลยนี ้เป็ นลิขสิทธิของมหำวิ


์ ทยำลัยสุ โขทัยธรรมำธิรำช
้ นึ่ ง ผู ใ้ ด ดัดแปลง ทำซำ้
ห้ำมนักศึกษำ หรือผู ห
่ นโดยไม่
หรือเผยแพร่ในทีอื ่ ได้ร ับอนุ ญำตจำกมหำวิทยำลัยสุ โขทัยธรรมำธิร
ำช

กฎหมายระหว่างประเทศ
จัดทาโดยผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ลาวัณย์ ถนัดศิลปกุล
คาถาม
นาย โมฮัมเหม็ด ชาวโรฮิงยา
ต้องการหนี ออกจากประเทศพม่า
โดยบุกขึน ้ ไปจี้เครือ่ งบินสายการบินแควนตัสทีจ่ อดอยู่ทีส ่ นามบินก
รุงย่างกุ้ง แล้วบังคับนายปี เตอร์ ซึ่งมีสญ
ั ชาติองั กฤษ
และเป็ นกัปตันเครือ ่ งบินดังกล่าวให้ไปส่งทีป ่ ระเทศสิงคโปร์
แต่นายปี เตอร์ขดั ขืนจึงถูกนายโมฮัมเหม็ด ยิงบาดเจ็บ
นางสาวมิชโิ กะ แอร์โฮสเตส สัญชาติญีป่ ุ่ น
ทีท่ างานในเครือ ่ งบินดังกล่าว เข้าช่วยเหลือกัปตัน
จึงถูกยิงบาดเจ็บอีกคน นายโมฮัมเหม็ด
ได้บงั คับให้กปั ตันทีส ่ องนาเครือ่ งบินลงจอดทีป ่ าปัวนิวกินีแทน
แล้วหลบหนี ไป
ต่อมานายโมฮัมเหม็ดได้รบ ั แจ้งจากเพือ
่ นๆให้ทราบว่าคนไทยใจดีเ
ลี้ยงดูชาวโรฮิงยาอย่างดี
ไม่ตอ ้ งหนี ไปไหนให้มาปักหลักทีป ่ ระเทศไทยจะดีกว่า
นายโมฮัมเหม็ด ดีใจมากจึงเล็ดลอดหนี เข้ามาอยู่ในประเทศไทย
แต่ถูก ตารวจของไทยจับตัวได้ ดังนี้ นักศึกษาจงพิจารณาว่า
1. ประเทศใดบ้างมีเขตอานาจรัฐในการดาเนินคดีจ้ีเครือ
่ งบิ
นกับนายโมฮัมเหม็ดได้
2. ประเทศไทยมีเขตอานาจรัฐทีจ่ ะดาเนินคดีต่อนายโมฮัมเห
ม็ดได้หรือไม่เพราะเหตุใด
3. หากประเทศออสเตรเลียจะร้องขอให้ รฐั บาลไทยส่งผู้รา้ ยข้
ามแดนไปยังออสเตรเลียจะได้หรือไม่หากประเทศไทยและ
ออสเตรเลียมีสนธิสญั ญาส่งผูร้ า้ ยข้ามแดนระหว่างกัน

แนวตอบ
หลักกฎหมาย
เขตอานาจรัฐ หมายถึง อานาจตามกฎหมายของรัฐเหนื อ บุคคล
ทรัพย์สิน หรือเหตุการณ์ ต่าง
ๆ ซึ่งหากพิจารณาเขตอานาจรัฐในฐานะทีเ่ ป็ นส่วนสาคัญของอธิปไตยของ
รัฐ แล้ว
อาจแบ่งเขตอานาจรัฐออกเป็ น เขตอานาจในทางนิตบ ิ ญ
ั ญัติ เขตอานาจใน
ทางศาล และเขตอานาจในการบังคับการตามกฎหมายในทางบริหาร
แต่หากคานึงถึงประโยชน์ ในการทาความเข้าใจขอบเขตของเขตอานาจรัฐ
อาจจาแนกเขตอานาจของรัฐออก ดังนี้
1) เขตอานาจในการสร้างหรือบัญญัตก
ิ ฎหมาย
โดยฝ่ ายนิติบญ
ั ญัติ
2) เขตอานาจในการบังคับใช้กฎหมายหรือบังคับการใ
ห้เป็ นไปตามกฎหมาย
โดยฝ่ ายตุลาการ และโดยฝ่ ายบริหาร
การใช้เขตอานาจรัฐ ในบริบทของกฎหมายระหว่างประเทศ โดยได้
มีการศึกษาสารวจทางปฏิบต ั ิของรัฐต่าง ๆ
อย่างกว้างขวาง พบว่าการใช้เขตอานาจของรัฐเหนื อบุคคล ทรัพย์สิน หรื
อเหตุการณ์ ตา่ ง ๆ นั้น
มีมูลฐาน (Basis) เนื่องมาจากหลักการ (principle) 5 ประการ
ที่สนับสนุ นการใช้เขตอานาจของรัฐด้วยเหตุผลทีแ
่ ตกต่างกัน ได้แก่
1. หลักดินแดน (Territorial Principle) หมายถึง
รัฐมีเขตอานาจเหนื อบุคคล ทรัพย์สิน หรือเหตุการณ์ ต่าง ๆ
ภายในดินแดนของรัฐ โดยไม่จาต้องคานึงว่า
บุคคลนั้นมีสญ
ั ชาติของรัฐใด หรือทรัพย์สินนั้นเป็ นของบุค
คลสัญชาติใด
2. หลักสัญชาติ (Nationality Principle)
ถือว่าสัญชาติเป็ นสิ่งเชื่อมโยงทีท
่ าให้รฐั สามารถใช้เขตอานา
จของตนเหนื อบุคคลซึ่งถือสัญชาติของรัฐ ตลอดจนทรัพย์สิ
นที่มีสญ
ั ชาติของรัฐโดยไม่ต้องคานึงว่าบุคคลหรือทรัพย์สิน
นั้นจะอยู่ทีใ่ ด
3. หลักป้ องกัน (Protection Principle)
รัฐสามารถใช้เขตอานาจของตนเหนื อบุ คคลซึ่งกระทาการอั
นเป็ นภัยต่อความมั่นคงของรัฐ ทัง้ ในทางการเมืองและในท
างเศรษฐกิจ เช่น การคบคิดกันล้มล้างรัฐบาล การจารกร
รม การปลอมแปลงเงินตรา ตั๋วเงิน ดวงตรา แสตมป์ ห
นังสือเดินทาง หรือเอกสารมหาชนอื่น
ๆ ซึ่งออกโดยรัฐ เป็ นต้น แม้ว่าผูก ้ ระทาจะมิใช่บุคคลสัญ
ชาติของรัฐ และการกระทานั้นจะมิได้เกิดขึ้นภายในดินแด
นของรัฐนั้นก็ตาม
4. หลักผู้ถูกกระทา (Passive Personality Principle)
หลักสัญชาติ และหลัก ผู้ถูกกระทา (passive
personality) ต่างก็อาศัยสัญชาติของบุคคลเป็ นตัวเชื่อมโย
งระหว่างบุคคลและรัฐผู้ใช้เขตอานาจ แต่มีขอ ้ แตกต่างกัน
คือ ตามหลักสัญชาติ รัฐสามารถใช้เขตอานาจของตนโดย
มีมูลฐานมาจากสัญชาติของผูก ้ ระทาความผิด ในขณะที่ตา
มหลัก passive
personality เขตอานาจของรัฐกลับอาศัยมูลฐานจากสัญชา
ติของเหยื่อหรือผู้ได้รบ
ั ผลร้ายจากการกระทาความผิด
5. หลักสากล (Universality Principle)
รัฐใดๆก็ตามย่อมมีเขตอานาจเหนื ออาชญากรรมทีก ่ ระทบต่
อประชาคมระหว่างประเทศโดยส่วนรวม โดยไม่คานึงว่าอ
าชญากรรมนั้นจะเกิดขึ้นในดินแดนของรัฐนั้นหรือไม่ และ
ผู้กระทาหรือผู้ได้รบ
ั ผลเสียหายจากการกระทาจะเป็ นคนสัญ
ชาติของรัฐใด ดังนั้น เขตอานาจสากลจึงมีความเชื่อมโยง
อยู่กบ
ั ลักษณะของการกระทาความผิดหรืออาชญากรรมเป็
นสาคัญ ได้แก่ การจี้เครือ
่ งบิน โจรสลัด
การจับคนเป็ นตัวประกัน การค้ายาเสพติด
การก่อการร้ายเป็ นต้น
การพิจารณากรณี ที่มีการร้องขอให้ส่งผู้รา้ ยข้ามแดน
ต้องพิจารณาตามลาดับต่อไปนี้ คือ ประเภทของบุคคล
ประเภทของความผิด ฐานะพิเศษบางประการของผูก ้ ระทาความผิด
พิธีการส่งผู้รา้ ยข้ามแดน ผลการส่งผู้รา้ ยข้ามแดน
และหลักทั่วไปของการส่งผู้รา้ ยข้ามแดน
หลักทั่วไปของการส่งผู้รา้ ยข้ามแดนอาจสรุปได้ดงั นี้
1. บุคคลที่ถูกขอให้ส่งตัว
เป็ นผูก
้ ระทาผิดทางอาญาหรือถูกลงโทษในทางอาญา
ในเขตของประเทศผู้รอ ้ งขอ
หรือเป็ นคดีอาญาทีม ้ งหาขึ้นฟ้ องร้องต่อศาลได้
่ ีมูลที่จะนาตัวผู้ตอ
2. ต้องไม่ใช่คดีทีข
่ าดอายุความ
หรือคดีทีศ
่ าลของประเทศใดได้พิจารณาและพิพากษาให้ปล่อยหรือได้รบ
ั โท
ษในความผิด ที่รอ
้ งขอให้ส่งข้ามแดนแล้ว
3. บุคคลที่ถูกขอให้ส่งตัว
จะเป็ นพลเมืองของประเทศผู้รอ ้ งขอหรือของประเทศผู้รบ
ั คาขอ
หรือของประเทศทีส ่ ามก็ได้
4. ความผิดซึ่งบุคคลผู้ถูกขอให้ส่งตัวได้กระทาไปนั้น
ต้องเป็ นความผิดต่อกฎหมายอาญาของทัง้ สองประเทศ
คือประเทศผู้รอ้ งขอและประเทศผู้รบ ั คาขอ (principle of double
criminality)
5. ต้องเป็ นความผิด
ซึ่งกฎหมายกาหนดโทษจาคุกไม่ต่ากว่าหนึ่ งปี (ตามอนุ สญ
ั ญา Montevide
o ค.ศ. 1933) และกฎหมายไทยก็ยึดถือหลักเกณฑ์นี้ด้วย
6. บุคคลผู้ถูกขอตัวได้ปรากฏตัวอยู่ในประเทศทีถ
่ ูกร้องขอให้ส่งตัว
(ประเทศผู้รบ
ั คาขอ)
7. ประเทศเจ้าของท้องที่เกิดเหตุ (ประเทศผู้รอ
้ งขอ) เป็ นผูด
้ าเนินก
ารร้องขอให้ส่งตัวโดยปฏิบต
ั ิตามพิธีการต่างๆ
ครบถ้วนดังที่กาหนดไว้ในสนธิสญ ั ญาหรือตามกฎหมายว่าด้วยการนั้น
8. ผูท้ ี่ถูกส่งตัวไปนั้น
จะต้องถูกฟ้ องเฉพาะในความผิดที่ระบุมาในคาขอให้ส่งตัวหรืออย่างน้อยที่
สุดจะต้องเป็ นความผิดที่มีระบุไว้ในสนธิสญ
ั ญาระหว่างกัน
9. ต้องไม่ใช่ความผิดทางการเมือง
เพราะมีหลักห้ามการส่งผู้รา้ ยข้ามแดนในคดีการเมือง
นอกจากนั้นยังมีความผิดบางประเภทซึ่งประเทศต่างๆ
ไม่นิยมส่งผู้รา้ ยข้ามแดน
หลักกฎหมายไทยกาหนดวิธีพิจารณาการส่งผู้รา้ ยข้ามแดนไว้
สองวิธีคือ
กรณี ที่ประเทศไทยมีสนธิสญั ญาหรือสัญญาส่งผู้รา้ ยข้ามแดนไว้กบ
ั ประเท
ศผู้รอ
้ งขอ ก็ให้พิจารณาสนธิสญ
ั ญาหรือสัญญานั้นเป็ นหลักพิจารณา
และกรณี ที่ประเทศไม่มีสนธิสญ ั ญาหรือสัญญาส่งผู้รา้ ยข้ามแดนไว้กบ ั ประ
เทศผู้รอ
้ งขอก็ให้นาหลักทั่วๆ ไปในพระราชบัญญัติส่งผู้รา้ ยข้ามแดน
พ.ศ. 2472 มาเป็ นหลักพิจารณา และ
การส่งผู้รา้ ยข้ามแดนเป็ นอานาจอธิปไตยของประเทศผู้รบ ั คาขอที่จะส่งห
รือไม่ส่งก็ได้

วินิจฉัย
1. ประเทศใดบ้างมีเขตอานาจรัฐในการดาเนินคดีจี้เครือ
่ งบินกับ
นายโมฮัมเหม็ดได้
ในกรณี นี้จะเห็นได้ว่าการกระทาของนายโมฮัมเหม็ด เป็ นการกระทาที่เป็ นอั
นตรายต่อมวลมนุ ษยชาติตามหลักเกณฑ์ในการกาหนดเขตอานาจศาลตาม
มูลฐานหลักสากลที่ไม่คานึงว่าผูใ้ ดเป็ นผูก
้ ่อความผิด
และใครจะเป็ นผู้เสียหายโดยตรง และ
ไม่ว่าจะกระทาในเขตแดนของรัฐใดก็ตาม
ทุกประเทศก็มีเขตอานาจรัฐเหนื อคดีนี้ ดังนั้น
ประเทศที่มีเขตอานาจรัฐเหนื อคดีนี้ คือ ทุกประเทศ
2.ประเทศไทยมีเขตอานาจรัฐที่จะดาเนินคดีตอ ่ นายโมฮัมเหม็ดได้หรื
อไม่เพราะเหตุใดนั้น เมือ ่ ทุกประเทศมีเขตอานาจรัฐตามมูลฐานหลักสากล
ดังนั้นประเทศไทยย่อมมีเขตอานาจรัฐเหนื อคดีนี้ด้วย
แม้ว่าการกระทาในการจี้เครือ ่ งบินของนายโมฮัมเหม็ดไม่ ได้เกิดขึ้นในประเ
ทศไทย และคนไทยไม่ได้เป็ นผู้เสียหาย หรือ
คนไทยไม่ได้เกีย่ วข้องในการกระทาผิดเลยก็ตาม
3.หากประเทศออสเตรเลียจะร้องขอให้รฐั บาลไทยส่งผู้รา้ ยข้ามแดนไ
ปยังออสเตรเลียจะได้หรือไม่หากประเทศไทยและออสเตรเลียมีสนธิสญ ั ญา
ส่งผู้รา้ ยข้ามแดนระหว่างกัน ในกรณี นี้
ประเทศออสเตรเลียก็มีเขตอานาจรัฐเหนื อคดีนี้ เช่นกัน
ในกรณี ของการมีเขตอานาจรัฐทับซ้อน (Concurrent
Jurisdiction) ซึ่งหมายถึงการที่มีประเทศมากกว่าหนึ่ งประเทศมีเขตอานา
จรัฐเหนื อการกระทาอันเป็ นความผิด ดังเช่นในกรณี นี้
ประเทศที่จะใช้เขตอานาจรัฐในการดาเนินคดี
จะต้องเป็ นประเทศที่ผูก้ ระทาผิดได้เข้าไปอยู่ในเขตอานาจรัฐนั้นๆ
ดังนั้นหากผู้กระทาผิดไม่ได้เข้าไปอยู่ในเขตอานาจรัฐนั้น
ถึงแม้รฐั นั้นจะมีเขตอานาจรัฐเหนื อคดีดงั กล่าวก็จะไม่สามารถใช้อานาจรัฐไ
ด้
เว้นแต่จะมีการขอให้มีการส่งผู้รา้ ยข้ามแดนเพือ ่ ส่งตัวผูก
้ ระทาผิดไปยังรัฐที่
ร้องขอนั้น
ดังนั้นประเทศออสเตรเลียซึ่งก็ มีเขตอานาจรัฐเหนื อการกระทาผิดฐานจี้เครื่
องบิน จึงอยู่ในกรณี ดงั กล่าวนี้
หากประเทศออสเตรเลียประสงค์ที่จะขอให้มีการส่งผู้รา้ ยข้ามแดนจากประเ
ทศไทย ซึ่งผูก
้ ระทาผิดได้เข้ามาอยู่ในเขตอานาจรัฐของไทยแล้ว
และประเทศไทยซึ่งมีเขตอานาจรัฐเหนื อคดีนี้ด้วยและมีสนธิสญ ั ญาส่งผู้รา้ ย
ข้ามแดนกับประเทศออสเตรเลียนั้น จะส่ง หรือ
ไม่ส่งนายโมฮัมเหม็ดให้แก่ประเทศออสเตรเลียก็ได้
โดยปกติประเทศที่ได้ตวั ผู้กระทาผิดหากไม่ได้เกีย่ วข้องโดยตรงมักจะส่งผู้ร ้
ายข้ามแดนไปยังประเทศที่มีความเกี่ยวข้องกับการกระทาผิด
เช่นในกรณี ของ ประเทศอังกฤษ หรือ ประเทศญี่ปุ่น เป็ นต้น
แต่ในกรณี ทีป ่ ระเทศออสเตรเลียซึ่งไม่ได้เกีย่ วข้องโดยตรง มาร้องขอให้ส่ง
ผู้รา้ ยข้ามแดนประเทศที่ได้ตวั ผู้กระทาผิดมักจะดาเนินคดีกบ ั ผู้น้น
ั เองในฐา
นะทีเ่ ป็ นเจ้าของดินแดนที่ผูก ้ ระทาผิดเข้ามาอยู่ในเขตอานาจรัฐ
เว้นแต่ประเทศทีเ่ กีย่ วข้องโดยตรงจะร้องขอให้มีการส่งผู้รา้ ยข้ามแดนดังกล่
าว เช่น อังกฤษ หรือ ญี่ปุ่น
สรุป
1. ทุกประเทศมีเขตอานาจรัฐในการดาเนินคดีจี้เครื่องบินกับนายโมฮัม
เหม็ดได้
2. ประเทศไทยมีเขตอานาจรัฐที่จะดาเนินคดีตอ
่ นายโมฮัมเหม็ดได้ต า
มมูลฐานหลักสากล
3. ประเทศออสเตรเลียจะร้องขอให้รฐั บาลไทยส่งผู้รา้ ยข้ามแดนไปยังอ
อสเตรเลียได้หากประเทศไทยและออสเตรเลียมีสนธิสญ ั ญาส่งผู้รา้ ยข้า
มแดนระหว่างกัน
แต่ประเทศไทยย่อมมีอานาจอธิปไตยในการส่งหรือไม่ส่งผู้รา้ ยข้ามแ
ดนก็ได้

วิเคราะห์
ข้อสอบข้อนี้ มีวต
ั ถุประสงค์ในการประเมินผลความรู ้
ความเข้าใจเกีย่ วกับเขตอานาจรัฐ และ มูลฐานในการกาหนดเขตอานาจรัฐ
การใช้อานาจรัฐ ตลอดจนความเข้าใจเกีย่ วกับการส่งผู้รา้ ยข้ามแดน
นักศึกษาส่วนใหญ่ตอบข้อสอบข้อนี้ ได้แต่ไม่สมบูรณ์ ครบถ้วน
ส่วนนักศึกษาที่ตอบผิดมักจะไม่ เข้าใจเขตอานาจรัฐตามหลักสากล
โดยตอบว่าการกระทาผิดไม่ได้เกิดขึ้นในราชอาณาจักรไทยและ
คนไทยไม่ได้เกีย่ วข้องในการกระทาผิดในคดีดงั กล่าวเลย
นอกจากนั้นนักศึกษาบางส่วนยังตอบผิดเกีย่ วกับการไม่มีเขตอานาจรัฐของ
ออสเตรเลีย ด้วยเหตุผลที่ว่าการกระทาผิด บุคคลทีก ่ ระทาผิด
หรือผู้เสียหายไม่ได้เกี่ยวข้องกับออสเตรเลียเลย เป็ นต้น
การตอบข้อสอบผิดในลักษณะนี้ ส่วนใหญ่เนื่องจากไม่ได้ศก ึ ษามา
เพราะเป็ นหลักเกณฑ์ท่ วั ไปเกีย่ วกับเขตอานาจรัฐ
จึงแนะนาให้นก ั ศึกษาตัง้ ใจอ่านหนังสือให้เข้าใจ
วิชานี้ ไม่ได้ยากหากได้ศก ึ ษามาอย่างดี
นักศึกษาจาเป็ นจะต้องมีความรูจ้ ึงจะสามารถสอบผ่านได้
คาถาม
นายเจฟฟรี เอกอัครราชทูต ชาวอังกฤษ ประจาประเทศ ฝรั่งเศส
ได้นารถยนต์ส่วนตัวของตนไปจอดอยู่ที่ ถนน ชองเอลิเซ่ ซึ่งเป็ นที่ห้ามจอด
จึงถูกตารวจจราจรฝรั่งเศสจับ และถูกปรับ
นายเจฟฟรีโต้แย้งว่าตนเป็ นทูตได้รบ ์ ละความคุม
ั เอกสิทธิแ ้ กันทางการทูต
จะไม่ถูกจับ หรือ ปรับแต่ประการใด
แต่ตารวจฝรั่งเศสก็โต้แย้งว่า นายเจฟฟรี ไม่ได้กาลังปฏิบต ั ิหน้าที่ทูต
ออกมาทาธุรกิจส่วนตัวและใช้รถยนต์ส่วนตัวด้วย จึงไม่รบั ฟัง
นายเจฟฟรีโกรธมาก
จึงทาหนังสือประท้วงไปยังรัฐบาลฝรั่งเศสและแจ้งรัฐบาลอังกฤษให้ทราบว่า
รัฐบาลฝรั่งเศสละเมิดกฎหมายระหว่างประเทศ
รัฐบาลอังกฤษจึงทาหนังสือประท้วงรัฐบาลฝรั่งเศสที่จบ ั กุมเอกอัครราชทูต
แล้วปรับ ซึ่งฝ่ าฝื นกฎหมายระหว่างประเทศว่าด้วยการคุม ้ ครองทูต
เนื่องจากทูตจะบริโภคเอกสิทธิแ ์ ละความคุม ้ กันทางการทูต
นักศึกษาจงพิจารณาว่าในกรณี ดงั กล่าวนี้
รัฐบาลฝรั่งเศสจะต้องรับผิดชอบต่อทูตและรัฐบาลอังกฤษหรือไม่อย่างไร
และ
ข้อโต้แย้งของตารวจจราจรฝรั่งเศสชอบด้วยกฎหมายหรือไม่เพราะเหตุใด
แนวตอบ
หลักกฎหมาย
์์
“เอกสิทธิทางทู ต”
เป็ นสิทธิพิเศษของรัฐผู้รบ ั ที่ให้แก่ผู้แทนทางทูตของรัฐผู้ส่งตามทางปฏิบต ั ิระ
หว่างประเทศอันเป็ นประเพณี นิยม
โดยอาศัยหลักอัธยาศัยไมตรีและการถ้อยทีถ้อยปฏิบต ั ิต่อกันเป็ นมูลฐาน
สิทธิพิเศษเช่นว่านี้ อาจเป็ นการให้ประโยชน์ หรือให้ผลปฏิบต ั อ
ิ ย่างใดอย่างห
นึ่ งเป็ นพิเศษ เช่น
การให้สิทธิผู้แทนทางทูตมีโบสถ์สาหรับประกอบพิธีกรรมทางศาสนา
การให้เกียรติในงานพิธี อาทิ
การยิงสลุตให้ในเมือ ่ กองเรือรบของรัฐผู้ส่งเข้าไปในเมืองท่าของรัฐผู้รบ ั
เป็ นต้น
หรืออาจเป็ นการยกเว้นไม่ให้ตอ ้ งปฏิบต ั ก
ิ ารหรือไม่ให้ต้องรับภาระอย่างใด
อย่างหนึ่ ง เช่น
การยกเว้นไม่ตอ ้ งให้ผูแ้ ทนทางทูตต้องปฏิบต ั ก
ิ ารในฐานะของคนต่างด้าวใ
นรัฐผู้รบ ั การยกเว้นภาษี อากรให้แก่ผู้แทนทางทูต เป็ นต้น
ส่วน “ความคุม ้ กันทางทูต ”
นั้นเป็ นสิทธิของรัฐผูส ้ ่งหรือที่รฐั ผู้ส่งมีอยู่ในตัวตามกฎหมายระหว่างประเท
ศ และพึงสังเกตไว้ด้วยว่า ความคุ้ มกันเป็ นสิทธิของรัฐผูส้ ่ง
ไม่ใช่ของผูแ ้ ทนทางทูตของรัฐผู้ส่ง
การสละความคุม ้ กันจึงให้รฐั ผู้ส่งเป็ นผู้สละ
ผู้แทนทางทูตจะสละเสียเองหาได้ไม่ ความคุม ้ กันเช่นว่านี้
เป็ นการยกเว้นให้ผไู้ ด้รบ ั ปลอดหรือหลุดพ้นจากอานาจหรือภาระอย่างใดอย่
างหนึ่ ง เช่น ความคุม ้ กันจากการจับกุม กักขังหรือจาขัง
ความคุม ้ กันจากอานาจพิจารณาพิพากษาของศาล
หรือจากการถูกฟ้ องร้องคดียงั โรงศาลของรัฐผู้รบ ั
เอกสิทธิท ์ างทูตได้แก่ เอกสิทธิท ์ างด้านภาษี อากร และค่าธรรมเนี ยม
หรือค่าภาระที่เรียกเก็ บในรัฐผู้รบ ั เอกสิทธิเกี์์ ่ยวกับภาษี รายได้ แบ่งได้เป็ น
2 ลักษณะ คือ เอกสิทธิท ์ างด้านภาษี ที่เกีย่ วกับสถานที่ของคณะผู้แทน
กับเอกสิทธิท ์ างด้านภาษี ของบุคคลในคณะผูแ ้ ทน

เอกสิทธิทางด้ ์ านภาษี เกีย่ วกับสถานทีข ่ องคณะผู้แทนนั้น
โดยหลักแล้ว
สถานทีข ่ องคณะผูแ ้ ทนซึ่งเป็ นกรรมสิทธิข ์ องรัฐผู้ส่งหรือบุคคลที่ทาในนามข
องรัฐผู้ส่ง ซึ่งได้ใช้ประโยชน์ ในทางราชการ
ย่อมถูกยกเว้นจากการเรียกเก็บภาษี บารุงท้องที่
หรือภาษี ทีเ่ กีย่ วกับการซื้อขาย
ข้อยกเว้นที่ไม่ได้รบ ั สิทธิพิเศษ ดังต่อไปนี้ คือ
(ก)
ภาษี ทางอ้อมชนิดทีต ่ ามปกติรวมอยู่ในราคาของสินค้าหรือบริการแล้ว
ภาษี ประเภทนี้ เป็ นภาษี ทีบ ่ วกเข้าไปในราคาสินค้า เช่น
ภาษี สินค้าของฟุ่ มเฟื อย เป็ นต้น สาหรับภาษี ทางอ้อมนี้
ตัวแทนทางการทูตมิได้รบ ั การยกเว้นภาษี
(ข) ค่าติดพัน
และภาษี จากอสังหาริมทรัพย์ ส่วนตัวซึ่งตัง้ อยู่ในอาณาเขตของรัฐผู้รบ ั นอกจ
ากตัวแทนทางการทูตครอบครองอสังหาริมทรัพย์น้น ั ไว้ ในนามของรัฐผู้ส่ง
เพือ
่ ความมุ่งประสงค์ของคณะผูแ ้ ทน
(ค) อากรกองมรดก การสืบมรดก
หรือการรับมรดกซึ่งรัฐผู้รบ ั เรียกเก็บ
(ง) ค่าติดพัน และภาษี จากเงินได้ส่วนตัว
ซึ่งมีแหล่งกาเนิดในรัฐผู้รบ ั
และภาษี เก็บจากเงินทุนซึ่งได้ลงทุนประกอบการพาณิชย์ในรัฐผู้รบ ั
(จ) ค่าภาระซึ่งเรียกเก็ บสาหรับบริการจาเพาะที่ได้ให้
(ฉ) ค่าธรรมเนี ยมการจดทะเบียน ค่าธรรมเนี ยมศาล
หรือสานวนความ ค่าติดพันในการจานอง และอากรแสตมป์
ในส่วนที่เกีย่ วกับอสังหาริมทรัพย์
นอกจากนี้ ยงั มีเอกสิทธิทางด้าน เสรีภาพในการคมนาคมสือ ่ สาร
และ เอกสิทธิความคุม ้ กันเกีย่ วกับตัวบุคคลที่จะไม่ถูกจับกุม
คุมขังไม่ว่ารูปแบบใด
ให้รฐั ผู้รบ ั ปฏิบต ั ิตอ
่ ตัวแทนทางทูตด้วยความเคารพตามสมควร
และดาเนินการที่เหมาะสมทัง้ มวลที่จะป้ องกันการประทุษร้ายใดต่อตัวบุค คล
เสรีภาพ หรือเกียรติของตัวแทนทางการทูต"
เอกสิทธินี้ให้ความคุม ้ กันเกีย่ วกับตัวบุคคลโดยเด็ดขาด
และไม่จากัดขอบเขต คือหมายความ ครอบคลุมถึงการกระทาทุกประการ
ไม่จากัดเฉพาะแต่ที่ปฏิบต ั ิหน้าที่ทางการของตัวแทนทางการทูตเท่านั้น
สาหรับความคุ้มกันเกีย่ วกับ สถานที่ของคณะผู้แทน
หรือความละเมิดมิได้เกีย่ วกับสถานทีท ่ าการของผู้แทนทางการทูต
เป็ นหลักกฎหมายทีย่ อมรับกันโดยทั่ วไป
จากหลักดังกล่าวก่อให้เกิดภาระหน้าทีแ ่ ก่รฐั ผู้รบ
ั คือ
รัฐผู้รบ ั จะต้องงดเว้นการกระทาที่เป็ นสภาพบังคับ เช่น
การบุกรุกเข้าในสถานทูตเพื่อกระทาการบางอย่าง
และในขณะเดียวกันรัฐผู้รบ ั ก็จะต้องให้ความคุ้มครองแก่สถานที่ดงั กล่าวด้ว
ย ความคุม
้ กันเกี่ยวกับสถานที่นี้
มิได้หมายความถึงสถานที่ตง้ ั ของคณะผูแ ้ ทนทางการทูตแต่อย่างเดียว
แต่รวมถึงทีอ ่ ยู่ส่วนตัวของผูแ ้ ทนทางการทูตด้วย
ความคุม ้ กันในสถานที่นี้ถือว่าเป็ นสิ่งจาเป็ นที่จะทาให้คณะผูแ ้ ทนสามารถป
ฏิบต ั ิงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
เจ้าพนักงานส่วนท้องถิ่นไม่สามารถที่จะเข้าไปในสถานที่ทาการทางการทูต
เพือ่ ปฏิบต ั ก
ิ ารควบคุม จับกุมบุคคลในสถานทูตเพือ ่ ตรวจค้นเอกสาร
เว้นเสียแต่ได้รบ ั ความยินยอมจากหัวหน้าคณะผู้แทน
วินิจฉัย
การที่นายเจฟฟรี เอกอัครราชทูต ชาวอังกฤษ ประจาประเทศ
ฝรั่งเศส ได้นารถยนต์ส่วนตัวของตนไปจอดอยู่ที่ ถนน ชองเอลิเซ่
ซึ่งเป็ นที่ห้ามจอด และได้ถูกตารวจจราจรฝรั่งเศสจับ และถูกปรับ
นายเจฟฟรีโต้แย้งว่าตนเป็ นทูตได้รบ ์ ละความคุม
ั เอกสิทธิแ ้ กันทางการทูต
จะไม่ถูกจับ หรือ ปรับแต่ประการใด
แต่ตารวจฝรั่งเศสก็โต้แย้งว่า นายเจฟฟรี ไม่ได้กาลังปฏิบต ั ิหน้าที่ทูต
ออกมาทาธุรกิจส่วนตัวและใช้รถยนต์ส่วนตัวด้วย
จึงไม่รบั ฟังนั้นไม่ชอบเพราะกฎหมายการทูตกาหนดให้เอกสิทธิความคุม ้ กั
นเกีย่ วกับตัวบุคคลทีจ่ ะไม่ถูกจับกุม คุมขังไม่ว่ารูปแบบใด
และให้รฐั ผู้รบ
ั ปฏิบตั ิตอ่ ตัวแทนทางทูตด้วยความเคารพตามสมควร
และดาเนินการที่เหมาะสมทัง้ มวลที่จะป้ องกันการประทุษร้ายใดต่อตัวบุคคล
เสรีภาพ หรือเกียรติของตัวแทนทางการทูต
เอกสิทธินี้ให้ความคุม ้ กันเกีย่ วกับตัวบุคคลโดยเด็ดขาด
และไม่จากัดขอบเขต คือหมายความ ครอบคลุมถึงการกระทาทุกประการ
ไม่จากัดเฉพาะแต่ทีป ่ ฏิบต
ั ห
ิ น้าทีท
่ างการของตัวแทนทางการทูตเท่านั้น

สรุป
รัฐบาลฝรั่งเศสจะต้องรับผิดชอบต่อทูตและรัฐบาลอังกฤษ และ
ข้อโต้แย้งของตารวจจราจรฝรั่งเศสไม่ชอบด้วยกฎหมายเพราะเอกสิทธิและ
ความคุม ้ กันในตัวบุคคลอันละเมิดมิได้น้นั เป็ นเอกสิทธิเด็ดขาดไม่จากัดเฉพ
าะแต่ที่ปฏิบต ั ห
ิ น้าทีท
่ างการของตัวแทนทางการทูตเท่านั้น อย่างไรก็ตามตัว
ทูตเองจะต้องมีสานึกในการปฏิบต ั ิหน้าที่ของตนโดยเคารพต่อกฎหมายของ
รัฐผู้รบ
ั ด้วย
วิเคราะห์
ข้อสอบข้อนี้ มีวต
ั ถุประสงค์ที่จะประเมินความรูข ้ องนักศึกษา เกีย่ วกับ
เอกสิทธิ และความคุม ้ กันทางการทูตว่านักศึกษามีความรู ้
และสามารถวิเคราะห์
การปรับใช้หลักกฎหมายดังกล่าวกับข้อเท็ จจริงที่เกิดขึ้นได้หรือไม่
นักศึกาส่วนใหญ่สามารถตอบข้อสอบนี้ ได้
แต่มีนกั ศึกษาบางส่วนที่ตอบผิดโดย ตอบว่า
การกระทาของทูตทีผ ่ ิดกฎหมายในขณะที่ไม่ได้ปฏิบ ต ั ห
ิ น้าทีจ่ ะไม่ได้รบ
ั เอก
สิทธิและความคุม ้ กัน
ซึ่งหลักเกณฑ์การให้ความคุม ้ กันนี้ ในข้อนี้ ต้องการที่จะให้ความคุ้มกันทูตแ
บบเด็ดขาดเ

You might also like