Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 2

๑/๒ มคอ.


รายละเอียดของรายวิชา
ข้ อมูลโดยทัว่ ไป
๑. รหัสและชื่ อรายวิชา วศคก ๓๓๔ การถ่ ายเทความร้ อน
๒. จานวนหน่ วยกิต ๓ (๓-๐-๖) หน่วยกิต (บรรยาย-ปฏิบตั ิ-ศึกษาด้วยตนเอง)
๓. หลักสู ตรและประเภทของรายวิชา
วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่ องกล เป็ นรายวิชาในหมวดวิชาบังคับ
๔. อาจารย์ ผ้ รู ับผิดชอบรายวิชาและอาจารย์ ผ้ สู อน ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วรศิษฐ์ ตรู ทศั นวินท์
สถานที่ติดต่อ : ภาควิชาวิศวกรรมเครื่ องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิ ดล
โทร. ๐-๒๘๘๙-๒๑๓๘ ต่อ ๖๔๐๑-๓
๕. ภาคการศึกษา/ชั้นปี ทีเ่ รียน ภาคการศึกษาที่ ๓ ชั้นปี ที่ ๒
๖. รายวิชาทีต่ ้ องเรียนมาก่อน (Pre-requisite) วศคก ๒๓๑ เทอร์โมไดนามิกส์ ๑ และ
วศคร ๒๐๐ คณิ ตศาสตร์วิศวกรรม
๗. รายวิชาทีต่ ้ องเรียนพร้ อมกัน (Co-requisites) ไม่มี
๘. สถานทีเ่ รียน คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิ ดล
๙. วันทีจ่ ัดทาหรื อปรับปรุ งรายละเอียดของรายวิชาครั้งล่ าสุ ด ๔ มกราคม ๒๕๕๙

จุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์
๑. จุดมุ่งหมายของรายวิชา
เมื่อสิ้ นสุ ดการเรี ยนการสอนแล้ว นักศึกษาสามารถ
๑.๑ เข้าใจและทราบถึงลักษณะการถ่ายเทความร้อนสามแบบพื้นฐาน คือ การนาความร้อน การพาความร้อน และการ
แพร่ รังสี ความร้อน
๑.๒ สามารถคานวนและวิเคราะห์การถ่ายเทความร้อนแบบการนาความร้อน การพาความร้อน และการแพร่ รังสี ความ
ร้อน รวมทั้งสามารถคานวณและออกแบบอุปกรณ์แลกเปลี่ยนความร้อน
๑.๓ สามารถวิเคราะห์ ประเมินความเป็ นไปได้ในการออกแบบ ประมาณค่าประสิ ทธิ ภาพของระบบเชิงความร้อน และ
ประยุกต์ใช้คณิ ตศาสตร์ และโปรแกรมคอมพิวเตอร์ เพื่อช่วยในการแก้ปัญหาของการถ่ายเทความร้อน
๒. วัตถุประสงค์ ในการพัฒนา/ปรับปรุ งรายวิชา
เพื่อให้นกั ศึกษาสามารถมีความรู ้ ความเข้าใจ สามารถนาความรู ้ที่ได้ศึกษาทางทฤษฎีมาประยุกต์ใช้ในทางปฏิบตั ิ
ในแง่มุมต่างๆ ทั้งทางด้านการวิเคราะห์ปัญหา การสังเคราะห์ ปัญหา และการแก้ไขปั ญหา สามารถใช้คอมพิวเตอร์ ช่วยในการ
คานวณ วิเคราะห์ และการแก้ไขปั ญหา โดยมีการปรับปรุ งที่เนื้อหาการสอนให้มีความทันสมัยกับปั จจุบนั

ลักษณะและการดาเนินการ
๑. คาอธิบายรายวิชา
ลักษณะการถ่ายเทความร้อน สภาพการนาความร้อน สมการการนาความร้อน การนาความร้อนในสถานะคงตัวแบบ ๑
และ ๒ มิติ การนาความร้อนในสถานะไม่คงที่ การพาความร้อนแบบบังคับและแบบธรรมชาติ การถ่ายเทความร้อนขณะเกิด
การเดือดและขณะเกิดการควบแน่น เครื่ องแลกเปลี่ยนความร้อน การแผ่รังสี
Modes of heat transfer; thermal conductivity; heat conduction equation; steady-state one–and two-dimensional heat
conduction; unsteady-state heat conduction; force and natural convection; boiling and condensation; heat exchangers; radiation.
๒. จานวนชั่วโมงที่ใช้ ต่อภาคการศึกษา
บรรยายต่อสัปดาห์ ๓ ชัว่ โมง ฝึ กปฏิบตั ิการต่อสัปดาห์ ๐ ชัว่ โมง การศึกษาด้วยตนเอง ๖ ชัว่ โมง

ผศ.ดร.วรศิษฐ์ ตรู ทศั นวินท์ 15/01/2561


๒/๒ มคอ. ๓
แผนการสอนและการประเมินผล
๑. แผนการสอน
จานวนชั่วโมง
สั ปดาห์ หัวข้ อ อาจารย์ ผู้สอน
บรรยาย ปฏิบตั ิ ศึกษาด้วยตนเอง
๑ Fundamentals Concepts of Conduction ๓ ๐ ๖ ผศ.ดร.วรศิษฐ์
๒-๓ Steady-State, One-Dimensional Conduction ๖ ๐ ๑๒ ผศ.ดร.วรศิษฐ์
๔ Steady-State, Multi-Dimensional Conduction ๓ ๐ ๖ ผศ.ดร.วรศิษฐ์
๕ Time Dependent Conduction ๓ ๐ ๖ ผศ.ดร.วรศิษฐ์
๖ Fundamentals Concepts of Convection ๓ ๐ ๖ ผศ.ดร.วรศิษฐ์
๗-๘ External Forced Convection ๖ ๐ ๑๒ ผศ.ดร.วรศิษฐ์
๙ Internal Forced Convection ๓ ๐ ๖ ผศ.ดร.วรศิษฐ์
๑๐ Natural Convection ๓ ๐ ๖ ผศ.ดร.วรศิษฐ์
๑๑ Convection Processes of Boiling and Condensation ๓ ๐ ๖ ผศ.ดร.วรศิษฐ์
๑๒ Heat Exchange Devices ๓ ๐ ๖ ผศ.ดร.วรศิษฐ์
๑๓-๑๔ Fundamentals Concepts of Radiation ๖ ๐ ๑๒ ผศ.ดร.วรศิษฐ์
๑๕ Radiation Transfer Between Two or More Surfaces ๓ ๐ ๖ ผศ.ดร.วรศิษฐ์
กิจกรรมการเรียนการสอนและสื่ อที่ใช้ : บรรยายและแบบฝึ กหัดโดยใช้คอมพิวเตอร์ที่สามารถเขียนได้
๒. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
กิจกรรมที่ วิธีการประเมิน สั ปดาห์ ทปี่ ระเมิน สั ดส่ วนของการประเมินผล
๑ สอบกลางภาคครั้งที่ ๑ ๖ ๓๐%
๒ สอบกลางภาคครั้งที่ ๒ ๑๐ ๓๐%
๓ สอบปลายภาค ๑๕ ๓๐%
๔ การเข้าชั้นเรี ยน การตรงต่อเวลา ตลอดภาคการศึกษา ๓%
๕ การบ้าน ๔, ๙, ๑๒, ๑๕ ๕%
๖ การมีส่วนร่ วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรี ยน การถามตอบ ตลอดภาคการศึกษา ๒%
๓. เกณฑ์ การตัดเกรดเบื้องต้ น มากกว่า ๘๐% A ๗๕ – ๘๐% B+ ๖๓ – ๖๙% C+
๕๗ – ๖๓% C ๕๑ – ๕๗% D+ ๔๕ – ๕๑% D น้อยกว่า ๔๕% F
ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน
๑. ตาราและเอกสารหลัก
- เอกสารประกอบการสอน EGME 334 Heat Transfer.
- Incropera F.P., Dewitt D.P., Bergman T.L., Lavine A.S. Principles of Heat and Mass Transfer. 7th Edition. John Wiley
& Sons: 2013.

๒. เอกสารและข้ อมูลสาคัญ
- Çengel Y. Ghajar A. Heat and Mass Transfer: Fundamentals and Applications. 5th Ed. McGraw-Hill: 2015.
- Holman J.P. Heat Transfer. 10th Edition. McGraw-Hill Companies: 2010.
- Kreith F., Bohn M.S. Principles of Heat Transfer. 6th Edition. Thomson Learning: 2001.
- Mills AF. Basic Heat and Mass Transfer. 2nd Edition. Prentice Hall: 1999.

ผศ.ดร.วรศิษฐ์ ตรู ทศั นวินท์ 15/01/2561

You might also like