Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 10

TEDวิชาวิทยาศาสตร ประถมศึกษาปที่ 6ET ประถมศึกษาปที่ 5

การประเมินและพัฒนาสูความเปนเลิศทางคณิตศาสตรและวิทยาศาสตร ประจําป 2559 (TEDET)


วิชาวิทยาศาสตร ชั้นประถมศึกษาปที่ 6
ชื่อ-นามสกุล โรงเรียน

คําชี้แจง 2. ขอใดอธิบายเกี่ยวกับการเคลื่อนที่ของเสียงไมถูกตอง
1. ขอสอบวิทยาศาสตร มีทั้งหมด 30 ขอ ๑ เสียงเคลื่อนที่ในน้ําได
2. ขอสอบวิทยาศาสตรเปนขอสอบแบบมี ๒ เสียงเคลื่อนที่ในอวกาศได
ตัวเลือกแบบพิเศษที่ ขอหนึ่ง ๆ อาจมีคําตอบ ๓ เสียงเคลื่อนที่ในอากาศได
ที่ถูกตองไดมากกวา 1 คําตอบ
๔ เสียงเคลื่อนที่ผานสารตาง ๆ ได
3. ขอควรระวัง ถาขอสอบขอใดมีคําตอบที่
ถูกตองมากกวา 1 คําตอบ นักเรียนตอง ๕ เสียงสามารถเคลื่อนที่ผานโตะไมได
เลือกตอบคําตอบที่ถูกตองใหครบทุกขอ
จึงจะไดคะแนน
4. เวลาในการทําขอสอบวิทยาศาสตร 90 นาที 3. ขอใดบางที่อธิบายเกี่ยวกับโทรศัพทแกวกระดาษ
ดังภาพไมถูกตอง
แกวกระดาษ
1. ขอใดอธิบายเกี่ยวกับสอมเสียงไมถูกตอง ดาย

คลิปหนีบกระดาษ

๑ เสียงเคลื่อนที่ผานการสั่นของดาย
๑ ถาเคาะสอมเสียงจะเกิดเสียง ‘วิ้ง’ ๒ ถึงจะใชเอ็นตกปลาแทนดาย เสียงก็สามารถ
๒ ถานําสอมเสียงที่มีเสียงไปแตะที่ผิวน้ํา เคลื่อนที่ได
ผิวน้ําจะสั่นไหว ๓ ถาใชลวดสปริงแทนดาย เสียงจะไมสามารถ
๓ ถานําสอมเสียงที่มีเสียงมาแตะที่มือจะรูสึกไดถึง เคลื่อนที่ได
การสั่น ๔ แมวาจะใชดายทําเปนสายโทรศัพทหลาย ๆ สาย
๔ ถานําสอมเสียงที่ไมมีเสียงมาแตะที่มือจะรูสึกได ก็ใชพูดคุยกันไดแคสองคน
ถึงการสั่น ๕ ถาติดคลิปหนีบกระดาษเขากับกนแกวดานในของ
๕ ถานําสอมเสียงที่มีเสียงไปแตะที่กระดาษ แกวกระดาษใหแนนดวยเทปใส จะทําใหไดยินเสียง
แผนบาง ๆ กระดาษจะสั่น ชัดเจนขึ้น
1
สนับสนุนโดย
TE วิชาวิทยาศาสตร ประถมศึกษาปที่ 6ET ประถมศึกษาปที่ 5

4. ขอใดอธิบายเกี่ยวกับกระแสลมในเวลากลางวันและ 7. เมื่อทําการทดลองวัด
กลางคืนของพื้นที่แถบชายฝงไมถูกตอง อุณหภูมิของทรายและ
๑ ตอนกลางวันลมจะพัดจากทะเลเขาสูฝง น้ําในระยะเวลาหนึ่งวัน
๒ ตอนกลางคืนอากาศบนผิวทะเลจะลอยตัวขึ้น ดังภาพ ขอใดคือเงื่อนไข
ที่ตองกําหนดใหตางกัน
๓ ตอนกลางวันอุณหภูมิบนฝงสูงกวาอุณหภูมิ
๑ เวลาที่วัดอุณหภูมิ
ของทะเล
๔ ทิศทางการพัดของลมจะเปลี่ยนแปลงไปตาม ๒ ขนาดของบีกเกอร
อุณหภูมิของทะเลและชายฝง ๓ ชนิดของสารที่ใสลงในบีกเกอร
๕ เพราะตอนกลางคืนอุณหภูมิของทะเลสูงกวา ๔ ปริมาณแสงแดดที่สองลงในทรายและน้ํา
อุณหภูมิบนฝงจึงเกิดลมทะเลขึ้น ๕ ระดับความลึกที่เสียบเทอรมอมิเตอรลงใน
ทรายและน้ํา
5. ขอใดคือกระบวนการที่ทําใหเกิดฝน
8. ขอใดอธิบายเกี่ยวกับการยอยอาหารไมถูกตอง
๑ ความชื้นของอากาศบนพื้นดินสูงขึ้น
๑ อาหารในปากนิ่มขึ้นเพราะน้ําลาย
๒ ไอน้ําที่ถูกอัดใหเล็กลงตกลงมาในสถานะน้ําแข็ง
( ๒ กระเพาะหลั่งสารเหลวออกมายอยอาหาร
๓ ไอน้ําในอากาศบริเวณใกลพ(ื้นดินจับกลุมเปนกอน
( ๓ ตับและถุงน้ําดีเปนอวัยวะที่ชวยยอยอาหาร
๔ ไอน้ําในอากาศเกาะอยูที่พื้นผิวของวัตถุที่มี
๔ ทวารหนักทําหนาที่ดูดซึมความชื้นจากกากอาหาร
อุณหภูมิต่ํา
( ๕ กระบวนการที่อาหารถูกบดจนละเอียดและ
๕ ขณะที่เมฆเคลื
( ่อนที่ผานบริเวณที่มีอุณหภูมิสูง แปรสภาพเปนสารอาหาร เรียกวา การยอย
หยดน้ําขนาดเล็กหรือเกล็ดน้ําแข็งในเมฆคอย ๆ
ใหญขึ้นและมีน้ําหนักมากขึ้นแลวตกลงมา
9. การจําแนกประเภทของขยะที่เกิดขึ้นจากกิจวัตร
ประจําวันของเราดังภาพ ทําใหสามารถนําขยะที่
ยังมีประโยชนอยูกลับมาใชใหมได
6. ขอใดอธิบายเกี่ยวกับความกดอากาศและสภาพอากาศ
ไดถูกตอง
๑ เมื่อความกดอากาศสูงฝนจะตก
๒ เมื่อความกดอากาศสูงจะเกิดเมฆ
๓ เมื่อความกดอากาศต่ําอากาศจะแจมใส ที่มา : http://www.oknation.net
๔ ความกดอากาศไมมีอิทธิพลตอสภาพอากาศ จงเลือกอวัยวะสองขอที่ทําหนาที่เทียบกันไดกับในภาพ
๕ เมื่อความกดอากาศต่ําอากาศจะมืดครึ้มและมีฝน ๑ ไต ๒ หัวใจ ๓ ถุงน้ําดี
หรือหิมะตก ๔ ทวารหนัก ๕ กระเพาะปสสาวะ
2
สนับสนุนโดย
TE วิชาวิทยาศาสตร ประถมศึกษาปที่ 6ET ประถมศึกษาปที่ 5

10. ขอใดอธิบายไมถูกตอง 12. ภาพแสดงอวัยวะในระบบยอยอาหาร


ถึงสิ่งที่เกิดขึ้นขณะ (ก)
กระโดดเชือก
๑ หายใจหอบถี่
๒ จังหวะการเตน
ของหัวใจเร็วขึ้น ที่มา : http://www.thaihealth.or.th
ขอใดไมใชสิ่งที่เกิดขึ้นที่ (ก)
๓ ตอนกระโดดมองเห็นเชือกตกลงมา
๑ อาหารถูกคลุกเคลาดวยลิ้น
๔ อวัยวะที่ใชในการเคลื่อนไหวปฏิบัติตามคําสั่ง
๒ ดูดซึมความชื้นของกากอาหาร
ของสมองที่วาใหกระโดดขามเชือก
๕ กระดูกและกลามเนื้อขับของเสียที่ไมจําเปนที่ ๓ อาหารถูกบดใหละเอียดดวยฟน
เกิดขึ้นออกไปนอกรางกายขณะเคลื่อนที่ ๔ อาหารถูกทําใหออนตัวลงดวยน้ําลาย
๕ จากอวัยวะในระบบยอยอาหารทั้งหมด (ก)
เปนตําแหนงที่สัมผัสกับอาหารเปนอันดับแรก
11. จากขอความตอไปนี้
(ก) ไดรับการกระตุน
(ข) ตอบสนองผานอวัยวะที่ใชในการเคลื่อนไหว
(ค) ระบบประสาทสวนกลางซึ่งประกอบดวยสมอง
วิเคราะหขอมูลที่ไดรับแลวตัดสินใจและออกคําสั่ง
(ง) ขอมูลที่อวัยวะรับความรูสึกไดรับถูกสงไปยังระบบ
ประสาทสวนกลางซึ่งประกอบดวยสมองผานทาง 13. ขอใดคือหนาที่ของเลือด
ระบบประสาทรอบนอก
๑ ทําหนาที่สูบ – ฉีด
(จ) คําสั่งของสมองถูกสงไปยังอวัยวะที่ใชในการ
เคลื่อนไหวผานทางระบบประสาทรอบนอก ๒ เปนทางเดินของอากาศ
๓ ระบายกากอาหารที่ไมยอย
จงเรียงลําดับขั้นตอนการตอบสนองตอการกระตุน
๔ ขับของเสียภายในรางกายออกไปนอกรางกาย
ใหถูกตองตามลําดับ
๕ ลําเลียงออกซิเจนและสารอาหารที่จําเปนตอรางกาย
๑ (ก)ȥ(ค)ȥ(ง)ȥ(จ)ȥ(ข)
๒ (ก)ȥ(ง)ȥ(ค)ȥ(จ)ȥ(ข)
๓ (ก)ȥ(ง)ȥ(จ)ȥ(ค)ȥ(ข)
๔ (ก)ȥ(จ)ȥ(ค)ȥ(ง)ȥ(ข)
๕ (ก)ȥ(จ)ȥ(ง)ȥ(ค)ȥ(ข)

3
สนับสนุนโดย
TE วิชาวิทยาศาสตร ประถมศึกษาปที่ 6ET ประถมศึกษาปที่ 5

14. ขอใดคือสิ่งที่สามารถทราบไดจากการดูภาพนี้ 16. จากภาพ ขอใดไมใชปญหาที่เกิดขึ้นในระบบนิเวศ

๑ พืชจํานวนมากถูกเผาไหม
๑ อาหารของกบมีหนึ่งชนิด ๒ แหลงที่อยูอาศัยของสัตวหายไป
๒ ดวงเตาลายเปนอาหารของแมงมุมเทานั้น ๓ แหลงที่อยูอาศัยของพืชหายไป
๓ สิ่งมีชีวิตหลายชนิดเปนอาหารของเหยี่ยว ๔ ผูผลิตเพิ่มจํานวนขึ้นอยางมาก
๔ ความสัมพันธแบบเหยื่อกับผูลาไมมีความซับซอน ๕ แหลงอาหารถูกไฟไหมสัตวจึงยายไปที่อื่น
๕ กระรอกจะไมถูกสัตวชนิดอื่นจับกินเปนอาหาร
17. ขอใดอธิบายเกี่ยวกับการหมุนรอบตัวเองของโลก
และการโคจรรอบดวงอาทิตยของโลกไดถูกตอง
๑ โลกหมุนรอบตัวเองปละหนึ่งรอบ
๒ โลกโคจรรอบดวงอาทิตยในลักษณะวงกลม
๓ โลกโคจรรอบดวงอาทิตยวันละหนึ่งรอบ
15. ขอใดกลาวถึงการกระทําของมนุษยที่สงผลกระทบ
ตอระบบนิเวศไดถูกตอง
๔ ในขณะที่โลกหมุนรอบตัวเองก็โคจรรอบดวงอาทิตย
ไปดวย
๑ การใชรถยนตทําใหอากาศสะอาดขึ้น
๕ โลกหมุนรอบตัวเองโดยมีดวงอาทิตยเปนศูนยกลาง
๒ การทําเกษตรกรรมโดยใชสารเคมีทําใหดิน
การหมุน
สะอาด
๓ การสรางถนนทําใหสัตวตาง ๆ สัญจรไปมา 18. เหตุใดเราจึงเห็นตําแหนงของกลุมดาวแตกตางกัน
ไดสะดวก ในแตละเดือน
๔ การถมทะเลเปนการรักษาสมดุลใหกับ ๑ เพราะดวงจันทรโคจรรอบโลก
ระบบนิเวศทางทะเล
๒ เพราะโลกโคจรรอบดวงอาทิตย
๕ การสรางสนามกอลฟทําใหแหลงที่อยูอาศัย
๓ เพราะดวงอาทิตยโคจรรอบโลก
ของสิ่งมีชีวิตชนิดตาง ๆ หายไป
๔ เพราะโลกโคจรรอบดวงอาทิตยโดยมีแกนโลก
เปนศูนยกลางการหมุน
๕ เพราะโลกหมุนรอบตัวเองโดยมีแกนโลกเปน
ศูนยกลางการหมุน
4
สนับสนุนโดย
TE วิชาวิทยาศาสตร ประถมศึกษาปที่ 6ET ประถมศึกษาปที่ 5

19. เมื่อมองเห็นดวงจันทรมีลักษณะดังภาพ 21. วันซ (Once) คือ ละครเพลงเรื่องหนึ่งที่ทําการแสดง


โดยมีกรุงดับลินเมืองหลวงของไอรแลนดเปนฉากหลัง
โดยที่นักแสดงจะตองเปนผูเลนดนตรีเอง เพราะไมมี
(ก) วงออรเคสตราเลนดนตรีใหเหมือนการแสดงเรื่องอื่น ๆ
เครื่องดนตรีที่ใชในการแสดงละครเพลงเรื่องนี้
มีเสียงที่แตกตางกันถึง 16 เสียง ไดแก กีตาร ไวโอลิน
เชลโล แมนโดลิน แอคคอรเดียน เบส กลอง เปนตน
ขอใดอธิบายเกี่ยวกับสวน (ก) ไมถูกตอง
เสียงคือคลื่นที่เกิดขึ้นจากการสั่นสะเทือนของวัตถุ
๑ เปนสวนที่หันไปทางดวงอาทิตย และเดินทางผานตัวกลาง เชน อากาศหรือน้ําเขามา
๒ เปนสวนที่ไดรับแสงอาทิตย ที่หูของเราทําใหเราไดยินเสียง ยกตัวอยางเชน
๓ เปนสวนที่มองเห็นจากโลก ถาดีดสายกีตารดวยมือขวาจะเกิดเสียงขึ้น หรือถาใช
๔ เปนสวนที่สะทอนแสงอาทิตย มือซายกดสายกีตารแลวดีดดวยมือขวาก็จะไดเสียง
ที่ตางออกไป เมื่อใชนิ้วดีดสายกีตารไลกันไปทีละสาย
๕ เปนสวนที่มองไมเห็นจากโลก
จะเกิดเสียง ‘ดือรือรึง’ ซึ่งความถี่ยิ่งมากเสียงจะยิ่งสูง

20. ขอใดอธิบายเกี่ยวกับสารอาหารไมถูกตอง
๑ ทําหนาที่ชวยปรับการทํางานของรางกาย ที่มา : http://www.bangkok-pcgame.com/
ใหสมดุล
๒ สรางพลังงานเพื่อใหรางกายสามารถเคลื่อนที่ได เมื่อดีดกีตารเพื่อทําใหเกิดเสียง ขอใดจับคูกรณี
ที่ทําใหเกิดเสียงสูงไดถูกตอง
๓ ประกอบอยูในรางกายโดยมีหนาที่เสริมสราง
ระยะหางระหวางมือ ความตึงของสาย
ความแข็งแรงใหกระดูกและกลามเนื้อ ทั้งสองขาง กีตาร
๔ อาหารทุกชนิดมีสารอาหารแตละประเภท ๑ กดสายกีตารใกลมือที่ดีด สายหยอน
อยูในปริมาณเทากัน
๒ กดสายกีตารใกลมือที่ดีด สายตึง
๕ อาหารหลัก 5 หมู ไดแก คารโบไฮเดรต ไขมัน
๓ กดสายกีตารไกลมือที่ดีด สายหยอน
โปรตีน แรธาตุ และวิตามิน
๔ กดสายกีตารไกลมือที่ดีด สายตึง
๕ ไมเกี่ยวของ ไมเกี่ยวของ

5
สนับสนุนโดย
TE วิชาวิทยาศาสตร ประถมศึกษาปที่ 6ET ประถมศึกษาปที่ 5

22. ลําโพง (speaker) 23. จากคําอธิบายเกี่ยวกับน้ําคาง


เปนอุปกรณที่ทํางาน น้ําคาง
โดยเปลี่ยนสัญญาณไฟฟา ถาอุณหภูมิในตอนกลางคืนลดต่ําลงกวาอุณหภูมิ
เปนสัญญาณเสียง ที่ทําใหเกิดน้ําคาง (อุณหภูมิจุดน้ําคาง : อุณหภูมิที่
เพื่อแปลงเปนเสียงที่มนุษย ความชื้นสัมพัทธเปน 100%) ไอน้ําในอากาศจะเขาสู
สามารถไดยินได โดยไดมีการพัฒนาเปนลําโพง ภาวะอิ่มตัวยิ่งยวด วัตถุที่เย็น (เชน ใบหญา กอนหิน
ขนาดเล็กที่สะดวกตอการพกพาเรียกวา เอียรโฟน โลหะ) จะมีอุณหภูมิต่ํากวาวัตถุอื่น ไอน้ําที่อยูในภาวะ
ขอมูลเสียงจากไฟลเสียงเคลื่อนที่ผานสายไฟไปยัง อิ่มตัวยิ่งยวดในอากาศรอบ ๆ วัตถุที่เย็นนี้จะรวมตัวกัน
เปนหยดน้ําซึ่งหยดน้ํานี้เรียกวา น้ําคาง
ลําโพงในรูปแบบของสัญญาณไฟฟา ถาสัญญาณ
น้ําคางจะเกิดขึ้นในตอนเชามืดของวันที่อากาศ
ไฟฟาของเสียงไหลมาที่ขดลวดที่อยูในลําโพง แจมใสและมีลมพัดออน ๆ และจะเกิดขึ้นไดดีในพื้นที่
สนามแมเหล็กจะทําใหเหล็กชิ้นเล็ก ๆ ที่อยูระหวาง ที่มีความชื้นสัมพัทธสูง
ขดลวดเคลื่อนที่ และการสั่นสะเทือนที่เกิดจาก
การเคลื่อนที่นี้จะถูกสงไปยังกรวย (diaphragm)
ทําใหเกิดเสียงขึ้นหรืออาจกลาวไดวาเสียงเกิดขึ้น
จากการสั่นสะเทือน ซึ่งการตรวจสอบวามีการ
สั่นสะเทือนเกิดขึ้นหรือไมขณะที่เกิดเสียงนั้น ที่มา : http://wachalife.com/blog/14197.html
มีดวยกันหลายวิธี เมื่อมีเสียงออกมาจากวัตถุ
จากบันทึกประจําวันของปอ ดังนี้
ขอใดไมใชวิธีตรวจสอบการสั่นสะเทือนที่ถูกตอง วันที่ 15 เดือนพฤศจิกายน – ลมแรง
๑ ลองใชมือแตะคอขณะที่รองเพลง เชานี้ตื่นขึ้นมาแลวรูสึกวาอากาศในหองไมแหง
เพราะเมื่อคืน (A) แขวนผาขนหนูชุบน้ําหมาด ๆ เอาไว
๒ เคาะสอมเสียB.งแลวนําไปแตะที่ผิวน้ํา
หลังจากตื่นนอนแลวก็เดินออกไปขางนอกเพื่อสูด
C. ดอยู
๓ ลองจับหูของเพื่อนขณะที่ตัวเองพู อากาศ ตอนที่หายใจเขา – ออกลึก ๆ ทางปาก
๔ เปดเพลงเสียงดัง ๆ แลวนํามือไปแตะที่ลําโพง (B) มีบางอยางคลายควันสีขาวลอยออกมาจากปาก
เมื่อเดินเขาไปในครัวเพื่อติดเตาตั้งกาตมน้ํา
๕ จุดเทียนไขนําไปไวหนากลองขนาดใหญ
กรวย จากนั้นไมนาน (C) ไดยินเสียงเตือนวาน้ําเดือดแลว
แลวตีกลอง ดังมาจากกาตมน้ํา ใชน้ํารอนชงชามะลิในแกวใส
แลวดมกลิ่น (D) มีกลุมควันสีขาวลอยขึ้นมาจากแกว
และ (E) สังเกตเห็นหยดน้ําเกาะ

ขอความใดเปนปรากฏการณที่เกิดขึ้นเหมือนกับ
น้ําคาง
๑ (E) ๒ (B), (D) ๓ (C), (E)
๔ (D), (E) ๕ (B), (D), (E)

6
สนับสนุนโดย
TE วิชาวิทยาศาสตร ประถมศึกษาปที่ 6ET ประถมศึกษาปที่ 5

24. หลังจากที่กาลิเลโอ กาลิเลอีไดประดิษฐ 25. ดวงจันทรนั้นมีความสัมพันธใกลชิดกับการดํารงชีวิต


กลองโทรทรรศนขึ้นมาก็ทําใหมนุษยชาติไดคนพบ ของมนุษย สิ่งมีชีวิตทั้งพืชและสัตวที่อาศัยอยูบนโลก
ความจริงมากมายที่เคยเปนปริศนาของดวงจันทร ตางก็ไดรับอิทธิพลจากดวงจันทร เมื่อดวงจันทร
ในวันที่ 21 กรกฎาคม ปค.ศ. 1969 เต็มดวง เตาทะเลจะขึ้นฝงเพื่อไปวางไขและสิ่งมีชีวิต
ยานอะพอลโล 11 ไดลงจอดบนพื้นผิวดวงจันทร ในทะเลก็มีการปรับตัวตามการเปลี่ยนแปลงของ
อยางปลอดภัยและสงมนุษยอวกาศลงไปเหยียบ ดวงจันทรดวยเชนกัน
ดวงจันทรไดสําเร็จเปนครั้งแรก โดย นีล อารมสตรอง
เปนมนุษยคนแรกที่ไดเหยียบดวงจันทร และปจจุบัน
มนุษยก็ยังคงพยายามทําการสํารวจดวงจันทรอยู
อยางตอเนื่อง

ที่มา : http://www.manager.co.th
ขอใดบางที่เปนปรากฏการณที่เกิดจากสาเหตุเดียวกับ
ปรากฏการณในขอความ

ที่มา : http://pkornkanok.exteen.com/

ขอใดอธิบายเกี่ยวกับดวงจันทรไดถูกตอง ยิ่งขึ้นไปที่สูงมากเทาไรทัศนวิสัยจะยิ่งกวาง
๑ ดวงจันทรโคจรรอบโลกแตไมหมุนรอบตัวเอง ๒ วงจรการเปลี่ยนแปลงรูปราง
๒ เราสามารถมองเห็นดวงจันทรไดเฉพาะสวนที่ ของดวงจันทรในหนึ่งเดือน
เปลงแสงสวางออกมา
๓ การที่เรามองเห็นการเคลื่อนที่ของดวงจันทร
ในแตละวันเปนเพราะโลกหมุนรอบตัวเอง ๓ เมื่อเดินทางจากซีกโลกเหนือ
ไปยังซีกโลกใต จะสังเกตเห็น
๔ เมื่อทําการสังเกตตําแหนงของดวงจันทรในเวลา
กลุมดาวที่ตางกัน
เดียวกันเปนเวลาสองถึงสามวันพบวาดวงจันทร
เคลื่อนที่จากทิศตะวันออกไปทางทิศตะวันตก ๔ เมื่อเกิดจันทรุปราคามองเห็น
๕ เมื่อทําการสังเกตตําแหนงของดวงจันทรในเวลา เงาของโลกที่สะทอนอยูบน
เดียวกันเปนเวลาสองถึงสามวันแลวพบวาใน ดวงจันทรเปนวงกลม
แตละวันตําแหนงของดวงจันทรแตกตางกัน ๕
เปนเพราะโลกหมุนรอบตัวเอง
เมื่อเรือที่แลนอยูกลางทะเลแลนเขามาที่ทาเรือ
จะมองเห็นกระโดงเรือกอนเปนอันดับแรก
7
สนับสนุนโดย
TE วิชาวิทยาศาสตร ประถมศึกษาปที่ 6ET ประถมศึกษาปที่ 5

26. สัตวเลี้ยงลูกดวยนมอยางมนุษยมีพยาธิอยูในรางกาย เมื่อกลืนยาเม็ดอัจฉริยะลงไป ขอใดบางที่อธิบาย


พยาธิจะแยงสารอาหารไป ทําใหรางกายขาดอาหาร เกี่ยวกับการเคลื่อนที่ของยาเม็ดอัจฉริยะในรางกาย
หากรุนแรงมากอาจถึงขั้นเสียชีวิต ของเราไดถูกตอง
ขอใดคือความสัมพันธของมนุษยกับพยาธิที่ถูกตอง ๑ อวัยวะลําดับที่สามที่ยาเม็ดเคลื่อนที่ผาน คือ
ที่สุด กระเพาะ
๑ ความสัมพันธแบบเหยื่อกับผูลา ๒ ยาเม็ดอัจฉริยะจะแตกตัวและผสมเขากับน้ําลาย
๒ ความสัมพันธแบบพึ่งพาอาศัยกัน ที่หลอดอาหาร
๓ ความสัมพันธแบบแยงอาหารเพื่อยึดครอง ๓ อวัยวะถัดไปที่ยาเม็ดที่เขาไปทางปากจะเคลื่อนที่
ที่อยูอาศัย ผาน คือ หลอดอาหาร
๔ ความสัมพันธแบบฝายหนึ่งเปนผูสรางอาหาร ๔ อวัยวะที่ยาเม็ดเคลื่อนที่ผานกอนที่จะระบายออก
และอีกฝายเปนผูแยงอาหาร คือ ลําไสใหญที่อยูกอนถึงกระเพาะ
๕ ความสัมพันธแบบฝายหนึ่งไดรับประโยชนและ ๕ ยาเม็ดอัจฉริยะจะปลอยตัวยาออกมาในตําแหนงที่
อีกฝายเสียประโยชน จําเปนตอการรักษาและหลังจากทําหนาที่เสร็จ
จะถูกระบายออกไปผานทางทวารหนัก
27. หลังจากไดมีการประดิษฐยาเม็ดที่เปนกลองสังเกต
ระบบยอยอาหารขึ้นมาแลวปจจุบันไดมีการพัฒนา
28. สถาบันวิจัยเทคโนโลยีชีวภาพของมหาวิทยาลัย
ยาเม็ดอัจฉริยะรูปแบบใหมขึ้น โดยยาเม็ดชนิดนี้
ฮารวารดในสหรัฐอเมริกาไดพัฒนา ‘อวัยวะบนแผนชิป’
ถูกออกแบบใหสามารถเคลื่อนที่ผานระบบยอยอาหาร
(organs-on-a-chips) ที่เลียนแบบการทํางาน
ไดอยางเปนธรรมชาติมากขึ้นหลังจากที่กลืนลงไป
ของอวัยวะของมนุษย อวัยวะบนแผนชิปนี้เปน
และเราสามารถตั้งโปรแกรมลวงหนาไดดวยวาจะให
เทคโนโลยีที่เชื่อมตอเซลลที่ยังมีชีวิตอยูเขากับวงจร
ยาเม็ดที่กลืนเขาไปปลอยตัวยาที่บรรจุอยูภายใน
ไฟฟา เชน Lung-on-a-chips คือ ชิปที่เลียนแบบ
ออกมาในตําแหนงใดตามที่ตองการได
การทํางานของปอดโดยจะบรรจุเซลลปอดและเซลล
มีการคาดการณวา ถาเปลี่ยนมาใชยาเม็ดอัจฉริยะนี้
เสนเลือดฝอยจริง ๆ ของมนุษยเอาไวบนชิปดวยวงจร
จะสามารถปรับปริมาณยาใหเหมาะกับรางกายของ
ไฟฟา เซลลปอดนี้เชื่อมตอกับปมสุญญากาศเล็ก ๆ
แตละบุคคลซึ่งชวยใหการดูดซึมยามีประสิทธิภาพ
ทําใหสูดอากาศเขาไปไดจริงและมีการขยายตัวและ
มากขึ้นและปญหายุงยากที่ตองกินยาใหตรงเวลา
หดตัวซ้ํา ๆ ไดซึ่งเปนการเลียนแบบการทํางานของ
ก็จะหายไป
ถุงลมที่อยูภายในปอดของมนุษย

ที่มา : http://www.newscenter.philips.com/kr_ ko/


standard/about/news/press/article-081112.wpd ที่มา : http://www.dongascience.com/news/view/10966/news
8
สนับสนุนโดย
TE วิชาวิทยาศาสตร ประถมศึกษาปที่ 6ET ประถมศึกษาปที่ 5

ขอใดอธิบายเกี่ยวกับปอดและการหายใจของมนุษย ขอใดบางที่อธิบายไดถูกตอง
ไมถูกตอง ๑ เพราะสวนสูงและน้ําหนักเพิ่มขึ้นอยางคงที่เสมอ
๑ ปอดเปนอวัยวะที่เกี่ยวของกับการหายใจเขา จึงไมจําเปนตองวัดทุกป
และหายใจออก ๒ ถาตองการรักษารูปรางใหไดมาตรฐานจะตองเลือก
๒ อวัยวะที่ทํางานเกี่ยวกับการหายใจรวมกับปอด รับประทานอาหารที่มีประโยชนและดีตอสุขภาพ
คือ จมูกและหัวใจ ๓ เมื่อคํานวณดัชนีมวลกายดวยวิธี brocas index
๓ รางกายของเรามีปอดหนึ่งคูอยูทางซายและขวา คนที่สูง 150 เซนติเมตร จะมีน้ําหนักมาตรฐาน
ปอดถูกหอหุมดวยกระดูกซี่โครง อยูที่ 54 กิโลกรัม
๔ ตอนออกกําลังกายเราจะหายใจเร็วขึ้น ๔ สวนประกอบตางๆ ที่เครื่องวิเคราะหมวลสาร
เพราะรางกายตองการออกซิเจนมากกวาปกติ วัดไขมันในรางกายวัดไดคือสวนประกอบที่อยูใน
๕ เมื่อหายใจเขาอากาศจะเคลื่อนที่ผานจมูก รางกาย
หลอดลม ขั้วปอด และปอดตามลําดับ ๕ การวิเคราะหขอมูลน้ําหนักและสวนสูงที่ไดรับจาก
เครื่องวิเคราะหมวลสารวัดไขมันในรางกายทําให
ทราบอัตราการเตนของหัวใจ
29. วิธีการคํานวณดัชนีมวลกาย
brocas index เพื่อหา
น้ําหนักมาตรฐานโดยการ 30. ในภาพ ‘ผูหญิงกอนพระอาทิตยขึ้นหรือผูหญิงกอน
นําสวนสูงลบดวย 100 พระอาทิตยตกดิน (Woman before the Rising
แลวนําไปคูณกับ 0.9 Sun or Woman before the Setting Sun)’ ของ
การคํานวณดวยวิธีนี้สามารถ คัสพาร ดาฟท ฟรีดริช (Caspar David Friedrich)
ทําไดงายเพียงแคทราบ จิตรกรชาวเยอรมันผูมีชื่อเสียงไดสรางความประทับใจ
น้ําหนักหรือสวนสูง ใหแกผูพบเห็นเปนอยางมาก ภาพนี้เกี่ยวของกับ
แตก็ยังไมแมนยํา ที่มา : http://www.tsmmedic.com/ เหตุการณการระเบิดของภูเขาไฟตัมโบราบนเกาะชวา
เทาที่ควร ดังนั้น ของประเทศอินโดนีเซียซึ่งเกิดขึ้นสามปกอนที่ฟรีดริช
เพื่อคํานวณหาน้ําหนักมาตรฐานที่ถูกตองแมนยํา จะวาดภาพนี้ หลังการระเบิดของภูเขาไฟไดมีเถา
จึงไดมีการพัฒนาเครื่องวิเคราะหมวลสารวัดไขมัน ภูเขาไฟปลิวไปทั่ว แตในสายตาของจิตรกรอยาง
ในรางกายขึ้นมา เครื่องวิเคราะหนี้จะวัดความสูง ฟรีดริชกลับมองเห็นเพียงทองฟาที่เปนสีแดงเทานั้น
และน้ําหนักไดอยางแมนยํา รวมทั้งน้ําในรางกาย และทองฟาสีแดงที่อยูในภาพ ‘คนขี่มา’ ที่วาดขึ้น
ไขมันในรางกาย โปรตีน และแรธาตุตาง ๆ ในปค.ศ. 1885 ของแอดการ เดอกา จิตรกรชาว
ที่ประกอบอยูในรางกายดวย ฝรั่งเศสก็ไดรับแรงบันดาลใจมาจากการระเบิด
ของภูเขาไฟกรากะตัวในประเทศอินโดนีเซียในป
ค.ศ. 1883 ดวยเชนกัน

9
สนับสนุนโดย
TE วิชาวิทยาศาสตร ประถมศึกษาปที่ 6ET ประถมศึกษาปที่ 5

ภาพ ‘ผูหญิงกอนพระอาทิตยขึ้น
หรือผูหญิงกอนพระอาทิตยตกดิน’

การระเบิดของภูเขาไฟไมเพียงแตจะใหแรงบันดาลใจ
ทางศิลปะแกมนุษยเทานั้นแตมันยังมีอิทธิพลตอ
สิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยูบริเวณรอบ ๆ ภูเขาไฟอีกดวย
จากคําอธิบายตอไปนี้

A. แหลงที่อยูอาศัยลดลง
B. ชนิดของสิ่งมีชีวิตลดลง
C. ความหลากหลายทางพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิตเพิ่มขึ้น

ขอใดเปนผลกระทบตอสิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยูบริเวณ
ภูเขาไฟที่เกิดการระเบิด
๑A ๒C ๓AB
๔BC ๕ABC

10
สนับสนุนโดย

You might also like