Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 11

บทความวิจัย (Research Article)

ปัจจัยที่ส่งผลต่อการเรียนรู้ขององค์กรระดับบุคคล
ในหน่วยงานสังกัดสานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
The Factors that Affect Individual Learning in
Organization Learning in Office of the Vocational
Education Commission
ยิ่งศักดิ์ ไกรพินิจ* และประสพชัย พสุนนท์
คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตสารสนเทศเพชรบุรี
ตาบลสามพระยา อาเภอชะอา จังหวัดเพชรบุรี 76120
Yingsak Kraipinit* and Prasopchai Pasunon
Faculty of Management Science, Silpakorn University, Petchaburi IT Campus,
Samphaya, Cha-Am, Phetchaburi 76120

บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ คือ เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อการเรียนรู้ขององค์กรระดับบุคคล จากกลุ่ม
ตัวอย่าง ข้าราชการ และพนักงานราชการ จานวน 220 คน ในหน่วยงานสังกัดสานักงานคณะกรรมการการ
อาชีวศึกษา สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์การถดถอย
พหุคูณแบบขั้นตอน โดยวิธีการทดสอบระดับนัยสาคัญที่ 0.05 ผลการวิจัยมีการศึกษาตัวแปรอิสระ 4 ปัจจัย ได้แก่
ความผูกพันต่อองค์กร แรงจูงใจสภาพแวดล้อมในงาน และความสัมพันธ์กับเพื่อร่วมงาน พบว่าปัจจัยที่ส่งผลต่อการ
เรียนรู้ขององค์กรระดับบุคคลมี 3 ปัจจัย คือ สภาพแวดล้อมในงาน แรงจูงใจ และความสัมพันธ์กับเพื่อนร่วมงาน ซึ่ง
สามารถนาผลที่ได้ไปประยุกต์ใช้ในการจัดการความรู้เพื่อพัฒนาบุคลากรในองค์กรต่อไป
คาสาคัญ : การเรียนรู้ขององค์กร; การเรียนรู้ระดับบุคคล; ข้าราชการ

Abstract
This study aims to examine the factors that affect individual learning in organization
learning. Number of sample size is 220 government employees in Office of the Vocational
Education Commission. The statistics for analyzing are frequency, average, standard deviation and
multiple regression analysis which significant level is 0.05. There are 4 independent variables
which are employee engagement, motivation, work environment and relationship with
*ผู้รับผิดชอบบทความ : yingsak101@gmail.com
วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ปีที่ 23 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม - กันยายน 2558
colleagues. The result shows that factors that affect organization learning are work environment,
motivation and relationship with colleagues. The result can be used for human resource
development in organization in the future.
Keywords: organization learning, individual learning, government employees

1. บทนา วิชาชีพทั้งในระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) และ


หน่ ว ยงานภาครั ฐ เป็ น องค์ ก รที่ ใ ห้ บ ริ ก าร ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) และกาลังเปิด
สาธารณะในปัจจุบันต้องเผชิญกับการเปลี่ยนแปลงใน สอนในระดับปริญญาตรีสายปฏิบัติการ มีสถานศึกษา
ทุก ๆ ด้านและด้วยข้อมูลด้านงานบริการต่าง ๆ มาก ในสังกัดทั่วประเทศจานวน 421 แห่ง [2]
มาย ดังนั้นการพัฒนาด้านการบริหารด้วยหลักของการ การจั ด การศึ ก ษาที่ เ ปลี่ ย นแปลงตามยุค สมั ย
บริหารหลายมิติเพื่อขับเคลื่อนงานบริการสาธารณะใน ส านั ก งานคณะกรรมการการอาชี ว ศึ ก ษาจึ ง มี ค วาม
มุมมองการจัดการภาครัฐแนวใหม่ (new public จาเป็นที่จะต้องมีความพร้อมกับการเปลี่ยนแปลง การ
management, NPM) จึงมีความสาคัญในการจัดการ เรียนรู้ขององค์กร (organization learning, OL) เป็น
งานของภาครัฐเพื่อให้เกิดประโยชน์และประสิทธิภาพ กระบวนในการเพิ่มความสามารถขององค์กรในการ
ในด้า นงานบริการ [1] การพัฒนาระบบราชการของ พัฒนาความรู้และความเข้าใจในการจัดการสิ่งแวดล้อม
ไทยมีความสาคัญและจาเป็นอย่างยิ่งต่อความพร้อม เพื่อให้การดาเนินงานขององค์การบรรลุวัตถุประสงค์
ขององค์กรกับสภาพของสังคมปัจจุบันที่มีการเปลี่ยน [3] ซึ่งการบริหารองค์กรให้มีคุณภาพสูงเป็นสิ่งสาคัญ
แปลงตลอดเวลา ตามยุคสมัย การบริ หารจัดการของ องค์กรจาเป็นต้องมีระบบการเรียนรู้ของบุคลากรทุก
องค์กรภาครัฐที่ดีจึงเป็นสิ่งสาคัญที่สามารถตอบสนอง ระดับอย่างต่อเนื่องและตลอดเวลา [4] การเรียนรู้ของ
กับสภาพปัญหาที่เปลี่ยนแปลงไปตามพระราชกฤษฎีกา บุ ค คลเป็ น พื้ น ฐานส าคั ญ ส าหรั บ การปฏิ รู ป องค์ ก ร
ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ อย่างต่อเนื่องจะช่วยขยายขีดความสามารถขององค์กร
ดี พ.ศ. 2546 ในมาตรา 11 ได้กาหนดให้ส่วนราชการมี [5] การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการเรียนรู้ของบุคคล
หน้าที่พัฒนาความรู้ในส่วนราชการ เพื่อให้มีลักษณะ เป็นผลของความสัมพันธ์ระหว่างตัวบุคคลและสภาพ
เป็นองค์การแห่งการเรียนรู้อย่างสม่าเสมอ รวมทั้งต้อง แวดล้อม ซึ่งจ าแนกการเรียนรู้ของบุคคลเพื่อพัฒนา
ส่งเสริมและพัฒนาความรู้ความสามารถ สร้างวิสัยทัศน์ องค์กร [6] ประกอบด้วย 4 ด้าน คือ การเรียนรู้อย่าง
และปรับเปลี่ยนทัศนคติของข้าราชการในสังกัดให้เป็น ต่อเนื่อง การเรียนรู้ระบบ การเรียนรู้อย่างสร้างสรรค์
บุคลากรที่มีประสิทธิภาพและมีการเรียนรู้ร่วมกัน และการเรียนรู้อย่างเปิดเผย นอกจากนี้วีรวุธ (2541)
ส านั ก งานคณะกรรมการการอาชี ว ศึ ก ษา [7] ได้จัดการเรียนรู้งาน (task learning) เป็นการ
กระทรวงศึกษาธิการ เป็นองค์กรภาครัฐที่มีภารกิจหลัก เรียนรู้ในระดับบุคคลด้วย
ในการส่งเสริมการศึกษาด้านอาชีวศึกษาและวิชาชีพ ดั ง นั้ น ผู้ วิ จั ย จึ ง ได้ ศึ ก ษาปั จ จั ย ที่ มี ผ ลต่ อ การ
เป็นผู้นาในการจัดการศึกษาสายอาชีพ เพื่อเป็นพลัง เรียนรู้ขององค์ กรระดับบุ ค คล โดยศึ กษาการเรียนรู้
ขับเคลื่อนเศรษฐกิจและสังคม เพิ่มขีดความสามารถใน ประกอบด้ ว ยการเรี ย นรู้ อ ย่ า งสร้ า งสรรค์ (creative
การแข่งขันของประเทศในปัจจุบันได้จัดการศึกษาด้าน learning) การเรียนรู้ระบบ (systemic learning)
386
ปีที่ 23 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม - กันยายน 2558 วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
และการเรียนรู้งาน (task learning) ของบุคลากรใน 5. ขอบเขต
ระดั บ ปฏิ บั ติ ง านของหน่ ว ยงานส านั ก งานคณะ ขอบเขตในด้ า นเนื้ อ หา เป็ น การศึ ก ษากลุ่ ม
กรรมการการอาชีวศึกษา ซึ่งเป็นการเรียนรู้พื้นฐานของ ตัวอย่าง คือ บุคลากรที่เป็นข้าราชการและพนักงาน
บุคคลกรที่มีความสาคัญในการพัฒนาองค์กรต่อการ ราชการในหน่วยงานส่วนกลางสัง กัดสานักงานคณะ
บริ ห ารจั ด การองค์ ก รเพื่ อ ให้ มี ค วามพร้ อ มต่ อ สภาพ กรรมการการอาชี วศึ กษา ที่ปฏิบัติง านในหน่วยงาน
การณ์ปัจจุบันที่มีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา และยัง ตั้ ง แต่ 1 ปี ขึ้ น ไป ณ เดื อ นพฤศจิ ก ายน 2557 และ
เป็ น การวางแผนเพื่ อ พั ฒ นาก าลั ง คนในองค์ ก รใน ขอบเขตด้านทฤษฎีเป็นการศึกษาแนวคิดและทฤษฎี
อนาคตต่อไป เกี่ยวการเรียนรู้ขององค์กรซึ่งการเรียนรู้ขององค์กรเมื่อ
พิจารณาตามระดับในการเรียนรู้ระดับบุคคล ถือเป็น
2. คาถามการวิจัย ระดับแรก ซึ่งในการศึกษาวิ จัยนี้ได้กาหนดตัวแปรต้น
ปัจจัยความผูกพันต่อองค์กร แรงจูงใจ สภาพ เป็ น ปั จ จั ย ที่ มี ผ ลต่ อ การเรี ย นรู้ ร ะดั บ บุ ค คล ได้ แ ก่
แวดล้อมในงาน และความสัมพันธ์กับเพื่อนร่วมงาน ปั จ จั ย ส่ ว นบุ ค คล ความผู ก พั น ต่ อ องค์ ก ร แรงจู ง ใจ
ปัจจัยใดบ้างที่มีผลต่อการเรียนรู้ในองค์กรระดับบุคคล สภาพแวดล้อมในงานและความสัมพันธ์กับเพื่อร่วมงาน
ของบุ ค ลากรในหน่ ว ยงานสั ง กั ด ส านั ก งานคณะ [6,8-10] ส่วนตัวแปรตาม เป็นการเรียนรู้ ขององค์กร
กรรมการการอาชีวศึกษา ระดับบุคคล จาแนกเป็น 3 ด้าน ได้แก่ การเรียนรู้อย่าง
สร้างสรรค์ การเรียนรู้อย่างเป็นระบบ และการเรียนรู้
3. วัตถุประสงค์ งาน [6,8-9] โดยมีระยะเวลาในการเก็บรวบรวมข้อมูล
3.1 เพื่อศึกษาปัจ จั ยส่วนบุค คลส่ง ผลต่อการ ประมาณ 1 เดือน โดยส่งแบบสอบถามเพื่อเก็บข้อมูล
เรียนขององค์กรระดับบุคคล จากกลุ่มตัวอย่างในเดือนพฤศจิกายน จากนั้นทาการ
3.2 เพื่ อ ศึ ก ษาปั จ จั ย ความผู ก พั น ต่ อ องค์ ก ร
เก็บ รวบรวมแบบสอบถามและวิเ คราะห์ ผลในเดือ น
แรงจูงใจ สภาพแวดล้อมในงาน และความสัมพันธ์กับ
ธันวาคม 2557
เพื่ อ นร่ ว มงานมี ผ ลต่ อ การเรี ย นรู้ ข ององค์ ก รระดั บ
บุคคล
6. ทฤษฎีและแนวคิด
4. สมมติฐาน 6.1 แนวคิดการเรียนรู้ขององค์กร
4.1 ปั จ จั ย ส่ ว นบุ ค คลจ าแนกตามระดั บ การ การเรียนรู้ขององค์กรเป็นกระบวนการใน
ศึ ก ษาของบุ ค คลที่แ ตกต่ า งกั น มี ผ ลต่ อ การเรี ย นของ การปรับปรุงการปฏิบัติงานทาให้เกิดความเข้าใจในการ
องค์กรระดับบุคคล ดาเนินงานที่ดีขึ้น [11] โดยผ่านความรู้ความเข้าใจจาก
4.2 ปั จ จั ย ส่ ว นบุ ค คลจ าแนกตามระดั บ ประสบการณ์ในอดีตหรือการทางานปกติที่จะสืบค้น
ตาแหน่งที่แตกต่างกันมีผลต่อการเรียนขององค์ระดับ และคั ด เลื อ กสิ่ ง ที่ ผิ ด พลาด และเรี ย นรู้ จ ากความ
บุคคล ผิดพลาดในอดีต เกิดการแบ่งปันความรู้ ความเข้าใจ
4.3 ปั จ จั ย ความผู ก พั น ต่ อ องค์ ก ร แรงจู ง ใจ และโลกทั ศ น์ ร่ ว มกั น ก่ อ ให้ เ กิ ด ปฏิ สั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า ง
สภาพแวดล้ อ มในงาน และความสั ม พั น ธ์ กั บ เพื่ อ น สมาชิกในองค์กรมี 4 ลักษณะ ได้แก่ การเรียนรู้จาก
ร่วมงานมีผลต่อการเรียนรู้ขององค์กรระดับบุคคล การแก้ปัญหา การเรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม การเรียนรู้โดย
387
วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ปีที่ 23 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม - กันยายน 2558
การปฏิบัติ และการเรียนรู้ทางานร่วมกันในลักษณะ พาณิชย์ 16 แห่ง พบว่าปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ ทักษะ
เครือข่าย [12] เมื่อพิจารณาทักษะและกระบวนการใน และประสบการณ์ บุคลิกภาพและทัศนคติ แรงจูงใจ
การนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ การเรียนรู้ขององค์กรจึง และปั จ จั ย สภาพแวดล้ อ ม เช่ น การจู ง ใจ สภาพ
เป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ขององค์ ก ารแห่ ง การเรี ย นรู้ (learning แวดล้อมในงาน ความสัมพันธ์กับเพื่อร่วมงานมีความ
organization) [13] การเรียนรู้ขององค์กรเป็นผลของ สัม พัน ธ์ ทางบวกกับ ความสามารถในการเรีย นรู้ข อง
การศึกษาของกระบวนการเรียนรู้กับองค์กร [14] บุคคลต่อการเรียนรู้ระดับบุคคล
6.2 แนวคิดเกี่ยวกับการเรียนรู้ระดับบุคคล สุ ภ าวดี (2553) [8] ได้ ศึ ก ษาศึ ก ษาถึ ง ความ
การเรียนรู้ขององค์กรมีความแตกต่างจาก สัมพันธ์ระหว่า งการเรียนรู้องค์การกับประสิทธิภาพ
ระบบการศึกษาที่เป็นทางการ (formal education) การดาเนินงานของคณะบริหารศาสตร์ มหาวิทยาลัย
ซึ่ ง เป็ น การเรี ย นรู้ ข องผู้ ใ หญ่ แ ละเรี ย นรู้ จ ากสภาพ อุ บ ลราชธานี พบว่ า บุ ค ลากรที่ มี ร ะยะเวลาในการ
แวดล้ อ มการท างาน [15] การเรี ย นรู้ เ ปรี ย บประดุ จ ทางานที่แตกต่างกันให้ความคิดเห็นเกี่ยวกับการเรียนรู้
หัวใจ (heart) ของงานด้านการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ขององค์ ก รและปั จ จั ย ที่ มี ผ ลต่ อ การเรี ย นรู้ อ งค์ ก ร
ขององค์การ ซึ่งจาแนกการเรียนรู้ที่เกิดขึ้นในองค์การ แตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และ
ไว้ 3 ระดั บ คื อ การเรี ย นรู้ ข องปั จ เจกบุ ค คล บุคลากร มีความต้องการเรียนรู้องค์กร ด้านการเรียนรู้
(individual learning) การเรียนรู้โดยยึดผลงาน วัฒนธรรม การเรียนรู้งาน และการเรียนรู้ความเป็น
(performance based learning) และการเรียนรู้ทั้ง ผู้นามากที่สุด
ระบบ (whole systems learning) [16] Joy กิตติยา (2553) [17] ได้ศึกษาการเรียนรู้ระดับ
Matthews และคณะ (อ้างโดยศิรภัสสรศ์, 2557) [16] บุคคลและระดับทีมขององค์กร : กรณีศึกษาองค์กรที่
ได้ให้ข้อสรุปถึงการเรียนรู้ของมนุษย์สามารถเรียนรู้ได้ ได้รับรางวัลคุณภาพแห่งชาติ พบว่าปัจจัยที่สนับสนุน
หลายลั ก ษณะไม่ ว่ า จากการกระตุ้ น การแนะน า ให้เกิดการเรียนรู้ในองค์กร 7 ปัจจัย ได้แก่ กลยุทธ
ประสบการณ์ การลองผิดลองถูก การสังเกตและการ โครงสร้ า ง วั ฒ นธรรม การพั ฒ นาทรั พ ยากรมนุ ษ ย์
รับรู้ หรือเกิดขึ้นได้เอง โดยเรียนรู้จากการสนทนา หรือ สภาพแวดล้อม แรงจู ง ใจ และผู้ส่ง เสริมเรียนรู้ ส่วน
เข้าร่วมกิจกรรมต่าง ๆ กับผู้อื่น และปัจจัยการกระตุ้น บุ ค คลที่ มี รู ป แบบการเรี ย นรู้ จ ากการน าในระดั บ สู ง
จู ง ใจ (motivation) เพื่ อ เกิ ด แรงจู ง ใจภายในและ เป็นบุคคลที่มีลักษณะเป็นบุคคลที่เปิดใจรับโอกาสที่จะ
ภายนอกบุ ค คลนั บ ว่ า มี ผ ลต่ อ การเรี ย นรู้ แ ต่ ล ะคน เรียนรู้ มีความรับผิดชอบต่อการเรียน มีความรัก ที่จะ
นอกจากนี้ ห ากผู้ เ รี ย นได้ มี ส่ ว นร่ ว ม (participation) เรียน มองอนาคตในแง่ดี มีความคิดริเริ่มและมีอิสระใน
ด้ ว ยตนเองในกระบวนการเรี ย นรู้ ยิ่ ง มี โ อกาสในการ การเรียน มีทักษะที่จาเป็นในการเรียนรู้และแก้ปัญหา
เรียนรู้ยิ่งขึ้น รวมทั้งมีความเชื่อมั่นว่าตนเองเป็นผู้เรียนที่ดี
Liao และคณะ (2008) [18] ศึกษาความ
7. ทบทวนวรรณกรรม สั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า งความเฉื่ อ ยในความรู้ (knowledge
กนกรั ต น์ และคณะ (2556) [6] ได้ ศึ ก ษาถึ ง inertia) ก า ร เ รี ย น รู้ ข อ ง อ ง ค์ ก ร ( organization
ปั จ จั ย ที่ มี อิ ท ธิ พ ลต่ อ การเรี ย นรู้ ข องบุ ค คล ที่ เ ป็ น learning) และนวั ตกรรมขององค์ ก ร (organization
พนักงานปฏิบัติงานในสานักงานใหญ่ของธุรกิจธนาคาร innovation) จากกลุ่มตัวอย่างบุคลากรในหน่วยงาน

388
ปีที่ 23 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม - กันยายน 2558 วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ภาครัฐ และเอกชน จานวน 24 องค์กร และได้รับตอบ ± 0.05 % และได้สุ่มตัวอย่างจานวนทั้งสิ้น 220 คน
แบบสอบถามจานวน 485 ตัวอย่าง จากทั้งหมด 1,200 8.2 เครื่องมือในการวิจัย
ตัวอย่าง โดยการเรียนรู้ขององค์กรที่ศึกษา ได้แก่ ความ การวิ จั ย ครั้ ง นี้ ใ ช้ เ ครื่ อ งมื อ แบบสอบถาม
ผู ก พัน ต่ อการเรีย นรู้ วิสั ยทั ศ น์ร่ วม และการยอมรั บ (questionnaires) ซึ่งเป็นแบบปลายปิดในการเก็บ
ผู้อื่น พบว่าความเฉื่อยของความรู้ ส่งผลต่อการเรียนรู้ ข้อมูล โดยแบ่งออกเป็น 3 ส่วน ดังนี้
ขององค์ ก รในความสั ม พั น ธ์ เ ชิ ง ลบอย่ า งมี นั ย ส าคั ญ ส่ ว น ที่ 1 ปั จ จั ย ส่ วน บุ ค ค ล เ ป็ น
ส่วนความเฉื่อยในประสบการณ์ (experience inertia) แบบสอบถามเกี่ยวกับลักษณะทางประชากรศาสตร์
จะส่งผลต่อการเรียนรู้ขององค์กรในเชิงบวก ของผู้ ให้ ข้ อมู ลแบบสอบถาม ได้แ ก่ เพศ สถานภาพ
Tsai และคณะ (2007) [19] ได้ศึกษาการ สมรส ระดั บ การศึ ก ษา อายุ ร าชการ ระยะเวลาที่
เรี ย นรู้ ข ององค์ ก รเกิ ด จากการเรี ย นรู้ ร ะดั บ บุ ค คล ทางานในองค์กร อัตราเงินเดือน และระดับตาแหน่ง
(individual learning) ในองค์กร โดยเลือกศึกษาจาก ส่ ว นที่ 2 ข้ อ มู ล ปั จ จั ย ที่ ส่ ง ผลต่ อ การ
ตัวอย่างพนักงานในโรงงานด้านปิโตรเคมี 7 แห่ง ใน เรียนรู้ขององค์กรระดับบุคคลโดยผู้วิจัยได้ใช้มาตรวัด
ประเทศไต้หวัน ซึ่งเป็นองค์กรที่มีกลยุทธ์การลดขนาด แบบ rating scale เป็นคาถามแบบปลายปิดเป็นอันตร
องค์กรเพื่อลดความซ้าซ้อน โดยศึกษาความพึงพอใจใน ภาค/ช่วง (interval scale) กาหนดค่าน้าหนักเป็น 5
งานต่ อ การเรี ย นรู้ อ ย่ า งมี ส่ ว นร่ ว มของพนั ก งาน ระดั บ ตั้ ง แต่ 1 ถึ ง 5 คะแนน โดยระดั บ 5 มี ร ะดั บ
(leaning commitment) พบว่าความพึงพอใจในงาน ความคิ ด เห็ น มากที่ สุ ด และระดั บ 1 มี ร ะดั บ ความ
ส่งผลต่อการเรียนรู้อย่างมีส่วนร่วมของพนักงาน อย่าง คิดเห็นน้อยที่สุด โดยแบบสอบถามแสดงถึงปัจจัยที่มี
มี นั ย ส าคั ญ ซึ่ ง ความพึ ง พอใจในงานที่ ส่ ง ผลต่ อ การ ผลต่อการเรียนรู้ของบุค คล มี 4 ปัจจัย ได้แก่ ความ
เรี ย นรู้ อ ย่ า งมี ส่ ว นร่ ว มของพนั ก งาน ได้ แ ก่ ความ ผูกพันต่อองค์กร แรงจูงใจ สภาพแวดล้อมในงานและ
สัมพันธ์กับเพื่อร่วมงานและความสัมพันธ์ในครอบครัว ความสัมพันธ์กับเพื่อร่วมงาน
ที่ระดับนัยสาคัญ 0.01 โดยส่งผลต่อการทานายการ ส่ ว นที่ 3 ข้ อ มู ล ของการเรี ย นรู้ ข อง
เรียนรู้แรงจูงใจของพนักงานได้ร้อยละ 41.0 องค์ ก รสอบถามถึ ง ผลการเรี ย นรู้ ข องบุ ค คลระดั บ
ปฏิบัติงานจ าแนกเป็น 4 ประเภท ได้แก่ การเรียนรู้
8. วิธีดาเนินการวิจัย อย่างสร้างสรรค์ (creative learning) การเรียนรู้อย่าง
8.1 ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง เป็นระบบ (systematic learning) และการเรียนรู้งาน
ประชากรที่ ศึ กษาในงานวิ จั ยครั้ ง นี้ คื อ (task learning) แบบสอบถามโดยใช้มาตรวัดแบบ
ข้าราชการและพนักงานราชการ ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่าง rating scale เป็นคาถามแบบปลายปิดเป็นอันตรภาค/
แบบมี ชั้ น ภู มิ โดยสุ่ ม ตั ว อย่ า งตามจ านวนจาก 7 ช่วง (interval scale) กาหนดค่าน้าหนักเป็น 5 ระดับ
หน่ ว ยงานหลั ก สั ง กั ด ส านั ก งานคณะกรรมการการ ตั้งแต่ 1 ถึง 5 คะแนน โดยระดับ 5 มีระดับการเรียนรู้
อาชีวศึกษา ที่ปฏิบัติงานในหน่วยงานตั้งแต่ 1 ปีขึ้นไป มากที่สุด และระดับ 1 มีระดับการเรียนรู้น้อยที่สุด
มีจานวนทั้งสิ้น 402 คน ณ เดือนธันวาคม 2557 โดย 8.3 การวิเคราะห์ข้อมูล
กาหนดการสุ่มตัวอย่างจากสูตร Yamane กล่าวคือ ผู้ วิ จั ย ได้ ร วบรวมข้ อ มู ล และตรวจสอบ
n = N/(1+Ne2) [20] ที่ความคลาดเคลื่อน (e) เท่ากับ แบบสอบถามแต่ละรายการ จากนั้นได้ทาการวิเคราะห์

389
วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ปีที่ 23 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม - กันยายน 2558
ข้อมูลด้วยโปรแกรมสาเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัยทาง 9.1.5 ร ะย ะเ ว ลา ที่ ท าง า นใ นอ ง ค์ ก ร
สัง คมศาสตร์ (SPSS version 18) โดยแบ่ง การ ส่วนมากทางานที่ สอศ. เป็นระยะเวลาน้อยกว่า 5 ปี
วิเคราะห์ดังนี้ คิดเป็นร้อยละ 42.7
8.3.1 การวิ เ คราะห์ ข้ อ มู ล ทั่ ว ไปส่ ว น 9.1.6 อั ต ราเงิ น เดื อ น ส่ ว นมากมี อั ต รา
บุคคล โดยใช้สถิติเชิงบรรยาย โดยการหาค่าความถี่ เงินเดือน 15,001- 20,000 บาท คิดเป็นร้อยละ 32.7
ค่าเฉลี่ย ร้อยละ และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน 9.1.7 ระดั บ ต าแหน่ ง ส่ ว นมากมี ร ะดั บ
8.3.2 วิ เ คราะห์ เ ปรี ย บเที ย บผลของ ตาแหน่งเป็นชานาญการ คิดเป็นร้อยละ 33.2
ปั จ จั ย ส่ ว นบุ ค คลจ าแนกตามระดั บ การศึ ก ษา และ 9.2 ผลการวิเคราะห์ปัจจัยส่วนบุคคลที่มีผล
ระดั บ ต าแหน่ ง มี ผ ลต่ อ การเรี ย นรู้ ข ององค์ ก รระดั บ ต่อการเรี ยนรู้ ขององค์กรระดับบุคคลในหน่วยงาน
บุคคล โดยใช้สถิติวิธีวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว สังกัด สอศ.
(one-way ANOVA) ผลของการศึกษาค่าเฉลี่ยของปัจจัยที่มีผล
8.3.3 วิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลต่อการ ต่อการเรียนรู้ขององค์กรระดับบุคคล และการเรียนรู้ใน
เรียนรู้ขององค์กรระดับบุคคล โดยการวิเคราะห์การ แต่ละด้านและในภาพรวม พบว่าปัจจัยที่มีผลต่อการ
ถอดถอยพหุคูณ (multiple regression analysis) เรี ย นรู้ ข ององค์ ก รสู ง สุ ด คื อ ปั จ จั ย ความผู ก พั น ต่ อ
แบบขั้นตอน (stepwise) องค์กร (ค่าเฉลี่ย = 4.09 ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน =
0.55) รองลงมาเป็นปัจจัยแจงจูงใจ ความสัมพันธ์กับ
9. ผลการวิจัย เพื่อร่วมงาน และสภาพแวดล้อมในงาน โดยมีค่าเฉลี่ย
จากการวิเคราะห์ข้อมูลการศึกษาปัจจัยที่ส่งผล 3.99, 3.54 และ 3.52 ตามลาดับ ส่วนการเรียนรู้ของ
ต่อการเรียนรู้ขององค์กรระดับบุคคล ของบุคลากรใน องค์ ก รระดั บ บุ ค คลโดยรวมอยู่ ใ นระดั บ ปานกลาง
หน่ วยงานสัง กัด สานั กงานคณะกรรมการการอาชี ว - (ค่าเฉลี่ย = 3.45 ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน = 0.38) ซึ่ง
ศึกษา (สอศ.) มีผลการศึกษาดังนี้ เมื่อจาแนกเป็นการเรียนขององค์กรแต่ละด้าน พบว่า
9.1 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลด้านประชากร บุคลากรของ สอศ. มีการเรียนรู้อย่างเป็นระบบ อยู่ใน
ศาสตร์ จ ากตั ว อย่ า งบุ ค ลากรของหน่ ว ยงานสั ง กั ด ระดับมากที่สุด (ค่าเฉลี่ย = 3.55 ค่าเบี่ยงเบนมาตร
สอศ. ฐาน = 0.37) รองลงมา ได้แก่ การเรียนรู้อย่า ง
จากการศึกษาพบว่า สร้างสรรค์ และการเรียนรู้งาน ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.53
9.1.1 เพศ ส่วนมากเป็นเพศหญิง คิดเป็น และ 3.24 ตามลาดับ
ร้อยละ 75.5 9.3 ผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบปัจจัยที่มีผล
9.1.2 สถานภาพสมรส ส่ ว นมากมี ต่ อ การเรี ย นรู้ ร ะดั บ บุ ค คล จ าแนกตามระดั บ การ
สถานภาพโสด คิดเป็นร้อยละ 52.3 ศึกษาและระดับตาแหน่งของบุคลากรของหน่วยงาน
9.1.3 ระดั บ การศึ ก ษาสู ง สุ ด ส่ ว นมากมี สั ง กั ด สอศ. มี ผ ลต่ อ การเรี ย นรู้ ข ององค์ ก รระดั บ
ระดั บ การศึ ก ษาในระดั บ ปริ ญ ญาตรี คิ ด เป็ น ร้ อ ยละ บุคคล
57.3 ผลการศึกษาพบว่าเมื่อจ าแนกตามระดับ
9.1.4 อายุราชการ ส่วนมากมีอายุราชการ การศึกษาของบุคลากรในแต่ละระดับการศึกษาต่อการ
น้อยกว่า 5 ปี คิดเป็นร้อยละ 34.5 เรียนรู้ขององค์กรระดับบุคคลไม่มีความแตกต่างอย่างมี
390
ปีที่ 23 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม - กันยายน 2558 วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
นัยสาคัญที่ระดับ 0.05 และเมื่อจาแนกตามระดับ ระดับชานาญการและชานาญการพิเศษมีความแตกต่าง
ตาแหน่ง ซึ่งจาแนกเป็นระดับปฏิบัติงาน ปฏิบัติการ อย่างมีนัยสาคัญที่ระดับ 0.05 ดังรายละเอียดในตาราง
ชานาญงาน ชานาญการ และชานาญการพิเศษ พบว่า ที่ 2
มี ค่ า เฉลี่ ย ของการเรี ย นรู้ ข ององค์ ก รระดั บ บุ ค คลใน

ตารางที่ 1 ผลการวิเคราะห์ปัจจัยส่วนบุคคลที่มีผลต่อการเรียนรู้ขององค์กรระดับบุคคลในหน่วยงานสังกัด สอศ.


ข้อความ S.D. แปลผล
ความผูกพันต่อองค์กร (X1) 4.09 0.55 มาก
แรงจูงใจ (X2) 3.99 0.47 มาก
สภาพแวดล้อมในงาน (X3) 3.52 0.60 มาก
ความสัมพันธ์กับเพื่อนร่วมงาน (X4) 3.54 0.74 มาก
การเรียนรู้อย่างสร้างสรรค์ (creative learning) (Y1) 3.53 0.39 มาก
การเรียนรู้อย่างเป็นระบบ (systemic learning) (Y2) 3.55 0.37 มาก
การเรียนรู้งาน (task learning) (Y3) 3.24 0.73 ปานกลาง
สรุปผลการเรียนรู้ขององค์กรระดับบุคคล 3.45 0.38 ปานกลาง

ตารางที่ 2 การเปรียบเทียบผลของจาแนกตามระดับการศึกษาและระดับตาแหน่งของบุคลากร
ผลการเรียนรู้ขององค์กร แหล่งความแปรปรวน Df Mean square F-value p-Value
ระหว่างกลุ่ม 3 0.356 2.57 0.055
1. จาแนกตามระดับการศึกษาของบุคคลากร ภายในกลุ่ม 216 0.138
รวม 219
ระหว่างกลุ่ม 4 0.550 4.12 0.003*
2. จาแนกตามระดับตาแหน่ง ภายในกลุ่ม 215 0.134
รวม 219

9.4 ผลการวิ เ คราะห์ ปั จ จั ย ที่ ส่ ง ผลต่ อ การ แปรปรวนของการเรียนรู้ขององค์กรระดับบุคคล คือ


เรี ย นรู้ ข ององค์ ก รระดั บ บุ ค คลของบุ ค ลากรใน ตัวแปรอิสระ 3 ตัว ได้แก่ แรงจูงใจ สภาพแวดล้อมใน
หน่ ว ยงานสั ง กั ด ส านั ก งานคณะกรรมการการ งาน และความสั ม พั น ธ์ กั บ เพื่ อ นร่ ว มงาน ร่ ว มกั น
อาชีวศึกษา (สอศ.) ด้วยการวิเคราะห์การถดถอย พยากรณ์ภาพรวมของของตัวแปรตาม คือ การเรียนรู้
จากตารางที่ 3 พบว่ากลุ่มตัวแปรอิสระที่มี ขององค์กรระดับบุค คลในหน่วยงานสัง กัด สอศ. ได้
นั ย ส าคั ญ ต่ อ ตั ว แปรตาม คื อ ปั จ จั ย ที่ ส่ ง ผลต่ อ การ ร้อยละ 44.0 (R2 = 0.440) มีนัยสาคัญทางสถิติที่
เรียนรู้ขององค์กรระดับบุคคลที่สามารถอธิบายความ ระดับ 0.05 โดยมีตัวพยากรณ์ที่สาคัญมากที่สุด คือ

391
วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ปีที่ 23 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม - กันยายน 2558
สภาพแวดล้อมในงาน รองลงมา คือ ความสัมพั นธ์กับ ร่วมงาน และแรงจูงใจที่เพิ่มขึ้น จะมีต่อการเรียนรู้ของ
เพื่อนร่วมงาน และแรงจูงใจ มีค่าเบต้าเท่ากับ 0.474 องค์กรระดับบุคคลเพิ่มมากขึ้นด้วย ส่วนปัจจัยความ
0.226 และ 0.133 ตามลาดับ แสดงให้เห็นว่า ผูกพันต่อองค์กรของบุคลากรในหน่วยงาน สอศ. ไม่มี
บุค ลากรของหน่วยงานสัง กัด สอศ. มีลักษณะความ ผลต่อการเรียนรู้ขององค์กรระดับบุคคล
รู้สึกต่อสภาพแวดล้อมในงาน ความสัมพันธ์กับเพื่อ น

ตารางที่ 3 ค่ า สั ม ประสิ ท ธิ์ ข องสมการการถดถอยของปั จ จั ย ที่ ส่ ง ผลต่ อ การเรี ย นรู้ ข ององค์ ก รระดั บ บุ ค คลใน
หน่วยงานสังกัดสานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
ตัวแปรอิสระ b S.E. Beta t Sig.
ค่าคงที่ 1.566 0.190 - 8.221 0.000*
แรงจูงใจ (X2) 0.107 0.042 0.133 2.568 0.011*
สภาพแวดล้อมในงาน (X3) 0.298 0.040 0.474 7.503 0.000*
ความสัมพันธ์กับเพื่อนร่วมงาน (X4) 0.114 0.031 0.226 3.631 0.000*
2 2
**มีนัยสาคัญที่ 0.05, R = 0.663 R = 0.440, Adjusted R = 0.432, Std. error of the estimate = 0.28337
สมการถดถอยพหุคูณ : Y^ = 0.133 X2 + 0.474 X3 + 0.226 X4
Y = ตัวแปรตาม คือ การเรียนรู้ขององค์กรระดับบุคคล, Y^ = ตัวทานาย

10. อภิปรายผลการวิจัย การเรี ยนรู้ ข ององค์ ก รระดั บ บุค คลของหน่ ว ยงานใน


ส านั ก งานคณะกรรมการการอาชี ว ศึ ก ษา สอศ. ดังนี้
(สอศ.) เป็ น หน่ ว ยงานภาครั ฐ ที่ มี ภ ารกิ จ ในการจั ด 10.1 ปัจจัยส่วนบุคคลเมื่อจาแนกตามระดับ
การศึกษาด้านอาชีวศึกษา จากสภาพการณ์ในปัจจุบัน การศึกษาต่อการเรียนรู้ขององค์กรระดับบุคคล พบว่า
ในการจัดการอาชีวศึกษาที่มีการเปลี่ยนแปลงเนื่องจาก ระดับการศึกษาของบุคลากรไม่มีผลต่อการเรียนรู้ของ
การแข่งขันแต่ละองค์กรที่มีการจัดการสอนสายอาชีพ องค์กรระดับบุคคลอย่างมีนัยสาคัญที่ระดับ 0.05 จาก
มีความจาเป็นที่บุคลากร สอศ. ต้องมีการพัฒนาและ กลุ่มตัวอย่างที่ศึกษาโดยส่วนมากมีระดับการศึกษาใน
เรี ย นรู้ เพื่ อ ให้ ส ามารถพั ฒ นาองค์ ก รให้ ทั น ต่ อ การ ระดับปริญญาตรี รองลงมาเป็นระดับปริญญาโท ระดับ
เปลี่ ยนแปลงของสั ง คม ในการศึ ก ษาวิ จั ยนี้ ไ ด้ศึ ก ษา การศึกษาของบุคลากรเป็นภูมิความรู้พื้นฐานในแต่ละ
ปัจจัยที่มีผลต่อการเรียนรู้ขององค์กรระดับบุคคล โดย สาขาวิชา ซึ่งการเรียนรู้ขององค์กรเป็นการมุ่งศึกษาถึง
การเรียนรู้ขององค์กรที่นามาศึกษา ได้แก่ การเรียนรู้ การเรียนรู้ขององค์กรเกิดได้อย่างใด ดังนั้นปัจจัยของ
อย่างสร้างสรรค์ การเรียนรู้อย่างเป็นระบบและการ ระดับการศึกษาจึงไม่ส่งผลต่อการเรียนรู้ขององค์กร ซึ่ง
เรียนรู้งานการศึกษาจากตัวแปรอิสระ 4 ปัจจัย ได้แก่ ปัจจัยที่มีผลในการเรียนรู้ขององค์กรจึงเกิดจากปัจจัย
ความผูกพันต่อองค์กร แรงจูงใจ สภาพแวดล้อมในงาน ส่วนบุคคลด้านอื่น เช่น ทักษะและประสบการณ์ในการ
และความสัมพันธ์กับเพื่อนร่วมงานมีปัจจัยที่ ส่งผลต่อ ทางาน บุคลิกภาพ และทัศนคติ ซึ่งสอดคล้องกับงาน

392
ปีที่ 23 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม - กันยายน 2558 วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
วิจัยของกนกรัตน์ และคณะ (2556) [6] พบว่าปัจจัย ปัจจัยภายในตัวบุคคลที่จะเป็นแรงขับให้บุคคลสนใจที่
ส่วนบุคคล ได้แก่ ทักษะและประสบการณ์ บุคลลิก - จะเรียนรู้ส่วนสภาพแวดล้อมในงานและความสัมพันธ์
ภาพ ทัศนคติ และแรงจูงใจ มีความสัมพันธ์ทางบวกกับ กับเพื่อร่วมงานเป็นปัจจัยของสิ่งแวดล้อมโดยรอบของ
ความสามารถในการเรียนรู้ของบุคคลอย่างมีนัยสาคัญ แต่ละบุคคลในที่ทางานที่จะมีส่วนช่วยส่งเสริมให้เกิด
ที่ ร ะดั บ 0.01 มี ค่ า สั ม ประสิ ท ธิ ส หสั ม พั น ธ์ เ ท่ า กั บ การเรี ย นรู้ส อดคล้ อ งกับ งานวิ จั ย ของกนกรั ต น์ และ
0.621 คณะ (2556) [6] พบว่าปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ ทักษะ
10.2 ปัจจั ยส่วนบุค คลเมื่อจ าแนกตามระดับ และประสบการณ์ บุคลิกภาพและทัศ นคติ แรงจูงใจ
ต าแหน่ ง ต่ อ การเรี ย นรู้ ข ององค์ ก รระดั บ บุ ค คล ซึ่ ง และปั จ จั ย สภาพแวดล้ อ ม ได้ แ ก่ การจู ง ในสภาพ
จาแนกเป็นระดับปฏิบัติงาน ปฏิบัติการ ชานาญงาน แวดล้อมในงาน และความสัมพันธ์กับเพื่อร่วมงาน ซึ่ง
ชานาญการ และชานาญการพิเศษ พบว่าการเรียนรู้ ทั้งสองกลุ่มปัจจัยมีอิทธิพลต่อการเรียนรู้ระดับบุคคล
ขององค์ ก รของบุ ค ลากรในระดั บ ช านาญการและ สามารถร่วมพยากรณ์ความสามารถในการเรียนรู้ของ
ชานาญการพิเศษมีค วามแตกต่า งอย่า งมีนัยสาคั ญที่ บุคคลได้ร้อยละ 44.1 ที่ระดับความเชื่อมั่น 0.01
ระดับ 0.05 เมื่อบุคลากรอยู่ระดับชานาญการจะต้องมี
อั ต ราการแข่ ง ขั น ในการท าผลงานเพื่ อ สะสมจึ ง 11. ข้อเสนอแนะ
ก่อให้เกิดการเรียนรู้เพื่อเก็บรวบรวมผลงานที่เป็นองค์ จากการศึกษาปัจจัยที่ ส่งผลต่อการเรียนรู้ของ
ความรู้ที่มีในการปฏิบัติงานเพื่อเลื่อนสู่ระดับตาแหน่ง องค์กรระดับบุคคลในหน่ วยงานสังกัด สอศ. ผู้วิจัยมี
ชานาญการพิเศษที่มีจานวนตาแหน่งจานวนจากัดทา ข้อเสนอแนะดังนี้
ให้มีการแข่งขัน ส่วนบุคคลในระดับชานาญการพิเศษ 11.1 ปั จ จั ย ที่ มี ผ ลต่ อ การเรี ย นรู้ ข ององค์ ก ร
เป็นผู้ที่มีอายุงานมาก อาจมีแรงจูงใจในการเรียนรู้ต่า ระดับบุคคลของหน่วยงานสังกัด สอศ. พบว่า 3 ปัจจัย
เนื่องจากการเลื่อนตาแหน่งที่สูงขึ้นไปขึ้นอยู่กับปัจจัย ที่มีผลต่อการเรียนรู้ขององค์กร ได้แก่ สภาพแวดล้อม
อื่นประกอบและเป็นผู้ที่มีอายุในการทางานมากแล้ว ในงาน ความสัมพันธ์กับเพื่อนร่วมงานและแรงจูงใจ ซึ่ง
ท าให้ ก ารแสวงหาความรู้ ล ดลง เจษฎา และคณะ สามารถนาผลการวิจัยไปกาหนดกลยุทธ์ และแผนการ
(2552) [21] ได้อธิบายถึงการที่บุคลากรขาดความ พัฒนาบุคคลในหน่วยงานเพื่อให้เกิดแรงจูงใจ และการ
กระตื อ รื อ ร้ น ในการแสวงหาความรู้ มั ก มี แ นวโน้ ม ที่ ออกแบบจัดกิจกรรมเพื่อเสริมสร้างความสัมพันธ์ของ
ถดถอยเมื่ อ อายุ ม ากขึ้ น จึ ง ท างานโดยใช้ ทั ก ษะหรื อ บุค คลในองค์ กรเพื่อเกิดเครือข่า ยในการแลกเปลี่ยน
ประสบการณ์มากกว่าใช้ความคิดที่ได้จากการเรียนรู้ เรียนรู้ รวมทั้งการสารวจสภาพแวดล้อมในที่ทางาน
10.3 การศึกษาปัจจั ยความผูกพันต่อองค์ กร ลักษณะงานที่เหมาะสมในแต่ล ะบุคคลเพื่อให้บุคลากร
แรงจูงใจสภาพแวดล้อมในงานและความสัมพันธ์กับ มีโอกาสในการเรียนรู้และค้นคว้าหาความรู้เพื่อนามาใช้
เพื่ อ นร่ ว มงานมี ผ ลต่ อ การเรี ย นรู้ ข ององค์ ก รระดั บ ในการพัฒนางานขององค์กรต่อไป
บุคคล พบว่าการเรียนรู้ขององค์กรระดับบุคลากรใน 11.2 การศึกษาในครั้งนี้มีเกณฑ์การศึกษา
หน่ ว ยงานของ สอศ. ส่ ง ผลมาจากปั จ จั ย แรงจู ง ใจ เฉพาะข้าราชการและพนักงานราชการในหน่วยงาน
สภาพแวดล้ อ มในงาน และความสั ม พั น ธ์ กั บ เพื่ อ น สังกัด สอศ. เท่านั้น และเพื่อให้เกิดการค้นพบใหม่ ๆ
ร่วมงานอย่างมีนัยสาคัญที่ระดับ 0.05 แรงจูงใจเป็น ควรมีการขยายผลการวิจัยในปัจจัยตัวแปรด้านอื่น ๆ ที่

393
วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ปีที่ 23 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม - กันยายน 2558
มีผลต่อการเรียนรู้ขององค์กรเพิ่มเติม เช่น วัฒนธรรม [4] Drucker, P., 2007, Management: Task,
องค์กร ภาวะคิดกลุ่ม (group think) เพื่อนาไปใช้ Responsibilities, Practies, NJ: Transaction
ประโยชน์ในการสร้างรูปแบบในการเรียนรู้ขององค์กร Publishers, New Brunswick.
ภาครัฐที่จะเป็นประโยชน์ในการพัฒนาบุคลากรภาครัฐ [5] กานต์สุดา มาฆศิรานนท์, 2557, การพัฒนาองค์
ในหน่วยงานและหน่วยงานภาครัฐอื่น ๆ ต่อไป การแห่ ง การเรี ย นรู้ , พิ ม พ์ ค รั้ ง ที่ 3, แปลจาก
11.3 การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณเท่านั้น Marquardt, M.J., Building the Learning
ดังนั้นข้อมูลที่ได้จึงเป็นในเชิงปริมาณจึงควรทาการวิจัย Organization, 3rd Ed., เอ็กซเปอร์เน็ท,
เชิ ง คุ ณ ภาพ เพื่ อ ให้ ไ ด้ ข้ อ มู ล ที่ ส มบู ร ณ์ ยิ่ ง โดยอาจ กรุงเทพฯ, 448 น.
จะใช้วิธีการจัดการระดมสมอง การสนทนากลุ่มการ [6] กนกรัตน์ สาอางกาย, ยุรพร ศุทธรัตน์ และสิริ
สัมภาษณ์ จินต์ วงศ์จารุพรรณ, 2556, ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อ
11.4 ควรศึกษาวิจัยเพิ่มเติมถึงความสัมพันธ์ ความสามารถในการเรียนรู้ของบุคคลเพื่อพัฒนา
ของการเรียนรู้ขององค์กร ในระดับทีมและองค์กร เพื่อ สู่องค์กรเพื่อการเรียนรู้ , น. 297-304, รายงาน
เป็นการขยายผลการวิจัยและครอบคลุมการเรียนรู้ใน การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตร
ทุกระดับขององค์กร ศาสตร์ ครั้งที่ 51 สาขาศึกษาศาสตร์และสังคม
ศาสตร์, กรุงเทพฯ.
12. กิตติกรรมประกาศ [7] วีรวุธ มาฆะศิรานนท์ , 2541, องค์กรกรเรียนรู้สู่
ขอขอบพระคุณ สานักงานคณะกรรมการการ องค์กรอัจฉริยะ, เอ็กซเปอร์เน็ท, กรุงเทพฯ.
อาชีวศึกษา ที่อนุญาตให้เก็บรวบรวมข้อมูล โดยเฉพาะ [8] สุภาวดี ขุนทองจันทร์, 2553, ความสัมพันธ์ของ
อย่ า งยิ่ ง บุ ค ลากรในหน่ ว ยงานทุ ก ท่ า นที่ ไ ด้ ใ ห้ ค วาม การเรียนรู้องค์การกับประสิทธิภาพการดาเนิน
ร่วมมือในการตอบแบบสอบถามอันเป็นประโยชน์อย่าง งานของคณะบริหารศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบล
ยิ่งต่อการวิจัย ราชธานี, ว.วิชาการ มอบ. 12(1): 103-111.
[9] Goh, S.C., 2003, Improving organizational
13. รายการอ้างอิง learning capability: Lessons from two
[1] กฤษณ์ รักชาติเจริญ, 2557, การบริหารการคลัง case studies, Learn. Organ. 10: 216-227.
ภายใต้แนวคิดการจัดการภาครัฐแนวใหม่ , ว.นัก [10] Atak, M. and Erturgut, R., 2010, An
บริหาร 34(1): 3-10. empirical analysis on the relation
[2] สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา, 2557, between learning organization and
รายงานประจาปี 2556, วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี , organization commitment, Proc. Soc.
กรุงเทพฯ. Behav. Sci. 2: 3472-3476.
[3] ทิพวรรณ หล่อสุวรรณรัตน์, 2546, การจัดการ [11] Fiol, C.M. and Lyles, M.A., 1985,
สมัยใหม่, พิมพ์ครั้งที่ 3, แซทโฟร์พริ้นติ้ง จากัด, Organizational learning, Acad. Manag.
กรุงเทพฯ. Rev. 10: 803-813.

394
ปีที่ 23 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม - กันยายน 2558 วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
[12] พนม เพชรจตุพร และทวิกา ตั้งประภา, 2554, นิพนธ์ ปริญญาโท, สถาบันบัณ ฑิตพัฒนบริหาร
การเรียนรู้ขององค์กรและองค์กรแห่งการเรียนรู้ , ศาสตร์.
แหล่งที่มา : http://www.msit2005.mut.ac. [18] Liao, S.H., Fei, W.C. and Liu, C.T., 2008,
th/msit_media/2_2554/ITEC3613/Lecture Relationships between knowledge inertia
/20120227232618Yr.pdf, 5 ธันวาคม 2557. organizational learning and organization
[13] Schwandt, D. and Marquardt, M., 2000, innovation, Technovation 28: 183-195.
Organizational Learning: From Worldclass [19] Tsai, P.C.F., Yen, Y.F., Huang, L.C. and
Theories to Global Best Practice, Boca Huang, I.C., 2007, A study on motivation
Raton, FL: St. Lucie. employees’ learning commitment in the
[14] Castaneda, D. and Fernandez, M., 2007, post-downsizing era: Job satisfaction
From individual learning to organizational perspective, J. World Business 42: 157-
learning, Elect. J. Knowled. Manag. 5: 169.
363-372. [20] Yamane, T., 1967, Statistics: An
[15] พรธิดา วิเชียรปัญญา, 2547, การจัดการความรู้ Introductory Analysis, Harper and Row,
: พื้นฐานและการประยุกต์ใช้ , บริษัท เอ็กเปอร์ New York.
เน็ท จากัด, กรุงเทพฯ. [21] ณั ฐ วุ ฒิ โรจน์ นิ รุ ต ติ กุ ล , 2552, บทสะท้ อ นต่ อ
[16] ศิ ร ภั ส สรศ์ วงศ์ ท องดี , 2557, การพั ฒ นา แนวคิดการจัดการความรู้และองค์การแห่งการ
ทรั พยากรมนุษ ย์ , พิ มพ์ ค รั้ ง ที่ 2, โรงพิ มพ์ แห่ ง เรียนรู้, น. 19-36, ใน เจษฎา นกน้อย (บรรณา
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ. ธิ ก าร), นานาทรรศนะการจั ด การความรู้ แ ละ
[17] กิตติยา อินทกาญจน์ , 2553, การเรียนรู้ระดับ สร้ า งองค์ ก ารแห่ ง การเรี ย นรู้ , ส านั ก พิ ม พ์ แ ห่ ง
บุ ค คลและระดั บ ที ม ขององค์ ก ร : กรณี ศึ ก ษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ.
องค์ ก รที่ ไ ด้ รั บ รางวั ล คุ ณ ภาพแห่ ง ชาติ , วิ ท ยา

395

You might also like