Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 79

การกําจัดความกระดาง (Hardness Removal)

1. ชืชออ่ : พรศกด
พรศักดิ์ สมรไกรสรกจ
สมรไกรสรกิจ
2. ตําแหนง : ผูอํานวยการกองธุรกิจเสริมดานระบบผลิต
3. สถานทีท่ ํางาน : การประปานครหลวง
- การศึกษา :
1 ระดั
1. ระดบปรญญาตร
บปริญญาตรี สาขา วทยาศาสตรสุ
วิทยาศาสตรสขาภิ
ขาภบาล
บาล จาก มหาวทยาลยมหดล
มหาวิทยาลัยมหิดล
2. ระดับปริญญาโท สาขา วิศวกรรมสิ่งแวดลอม จาก มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร
- การฝกอบรมตางประเทศ
1 Training course Yokohama Training Program 2001 in Japan
1.

1
การกําจัดความกระดาง
(Hardness Removal)

2
Hydrologic Cycle
Water is recycled
y

4
Aquifers
if needd to
t be
b protected
t td

6
Formation of Hardness

Precipitation
Organics + O2 + Bacteria CO2 + H2O + NH3 + Energy Topsoil
Organics + Combined oxygen + Bacteria CO2 + H2O + N2 + CH4 + H2S +Energy

Subsoil
CO2 + H2O  H2CO3

Limestone CaCO3(s) + H2CO3  Ca(HCO3)2


MgCO3(s) + H2CO3  Mg(HCO3)2
ไม่ละลายน้ํา ละลายน้ํา
CaCO3 : calcium carbonate Ca(HCO3)2 : calcium bicarbonate
MgCO3 : magnesium carbonate Mg(HCO3)2 : magnesium bicarbonate 7
F
Fractures
t in
i Limestone
Li t
8
HCO3-

HCO3-

9
Carbonate ion attracts cations

10
Hardness
 สภาพปญหาที่เกิดจากความกระดางในน้ําสูง:
 เปปนสาเหตุทําให
ใ เ กิดิ soap scum ทําํ ใใหส ิ้นเปลื
ป อื งสบูม ากขึึน้
CaCl2 + 2C17H35COONa  Ca(C17H35COO)2(s) + 2NaCl
 ทําใหรสชาติของน้ําไมนาดื่ม
 เปนสาเหตุทําใหเกิดการอุดตันในระบบทอ (scaling on pipes)
 เปนสาเหตุ
ป ทําใหการเปด-ปดระบบวาลวตดขดอนเนองมาจากผลก
ใ  ป ป  ิ ั ั ื่ ึ
ของ calcium carbonate
 เกิดปญหากับระบบสุขภัณฑตางๆ
 ทําใหเกิดตะกรันในหมอตมไอน้ํา้ (Boiler) ทําใหส้นิ เปลืองพลังงาน
มากขึ้น
มากขน
 ทําใหเกิดตะกรันในระบบน้ําหลอเย็น(Cooling Tower) 11
ความกระด้างแบ่งออกได้ 3 ประเภทคือ
• Total Hardness

- ทางทฤษฎี – เป็นผลรวมของประจุบวก 2 ทั้งหมด


- ทางปฎิบตั ิ - เป็นผลรวมของ calcium ions และ magnesium ions
(the predominant minerals in natural waters)
- แบ่งออกได้ 2 รููปแบบคือ
1. carbonate hardness.
2. noncarbonate hardness.
13
ความกระด้างแบ่งออกได้ 3 ประเภทคือ
• Carbonate Hardness

- นิยมเรียกว่า "temporary hardness" เพราะว่า


สามารถกําจัดด้วยความร้อน(การต้ม)ได้ เมอนาไดรบ
สามารถกาจดดวยความรอน(การตม)ได เมื่อน้ําได้รับ
ความร้อนจะเกิดการตกผลึก(p(precipitate)
p ) รวมตัว
กันอยู่บริเวณด้านล่างภาชนะ

- 2+
Ca , Mg 2+ associated with -
HCO3 , CO3 2-

14 14
ความกระด้างแบ่งออกได้ 3 ประเภทคือ
• Non-Carbonate Hardness

o นิยมเรียกว่า“permanent hardness”เพราะว่าไม่
สามารถกําจัดออกได้ด้วยความร้อน เพราะฉะนนการ
สามารถกาจดออกไดดวยความรอน เพรา ฉ นั้นการ
กําจัดความกระด้างประเภท non-carbonate
hardness จึงมีคา่ ใช้จ่ายที่สูงกว่าการกําจัด carbonate
hardness.
C 2+, Mg
o Ca M 2+ associated
i d with i h other
h ions,
i Cl-, NO3-,
SO42-
15 15
 ความสัมพันธ์ระหว่าง Alkalinity และ Hardness ในน้ําธรรมชาติ
ทัว่ ๆไป ที่มคี ่า pH ระหว่าง 6.5 – 8.0

 กรณี Total Hardness


กรณ > Total Alkalinity
• Carbonate Hardness = Total Alkalinity
• Non
N C Carbonate
b H
Hardness
d =TTotall H
Hardness
d – Total
T l Alk
Alkalinity
li i

 กรณี Total Hardness < Total Alkalinity


• Carbonate Hardness = Total Hardness
• Non Carbonate Hardness = 0

16
Hardness Units
• milligrams per liter (mg/L) as calcium carbonate
• parts per million (ppm) as calcium carbonate
• grains per gallon of hardness (to convert from grains p
gallon to mg/L, multiply by 17.1) (1( grain = 0.065 g))
• equivalents/liter Equivalent = g
equivalents Eqq - Wt
oacids and bases: number of H+ transferred
oredox reactions: number of e- transferred
17
Hardness Description
Hardness range
Description
(mg/L as CaCO3)
SSoftft 0 - 75
Moderately hard 75 - 100
Hard 100 - 300
Very hard > 300
18
การกําจัดความกระด้าง (Hardness Removal)
การกาจดความกระดาง

วิธีการกําจัดความกระดางสามารถทําได 2 วิธีคือ

1. ใช
ใชสารเคมทาปฏกรยากบความกร
สารเคมีทา
ํ ปฏิกร
ิ ย
ิ ากับความกระด
ดางใหตกต
างใหตกตะกอน
กอน
(Precipitation)

2. ใชหลักการแลกเปลีย
่ นอิออนโดยใชเรซิน
(Ion Exchange Resin)

19
วิธีการใช้สารเคมีทาํ ปฏิกิริยาเพื่อให้ตกตะกอน (Precipitation)
มี 2 แบบ คือ
1. Cold Lime Soda Process
2. Hot Lime Process or Hot Process Softening

Cold Lime Soda Process

- ปูปนขาว (Ca(OH)
(C (OH)2)
- โซดาแอช (Na
(N 2CO3)
- โซดาไฟ (NaOH)
20 20
วั ต ถุ ป ระสงค์ เ พื่ อ ทํ า ปฏิ กิ ริ ย ากั บ ความกระด้ า งแล้ ว ทํ า ให้ เ กิ ด ตกตะกอน
นอกจากนี้ยังต้องใส่สารสร้างตะกอน(Coagulants)
นอกจากนยงตองใสสารสรางตะกอน (C l t) และสารช่วยตกตะกอน
และสารชวยตกตะกอน
(Coagulants aid) เพื่อจับตะกอนที่เกิดจากการทําปฏิกิริยาดังกล่าวให้จมตัวเร็ว
ยิ่งขึ้น
สารสร้างตะกอนเพื่อตกตะกอนที่นิยมใช้ทนี่ ิยมใช้ได้แก่ สารสม
สารสรางตะกอนเพอตกตะกอนทนยมใชทนยมใชไดแก สารส้ม เฟอรรสซลเฟต
เฟอร์รสั ซัลเฟต
และเฟอร์รกิ ซัลเฟต
ปฏิกิรยิ าทางเคมี
1. ปูนขาว (CaO)
ปฏิกิ ิรยิ าจะกํําจััด CO2 และลดความกระด้า้ งคาร์บ์ อเนต (Carbonate
Hardness) มีดังนี้
CaO + H2O Ca(OH)2
CO2 + Ca(OH)2 CaCO3 + H2O 21
Ca(HCO3)2 + Ca(OH)2 2CaCO3 + 2H2O
Mg(HCO3)2 + 2Ca(OH)2 2CaCO3 + Mg(OH)2 + H2O
2NaHCO
CO3 + Ca(OH)
C (O )2 Na2CO3 + CaCO3 + H2O
ป กิ ิริยาขจััดความกระด้้าง(แมกนีเี ซียม))ด้ว้ ยปูปนขาว มีดี ังนี้ี
ปฏิ

MgCO3 + Ca(OH)2 CaCO3 + Mg(OH)2


MgSO4 + Ca(OH)
( )2 Mg(OH)2 + CaSO4 ความกระด้างถาวร
MgCl2 + Ca(OH)2 M (OH)2 + CaCl
Mg(OH) C Cl2
การใชปูปนนขาวกํ
การใช้ ขาวกาจด
าจัด MgSO
M SO4 และ MgCl
M Cl2 แตจะสราง
แต่จะสร้าง CaSO4 และ
CaCl2 ซึ่งต้องกําจัดโดยใช้โซดาแอช(Na
( 2CO3)
22
2. โซดาแอช (Na2CO3)
โซดาแอชจะทําปฏิกิริยากับความกระด้างถาวร (Non Carbonate
Hardness)หรือความกระด้างที่ไม่ใช่คาร์บอเนตได้ตะกอนที่ไม่ละลาย
น้ํ า จะต้ อ งใช้ โ ซดาแอช 1 สมมู
นาจะตองใชโซดาแอช สมมลเพื
ล เพอทาปฏกรยากบความกระดาง
่ อ ทํ า ปฏิ กิ ริ ย ากั บ ความกระด้ า ง
แคลเซียมที่ไม่ใช่คาร์บอเนต 1 สมมููล เช่นกัน
CaSO4 + Na2CO3 CaCO3 + Na2SO4
CaCl2 + Na2CO3 CaCO3 + 2NaCl
Ca(NO3)2 + Na2CO3 CaCO3 + 2NaNO3

23
ถ้าเป็นความกระด้างถาวรแมกนีเซียม จะต้องใช้โซดาแอช 1 สมมูลกับ
ปูปนขาว 1 สมมูล เพืื่อทําํ ปปฏิิกิริยากัับความกระด้้างถาวรแมกนีีเซีียม 1
สมมูล
สมมล
MgSO4 + Na2CO3 + Ca(OH)2 Mg(OH)2 + CaCO3 + Na2SO4
MgCl2 + Na2CO3 + Ca(OH)2 Mg(OH)2 + CaCO3 + 2NaCl
Mg(NO3)2 + Na2CO3 + Ca(OH)2 Mg(OH)2 + CaCO3 + 2NaNO3
ในการใช้โซดาแอชจะลดความกระด้างลงได้ แต่ไม่สามารถลดสาร
(Dissolved Solid) ทีอี่ ยูใ่ นนํา้ํ ได้ ป ิกิริยาจะเกิิดเกลือื
ไ เ้ พราะผลของปฏิ
โซเดียมที่ละลายน้ํา
โซเดยมทละลายนา
Na2CO3 + Ca(OH)2 = Lime Soda Softener
24
24
3. ใช้โซดาไฟ (NaOH) แทนปูน-โซดาแอช จะเกิดปฎิกิริยาดังนี้
CO2 + 2NaOH Na2CO3 + H2O
C (HCO3)2 + 2NaOH
Ca(HCO 2N OH CaCO3 + Na2CO3 + 2H2O
Mg(HCO3)2 + 4NaOH Mg(OH)2 + 2Na2CO3 + 2H2O
MgSO
g 4 + 2NaOH Mg(OH)
g 2 + 2Na2SO4
4. สารสร้างตะกอนและสารช่วยตกตะกอน(Coagulants
g and
Coagulant aids)
เมื่อความกระด้างทําปฏิกิริยากับสารเคมีตามสมการต่างๆข้างต้นแล้วจะตกตะกอนเป็น
ตะกอนที่ละเอียดซึ่งจะฟ้งกระจายไดงาย
ตะกอนทละเอยดซงจะฟุ กระจายได้ง่าย การใสสารสรางตะกอนและสารชวยตกตะกอน
การใส่สารสร้างตะกอนและสารช่วยตกตะกอน
จะช่วยให้ตะกอนเม็ดเล็กๆรวมตัวกันเป็นตะกอนเม็ดใหญ่ขึ้นและตกตะกอนได้เร็ว

25 25
ปฏิกิริยาทางเคมี
Al2(SO4)3.18H2O + 3Ca(HCO3)2 2Al(OH)3 + 3CaSO4 + 18H2O + 6CO2

2FeSO4.7H2O + 2Ca(HCO3)2 + ½ O2 2Fe(OH)3 + 2CaSO4 + 6H2O + 6CO2

2FeSO4.7H2O + 3Ca(HCO3)2 + Cl2 2Fe(OH)3 + 2CaSO4 + CaCl2 + 7H2O + 6CO2

Fe(SO4)3 + 3Ca(HCO3)2 2Fe(OH)3 + 3CaSO4 + 6CO2

26
Coagulant
(1)* (2)*
Name Chemical Formula
Alum Al2(SO4)3.14H2O 0.55 0.44
Ferrous Sulfate FeSO4.7H2O 0.66 0.58

Ferric Sulfate Fe2(SO4)3.9H2O 0.77 0.66

Ferric Chloride FeCl3 0.93 0.81


Magnesium
MgCO3.3H2O 0.72 0.64
Carbonate
(1) ความเป็นด่างที่ลดลง (mg/l) as CaCO3 *คิดต่อ 1 mg/l ของ coagulant ที่เติม 27
(2) คาร์บอนไดออกไซด์ที่เกิด (mg/l) as CO2
การคํานวณปริมาณสารเคมีทใี่ ช้
1. ปูนขาว (CaO) คํานวณในรูปของ Ca(OH)2 ได้ดังนี้
[Ca(OH)2] = [CO2] + [HCO3-] +[Mg2+] + [excess lime]
where
[[Ca(OH)
( )2] = amount of Ca(OH)
( )2 required
q for softeningg in meq/l
q
[CO2] = concentration of CO2 in meq/l
[HCO3-] = concentration of HCO3- in meq/l
[Mg2+] = concentration of Mg2+ in meq/l
[excess lime] = additional amount of lime needed to maintain 28
an elevated pH value, usually 1 meq/l

28
2. โซดาแอช (Na2CO3) คํานวณได้ดังนี้
[Na2CO3] = [Ca2+] + [Mg2+] + [Alkalinity]
where :
[Na2CO3] = amount of Na2CO3 required for noncarbonate
softening in meq/l
[C 2+] = concentration
[Ca C 2+ in
t ti off Ca i meq/l/l
[Mg2+] = concentration of Mg2+ in meq/l
[Alkalinity]
y = concentration of Alkalinityy in meq/l
q

29 29
Lime required in mg/l = [Ca(OH)
[ ( )2 in meq/l]] x 37

S d AAshh required
Soda i d iin mg/l/l = [Na
[N 2CO3 in
i meq/l]
/l] x 53

30
3. ปูนขาว (CaO) คํานวณในรูปของ CaO ได้ดังนี้
D
lim e (CaO in mg / l )  ( A  B  C ) x
E
Where :
A  CO2 as CO2 (mg/l) x (56/44)
B  HCO3 alkalinity as CaCO3 (mg/l) x (56/100)
C  Mg as Mg (mg/l) x (56/24.3)
(56/24 3)

D  Excess lime required to rise pH to 11 to remove magnesium; it is


generally 10 to 20% of A+B+C : thus D = 1.1 to 1.2

E  Purity of the quick lime (0.88 to 0.95) ; therefore, E = 0.88 to 0.95

31 31
4. ปูนขาวประเภท slaked lime (Ca(OH)2) คํานวณในรูปของ Ca(OH)2 ได้ดังนี้
D
OH ) 2 in mg / l )  ( A'  B'  C ' ) x
Slaked lim e (Ca (O
E
Where
h :
A'  CO2 as CO2 (mg/l) x (74/44)
B'  HCO3 alkalinity as CaCO3 (mg/l) x (74/100)
C '  Mg as Mg (mg/l) x (74/24.3)
D  Excess lime D = 1.1 to 1.2
E  Purity of the lime :generally, E = 0.93 to 0.95

32 32
5. โซดาแอช (Na2CO3) สําหรับการกําจัดความกระด้างถาวร
(non carbonate hardness) คําํ นวณได้
ไ ้ดังนี้ี
106
Soda Ash ( Na2CO3 in mg / l )  ( NH  L) x
100
Where :
NH  Noncarbonate hardness as CaCO3 (mg/l)
L  Noncarbonate hardness remaing in the softened
water (mg/l)

33
ส่วนประกอบของกระบวนการกําจัดความกระด้างด้วยวิธีตกผลึก

1 ถงกวนเรว
1. ถังกวนเร็ว (Rapid Mixing Tank)
2 ถงกวนชา
2. ถังกวนช้า (Slow
(Sl MiMixing
i TTank)
k)
3. ถัังตกตะกอน (Sedimentation Tank)
4. ระบบพีเี อชหรือื รีคี าร์บ์ อเนชัน่ั (Recarbonation)

34
34
Design Criteria
1. Flash mixing
- Mixing Energy (G) 300 to 500 sec-1
- Mixing Time 10 to 30 sec
2. Flocculation
- Mixing Energy (G) 5 to 50 sec-1
- Mixing
Mi i Time
Ti e 30 to
t 40 min
i
- Flow Velocity through ports 0.5 to 1.2 ft/s(0.15 to 0.36 m/s)

NOTE : Adequate mixing time is very important because of the slow reaction rate
38
Design Criteria
3. Sedimentation
- Surface Loading 1.9 to 2.5 m/hr (rectangular tank type)
2.5 to 4.4 m/hr (sludge blanket type)

- Detention Time Minimum of 2 hr (rectangular tank type)


Minimum of 1 hr (sludge blanket type)
- Weir Loading 11 m3/m.hr (rectangular tank type)
15 m3/m.hr (sludge blanket type)
- Total Water Loss < 3% due to sludge withdrawal

39
39
Design Criteria
4. Recarbonation
- Carbon dioxide diffusion tank 3 min minimum contact time
- Recarbonation tank 20 min minimum detention time
- pH of water after recarbonation 8.7 to 8.8

NOTE : the use of liquid


q carbon dioxide has become more commonlyy
practiced for recarbonation

40
40
Design Criteria
5. Filtration (Dual Media Bed)
- Filtration Rate 10 to 15 m/hr
- Anthracite Coal
Depth 0.5 m
Eff ti Size
Effective Si 1 0 to 1.1
1.0 1 1 mm
Uniformity Coefficient < 1.4
Specific gravity 1.67 to 1.7
- Sand
Depth 0.25 m
Effective Size 0.55 to 0.6 mm
Uniformity Coefficient < 1.5
Specific gravity > 2.63 42
Backwash rate Average 50 m/hr
Hot Lime Process or Hot Process Softening
สามารถปรับสภาพน้ําให้มคี ุณภาพดังนี้
1. ลดปริมาณซิลกิ าที่มีอยู่ในน้ําให้ลดลงจนมีอยู่ไม่เกิน 1 พีพเี อ็ม
2. ลด P และ M-Alkalinity ในน้ําให้ลดลงจํานวนหนึง่ ทําให้นา้ํ หมุนอยู่ใน
ระบบของหม้อไอน้ําได้นานขึน้
ระบบของหมอไอนาไดนานขน
33. สามารถลดความกระดางแคลเซยมและแมกนเซยมลงไดบางสวนและถา
สามารถลดความกระด้างแคลเซียมและแมกนีเซียมลงได้บางส่วนและถ้า
น้ํานี้ผา่ นเครือ่ งทําน้ําอ่อน (Ion Exchange Softener) จะได้น้ําที่มีความ
กระด้างไม่ ไ เกิน 1 พีพเี อ็ม็
4 ลดปริ
4. ป ิมาณสารละลาย (TDS) และสารแขวนลอย
5 ไลกาซทละลายนาออกได
5. ไล่ก๊าซทีล่ ะลายน้ําออกได้
43 43
เมื่อใส่ปูนขาวและโซดาแอช จะเกิดปฏิกิริยาดังนี้
2HCO3- + Ca(OH)2 CaCO3 + CO3-2 + H2O
Mg+2 + Ca(OH)2 Mg(OH)2 + Ca+2
Ca+2 + CO3-2 CaCO3
ระบบ Hot Process Softening นอกจากขจัดความกระด้างแล้วยังใช้
ลดความเป็น็ ด่างในนํ
ใ ้ําได้
ไ ้อีกด้้วย โดยเฉพาะในกรณี
โ ใ ที ีน่ ํา้ มีีค่าความเป็น็
ด่างในรปโซเดี
ดางในรู ปโซเดยมไบคารบอเนตมาก
ยมไบคาร์บอเนตมาก
2NaHCO3 + ความรอน
ความร้อน NNa2CO3 + H2O + CO2
Na2CO3 + H2O + ความร้อน 2NaOH + CO2
45 45
ระบบ Hot Process Softening จะประหยัดค่าใช้จ่ายในการ
เปลี่ยนรปไบคาร์
เปลยนรู ปไบคารบอเนต
บอเนต และใช้
และใชยปซม
ยิปซัม (แคลเซยมซลเฟต)
(แคลเซียมซัลเฟต)
ตกตะกอนเป็นแคลเซียมคาร์บอเนตอีกที

Na2CO3 + CaSO4 Na2SO4 + CaCO3


และถ้้าในนํ
ใ ้ํามีีปูนขาว ความกระด้้างถาวรอยู่ก็จะเกิิดปปฎิกิ ิริยาได้
ไ ้ดังนี้ี

Na2CO3 + Ca(OH)2 NaOH + CaCO3


MgSO4 + 2NaOH Mg(OH)2 + Na2SO4
46
สูตรทีใ่ ช้คํานวณ Hot Lime Process or Hot Process Softening
1. ค่าชดเชยความเจือจาง (Dilution Correction Factor); DCF การพ่นไอน้ํา้ ลง
ไปในถัง ทํทาใหนาในถงปฎกรยาเจอจางได
ไปในถง าให้น้ําในถังปฎิกริยาเจือจางได้ ปรมาณสารเคมทใสเขาไปจงตอง
ปริมาณสารเคมีที่ใส่เข้าไปจึงต้อง
เปลี่ยนแปลงไปเนื่องจากปริมาตรน้าํ ในถังปฎิกริยาเพิม่ ขึ้น จึงต้องมีการ
คําํ นวณค่่าชดเชยความเจืือจาง ดังั นีี้

DCF = 1
1 + ปอนดไอนาทใช
ปอนด์ ไอน้ําทีใ่ ช้
ปอนด์น้ําดิบ
ปอนด์ไอน้ําที่ใช้ เอนทาลปีของน้ําที่ปรับสภาพแล้ว - เอนทาลปีของน้ําดิบ
=
ปอนด์น้ําดิบ เอนทาลปีของไอน้ําดิบ - เอนทาลปีของน้ําที่ปรับสภาพแล้ว
สําหรับค่าเอนทาลปี (Enthalpy)
สาหรบคาเอนทาลป (E th l ) ของไอนานนหาไดจากตารางไอนาในหนงสอเกยวกบไอนา
ของไอน้ํานั้นหาได้จากตารางไอน้ําในหนังสือเกี่ยวกับไอน้ํา
47 47
2. ในการคํานวณปริมาณสารเคมีทตี่ ้องใช้ที่แท้จริง เมื่อมีการชดเชยเนือ่ งจาก
การเจือจางไอน้ํา้ ให้คณ
ู ด้วย CCF (Cold Correction Factor)

CCF = 1
DFC
ปริมาณปูนขาวทีใ่ ช้จริง
= (meq/l HCO3 + meq/l Mg - meq/l OH) Raw Water -
CCF(meq/l HCO3 + meq/l Mg - meq/l OH) Treated Water
ปริมาณโซดาแอชที่ใช้จริง
ปรมาณโซดาแอชทใชจรง
= (meq/l Hardness - meq/l Total Alkalinity ) Raw Water -
CCF(meq/l Hardness - meq/l Total Alkalinity) Treated Water
49
การตรวจสอบคุณภาพน้าํ
การตรวจสอบคุณภาพนํ้าเพื่อดูว่าใส่ ใ ปูนขาวมากหรือน้้อยเกินไปนั
ไ ้นดูได้้จากค่า
P- Alkalinityy และ M – Alkalinityy ถ้าค่า 2P – M มีค่าเป็นลบแล้วแสดงว่าใส่ปูน
ขาวมากเกินไปเล็กน้อย จึงมีไบคาร์บอเนตที่ไม่ได้ทําปฏิกิริยาเหลืออยู่

กรณทที่ 1 เพอลดความกระดางใหมากทสุ
กรณี เพื่อลดความกระด้างให้มากที่สด ตองควบคุ
ต้องควบคมน้
มนาใหมคุ
ําให้มีคณ
ณภาพ
ภาพ
ดังนี้

2P – M = 10 – 20 ppm

ถ้า้ มากกว่า่ 20 ppm ก็ค็ วรลดปริ


ป มิ าณปูปนขาวลง และ M – Alkalinity
Alk li i
= 50 – 60 ppm ความกระด้าง = 12 – 20 ppm
50
50
กรณีที่ 2 เพื่อลดค่า TDS ให้ได้มากที่สุด ต้องควบคุมน้ําให้มีคณ
ุ ภาพ
ดังนี้
2P – M = 0 ppm (ลดปูนขาวถ้าค่าสูงกว่านี้)

M – Alkalinity = 40 – 50 ppm
ความกระด้าง = 15 – 25 ppm

กรณีที่ 3 ดดซั
ู บซิลกิ าให้มากที่สุด

2P – M = 0 – 10 ppm

51 51
ใช้หลักการแลกเปลี่ยนอิออนโดยใช้เรซิน(Ion Exchange Resin)
ประวัติศาสตร์
ปี ค.ศ.1850 นักเคมีชาวอังกฤษชื่อทอมป์สัน เป็นผู้ค้นพบปรากฎการณ์การ
แลกเปลี่ยนอิออนของดิน โดยการเทสารละลายแอมโมเนยมซลเฟต
แลกเปลยนอออนของดน โดยการเทสารละลายแอมโมเนียมซัลเฟต (NH4SO4)
ผ่านดิน ดินจะจับแอมโมเนียไว้และได้แคลเซียมซัลเฟตแทนที่ ดังสมการ
Ca-Soil + NH4SO4 NH4- Soil + CaSO4

ต่อมาได้มีการใช้สารจําพวกซีโอไลต์ (Zeolite) หรือ Sodium alumino


silicate ซึ่งเป็็นแร่บางชนิดที่อยู่ในดินเป็็นตัวแลกเปลี่ยนอิออนได้ จนปี
ค.ศ. 1905 นกเคมชาวองกฤษ
นักเคมีชาวอังกฤษ ชืชอ่อ Gans ไดสงเคราะห ได้สังเคราะห์ Zeolite เปนผลสาเรจ
เป็นผลสําเร็จ
ทําให้ราคาซื้อขายต่ําลงและใช้กันอย่างแพร่หลายในขณะนั้นแม้ในปัจจุบัน
จะเลิกิ ใช้
ใ แ้ ล้ว้ ก็ย็ ังเรียี กชือ่ื อืนื่ ทีที่ ําหน้า้ ทีเ่ี ดียี วกันั ว่า่ ซีโี อไลต์
ไ ์
52
52
Ca2+ + 2Na+Z 2Na+ + Ca2+Z2
Z = Zeolite
ในปี ค.ศ. 1935 นักเคมีชาวอังกฤษชื่อ Adams และ Holms สามารถสังเคราะห์
สารประกอบอินทรีย์ที่มีสมบัติในการแลกเปลี่ยนอิออนได้และมีการพัฒนาโดยมี
สารประกอบอนทรยทมสมบตในการแลกเปลยนอออนไดและมการพฒนาโดยม
การค้นพบวิธีการควบอณููระหว่างสไตรีน(Styrene) โดย Divinylbenzene
(DVB) เป็นตัวจับระหว่างโพลีสไตรีนเรียกว่า Crosslinkage เกิดเป็น “เรซิน
(Resin)” ซึ่งมีเม็ดค่อนข้างกลม
ปริมาณร้อยละของ DVB ที่มีอยู่ในเรซิน เรียกว่า Crosslinkage เรซินเมือ่ แช่
อย่ในนาจะมรู
อยู นน้ําจะมีรเเล็ลกๆเปนโพรงอยู
กๆเป็นโพรงอย่ภายในมากมาย อิอออนจะแพรเขาไปสู
ออนจะแพร่เข้าไปส่ภายในเร
ซินตามรูเล็กๆเหล่านี้ ถ้ามีคา่ เปอร์เซ็นต์ DVB สูงก็จะมีขนาดของรูเล็ก
53
53
โครงร่างเรซิน (Matrix)
อาจแบ่งตามลักษณะทางกายภาพได้ 3 ลักษณะ คือ
1. Gel Type(เจลใส) มีลักษณะนิ่มคล้ายวุ้นสามารถบรรจุ Functional Group ได้
มากแต่มีรพรน
มากแตมรู พรุน ขนาดเล็
ขนาดเลกและถมาก
กและถี่มาก (เปน
(เป็น Membrane) ขอเสยคอ
ข้อเสียคือ เกิ
เกดการอุ
ดการอดตั
ดตนได
นได้
ง่ายโดย เฉพาะถ้าเป็น Strong Anion
2. Macroporous Type มีความพรุนมากกว่าคือมีพื้นที่ผิวมากถึง 100 m2/g ทําให้
ไ ่ค่อยอุดตัันโดย
ไม่ โ Polystyrene divinylbenzene copolymer จะมีีโครงร่่างเชืื่อม
ขวางของ DVB 8-12% โดยทั่วไปถ้า %DVB น้อย การบวมตัว การหดตัวจะมีมาก การ
วิ่งเข้าออกของไอออนผ่านเรซินจะสะดวกแต่ความแข็งแรงก็จะน้อยลง
3. Opaque Gel(เจลทึบแสง) มีโครงร่างที่แข็งแรง แต่ก็สามารถรับ Functional
G
Group และยืดหดตัวได้มากพอสมควร
และยดหดตวไดมากพอสมควร 54
54
การทําน้ําอ่อน (Softening)
ระบบขจัดไอออนประจุบวกบางชนิดเท่านั้นที่ใช้งานกันมาก คือ การ
กําจัดความกระด้างเพื่อผลิตน้ํ้าอ่อน วิธีการทําน้ํ้าอ่อนจะใช้เรซินจํา
พวกกรดแก่ (strong acid cation resin) และลางฟนฟู
พวกกรดแก และล้างฟื้นฟประสิ
ประสทธภาพ
ทธิภาพ
(regenerate) ด้วยน้ําเกลือแกง (NaCl)
แม้ ว่ า จะเป็ น ชนิ ด ประจุ บ วกกรดแก่ แต่ ที่ นิ ย มเรี ย กกั น ว่ า ซี โ อไลต์
(Zeolite) หรือโซเดียมซีโอไลต์ (Sodium Zeolite) ที่เรียกเช่นนี้
เนืื่ อ งจากในสมยก่
ใ ั ่ อ นการกํํ า จดความกระด้
ั ้ า งใช้
ใ ้ ท รายเขีี ย ว (Green
(G
Sand) ซงเปนสวนปร
ซึ่งเป็นส่วนประกอบของ
กอบของ Alumino Silicate แล และเรีเรยกวาซ
ยกว่าซี
โอไลต์กําจัดความกระด้าง
55 55
เรซินชนิดประจุบวก-กรดแก่ (Strong Acid Cation Resin)
มี Functional Group เป็น   มีออิ อนประจําตัวคือ

R-SO3-
เรซินิ แบบประจุ
ป บวก-กรดแก่ เปนเรซิ
ป็ นิ ทีีม่ กี ารใช้
ใ ้งานมากทีีส่ ุดใน

จําํ พวกเรซิินประจุบวก ปกติิจะอยูใ่ นรูปของ

- เกลือโซเดียม (R-SO3Na2) หรือเรียกว่า Sodium form


- ในรูปของ H+ (R-SO3H2) หรือเรียกว่า Hydrogen form
56
56
รูรปแบบเรซิ
ปแบบเรซนประจุ
นประจบวก-
ประจบวก
บวก-กรดแก
กรดแก่ (Strong Acid Cation Resin)

- ในรูปของ H+ (R-SO3H2) หรือเรียกว่า Hydrogen form สามารถใช้ใน


การจับอิออนประจบวกทั
การจบอออนประจุ บวกทงหมด
้งหมด
ใ ปของ Na+ (R-SO3Na2) หรืือเรีียกว่่า Sodium form สามารถใช้
- ในรู ใ ้
ในการจับอิออนของความกระด้างเพื่อทําน้ําอ่อน(Softening)แต่เพียง
ในการจบอออนของความกระดางเพอทานาออน(Softening)แตเพยง
อย่างเดียว ลําดับความยากง่ายในการถูกจับสําหรับอิออนประจุบวกมีดังนี้
Ca+2 > Mg+2 > Na+ (เกลือที่มีประจุสูงจะทําการแลกเปลี่ยนก่อนเกลือที่
มีประจต่ตากวา
มประจุ ํากว่า และสารทมนาหนกอะตอมมากกวาจะแลก
และสารที่มีน้ําหนักอะตอมมากกว่าจะแลก เปลี
เปลยนกอนสาร
่ยนก่อนสาร
ที่มี น้ําหนักอะตอมน้อยกว่า)
57
สไตรีน(Styrene) Divinylbenzene (DVB)

58
60
61
Ion-Exchange
E h
Exchanges Na+ for
N f the
th hard
h d water
t
cations

63
65
ข้อดี - ข้อเสียของเรซินแบบกรดแก่ (Strong Acid Cation Resin)
ข้อดี
1. ใช้ได้ดีกับน้ําที่มีคา่ พีเอชทุกระดับ
2. สามารถแยก Na+ จากเกลือื แกงได้ ไ ้
3 สามารถแลกเปลยนไอออนไดรวดเรว
3. สามารถแลกเปลี่ยนไอออนได้รวดเร็ว
4. มีความคงทน อาจใช้ได้นานถึง 20 ปีหรือนานกว่า โดยมีการ
สูญเสียอํานาจเกิดขึ้นเพียงเล็กน้อย
5. เหมาะสําหรับใช้ ใ ้กําจัดความกระด้้างหรือื ในการทํ
ใ านํ้าให้
ใ บ้ ริสุทธิ์
(Demineralization)

66
ข้อดี - ข้อเสียของเรซินแบบกรดแก่ (Strong Acid Cation Resin)
ข้อเสีย
1. มีประสิทธิภาพในการ regeneration ต่ําประมาณ 25 - 45 %
ทําให้ส้นิ เปลืองสารเคมีในการรีเจเนอเรชั่น
ข้อดีของการใช้เรซินทําน้ําอ่อน

11. สามารถผลตนาทมความกระดางนอยกวา
สามารถผลิตน้ําที่มคี วามกระด้างน้อยกว่า 2 พพเอม
พีพีเอ็ม
ในรปป CaCO3
ในรู
22. การใชงานควบคุ
การใช้งานควบคมง่
มงาย
าย สามารถตดตงระบบการลาง
สามารถติดตั้งระบบการล้าง
เรซินเป็นแบบอัตโนมัติได้
3. การล้างเรซินเพื่อฟืน้ ฟประสิ
ู ทธิภาพนั้น ใช้เกลือซึ่งหา
ได้ง่ายและมีราคาถูก
4. ไม่มปี ญ
ั หาเรื่องการบําบัดน้ําทิ้ง
68 68
ข้อดีของการใช้เรซินทําน้ําอ่อน
55. การเปลยนแปลงหรอความแปรปรวนของอตราการไหล
การเปลี่ยนแปลงหรือความแปรปรวนของอัตราการไหล
ของน้ําในช่วงหนึ่งจะมีผลกระทบกระเทือนต่อคุุณภาพน้ําที่
ได้น้อยมาก
6. ไม่ว่าจะเป็นเครื่องทําน้ําอ่อนที่มีขนาดใหญ่หรือเล็ก
สามารถใช้งานให้ได้ประสิทธิภาพสูงได้ จึงทําให้สะดวกใน
การใช้
ใ ง้ านแทบทุกขนาด

69
ข้อจํากัดของเครื่องทําน้ําอ่อนมีดังนี้
1. ขจัดได้เฉพาะความกระด้างแคลเซียมและแมกนีเซียมเท่านั้น
2 นาดบทเขาเครองทานาออนตองมความขุ
2. น้ําดิบที่เข้าเครื่องทําน้ําอ่อนต้องมีความข่นต่ตากวา
ํากว่า 1 NTU ถา
ถ้า
ความขุ่นน้ําดิบสูงประสิทธิภาพของเรซินในการกําจัดความ
กระด้างจะลดลง
3. น้ําดิบทีผ่ ่านจากกระบวนการที่ใช้สารส้มในการตกตะกอน ต้อง
ระมดระวงอยาใหมปรมาณอะลู
ั ั ่ ใ ้ ปี ิ มนมอออนมากเกนควรเพราะจะ
ิ ั ิ ิ
ไปทําลายเม็ดเรซิน ถ้ามีการใช้สารส้มก่อนหน้าเข้าเครื่องทําน้ํา
อ่อนจะต้องมีการควบคุมค่า pH ให้อยูใ่ นช่วงที่กําหนดอย่าง
เข้มงวดเพื่อให้เครื่องทําน้้ําอ่อนมีประสิทธิภาพสูง
70
ข้อจํากัดของเครื่องทําน้ําอ่อนมีดังนี้

4 ปรมาณเหลกในนาดบไมควรเกน
4. ปริมาณเหล็กในน้ําดิบไม่ควรเกิน 0.1
0 1 มลลกรม/ลตร
มิลลิกรัม/ลิตร เพราะจะ
ทําลายเม็ดเรซินโดยแทรกตัวเข้าไปอยูใ่ นเนื้อของเม็ดเรซิน ถ้า
พบว่ามีเหล็กหรือโลหะอื่นอยู่มาก ต้องขจัดออกก่อนเข้าเครื่อง
ทําํ นํ้ําอ่่อน
5. ถ้าในน้ํา้ มีสารทีท่ ําหน้าที่เป็น็ สารออกซิไดซ์อย่างรุนแรง เช่น
คลอรีน จะไปออกซไดซทาลายเมดเรซนได
คลอรน จะไปออกซิไดซ์ทําลายเม็ดเรซินได้ ตองใสสารทม
ต้องใส่สารที่มี
คุณสมบัติในการรีดิวส์ เช่น โซเดียมซัลไฟต์ เพื่อไปทําลาย
คลอรีน

71
ความสามารถในการจับอิออนของเรซิน
กําลังความสามารถในการจับอิออนของเรซิน คือ Exchange Capacity
หมายถึึง ปริิมาณไอออนที
ไ ี่เรซิินแลกมาจากนํ้ํา (มัักมีีหน่่วยสมมูล หรืือ
วัดในหน่วยกิโลเกรนของหินปน)
วดในหนวยกโลเกรนของหนปู น) ตอหนวยปรมาตรของเรซน
ต่อหน่วยปริมาตรของเรซิน หนวย หน่วย
แสดงขีดความสามารถของเรซิน จึงอาจเป็นได้หลายแบบดังนี้
1. หน่วยสมมูลต่อปริมาตรของเรซิน เช่น meq/ml , eq/l
2. หน่ว่ ยสมมูลต่่อนํ้ําหนัักของเรซินิ เช่่น meq/g
3 หนวยนาหนก
3. หน่วยน้ําหนัก (ในเทอมหนปู
(ในเทอมหินปนต่
นตอปรมาตรของเรซน
อปริมาตรของเรซิน เช่
เชนน
กิโลเกรนต่อลิตร หรือ กิโลเกรนต่อ ลบ.ฟุต)
1 grain = 0.065 gram
1 gallon = 3.785 liter
1 grain/gallon = 0.0171 gram/liter = 17.1 milligram/liter
77
D i CCriteria
Design it i for
f Resin
R i Regeneration
R ti
1. เวลาทีใ่ ช้ในการ regeneration resin ที่ 40 นาที
(Design
De i Criteria
C ite i = 30 – 60 นาท
นาที)
นาท)
2. ความเข้มข้นเกลือทีใ่ ช้ในการ Regeneration
g = 10 %
(Design Criteria = 8 – 10 %)
3. ปริมาตรเกลืือแกงทีใี่ ช้้ Regeneration : Design Criteria
= 2 – 7 BV(BED VOLUME ของเรซนหนวยลตร
ของเรซินหน่วยลิตร)
ของเรซนหนวยลตร) ร)
4. อัตราการไหลของน้ําเกลือ = 0.1BV ลิตร/ ร/นาที
การทํารีเจนเนอเรชั่น หมายถึง การทําให้เรซินที่หมดอํานาจไปแล้วกลับฟื้นตัวขึ้นมามีอาํ นาจ

ในการแลกเปลี
ป ย่ี นไอออนอี
ไ กี
79
80
วัฎจักรการทํางานของระบบแลกเปลี่ยนไอออน
ระบบแลกเปลี่ยนไอออนอาจทํางานแบบทีละเท (Batch) หรือแบบ
ต่ อ เนื่ อ ง(Continuous) วั ฎ จั ก รการทํ า งานของเรซิ น มี 4 ขั้ น ตอน
ต่อ่ เนือ่ื งกันั ดัังนีี้

1. การแลกเปลี่ยนไอออน (Service)
2. การล้างย้อน (Backwash)
3 การรเจนเนอเรชน
3. ี ั่ (Regeneration)
(R ti )
4. การชะลาง
การชะล้าง (Rinse)
วิธีการทํารีเจนเนอเรชันมีอยู 2 ลักษณะ คือ

1. การทํารีเจนเนอเรชันแบบไหลตาม (Co-Current Regeneration)


เป็นการทํารีเจนเนอเรชันที่มที ศิ ทางเดียวกับการแลกเปลี่ยนไอออน
2. การทํารีเจนเนอเรชันแบบไหลสวนทาง (Counter-Current
Regeneration) เป็น็ การทํํารีีเจน-เนอเรชัันทีีม่ ที ศิ ทางตรงกัันข้้ามกัับการ
แลกเปลี่ยนไอออน
แลกเปลยนไอออน

84
การเลือกประเภทของเรซิน
วัตั ถุประสงค์์ ปประเภทของเรซิิน ชนิดิ ของรีเี จนเนอแรนต์์
1.กําจัดความกระด้าง เรซินแบบกรดแก่ เกลือแกง (NaCl)
(Hardness Removal) (Strong Acid Rasin)
2 ํ ั ่
2.กาจดดาง เรซนแบบกรดออน
ซิ ่ กรดเกลอื (HCl)
( l)
(Bicarbonate Removal) (Weak Acid Rasin) กรดกํามะถัน (H2SO4)
3.น้ําบริสุทธิ์ เรซิ น แบบกรดแก่ ห รื อ อ่ อ น กรดเกลือหรือกรดกํามะถัน
( i i i Water))
(Deionization และเรซินแบบด่างแก่หรืออ่อน และโซดาไฟหรอแอมโมเนย
และเรซนแบบดางแกหรอออน และโซดาไฟหรือแอมโมเนีย
(ใช้ 2 ถังแยกกันหรือผสมกัน
ใ งั เดียี วก็ไ็ ด้)้
ในถั

85
การคํานวณปริมาตรเรซินเพื่อกําจัดความกระด้างแบบง่าย
ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง

1. Equivalent = g
(gm-eq)
Eq - Wt

2. Equivalent - Weight = Moleculae Weight (M.W.)


(น้าํ หนักสมมลย์
(นาหนกสมมู ลย)) Valency บวก หรอ
หรือ ลบ

3. Equivalent - Weight = Moleculae Weight (M.W.)


(น้าํ หนักสมมููลย์) ค.ร.น.Valency
86
86
จาก Specification ของเรซินแบบ strong acid cation แบบ Na
form มีคี ่า Total exchange capacity ประมาณ
ป = 2 eq/l

Equivalent
q - Weight
g = Moleculae Weight (M.W.)
1 Valency บวก หรือื ลบ
.

CaCO3 มมี Moleculae Weight = 40.078 + 12.011 + ((15.9994x3))


= 100
CaCO3 มี Valency = 2
เพราะฉะนั้น Equivalent - Weight = 100 = 50
2 87
Equavalent = g
2. Eq - Wt
2 = 50 g
จากค่า Total exchange capacity (spec)
g = 100
เพราะฉะนั้น เรซิ
เพราะฉะนน เรซนน strong acid cation แบบ Na form 1 ลตร
ลิตร
สามารถกําจัดความกระด้างออกได้หมด 100 กรัม
Example
Total Hardness = A mg/l as CaCO3
= A g/m3 as CaCO3
Raw water Flow rate = B m3/hr 88
จากเรซิน 1 ลิตร สามารถกําจัด ความกระด้างออกได้หมด 100 กรัม

ความกระด้าง 100 กรัม ต้องใช้เรซิน = 1 ลิตร


เพราะฉะนั้นความกระด้าง A กรัม ต้องใช้เรซิน = A ลิตร
100
A
เพราะฉะนั้น เรซิน 100
ลิตร สามารถกําจัด ความกระด้างออกได้หมด 1 ลบ.ม.
จาก Raw water Flow rate = B m3/hr
A
จาก ปริมาณน้ํา 1 ลบ.ม. ต้องใช้เรซิน = 100 ลิตร
A
ปริมาณน้ํา้ ดิบ B ลบ.ม. ต้องใช้เรซิน = 100
xB ลิติ ร ทีี่ 1 ชัวั่ โมง

แต่ประสิทธิภาพของเรซินมีประมาณ 50 ถง
แตประสทธภาพของเรซนมประมาณ ถึง 70%เทานน
70%เท่านั้น ดัดงนนปรมาตรเรซนทใชจรง
งนั้นปริมาตรเรซินที่ใช้จริง
A B
= x
100 efficiency ลิตร ที่ 1 ชั89่วโมง
89
ตัวอย่างที่ 1 การคํานวณหาปริมาตรเรซิน
Total Hardness = 120 mg/l as CaCO3
= 120 g/m3 as CaCO3
Raw water Flow rate 50 m3/hr
=
Resin Efficiencyy = 60 %
วิธที ํา
A B
Equation : Volume Re sin  x Liter/hr
100 efficiency

120 ( mg / l as CaCO 3 ) x 50 ( m 3 / hr )
 Volume Resin = Liter/hr
100 x 0.60

= 100 Liter/hr
- สมมติ operate ระบบ 10 ชั่วโมง/วัน
- ต้องการ regenerate เรซิน 15 วัน/ครั้ง

 ระยะเวลาการทํางานของระบบผลิตทั้งหมดจนถึง การ regenerate


= 10 x 15 ชั่วโมง
= 150 ชั่วโมง

จาก Volume Resin = 100 ลิตร/ชั่วโมง


 Volume Resin ที่ต้องการทัง้ หมด = 100 x 150 ลิตร
= 15,000 ลิตร
91 91
ตัวอย่างที่ 2 การคํานวณหาปริมาตรเรซิน
ผลวิเคราะห์ตัวอย่างน้าํ ดังนี้
Na+ = 20 mg/l Cl- = 40 mg/l
Ca2+ = 15 mg/l
g/ SO42- = 30 mg/l
g/
Sr2+ = 2 mg/l
Mg2+ = 10 mg/l
จงคานวณหาความกระดางและปรมาตรเรซนทใชในการกาจดความกระดาง
จงคํ านวณหาความกระด้างและปริมาตรเรซินที่ใช้ในการกําจัดความกระด้าง
ทัง้ หมด?
วิธีทาํ
อิอิ อนบวกทีมี่ ีวาเลนซีี 2 เท่า่ นนที
ั้ ที่ าให้
ํ ใ เ้ กิิดความกระด้า้ ง ในที
ใ น่ี ี้
C 2+, Mg
คือ Ca
คอ M 2+, Sr
S 2+
92
1 Cation
1. C ti E i l t weight
Equivalent i ht H d
Hardness mg/l/l as CCaCO
CO3

Ca2+ 20 15 x 50 = 37.5
20
Sr2+ 43.8 2 x 50 = 2.3
43.8
Mg2+ 12.2 10 x 50 = 41.0
12.2
เพราะฉะนั้น Total Hardness = 80.8 mg/l as CaCO3
2. Equivalent = g
Eq - Wt

Equivalent - Weight = Moleculae


M l l Weight
W i ht (M
(M.W.)
W)
Valency บวก หรือ ลบ

CaCO3 มี Moleculae Weight = 40.078 + 12.011 + (15.9994x3)


= 100
CaCO3 มีี Valency = 2
100
เพราะฉะนั้น Equivalent - Weight = = 50
2 จากที่คาํ นวณ
เพราะฉะนันั้ Equavalent 80 8 x 10-3
= 80.8
50
1 616 x 10-33
= 1.616 eq / l จากน้ําดิบ
จากนาดบ
การคํานวณหาปริมาตรเรซินให้ได้อย่างถูกต้อง ต้องมีการคํานวณปริมาตรเรซินเผื่อไว้สําหรับ
เตรีียมสารละลายเกลืือแกงและใช้ ใ ้ในการ Rinse แต่่เนื่ืองจากปริ
ป ิมาตรนํ้ําดัังกล่่าวน้้อยมาก
เมื่อเปรียบเทียบกับน้ําที่ผลิตได้ใน 1 วัน จึงอาจยกเว้นไม่นํามาคิด ทําให้คํานวณง่ายขึ้น

จาก Specification ของเรซิ


ของเรซนน มีมคา
ค่า Total exchange capacity = 1.75 eq
eq/l/l

เพราะฉะนั
เพราะฉะนน้น exchange capacity 1.75 eq มาจากเรซิ
มาจากเรซนน = 1 liter
ถ้าต้องการกําจัดความกระด้าง 1.616 x 10 -3 eq จะต้องใช้เรซิน

= 1.616 x 10-3 x 1 liter


1.75
= 9.23 x 10-4 liter
เพราะฉะนนถาตองการ
เพราะฉะนั
เพราะฉะนนถาตองการผลตนา
้นถ้าต้องการผลิ
งการผลิ
ผลตนา
ตน้ํา 1 ลตร
ลิตร โดยใหสามารถกาจดความกระดางออกใหหมด
โดยให้สามารถกําจัดความกระด้างออกให้หมด ต้ตอง
อง
ใช้เรซินเท่ากับ 9.23 x 10-4 ลิตร 95
- สมมติ อัตราการผลิตน้ําที่ต้องการ 4 ลูกบาศก์เมตร/
มตร/ชั่วโมง (operate ระบบ
10 ชัว่ั โมง/
โ /วันั )
โมง
- ต้องการ regenerate เรซิน 15 วัน/ครั้ง
เวลา 1 ชั่วโมง ผลิตน้ําได้ = 4 ลูกบาศก์เมตร
ถ้า้ operate ระบบผลิต 10 x 15 ชัว่ั โมง
โ จะผลิตนํ้าได้
ไ ้ = 4 x10 x 15
เพราะฉะนั
เพราะฉะนนจะผลตนาได
้นจะผลิตน้ําได้ = 600 ลกบาศก์
ลูกบาศกเมตร
เมตร
9 . 23 x 10-4
จากการผลิตน้ํา 1 ลิตร ต้องใช้เรซิน = ลิตร
ลตร
ถ้าต้องการผลิตน้ําให้ได้ 600
600xx1000 ลิตรจะต้องใช้เรซิน
= 9.23 x 10-4x 600 x 1000 ลิตร
= 553 553..8 ลิติ ร
แต่ประสิทธิภาพของเรซินมีประมาณ 50 ถึง 70
70%%เท่านั้น ดังนั้นปริมาตรเรซินที่ใช้จริง
= 553
553..8 = 922..67
922 ลิตร
0.6
uestions ?

102
103

You might also like