Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 70

Resin Technology

1. ชื่อ : พรศักดิ์ สมรไกรสรกิจ


2. ตําแหนง : นักวิทยาศาสตร 6
3. สถานที่ทํางาน : ฝายควบคุมคุณภาพน้า

การประปานครหลวง
- การศึกษา :

1. ระดับปริญญาตรี สาขา วิทยาศาสตรสุขาภิบาล จาก มหาวิทยาลัยมหิดล


2. ระดับปริญญาโท สาขา วิศวกรรมสิ่งแวดลอม จาก มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร

- การฝกอบรมตางประเทศ

1. Training course Yokohama Training Program in 2001 in Japan


การแลกเปลี่ยนอิออนโดยใชเรซิน (Ion Exchange Resin)

ประวัติศาสตร
ทอมปสันเปนผูคนพบปรากฎการณการแลกเปลี่ยนอิออนของดิน โดย
การเทสารละลายแอมโมเนียมซัลเฟต (NH4SO4) ผานดิน ดินจะจับ
แอมโมเนียไวและไดแคลเซียมซัลเฟตแทนที่ ดังสมการ

Ca-Soil + NH4SO4 NH4- Soil + CaSO4

ตอมาไดมีการใชสารจําพวกซีโอไลต (Zeolite) หรือ Sodium


alumino silicate เปนตัวแลกเปลี่ยนอิออน แมในปจจุบันจะเลิกใช
แลวก็ยังเรียกชื่ออื่นที่ทําหนาที่เดียวกันวา ซีโอไลต
ในป พ.ศ. 2487 มีการคนพบวิธีการควบอณูระหวางสไตรีน (Styrene)
โดย Divinylbenzene (DVB) เปนตัวจับระหวางโพลีสไตรีนเรียกวา
Crosslinkage เกิดเปนเรซิน (Resin) ซึ่งมีเม็ดคอนขางกลม

ปริมาณรอยละของ DVB ที่มีอยูในเรซิน เรียกวา Crosslinkage


เรซินเมื่อแชอยูในน้ําจะมีรูเล็กๆเปนโพรงอยูภายในมากมาย อิออนจะ
แพรเขาไปสูภายในเรซินตามรูเล็กๆเหลานี้ ถามีคาเปอรเซ็นต DVB
สูงก็จะมีขนาดของรูเล็ก โครงสรางเปนแบบ Macroporous หรือ
Gelular
การจําแนกประเภทของเรซิน
ในปจจุบันมีการจําแนกเรซินออกเปน 4 ประเภทคือ
1. เรซินชนิดประจุบวก-กรดแก ตัวยอ SC
(Strong Acid Cation Resin)

2. เรซินชนิดประจุบวก-กรดออน ตัวยอ wC
(Weak Acid Cation Resin)

3. เรซินชนิดประจุลบ-ดางแก ตัวยอ SB
(Strong Base Anion Resin)

4. เรซินชนิดประจุลบ-ดางออน ตัวยอ WB
(Weak Base Anion Resin)
Average Size

Mono Size
เรซินชนิดประจุบวก-กรดแก (Strong Acid Cation Resin)
มี Functional Group เปน Sulfonic acid มีอิออนประจําตัวคือ

R-SO3-

เรซินแบบประจุบวก-กรดแก เปนเรซินที่มีการใชงานมากที่สุดใน
จําพวกเรซินประจุบวก ปกติจะอยูในรูปของ

- เกลือโซเดียม (R-SO3Na2) หรือเรียกวา Sodium form


- ในรูปของ H+ (R-SO3H2) หรือเรียกวา Hydrogen form
รูปแบบเรซินประจุบวก-กรดแก (Strong Acid Cation Resin)

- ในรูปของ H+ (R-SO3H2) หรือเรียกวา Hydrogen form


สามารถใชในการจับอิออนประจุบวกทั้งหมด

- ในรูปของ Na+ (R-SO3Na2) หรือเรียกวา Sodium form


สามารถใชในการจับอิออนของความกระดางเพื่อทําน้ําออน
(Softening) แตเพียงอยางเดียว ลําดับความยากงายในการถูก
จับสําหรับอิออนประจุบวกมีดังนี้ Ca > Mg > Na
+2 +2 +
ขอดี - ขอเสียของเรซินแบบกรดแก (Strong Acid Cation Resin)
ขอดี
1. ใชไดดีกับน้ําที่มีคาพีเอชทุกระดับ
2. สามารถแยก Na+ จากเกลือแกงได
3. สามารถแลกเปลี่ยนไอออนไดรวดเร็ว
4. มีความคงทน อาจใชไดนานถึง 20 ปหรือนานกวา โดยมีการ
สูญเสียอํานาจเกิดขึ้นเพียงเล็กนอย
5. เหมาะสําหรับใชกําจัดความกระดางหรือในการทําน้ําใหบริสุทธิ์
(Demineralization)
ขอเสีย
1. มีประสิทธิภาพในการ regeneration ต่ําประมาณ 25 - 45 %
ทําใหสิ้นเปลืองสารเคมีในการรีเจเนอเรชั่น
เรซินชนิดประจุบวก-กรดออน (Weak Acid Cation Resin)
มี Functional Group เปน Carboxylic acid มีอิออนประจําตัวคือ

R – COOH

เรซินแบบประจุบวก-กรดออน (Weak Acid Cation Resin)


- สามารถแลกเปลี่ยนอิออนกับดางโซดาไฟหรือเกลือของกรด
ออนได เชน NaHCO3 แตไมสามารถจับอิออนประจุบวกของ
เกลืออนิทรียได
ปฎิกิริยา

R - COOH + NaOH RCOONa + H 2O

R - COOH + NaHCO3 RCOONa + H2O + CO2

Ca Ca
Mg (HCO3)2 + 2RCOOH 2RCOO Mg + 2H2CO3

2Na 2Na
เกลือของกรดแก
R - COOH + NaCl ไมทําปฎิกิรยิ า
R - COOH + CaSO4 ไมทําปฎิกิรยิ า
R - COOH + CaCl2 ไมทําปฎิกิรยิ า
ขอดี - ขอเสียของเรซินแบบกรดออน (Weak Acid Cation Resin)
ขอดี
1. ฟนฟูประสิทธิภาพใหอยูในรูปเดิม (รูปที่มี H) ไดงาย
2. ความสามารถในการแลกเปลี่ยนไอออนสูงกวาเรซินแบบกรด
แกประมาณ 2 เทา
3. ปริมาณกรดที่ใช regenerate นอยกวาแบบกรดแก
4. สามารถกําจัดความเปนดาง (Alkalinity) ออกจากน้ําไดโดยไม
ตองมีการเติมกรดเลย
5. ทนตอสารออกซิแดนท (เชนคลอรีน) ไดดี
ขอเสีย
1. ใชงานที่ pH ต่ํากวา 5.0 ไมได
2. ปลดปลอยอิออนที่จับไวไดงาย
เรซินชนิดประจุลบ-ดางแก (Strong Base Anion Resin)
มี Functional Group เปน Quaternary Amine – NH2, NHR
และ NR2 ติดอยูกับโครงสรางของเรซิน มีอิออนประจําตัวคือ

R – NOH

เมื่ออยูในน้ําจะมีปฎิกริยาแตกตัวดังนี้

R - NOH R – N+ + OH-
ในทองตลาดจะขายอยูในรูปคลอไรด (R-NCl) ทั้งนี้เพราะมีเสถียรภาพสูง
กวาในการใชงาน ซึ่งตองใชในรูป R-NOH ก็ตองลางหรือฟนฟูประสิทธิ
ภาพ ของเรซินดวยดางโซดาไฟกอน
R – NCl + NaOH R – NOH + NaCl
ตัวทีจ่ ะไปทําหนาที่
แลกเปลี่ยนอิออน
ถานําเรซินชนิด strong base ใสลงในสารละลายเกลือแกง
และกรดเกลือจะเกิดปฎิกิริยาดังนี้
R – NOH + NaCl R – NCl + NaOH

R – NOH + HCl R – NCl + H2O


ขอดี - ขอเสียของเรซินแบบดางแก (Strong Base Anion Resin)

ขอดี
1. สามารถใชไดดีกับน้ําที่ pH ทุกระดับ
2. สามารถแลกเปลี่ยนประจุลบไดทั้งหมด
3. สามารถแลกเปลี่ยนซิลิกาและ CO2 ได

ขอเสีย
1. ประสิทธิภาพในการ regenerate ต่ําเพียง 18 – 33% ทําให
สิ้นเปลืองสารรีเจเนอแรนทมาก

2. มีความคงทนต่ําทําใหมีอายุการใชงานสั้น อาจมีอายุการใชงาน
ไมเกิน 3 ป
เรซินชนิดประจุลบ-ดางออน (Weak Base Anion Resin)
เรซินชนิดนี้จะแตกตัวและจับอิออนไดในสารละลายที่เปนกรด เชน
กรดเกลือ กรดกํามะถัน และเกลือของกรดออน เรซินชนิดนี้กําจัดได
เฉพาะกรดแก เชน HCl, H2SO4, HNO3 ออกจากน้ํา และไม
สามารถกําจัดกรดออน เชน CO2, SiO2 และไมสามารถจับคลอไรด
ใน NaCl ไดการกําจัดกรดแกเกิดขึ้นโดยที่กรดแกทั้งโมเลกุลเขาจับ
กับเรซิน
มี Functional Group เปน Primary Amine จนถึงTertiary
Amine R– NH2 ติดอยูกับโครงสรางของเรซิน ซึ่งจะแตกตัวดังนี้

R-NH2 + H2O RNH3- + OH-


R + HCl RHCl

R-NH2 + H2O RNH3OH


R-NH3OH + HCl RNH3Cl + H2O

R-NH3OH + NH4Cl RNH3Cl + NH4OH

การลางเรซินชนิดนี้ทําไดงายอาจเปน NaOH หรือ Na2CO3 หรือ


NH4OH ทั้งนี้เรซินจับกับกรดไมหนาแนน

RHCl + NaOH R + NaCl + H2O

แมวาจะลางออกไดงายแตก็ทําปฎิกิริยากับน้ําปลอยอิออนที่จับไวได
เชนกัน
RNH3Cl + H2O R-NH3OH + HCl
ความสามารถในการจับอิออนของเรซิน
กําลังความสามารถในการจับอิออนของเรซิน คือ Exchange Capacity
หมายถึง ปริมาณไอออนที่เรซินแลกมาจากน้ํา (มักมีหนวยสมมูล หรือวัด
ในหนวยกิโลเกรนของหินปูน) ตอหนวยปริมาตรของเรซิน หนวยแสดงขีด
ความสามารถของเรซิน จึงอาจเปนไดหลายแบบดังนี้
1. หนวยสมมูลตอปริมาตรของเรซิน เชน meq/ml , eq/l
2. หนวยสมมูลตอน้ําหนักของเรซิน เชน meq/g
3. หนวยน้ําหนัก (ในเทอมหินปูนตอปริมาตรของเรซิน เชน
กิโลเกรนตอลิตร หรือ กิโลเกรนตอ ลบ.ฟุต)
การออกแบบถัง Mixed Bed

หลักการทีใ่ ชออกแบบถัง Mixed Bed จะกําหนด


สัดสวนปริมาตรเรซินประจุบวกตอประจุลบดังนี้

เรซินประจุบวก : เรซินประจุลบ
4:6
• เรซินประจุบวกที่นิยมใชกันมากที่สุดคือ เรซินประจุบวกแบบกรดแก
(Strong Acid Cation)

• เรซินประจุลบที่นิยมใชกันมากที่สุดคือ เรซินประจุลบแบบดางแก
(Strong Base Anion)
วัฎจักรการทํางานของระบบแลกเปลี่ยนไอออน
ระบบแลกเปลี่ยนไอออนอาจทํางานแบบ ทีละเท (Batch) หรือ
แบบตอเนื่อง วัฎจักรการทํางานของเรซินมี 4 ขั้นตอน ตอเนื่องกันดังนี้
1. การแลกเปลี่ยนไอออน (service)
2. การลางยอน (Backwash)
3. การรีเจนเนอเรชัน (Regeneration)
4. การชะลาง (Rinse)
การเลือกประเภทของเรซิน

วัตถุประสงค ประเภทของเรซิน ชนิดของรีเจนเนอแรนต


1.กําจัดความกระดาง เรซินแบบกรดแก เกลือแกง (NaCl)
(Hardness Removal) (Strong Acid Rasin)
2.กําจัดดาง เรซินแบบกรดออน กรดเกลือ (HCl)
(Bicarbonate Removal) (Weak Acid Rasin) กรดกํามะถัน (H2SO4)

3.น้ําบริสุทธิ์ เรซินแบบกรดแกหรือออน และ กรดเกลือหรือกรดกํามะถัน


(Deionization Water)
เรซินแบบดางแกหรือออน(ใช 2 และโซดาไฟหรือแอมโมเนีย
ถังแยกกันหรือผสมกันในถังเดียว
ก็ได)
ปญหาในการใชงานเรซิน

1. การแลกเปลี่ยนไอออนลดลง (Short Capacity)

2. น้ําที่ผลิตไดมีคุณภาพเปลี่ยนแปลงมาก
3. มีการสูญเสียแรงดัน (Head loss) มาก และ/หรือ
อัตราการไหลของน้ําที่ผลิตลดลง

หาสาเหตุของปญหาดังกลาว !
ความคงทนตอการใชงานของเม็ดเรซินชนิดเจล ความคงทนตอการใชงานของเม็ดเรซินชนิด
Macrorecticular
ภาพขยายเม็ดเรซินจับอิออนของเหล็กไวจนเต็ม
ลักษณะของชั้นเรซินในถังเมื่อจับอิออนจนเต็มหมด ลักษณะของชั้นเรซินในถังหลังจากลางเรซินแบบ
ไหลตามกันและไหลสวนทาง
การคํานวณปริมาตรเรซิน
ทฤษฎีที่เกี่ยวของ

1. Equivalent = g (gm-eq)
Eq - Wt

2. Equivalent - Weight = Moleculae Weight (M.W.)


(น้ําหนักสมมูลย) Valency บวก หรือ ลบ

3. Equivalent - Weight = Moleculae Weight (M.W.)


(น้ําหนักสมมูลย) ค.ร.น.Valency
การเปลี่ยนหนวยเพื่อคํานวณความกระดาง

Hardness in mg/l as CaCO3 = M++ in mg/l X 50


Equivalent – Weight of M++
ตัวอยางการคํานวณหา Valency
1. ค.ร.น. Valency ของ CaCO3 = Ca2+ ,CO32-
= 2
2. ค.ร.น. Valency ของ Al2(SO4)3 = 2Al3+ ,3SO42-
= 6
3. Equivalent – Weight ของ Na+

= Moleculae Weight (M.W.)


Valency บวก หรือ ลบ

= 23
1
= 23
ตัวอยางที่ 1 การคํานวณหาปริมาตรเรซิน
ผลวิเคราะหตัวอยางน้ําดังนี้
Na+ = 20 mg/l Cl- = 40 mg/l

Ca2+ = 15 mg/l SO42- = 30 mg/l

Sr2+ = 2 mg/l

Mg2+ = 10 mg/l
จงคํานวณหาความกระดางและปริมาตรเรซินที่ใชในการกําจัด
ความกระดางทั้งหมด?
วิธีทํา
อิออนบวกที่มีวาเลนซี 2 เทานั้นที่ทําใหเกิดความกระดาง ในที่นี้
คือ Ca2+, Mg2+, Sr2+
1. Cation Equivalent weight Hardness mg/l as
CaCO3

20 15 x 50 = 37.5
Ca2+
20
43.8 15 x 50 = 2.3
Sr2+ 43.8

Mg2+ 12.2 15 x 50 = 41.0


12.2

เพราะฉะนั้น Total Hardness = 80.8 mg/l as CaCO3


2. Equavalent = g
Eq - Wt

Equivalent - Weight = Moleculae Weight (M.W.)


Valency บวก หรือ ลบ

CaCO3 มี Moleculae Weight = 40.078 + 12.011 + (15.9994x3)

= 100
CaCO3 มี Valency = 2

เพราะฉะนัน้ Equivalent - Weight = 100


2
= 50
จากที่คํานวณ
เพราะฉะนัน้ Equavalent = 80.8 x 10-3
50

= 1.616 x 10-3 eq / l
การคํานวณหาปริมาตรเรซินใหไดอยางถูกตอง ตองมีการคํานวณปริมาตรเรซินเผื่อ
ไวสําหรับเตรียมสารละลายเกลือแกงและใชในการ Rinse แตเนือ่ งจากปริมาตรน้ํา
ดังกลาวนอยมากเมื่อเปรียบเทียบกับน้ําที่ผลิตไดใน 1 วัน จึงอาจยกเวนไมนํามาคิด
ทําใหคาํ นวณงายขึ้น
จาก Specification ของเรซิน มีคา Total exchange capacity = 1.75 eq/l

เพราะฉะนัน้ exchange capacity 1.75 eq มาจากเรซิน = 1 liter


ถาตองการกําจัดความกระดาง 1.616 x 10 -3 eq จะตองใชมาจากเรซิน

= 1.616 x 10-3 x 1 liter


1.75

= 9.23 x 10-4 liter

เพราะฉะนัน้ ถาตองการผลิตน้ํา 1 ลิตร โดยใหสามารถกําจัดความกระดางออกให


หมด ตองใชเรซินเทากับ 9.23 x 10-4 ลิตร
- สมมติ อัตราการผลิตน้ําที่ตองการ 4 ลูกบาศกเมตร/ชัว่ โมง
(operate ระบบ 10 ชั่วโมง/วัน)
- ตองการ regenerate เรซิน 15 วัน/ครัง้
เวลา 1 ชั่วโมง ผลิตน้ําได = 4 ลูกบาศกเมตร
ถา operate ระบบผลิต 10 x 15 ชัว่ โมง จะผลิตน้ําได = 4 x10 x 15
เพราะฉะนัน้ จะผลิตน้ําได = 600 ลูกบาศกเมตร

จากการผลิตน้ํา 1 ลิตร ตองใชเรซิน = 9.23 x 10-4 ลิตร


ถาตองการผลิตน้ําใหได 600x1000 ลิตรจะตองใชเรซิน

= 9.23 x 10-4x 600 x 1000 ลิตร


= 553.8 ลิตร
แตประสิทธิภาพของเรซินมีประมาณ 50 ถึง 70%เทานัน้ ดังนัน้ ปริมตรเรซินทีใ่ ชจริง
= 553.8 = 922.67
0.6
ตัวอยางที่ 2 การคํานวณหาปริมาตรเรซิน
ผลวิเคราะหตัวอยางน้ําดังนี้
Total Hardness = 200 mg/l as CaCO3

TDS = 500 mg/l


Flow Rate = 500 m3/hr

Cycle การทํางาน = 16 hr

อุณหภูมิของน้ํา = 20o C

ตองการน้ําออนที่มีความกระดางทั้งหมดไมเกิน 2 มก/ล. as CaCO3

วิธีทํา
1. ตองการความกระดางในน้ําออนไมเกิน 2 มก/ล. as CaCO3 จาก
กราฟรูปที่ 8.7 เลือก
NaCl Regeneration level = 200 กรัม/ลิตร Resin

Hardness Leakage = 1.5 mg/l as CaCO3

2. TDS = 500 mg/l จากกราฟรูปที่ 8.8


Correction Factor = 1.2

ดังนั้นความกระดางในน้ําออน = 1.5 x 1.2 = 1.8 mg/l as CaCO3 O.K.

3. เปลีย่ นความกระดาง 200 มก/ล. as CaCO3 ใหเปนน้ําหนักสมมูลย meq/l


= 200/50 = 4 meq/l

4. คํานวณหาปริมาณที่ตองการผลิตตอ 1 Cycle
= 20 x 16 x 1,000
= 320,000 ลิตร
5. คํานวณหาน้ําหนักสมมูลยของความกระดางที่ตองกําจัด
= 320,000 x 4.0
= 1,280,000 meq

= 1,280 eq

6. คํานวณหาปริมาตรของ resin ที่ตองใช จากกราฟรูปที่ 8.5 ที่ regeneration


level 200 กรัม/ลิตร resin
Operation capacity ของ resin = 1.55 equivalent / ลิตร resin
ดังนั้นปริมาตรของ resin ที่ตองการ = 1,280 / 1.55
= 825 ลิตร (0.825 ลบ.ม.)

7. คํานวณหาขนาดถัง Softener
กําหนดความลึกของชัน้ resin = 0.6 เมตร

พืน้ ทีห่ นาตัดของถัง = 0.825 / 0.6 = 1.375 ตรางเมตร

ขนาดเสนผาศูนยกลางของถัง
π D2
= 1.375
4
D = 1.32 เมตร
ความสูงของถัง (ดานตรง) = 0.6 x 2 (safety factor)
= 1.2 เมตร (100 % Free Space)

8. ตรวจสอบอัตราภาระการไหล
= 20 ลบ.ม./ชม.
1.375 ม2
= 14.5 ม3 / ม2..ชม.
(design criteria < 15 m3/m2.hr.)

ตรวจสอบอัตราการไหลผานชัน้ เรซิน
= 20 ลบ.ม./ชม.
0.825 ม3(resin)

= 24.2 ม3/ ชม.ม3(rersin)


9. คํานวณหาปริมาตรเกลือที่ตองใชตอ 1 cycle
(200 กรัม/ลิตรเรซิน x 825 ลิตร x 1)/1000 = 165 กิโลกรัม 100 % NaCl ตอ Cycle

10. คํานวณหาขนาดถังสารละลายเกลือ
กําหนดใหใชสารละลายได 5 วัน และสารละลายเขมขน 50 %
จํานวนเกลือที่ตองใช (100 %) (w/w) = 165 x 5 = 825 กิโลกรัม
ปริมาตรสารละลาย 50 % (w/v) = (825 x 100) / 50

= 1,650 ลิตร (ประมาณ)

ดังนั้นขนาดถังสารละลายเกลือมีปริมาตร 1,650 ลิตร + Free Board


และตองใชน้ํา = 1,650 – 825 = 825 ลิตร

11. คํานวณหาอัตราการไหลของสารละลายเกลือในการลางคืนประจุ
ปริมาณเกลือที่ตองใชในการลางตอ 1 Cycle = 165 กิโลกรัม

คิดเปนปริมาณสารละลายเขมขน 50 % = 330 ลิตร

กําหนดความเขมขนสารละลายเขาถัง Softener = 10 %

ปริมาณสารละลาย 10 % เขาถัง Softener = 330x50


10

= 1,650 ลิตร
ตองลางใหหมดภายใน 30 นาที
ดังนั้นอัตราการไหลของสารละลายเกลือ 10 % = 1,650 ลิตร/นาที
30
= 55 ลิตร/นาที
= 3.3 ลบ.ม/ชม.
ตรวจสอบ BV/ชม. = 3.3/0.825 = 4BV/ชม. OK
อัตราการไหลของสารละลายเกลือ 50 % = 330 ลิตร/ชม.
30
= 11 ลิตร/ชม.

อัตราการไหลของน้ําผสม = (1,650 – 330)


30
= 44 ลิตร/ชม.

12. คํานวณหาอัตราการไหลของน้ําลางกลับ (Backwash)


อุณหภูมิน้ํา = 20 OC

กําหนด Bed Expansion = 80 %

จากรูปที่ 8.4 อัตราการลางกลับ = 21 ม/ชม.


= 21 ม3/ม2. ชม.
พืน้ ทีห่ นาตัดของถัง = 1.375 ม2

อัตราการไหลของน้ําลางกลับ = 21 x 1.375 = 27.5 ม3/ชม.


13. ตรวจสอบการสูญเสียพลังงานจากการกรองผานชัน้ เรซิน
อัตราการใชนา้ํ = 20 ม3/ชม.

อัตราการใชผานชัน้ เรซิน = 20 = 14.5 ม/ชม.


1.375

จากกราฟรูปที่ 8.3
การสูญเสียพลังงาน = 0.5 กก/ซม2 ตอความลึก 1 ม. resin
การสูญเสียพลังงาน* = 0.5 x 0.825

= 0.41 กก/ซม2
*ยังไมรวมการสูญเสียผานสเตรนเนอร และทอตางๆ
การคํานวณปริมาตรเรซินเพื่อกําจัดความกระดางแบบงาย

ทฤษฎีที่เกี่ยวของ

1. Equivalent = g (gm-eq)
Eq - Wt

2. Equivalent - Weight = Moleculae Weight (M.W.)


(น้ําหนักสมมูลย) Valency บวก หรือ ลบ

3. Equivalent - Weight = Moleculae Weight (M.W.)


(น้ําหนักสมมูลย) ค.ร.น.Valency
จาก Specification ของเรซินแบบ strong acid cation แบบ Na form มีคา
Total exchange capacity ประมาณ = 2 eq/l

1. Equivalent - Weight = Moleculae Weight (M.W.)


Valency บวก หรือ ลบ

CaCO3 มี Moleculae Weight = 40.078 + 12.011 + (15.9994x3)

= 100
CaCO3 มี Valency = 2

เพราะฉะนัน้ Equivalent - Weight = 100


2
= 50
2. Equavalent = g
Eq - Wt

g
2 =
50
จากคา Total exchange capacity
g = 100

เพราะฉะนัน้ เรซิน strong acid cation แบบ Na form 1 ลิตร สามารถ


กําจัดความกระดางออกไดหมด 100 กรัม
Example

Total Hardness = A mg/l as CaCO3

= A g/m3 as CaCO3

Raw water Flow rate = B m3/hr


เพราะฉะนัน้ เรซิน 1 ลิตร สามารถกําจัด ความกระดางออกไดหมด 100 กรัม

ความกระดาง 100 กรัม ตองใชเรซิน = 1 ลิตร

เพราะฉะนัน้ ความกระดาง A กรัม ตองใชเรซิน = A ลิตร


100
A
เพราะฉะนัน้ เรซิน ลิตร สามารถกําจัด ความกระดางออกไดหมด 1 ลบ.ม.
100
จาก Raw water Flow rate = B m3/hr

A
จาก ปริมาณน้ํา 1 ลบ.ม. ตองใชเรซิน = ลิตร
100
ปริมาณน้ําดิบ B ลบ.ม. ตองใชเรซิน = A
xB
ลิตร ที่ 1 ชัว่ โมง
100
แตประสิทธิภาพของเรซินมีประมาณ 50 ถึง 70%เทานัน้ ดังนัน้ ปริมาตรเรซินทีใ่ ชจริง
A B
= x
100 efficiency
ตัวอยางที่ 1 การคํานวณหาปริมาตรเรซิน
Total Hardness = 120 mg/l as CaCO3

= 120 g/m3 as CaCO3

Raw water Flow rate = 50 m3/hr

วิธีทํา
A B
Equation : Volume Re sin = x Liter/hr
100 efficiency

3
∴ Volume Resin = 120 ( mg / l as CaCO 3 ) x 50 ( m / hr ) Liter/hr
100 x 0.60

= 100 Liter/hr
- สมมติ operate ระบบ 10 ชั่วโมง/วัน
- ตองการ regenerate เรซิน 15 วัน/ครั้ง

∴ ระยะเวลาการทํางานของระบบผลิตทั้งหมดจนถึง การ regenerate


= 10 x 15 ชั่วโมง
= 150 ชั่วโมง
จาก Volume Resin = 100 ลิตร/ชั่วโมง

∴ Volume Resin ที่ตองการทั้งหมด = 100 x 150 ลิตร


= 15000 ลิตร

You might also like