Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 22

สถิติเบื้องต้น

• ความหมายของสถิติ
• ข้อมูลทางสถิติ
• การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น
• การสร้างตารางแจกแจงความถี่
• การแสดงการแจกแจงความถี่โดยใช้กราฟ (ฮิสโทแกรม)
ความหมายของสถิติ

สถิติ หมายถึง ข้อความจริง ที่เก็บรวบรวมมาได้ ซึ่งข้อความจริงนี้


อาจเป็นตัวเลขหรือข้อความก็ได้

สถิติศาสตร์ หรือ วิชาสถิติ หมายถึง วิชาที่ว่าด้วยการศึกษาข้อมูล


ซึ่งประกอบด้วย 4 ขั้นตอน ดังนี้
ระเบียบวิธีการทางสถิติ มี 4 ขั้นตอน คือ

1) การเก็บรวบรวมข้อมูล (collection of data)


2) การนาเสนอข้อมูล (presentation of data)
3) การวิเคราะห์ข้อมูล (analysis of data)
4) การตีความหมายข้อมูล (interpretation of data)
สถิติในชีวิตประจาวัน
ข้อมูลทางสถิติ

ข้อมูลทางสถิติ หมายถึง ข้อความจริง หรือสิ่งที่บ่งบอกถึงสภาพ สถานการณ์


หรือเหตุการณ์ ซึ่งอาจจะเป็นตัวเลขหรือข้อความก็ได้
ประเภทของข้อมูล แบ่งเป็น 2 ประเภทใหญ่ ๆ คือ

1) ข้อมูลปฐมภูมิ (primary data) คือ ข้อมูลที่เก็บรวบรวมจากแหล่งที่มา


ของข้อมูลโดยตรง
2) ข้อมูลทุติยภูมิ (secondary data) คือ ข้อมูลที่เก็บรวบรวม หรือคัดลอก
จากเอกสารรายงานต่าง ๆ
ลักษณะของข้อมูล แบ่งเป็น 2 ลักษณะใหญ่ ๆ คือ

1) ข้อมูลเชิงปริมาณ (quantitative data) คือ ข้อมูลที่มีลักษณะเป็น


ตัวเลข ใช้แทนขนาดหรือปริมาณ สามารถนามาเปรียบเทียบได้โดยตรง
เช่น อายุ ส่วนสูง น้าหนัก รายได้ ราคา

2) ข้อมูลเชิงคุณภาพ (qualitative data) คือ ข้อมูลที่แสดงลักษณะ


หรือคุณสมบัติ ไม่สามารถวัดเป็นค่าตัวเลขได้โดยตรง แต่วัดออกมาเป็น
เชิงคุณภาพได้ เช่น เพศ ศาสนา เชื้อชาติ
ข้อ ข้อมูล เชิงปริมาณ เชิงคุณภาพ
1 คะแนนสอบวิชาคณิตศาสตร์ 
2 จานวนผู้โดยสารที่รอรถประจาทาง 
3 หมายเลขทะเบียนรถยนต์ส่วนบุคคล 
4 หมายเลขโทรศัพท์ 
5 ราคาข้าวสารต่อกิโลกรัม 
6 เลขบัตรประจาตัวประชาชน

7 ขนาดรองเท้าของนักเรียน

8 รายได้ของคนในครอบครัว 
วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล

1) การทาทะเบียนประวัติ (registration) เป็นการเก็บข้อมูลจากหลักฐานต่าง ๆ


มี ค วามเชื่ อ ถื อ สู ง โดยต้ อ งมี ก ารปรั บ ปรุ ง แก้ ไ ขให้ ข้ อ มู ล ในทะเบี ย น ประวั ติ
เป็นปัจจุบันอยู่เสมอ
2) การสารวจ (survey) เป็นการเก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์ การสอบถามทาง
ไปรษณีย์หรือทางโทรศัพท์ อาจทาการสามะโน หรือการสารวจจากกลุ่มตัวอย่าง
3) การสังเกต (observation)
4) การทดลอง (experiment)
การนาเสนอข้อมูล

1. การนาเสนอข้อมูลอย่างไม่เป็นแบบแผน ได้แก่
1)การนาเสนอข้อมูลในรูปข้อความ
2)การนาเสนอข้อมูลในรูปข้อความกึ่งตาราง

2. การนาเสนอข้อมูลอย่างเป็นแบบแผน
2. การนาเสนอข้อมูลอย่างเป็นแบบแผน ได้แก่
1) การนาเสนอข้อมูลในรูปตาราง
2) การนาเสนอข้อมูลโดยใช้แผนภูมิและแผนภาพต่าง ๆ เช่น
แผนภูมิแท่ง แผนภูมิรูปวงกลม แผนภูมิรูปภาพ

3)การนาเสนอข้อมูลโดยใช้กราฟเส้น เช่น
กราฟเส้นเชิงเดี่ยว กราฟเส้นเชิงซ้อน กราฟเชิง-ประกอบ กราฟสมดุล
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น

การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นเกี่ยวกับเรื่องใด ๆ เป็นการวิเคราะห์ เพื่อ หาลักษณะ


โดยรวมของข้อมูลเกี่ยวกับเรื่องนั้น ๆ เช่น
• จานวนนักเรียนจาแนกตามห้องเรียน
• คะแนนเฉลี่ยของคะแนนนักเรียนแต่ละห้อง
• รายได้โดยเฉลี่ยต่อครอบครัว
• การกระจายรายได้ในและครอบครัว
ซึ่ ง ได้ ม าจากการวิ เ คราะห์ ที่ เ กี่ ย วกั บ การแจกแจงความถี่ ข องข้ อ มู ล
การหาค่าเฉลี่ยของข้อมูล และการหาค่ากระจายของข้อมูล
การแจกแจงความถี่ของข้อมูล

• ค่าที่เป็นไปได้ (possible value) คือ ค่าของตัวแปรที่อาจเป็นไปได้ทั้งหมด


• ค่าจากการสังเกต (observed value) คือ ค่าของตัวแปรที่เกิดขึ้นจริง
• ความถี่ (frequency) คือ จานวนที่แสดงว่าค่าที่เป็นไปได้แต่ละค่าเกิดขึ้นกี่ครั้ง
ตัวอย่าง ในการสอบครั้งหนึ่ง คะแนนเต็ม 10 คะแนน มีนักเรียนสอบ 5 คน
ได้คะแนนดังนี้ 2 , 8 , 10 , 6 , 8 คะแนน ตามลาดับ
ค่าที่เป็นไปได้ มี 11 ค่า คือ 0 , 1 , 2 , 3 , 4 , 5 , 6 , 7 , 8 , 9 , 10
ค่าจากการสังเกต มี 4 ค่า คือ 2 , 6 , 8 , 10
คือ ค่าของตัวแปรที่อาจ
เป็นไปได้ทั้งหมด คือ ค่าของตัวแปร ความถี่ (frequency) คือ
ที่เกิดขึ้นจริง จานวนที่แสดงว่าค่าที่เป็นไปได้
แต่ละค่าเกิดขึ้นกี่ครั้ง
ค่าที่เป็นไปได้ (คะแนน) 2 มีความถี่เท่ากับ 1
ค่าที่เป็นไปได้ (คะแนน) 5 มีความถี่เท่ากับ 0
ตารางแจกแจงความถี่

ศัพท์ที่ควรรู้

• อันตรภาคชั้น (class interval)


• ขอบล่าง (lower boundary)
• ขอบบน (upper boundary)
• ความกว้างของอันตรภาคชั้น (class width)
• จุดกึ่งกลางชั้น (mid point)
ตัวอย่าง คะแนนสอบวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เป็นดังนี้

76 87 70 94 52 66 78 79 41 77 81 70 74 92 87

79 84 86 60 70 77 78 98 92 77 82 64 60 88 63
ขั้นตอนการสร้างตารางแจกแจงความถี่
1. หาพิสัย
พิสัย = คะแนนสูงสุด – คะแนนต่าสุด
หรือ พิสัย = ข้อมูลค่าสูงสุด – ข้อมูลค่าต่าสุด

คะแนนสูงสุด = 98 คะแนนต่าสุด = 41
พิสัย = คะแนนสูงสุด  คะแนนต่าสุด = 98 - 41 = 57

76 87 70 94 52 66 78 79 41 77 81 70 74 92 87
79 84 86 60 70 77 78 98 92 77 82 64 60 88 63
2. หาจานวนชั้น หรือความกว้าง

ถ้าโจทย์กาหนดความกว้าง ให้หาจานวนชั้น
จากโจทย์ กาหนดให้มีจานวนอันตรภาคชั้น = 6 ชั้น
พิสัย
จานวนชั้น = ดังนั้น ความกว้างของอันตรภาคชั้น
ความกว้าง

ถ้าโจทย์กาหนดจานวนชั้น ให้หาความกว้าง พิสยั 57


= = = 9.5
จำนวนอันตรภำคชัน้ 6
พิสัย
ความกว้าง = **ถ้าผลหารมีเศษ ให้ปัดขึ้น เป็นจานวนเต็มเสมอ
จานวนชั้น
ดังนั้น ความกว้างของอันตรภาคชั้น = 10
**ถ้าผลหารมีเศษ ให้ปัดขึ้น เป็นจานวนเต็มเสมอ
อาจเขียนเรียงจากค่าน้อยไปมาก จานวนรอยขีด คือ ความถี่ของ ค่ำมำก + ค่ขอบบน
ำน้ อย + ขอบล่ำง
-0.5 หรือมากไปน้อยก็ได้ แต่ละอันตรภาคชั้น 2
2
อันตรภาคชั้น ขอบบน ความถี่ ความถี่ จุดกึ่งกลางชั้น
ขอบล่าง รอยขีด สะสม 50.5+40.5 50+41
(คะแนน) +0.5 (f) (x)
(F) 2
=
2

40.5 41-50 50.5 | 1 1 45.5


50.5 51-60 60.5 ||| 3 4 55.5
60.5 61-70 70.5 |||| | 6 10 65.5
70.5 71-80 80.5 |||| |||| 9 19 75.5
80.5 81-90 90.5 |||| || 7 26 85.5
90.5 91-100 100.5 |||| 4 30 95.5
รวมความถี่ทุกอันตรภาคชั้น จะเท่ากับจานวนข้อมูลทั้งหมด f  N  30
ควำมถี่สมั พัทธ์ ควำมถี่สะสม ควำมถี่สะสมสัมพัทธ์
จำนวนควำมถี่ × 100 × 100
จำนวนทังหมด

จำนวนทังหมด

ความถี่
อันตรภาคชั้น ร้อยละของ
ความถี่ (f) ความถี่ ร้อยละของ สะสม ความถี่สะสม ความถี่สะสม
(คะแนน)
สัมพัทธ์ ความถี่สัมพัทธ์ (F) สัมพัทธ์ สัมพัทธ์
1
41-50 1 30
= 0.033 3.3 1 1
= 0.033 3.3
30
3
51-60 3 30
= 0.1 10 4 4
= 0.133 13.3
30
10
61-70 6 6
= 0.2 20 10 30
= 0.33 33
30
9 19
71-80 9 = 0.3 30 19 30 = 0.633 63.3
30
26
81-90 7 7
30
= 0.23 23 26 30
= 0.86 86
4 30
91-100 4 30
= 0.13 13 30 30 =1 100
 f  N  30
ฮิสโทแกรม แสดงคะแนนสอบวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
ความถี่
10

9
8
7
6

4
3
2

1
คะแนนสอบ
40.5 50.5 60.5 70.5 80.5 90.5 100.5

You might also like