Syllabus Dent Mat II

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 5

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ประมวลรายวิชา (Course Syllabus)


1.รหัสวิชา 3207346
2.ชื่อย่อภาษาอังกฤษ DENT MAT II
3.ชื่อวิชา
ชื่อภาษาไทย : ทันตวัสดุศาสตร์ 2
ชื่อภาษาอังกฤษ : DENTAL MATERIALS II
4.หน่วยกิต 1(1–0–3)
5.ส่วนงาน
5.1.คณะ/หน่วยงานเทียบเท่า คณะทันตแพทยศาสตร์
5.2.ภาควิชา ภาควิชาทันตกรรมประดิษฐ์
5.3.สาขาวิชา
6.วิธีการวัดผล Letter Grade (A B+ B C+ C D+ D F)
7.ประเภทรายวิชา Semester Course
8.ภาคการศึกษาที่เปิดสอน ทวิภาค ภาคต้น
9.ปีการศึกษาที่เปิดสอน 2013
10. การจัดการสอน
ตอนเรียน ผู้สอน ช่วงเวลาประเมิน
10001088 ผศ. ทพ. ดร. วิริทธิพ์ ล ศรีมณีพงศ์ 15-09-2556 ถึง 20-10-2556
10015426 ผศ. ทพ. ดร. นิยม ธำารงค์อนันต์สกุล 15-09-2556 ถึง 20-10-2556
10017322 รศ. ชัยรัตน์ วิวัฒน์วรพันธ์ 15-09-2556 ถึง 20-10-2556
10017323 ผศ. ทญ. ดร. ปรารมภ์ ซาลิมี 15-09-2556 ถึง 20-10-2556

11.เงื่อนไขรายวิชา
เป็นรายวิชาที่คณะอนุญาตให้เรียน (Consent of Faculty)

12.หลักสูตรที่ใช้รายวิชานี้
13.ระดับการศึกษา ปริญญาบัณฑิต ชั้นปีที่ 3
14.สถานที่เรียน
15.เนื้อหารายวิชา
ข้อกำาหนดเฉพาะ มาตรฐานของทันตวัสดุ องค์ประกอบ สมบัติต่างๆ การประยุกต์ใช้ และปัญหาต่างๆ ของวัสดุทางทันต
กรรมประดิษฐ์ ได้แก่ วัสดุพิมพ์ปาก วัสดุฐานฟันปลอม ซี่ฟันปลอม วัสดุบุและเสริมฐานฟันปลอม โลหะผสมที่ใช้ทางทันตกรรม และวัส
ดุพอร์เซเรน

This document is generated from CUCAS. หน้า 1/5


จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประมวลรายวิชา

Specification; standard; composition, properties; application and problems of dental materials in


prosthodontics: impression materials, denture base materials, artificial teeth, soft liner and tissue conditioner
materials, alloys and porcelain.

16.ประมวลการเรียนรายวิชา
16.1.วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม
# วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม
1 อธิบายถึงคำาจำากัดความ ชนิด และคุณสมบัติ ระหว่าง Base metal alloys และ noble metal alloys
ผลการเรียนรู้ : 1. มีความรู้
วิธีการสอน/พัฒนา : 01. การบรรยาย
วิธีการประเมิน : 01. การสอบข้อเขียน

2 เข้าใจถึงคุณสมบัติอุดมคติของโลหะที่ใช้ในงาน ceramometal alloys รวมถึงกลไกการยึดเกาะ


ผลการเรียนรู้ : 1. มีความรู้
วิธีการสอน/พัฒนา : 01. การบรรยาย
วิธีการประเมิน : 01. การสอบข้อเขียน

3 อธิบายถึงส่วนประกอบ ชนิด คุณสมบัติ ข้อดี ข้อเสียของระบบ dentin dahesive พร้อมทั้งการใช้งานได้


ผลการเรียนรู้ : 1. มีความรู้
วิธีการสอน/พัฒนา : 01. การบรรยาย
วิธีการประเมิน : 01. การสอบข้อเขียน

4 อธิบายถึงส่วนประกอบ ชนิด คุณสมบัติ ข้อดี ข้อเสีย การใช้งานของ Dental porcelain, Casting


porcelain ตลอดจน porcelain สำาหรับงาน porcelain fused to metal และ งาน All-ceramic
ผลการเรียนรู้ : 1. มีความรู้
วิธีการสอน/พัฒนา : 01. การบรรยาย
วิธีการประเมิน : 01. การสอบข้อเขียน

5 อธิบายถึงส่วนประกอบ ชนิด คุณสมบัติ ข้อดี ข้อเสีย และวิธีการผสมของวัสดุพิมพ์ปากประเภทต่างๆ พร้อม


ทั้งการใช้งานได้
ผลการเรียนรู้ : 1. มีความรู้
วิธีการสอน/พัฒนา : 01. การบรรยาย
วิธีการประเมิน : 01. การสอบข้อเขียน

6 เข้าใจ ชนิด คุณสมบัติ ข้อดี ข้อเสียของ denture base resin, artificial teeth และ tissue conditoner
พร้อมทั้งการใช้งาน

This document is generated from CUCAS. หน้า 2/5


จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประมวลรายวิชา

ผลการเรียนรู้ : 1. มีความรู้


วิธีการสอน/พัฒนา : 01. การบรรยาย
วิธีการประเมิน : 01. การสอบข้อเขียน

7 อธิบายถึงส่วนประกอบ ชนิด คุณสมบัติ ข้อดี ข้อเสียของ resin composite filling materials พร้อมทั้งการ
ใช้งานได้
ผลการเรียนรู้ : 1. มีความรู้
วิธีการสอน/พัฒนา : 01. การบรรยาย
วิธีการประเมิน : 01. การสอบข้อเขียน

16.2.แผนการสอนรายสัปดาห์
สัปดาห์ที่ เนื้อหาทีส่ อน การมอบหมายงาน
1 Base metal alloys
วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม : 1
ผู้สอน : วิริทธิพ์ ล
2 Noble casting alloys
วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม : 1
ผู้สอน : วิริทธิพ์ ล
3 Ceramometal alloys
วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม : 2
ผู้สอน : วิริทธิพ์ ล
4 Dentin adhesive 1
วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม : 3
ผู้สอน : ชัยรัตน์
5 Dentin adhesive 2
วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม : 3
ผู้สอน : ชัยรัตน์
6 Modified resin composite
วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม : 7
ผู้สอน : ชัยรัตน์
7 Ceramic for ceramo-metal restorations
วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม : 4
ผู้สอน : ปรารมภ์
8 All Ceramic materials
วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม : 4

This document is generated from CUCAS. หน้า 3/5


จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประมวลรายวิชา

ผู้สอน : ปรารมภ์
9 Impression materials: classification, Elastic impression materials
(Alginate)
วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม : 5
ผู้สอน : นิยม
10 Elastic impression materials (Silicone)
วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม : 5
ผู้สอน : นิยม
11 Impression materials (polysulfide and other)
วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม : 5
ผู้สอน : นิยม
12 Impression materials (Polyether)
วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม : 5
ผู้สอน : นิยม
13 Modified denture base resin
วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม : 6
ผู้สอน : ชัยรัตน์
14 Artificial teeth materials
วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม : 6
ผู้สอน : ชัยรัตน์
15 Tissue conditioner and soft liner
วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม : 6
ผู้สอน : ชัยรัตน์
16.3.สื่อการสอน (Media)
สื่อนำาเสนอในรูปแบบ Powerpoint media

16.4.การติดต่อสื่อสารกับนิสิตผ่านระบบเครือข่าย
16.4.1.รูปแบบและวิธีการใช้งาน: อีเมล์/Email personal contact
16.4.2.ระบบจัดการการเรียนรู้ (LMS) ที่ใช้
16.5.จำานวนชั่วโมงที่ให้คำาปรึกษาแก่นิสิต 4.0 ชั่วโมงต่อสัปดาห์
16.6.การประเมินผล
กิจกรรมการประเมิน ร้อยละ
สอบข้อเขียน 100.00
เกณฑ์การวัดผล

This document is generated from CUCAS. หน้า 4/5


จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประมวลรายวิชา

17.รายชื่อหนังสืออ่านประกอบ
17.1.หนังสือบังคับ

17.2.หนังสื่ออ่านเพิ่มเติม
1. Anussavic, K.J. Phillips’ Science of Dental Materials, 11 th ed., Philadelphia, W.B. Saunders Co.
2. Notes on Dental Materials, 6 th ed., Edenburg, Churchill Livingstone
3. Council on Dental Materials and Devices : Guide to Dental Materials and Devices, 6 th ed., Chicago,
American Dental Association

17.3.บทความวิจัย/บทความวิชาการ (ถ้ามี)

17.4.สื่ออิเล็กทรอนิกส์ หรือเว็บไซต์ที่เกี่ยวข้อง

18.การประเมินการสอน
18.1.การประเมินการสอน ผ่านระบบ CUCAS - SCE
18.2.การปรับปรุงจากผลการประเมินการสอนครั้งที่ผ่านมา

19.หมายเหตุ

This document is generated from CUCAS. หน้า 5/5

You might also like