Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 12

รายงานเชิงวิชาการ 

 
การอานและพิจารณาวรรณคดีเรื่อง สามกก ตอนกวนอูไปรัชราชกาลกับโจโฉ 
 
 
 
โดย 
 
นางสาวณัฐณิชา คุณากรกุล ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๕/๗ เลขที่ ๑๒ 
 
นางสาวกุลภัสสร สิงหฤกษ ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๕/๗ เลขที่ ๑๙ 
 
นางสาวญาดา โรจนสุนทรา ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๕/๗ เลขที่ ๑๕ 
 
นายวรินทร เสมอภาค ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๕/๗ เลขที่ ๑๗

 
เสนอ   
 
อ.พนมศักดิ์ มนูญปรัชญาภรณ 
 
ภาคเรียนที่ ๒ ปการศึกษา ๒๕๖๐ 
โรงเรียนสาธิตนานาชาติ มหาวิทยาลัยมหิดล 
 
รายงานนี้เปนสวนหนึ่งของกิจกรรมการเรียนรูโดยใชโครงงานเปนฐาน  
(Project Based Learning) 
 
รายวิชาภาษาไทยและวัฒนธรรม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๕ 
 
 
คํานํา 
รายงานเลมนี้จัดทําขึ้นมาเพื่อใหผูอานไดเขาใจเรื่อง สามกก ตอนกวนอูไปรับราชการกับโจโฉ ไดมากขึ้น 
โดย การวิเคราะหวรรณคดีเรื่องดังกลาว ประกอบไปดวยดานเนื้อหา และกลวิธีในการแตง การใชภาษา และ ดาน
คุณคาของวรรณคดี   
โดยทางผูจัดหวังเปนอยางยิ่งวา รายงานฉบับนี้จะเปนประโยชนตอผูอานไมมากก็นอย หากผิดพลาด
ประการใด ทางผูจัดทําจึงขออภัยมา ณ ที่น ี้
 
ผูจัดทํา 
 
 
 
 
 
 

 
 
 
สารบัญ 
 
๑. การอานและพิจารณาเนื้อหาและกลวิธีในวรรณคดีและวรรณกรรม ๕ 
๑.๑ เนื้อเรื่อง ๕ 
๑.๒ โครงเรื่อง ๖ 
๑.๓ ตัวละคร ๖ 
๑.๔ ฉากทองเรื่อง ๗ 
๑.๕ บทเจรจาหรือราพึงรําพัน ๘ 
๒. การอานและพิจารณาการใชภาษาในวรรณคดีและวรรณกรรม ๙ 
๒.๑ การสรรคํา ๙ 
๒.๒ การเรียบเรียงคํา ๑๐ 
๒.๓ การพิจารณาการใชโวหารในวรรณคดีและวรรณกรรม ๑๑ 
๓. การอานและพิจารณาประโยชนหรือคุณคาในวรรณคดีและวรรณกรรม ๑๑ 
๓.๑ คุณคาดานอารมณ  
๓.๒ คุณคาดานคุณธรรม ๑๒ 
๓.๓ คุณคาดานอื่นๆ ๑๒ 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
บทนํา 
สามกก ฉบับเจาพระยาพระคลัง (หน) แตงเปนสํานวนรอยแกว ความเรียงนิทานที่แปลจากตนฉบับภาษา
จีน สวนตอนที่นํามาศึกษานี้เปนตอนกวนอูไปรับราชการกับโจโฉ ศาสตราจารยพระยาอนุมานราชธนแสดงความ
เห็นตอขอความขึ้นตนเรื่องของสามกกไววา “ขาพเจาอานแลวก็วาแตงดีเพราะแตงกะทัดรัด ใชคํา พูดไมกี่คํา ก็ได
ขอความบริบูรณและเปนสํานวน อยางไทย อานแลวเขาใจดี” สามกก เปนวรรณคดีซึ่งแปลมาจากนิยายอิง
พงศาวดารจีน เดิมเปนเรื่องที่เลาสืบตอกันมาในประเทศจีน ตอมาในสมัยราชวงศไตเหม็ง จึงมีปราชญจีนคนหนึ่ง
ชื่อวา ลอกวนตง คิดแตงสามกกขึ้นเปนหนังสือความยาวทั้งหมด ๑๒๐ ตอน สามกก ไดรับการยกยอง วาเปนยอด
แหงความเรียงนิทาน เนื่องจาก ใชภาษาไดไพเราะงดงามสละสลวยและไดอรรถรส เขาใจไดงาย มีลักษณะพิเศษ
เฉพาะ สามกก มีเนื้อหาเกี่ยวกับการปกครองบานเมืองและการชิงอํานาจกันดวยอุบายการเมืองและดวยสงคราม 
ภาษาที่ใชเปนโวหารเปรียบเทียบที่คมคายและเปนคติสอนใจโดยเฉพาะสําหรับผูปกครองบานเมืองและผูอยูใต
ปกครอง จึงเปนเรื่องที่มีผูนิยมอานกันมาก และไดรับการแปลเปนภาษาตางๆ หลายภาษา  
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 

๑. การอานและพิจารณาเนื้อหาและกลวิธีในวรรณคดีและวรรณกรรม 

๑.๑ เนื้อเรื่อง 
 
โจโฉไดตัดสินใจไปรบกับเลาปที่เมืองซีจิ๋ว  แตเมื่อเลาปไดรูวาขาววาโจโฉจะนําทัพมารบ  โจโฉจึงสงขอความชวย
เหลือจากอวนเสี้ยวยกทัพไปโจมตีเมืองฮูโตแตโดนปฏิเสธเพราะฮูโตตองไปดูแลลูกที่ปวย  เลาปจึงไดวางแผนกับ
เตียวหุยเรื่องการตัดสะเบียงโจโฉโดยการขโมยของที่คายของโจโฉ  แตเมื่อโจโฉรูแผนของเลาปเลยสะกัดการปลน
เอาไวไดจากนั้น  โจโฮยกทัพไปตีเมืองแหฝอซึ่งกวนอูเปนคนดูแลอยู  โจโฉจึงชวนกวนอูเขารวมทัพ  แตกลัวที่จะถูก
ปฏิเสธ  เตียวเหลี้ยวเลยอาสาไปเจรจากับกวนอูให  ถากวนอูตายเลาปและเตียวหุยก็จะตายดวยตามคาสัตยที่ใหไว 
พวกเขาจึงรวมมือกันเมื่อรูอยางนั้นกวนอูจึงยอมเขารวมกับโจโฉโดยมีขอแมวากวนอูจะตองไดรับใชพระเจาเหี้ยนเต
กวนอูตองไดดูแลสะใภทั้งสองและที่ใดก็จะไปหาเลาปทันทีแมโจโฉจะไมอนุญาตก็ตามเตียวเลี้ยวเลยกลับไปแจงโจ
โฉทันที่หลังจากรับเรื่องแตโจโฉไมเห็นดวยกับขอเสนอเจียวเลี้ยวจึงมาเกลี้ยมกลอมโจโฉจนยอมฟงไดหลังจากนั้นมา
ไมนานโจโฉไดนําเสื้อมาใหกวนอูใสแตกวนอูกลัวใสแลวจะมีคนหาวาไดใหมแลวลืมเกาจึงไมอยากใสโจโฉไดยินจึง
นอยใจมากกวนอูเลยตองไปบอกความในใจใหโจโฉ 
เขาใจ หลังจากนั้นโจโฉก็นับถือกวนกวนอู 

๑.๒ โครงเรื่อง 
สามกกตอนกวนอูไปรับราชการกับโจโฉ  มีเนื้อหาที่เกี่ยวกับมหาอํานาจในแตละแดนที่ไดทําสงครามเพื่อชิง
ความเปนโหญและไดรับรูถึงกลยุทธและการรวมมือกัน  และยังแสดงใหเห็นถึงความกตัญูตอบุคคลหนึ่ง  ถึงแมจะ
ตองไปรับใชบุคคลอื่น แตกยังนึกถึงผูที่มีพระคุณแกตน เนนยํ้าในเรื่องของความจงรักภักดี และซื่อสัตย 
 

๑.๓ ตัวละคร 
 
โจโฉ-เปนคนยอมทรยศคนแตเคารพผูใหญโจโฉเปนผูมีความคิดและกลยุทธที่ด ี มากไปกวานั่นเปนผูมีความกลา
หาญ เปนคนที่ไมยอมใหคนอื่นทรยศตน จากตัวอยาง  
 
“โจโฉจึงใหแบงทหารเปนสิบเอ็ดกอง กองหนึ่งใหอยูรักษาคาย แปดกองนั้นใหนายทหารเอกคุมทหารเลวยกแยก
ออกไปซุมอยูนอกคายทั้งแปดทิศ ถาเห็นกองทัพผูใดยกมาปลนคาย ก็ใหทหารทั้งแปดกองตีกระหนาบลอมเขามา
” 
 
 
กวนอู-  เปนขุนพลยอดฝมือที่สวามิภักดิ์ตอเจานายดวยจิตใจที่มั่นคงแนวแนเมื่อทําการใดจะคิดถึงพี่นองรวมสาบาน 
เลาปเปนคนพูดปดเพราะโกหกเรื่องยศของตัวเองเพื่อใหหลุดออกจากความยากจน  
 
“กวนอูเปนคนที่สามิภักดิ์ตอเจานายดวยจิตใจที่มั่นคงแนวแน เมื่อจะกระทําการใดก็จะคิดถึงประโยชนตอเลาป
เสมอ” 
 
 
เลาป- เคยเปนคนยากจนมากอน แตเปนมีสติปญญา เปนคนนิสัยดี มีนํ้าใจ และกตัญู รูจักตอบแทนบุญคุณตอผูมี
พระคุณ ดังตัวอยาง 
“ครั้งนี้ขาพเจาจะขอกินนํ้าสบถอยูทําการดวยทานกวาจะสําเร็จ อวนเสี้ยวไดฟงดังนั้นก็มีความยินดี จึงจัดแจง
เครื่องอุปโภคแลเครื่องบริโภคใหเปนอันมาก ทํานุบํารุงเลาปไวในเมืองกิจิ๋ว” 

๑.๔ ฉากทองเรื่อง 
 
ฉากในเรื่องสามกกเกิดขึ้นในสมัยพระเจาเหี้ยนเตโจโฉตั้งตัวเปนมหาอุปราชสําเร็จราชการแผนดิน และคิด
กําจัดเลาปซึ่งขณะนั้นครองเมืองชีจิ๋วอยู เลาปหรีไปอยูที่เมืองกิจิ๋ว โจโฉสงทหารไปเขายืดเมืองแลวลอมจับตัวกวนอู
ไว เตียวเลี้ยวตองเกี้ยเกลอมกวนอูใหไปอยูกับโจโฉ กวนอูยอมจํานนและทําตาม ๓ เงื่อนไขที่ไดสัญญากันไว 
 
ฉากเฉพาะในเรื่อง 
สามกก มีลักษณะของฉากทองเรื่องสวนใหญ เปนฉากในสนามรบ มีลักษณะการบรรยายภาพ หรือ
เหตุการณที่เกิดขึ้นในสถามรบเปนสวนใหญ และใชการบรรยายตัวละครและสถานการณที่เกิดขึ้นในเรื่อง ดัง
ตัวอยางตอไปนี ้
 
ึ หลบหนี ไปอยู่กับอ้วนเสยี้ วได้ยุยงให้อ้วนเสยี้ วออกรบกับโจโฉสมร
“​ฝ่ายเล่าปี่ พ่ายศก
้ อ้วนเสยี้ วได้สัง่ ให้งันเหลียงทหารเอกเป็ นทัพหน้าเดินทัพเข้าทาง
ภูมิกัวต๋อเริ่มต้นขึน
ด่านแปะเบ๊กวนอูอาสาออกรับศกึ เองแต่โจโฉเกรงว่ากวนอูจะหาเหตุแทนคุณจึงไม่
อนุ ญาต”

 
 

๑.๕ บทเจรจาหรือราพึงรําพัน 
“เตียวเลี้ยวเห็นกวนอูนั้นมีใจสัตยซื่อตอเลาปอยูเปนมั่นคงก็ลากลับมาจึงเอาเนื้อความทั้งปวงบอกแกโจโฉทุก
ประการโจโฉไดฟงดังนั้นก็ถอดใจใหญมีความวิตกซึ่งจะเอากวนอูไวใหขาดจากเลาปก็ไมสมคิดแลวสรรเสริญกวนอู
วามีความสัตยซื่อมั่นคงนัก” 
  
จากบทรําพันขางตนนั้นจะเห็นไดวาโจโฉนั้นไดทําทุกอยางมานะพยายามเพื่อที่จะใหกวนอูอยูกับนแลวแต
ก็ทําไมไดจึงรูสึกนอยใจและปลงตก 
  
“ตัวเราเกิดมาเปนชายรักษาสัตยมิใหเสียวาจาถึงมาตรวาเลาปจะถึงแกความตายเราก็จะตายไปดวยความที่ได
สาบานไว” 
  
บทรําพึงของเลาปนั้นสามารถกลาวไดวาเลาปเปนบุคคลที่มีความกตัญูอยางแรงกลาเปนผูที่รักษาวาจา
ในตนเองแมความตายก็ไมอาจหยุดยั้งความจงรักภักดีได 
 
๑.๖ แกนเรื่อง 
 
การรักษาสัตยกตัญูรูบุญคุณและซื่อตรงในวาจาตนเองยอมนําความมีชื่อเสียงและความสงบสุขมาใหและ
มีแตคนยกยองเพราะไดความสุจริตดีแทอยางตัวอยางเชนความซื่อสัตยของกวนอู 
  
“โจโฉไดฟงดังนั้นยิ่งมีความนอยใจแลวคิดวา เราเสียทีที่ทํานุบํารุงกวนอูดวยยศศักดิ์ศฤงคารบริวารกวนอูก็คิดรัก
เลาปอยูมิไดขาดกวนอูก็ลาโจโฉไปที่อยูโจโฉ จึงถามเตียวเลี้ยววาเราเลี้ยงกวนอูก็ถึงขนาดนี้แลวกวนอูยังมีนํ้าใจ
ผูกพันรักเลาปอยู เราจะคิดอานประการใดกวนอูจึงจะเอาใจออกจาก เลาป” 
แมแตผูที่ดูละหมายคลายจะเปนศัตรูยังตองรูสึกทอทอดใจตอความจงรักภักดีของกวนอูที่มีตอเลาปชี้ชัดให
เห็นวาความสัตยจริงยอมเปนเกราะที่แข็งแรงของบุคคลนั้น 

๒. การอานและพิจารณาการใชภาษาในวรรณคดีและวรรณกรรม 

๒.๑ การสรรคํา 
 
เลือกใชคําใหเหมาะสมกับเรื่องและฐานะของบุคคลในเรื่อง 
 
ผูแตงใชคําศัพทเฉพาะเพื่อบงบอกตําแหนงสถานะของตัวละคร 
 
“ครั้นเวลาเชากวนอูเขาไปเฝา พระเจาเหี้ยนเตทอดพระเนตรเห็นกวนอูใสถุงหนวดดังนั้นจึงตรัสถามวา ถุงใสสิ่ง
ใดแขวนอยูที่คอนั้น กวนอูจึงทูลวา ถุงนี้มหาอุปราชใหขาพเจาสําหรับใสหนวดไว แลวกวนอูก็ถอดถวายใหทอด
พระเนตร…” 
 
เลือกใชคําใหเหมาะสมแกลักษณะของคําประพันธ 
 
เสียนํ้าใจ  
ปจจุบันหมายถึงรูสึกนอยใจเนื่องจากอีกฝายหนึ่งไมเห็นคุณคาหรือความตั้งใจดีขอ ตน เปนตน ในสามก็ก
ใชคํานี้หมายความวาเสียกําลังใจ เชน “โจโฉมีความยินดีก็คุมทหารเขาเมืองแหฝอ แลวใหเอาเพลิงเผาเมืองขึ้น ห
หวังจะใหกวนอูเสียนํ้าใจ” 
 
เอาใจออกหาก 
หางเหินไป ไมรวมมือรวมใจเหมือนเดิม ออกหาก คือ ออกมาตางหาก สํานวนนี้ปจจุบันมักใชกันวาเอาใจ
ออกหาง เชน “...ถาเราจะเอาใจออกหากบัดนี้ ก็หาผูใดจะนับถือวาเปนชายไม…” 
 
๒.๒ การเรียบเรียงคํา 
 
เนื่องจากเรื่องสามกกใชภาษาที่เขาใจไดงาย และมีการเรียงคําที่สละสลวย แมจะเปนภาษาโบราณแตไมลา
สมัย ประโยคที่ตัวละครพูดนั้นจึงเปนประโยคที่แสดงใหเห็นถึงเจตจํานงคของผูพูดไดชัดเจน 
 
การเรียงประโยคใหเนื้อหาเขมขนขึ้นไปตามลําดับ 
จากประโยคที่กวนอูตอบเตียวเลี้ยววา 
 
“เดิมเราถามตัววาจะเกลี้ยกลอมหรือ ตัววาหามิได แลตัวมากลาวดังนี้ จะวาไมเกลี้ยกลอมนั้นตัวจะประสงคสิ่ง
ใดเลา แลววาเราอยูในที่นี้ก็เปนที่คับขันอยู ซึ่งเราจะเขาดวยผูใดนอกจากเลาปนั้นอยาสงสัยตัวเราก็มิไดรักชีวิต 
อันความตายอุปมาเหมือนนอนหลับ ทานเรงกลับไปบอกแกโจโฉใหตระเตรียมทหารไวใหพรอม เราจะยกลงไปรบ
” 
 
จะเห็นไดวาในตอนแรกกวนอูนั้นพูดดวยนํ้าเสียงปกติ แตในตอนทายกวนอูพูดอยางหนักแนนวาจะรบ
เคียงขางเลาปไมวจะเกิดอะไรขึ้น 
 
การเรียงประโยคที่มีความสําคัญเทาๆกัน เคียงๆกันไป 
 
“กวนอูไดยินดังนั้นก็โกรธ จึงคุมทหารสามพันเปดประตูเมืองออกมารบแฮหัวดุนไดสิบเพลง แฮหัวตุนแกลงชักมา
หนี กวนอูมิไดรูกลอุบายก็ขับมาไลไปทางไกลเมืองประมาณสองรอยเสน กวนอูไดคิดขึ้นมากลัววา ทหารโจโฉจะยก
เขาทํารายเมืองแหฝอจึงพาทหารกลับมา” 
 
จากตัวอยางขางตนจะเห็นไดวาในทุกๆอริยาบทมีการเลาเรื่องที่แตกตางกันไป แตมีความสําคัญที่เทาเทียม
กัน และไมสามารถมองขามไปได 
 

๒.๓ การพิจารณาการใชโวหารในวรรณคดีและวรรณกรรม 
 
การเปรียบเทียบสิ่งหนึ่งเหมือนกับอีกสิ่งหนึ่ง 
 
การเปรียบเทียบคําในวิธีนี้ สามารถสังเกตไดจากคําที่แสดงความหมายอยางเดียว กับคําวา “เหมือน” 
ปรากฏอยูในประโยค ซึ่งหากพบคําเหลานั้น จะสามารถสันนิษฐานได เลยวา เปนการเปรียบเทียบสิ่งหนึ่งเหมือน
กับอีกสิ่งหนึ่ง ตัวอยางคําเชน ราว ราวกับ เปรียบ ดุจ ประดุจ ดัง ดั่ง เฉก เชน เพียง เพี้ยง ประหนึ่ง ถนัด กล เลห 
ปมวา ปาน ครุวนา ปูน พาง ละมาย แมน เปนตน ซึ่งวิธีการใชโวหารประเภทนี้มีชื่อเรียกอีกชื่อหนึ่งวา อุปมาโวหาร 
โดยเห็นไดจากตัวอยางดังตอไปนี้ เชน  
 
“เลาปนั้นเปนคนมีสติปญญา ถาละไวชาก็จะมีกําลังมากขึ้นอุปมาเหมือนลูกนก อันขนปกยังไมขึ้นพรอม” “อัน
ความตายอุปมาเหมือนนอนหลับ” “ถึงมาตรวาทานจะไดความลําบากก็อุปมาเหมือนหนึ่งลุบเพลิง อันลุกแลขาม
พระ มหาสมุทรอันกวางใหญ” 
 

๓. การอานและพิจารณาประโยชนหรือคุณคาในวรรณคดีและวรรณกรรม 

๓.๑ คุณคาดานอารมณ 
 
สามกกเปนเรื่องที่ใหอารมณไดหลากหลาย เชน สุข เศรา และโกรธ แตสําหรับสามกกตอนนี้ อารมณหลัก
ที่เห็นไดชัดคือ อารมณเศราและปลง จากตัวอยาง 

“​โจโฉไดฟงดังนั้นยิ่งมีความนอยใจแลวคิดวาเราเสียทีที่ทํานุบํารุงกวนอูดวยยศศักดิ์ศฤงคารบริวารกวนอูก็
คิดรักเลาปอยูมิไดขาด” 
จากขอความตัวอยางขางตนแสดงใหเห็นถึงความนอยใจและเสียใจของโจโฉที่ไมสามรถชนะใจเลาปได  แต
ไดแตตัว ทําใหคนที่เปนผูอานเกิดความเห็นใจ สงสารโจโฉ 

๓.๒ คุณคาดานคุณธรรม 
 
สามกกตอนกวนอูไปรับราชการกับโจโฉคุณธรรมที่เห็นไดชัดคือความกตัญูรักษาสัตยไมลืมบุญคุณซึ่งเปน
คุณธรรมที่ควรนํามาเปนแบบอยางในการดํารงชีวิตรวมถึงความสามัคคีของทหารในกองทัพรวมถึงการไมมองใน
ดานที่ดีเสียทั้งหมดหรือแยเสียทั้งหมดดังตัวอยางในแตละตัวละครที่ก็มีดีและไมดีเปนการมองโลกในความเปนจริง
ดังตัวอยาง 
  
“โจโฉไดฟงดังนั้นก็เอาผาแพรขาวอยางดีทําถุงใหกวนอูสําหรับใสหนวด” 
  
ถึงแมวาโจโฉจะเปนศรัตรูกับเลาปแตก็เลี้ยงดูปูเสื่อเสื่อกวนอูผูที่จงรักภักดีตอเลาปอยางไมขาดตกบกพรอง
ซึ่งแสดงใหเห็นถึงดานดีของโจโฉที่ไมไดมีแตดานแยๆเสมอไป 
  

๓.๓ คุณคาดานอื่นๆ 
 
ใหความรูเกี่ยวกบัตาราพิชัยสงคราม ซึ่งมีคาทางดานยุทธวิธีในการสงคราม มีคุณคาดานเนือหา เชน ทําให
ผูอานไดเห็นชีวิตของตัวละครทั้งหมดใน ลักษณะของคนจริงๆ 
ความรูความคิดและสติปญญา ทีไดจากการอานจึงเปนประโยชนตอการดําเนินชีวิตของผูอาน และการปกครอง
บานเมือง จนถึงการใชคน 
 
 
 
บรรณานุกรม 
 
กระทรวงศึกษาธิการ, กระทรวง. หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานภาษาไทยชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๖ วรรณคดีวิจักษ. 
พิมพครั้งที่ ๕. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพสกสค, ๒๕๕๗. ๑๔๔-๑๕๙ หนา 
 
ชุติมล ดําแกว. คุณคาดานวรรณศิลป และ 
ขอคิดที่ไดรับจากเรื่อง สามกก  
[ออนไลน] เขาถึงเมื่อวันที่ ๑๘ พฤษภาคม ๒๕๖๑. สืบคนไดจาก  
https://chutimonunny.wordpress.com/2012/08/05/คุณคาดานวรรณศิลป-และ/ 

You might also like