Download as docx, pdf, or txt
Download as docx, pdf, or txt
You are on page 1of 11

กรรมวิธผ

ี ลิตเหล็กดิบ

แร่เหล็กทีข ่ ด ุ ได ้จากพืน ้ จะอยูใ่ นลักษณะเป็ นของผสม ซึง่ มีสารอืน


้ โลกในครัง้ แรกนัน ่ ๆผสมปะปนอยู่ เช่น ดิน หิน ทราย
แร่เหล็กทีบ ่ ริสท ุ ธิจ ์ ริงๆ นัน
้ เกือบจะไม่มเี ลย อาจพบบ ้างในลูกอุกาบาตหรือดาวตกก ้อนโตๆ เมือ ่ นาแร่เหล็กมาถลุงจะได ้เหล็กบริสท ุ ธิ์
เหล็กบริสท ุ ธิน์ น ี้ ามาใช ้ประโยชน์ในทางอุตสาหกรรมได ้น ้อย เนือ ุ สมบัตใิ นการใช ้งานค่อนข ้างจากัด ดังนัน
่ งจากมีคณ ้
เหล็กทีจ ่ ะนาไปใช ้งานทางด ้านอุตสาหกรรมโดยทัว่ ไปจะเป็ นเหล็กประสม สารทีผ ่ สมลงไปในเนือ ้ เหล็กมีทงั ้ ทีเ่ ป็ นโลหะและอโลหะ
่ ต ้องการปรับปรุงคุณภาพของเหล็กให ้สามารถนาไปใช ้งานได ้ดียงิ่ ขึน
ทัง้ นีเ้ พือ ้ เช่นทาให ้สามารถทนต่อแรงดึงได ้มากขึน ้
ทาให ้เหล็กมีความแข็งมากขึน ้

การถลุงเหล็กดิบ

อุปกรณ์ทส ี่ าคัญในการถลุงเหล็กดิบคือ เตาสูง (Blast Furnace) และนอกจากแร่เหล็กทีจ ่ ะนาไปถลุงแล ้ว


ยังต ้องมีวต
ั ถุดบ ิ อย่างอืน
่ อีกทีต
่ ้องใส่ลงไปในเตาสูงด ้วย ทัง้ นีเ้ พือ
่ เพิม
่ คุณภาพเหล็กดิบทีไ่ ด ้ให ้มีคณ
ุ ภาพดียงิ่ ขึน

ิ ทีใ่ ช ้ในการถลุงเหล็กดิบ
วัตถุดบ

1.สินแร่เหล็ก (Iron ore) เป็ นวัตถุหลักในการผลิต ได ้มาจากเหมืองแร่เหล็กต่างๆ หลังจากขุดแร่เหล็กได ้แล ้ว


ก่อนทีจ
่ ะป้ อนเข ้าเตาเผาจะต ้องผ่านการเตรียมแร่กอ
่ น เพือ
่ ให ้เหลือสารเจือปนน ้อยทีส
่ ด

2.ถ่านโค ้ก (Coke) เป็ นเชือ้ เพลิงหลักทีใ่ ช ้ในการถลุงเหล็ก นอกจากนัน ้ ยังเป็ นสารทีท


่ าให ้ปฏิกริ ย
ิ าทางเคมีภายในเตา
เป็ นไปอย่างสมบูรณร์ขณะทาการถลุง ถ่านโค ้ก เป็ นสารสังเคราะห์ทไี่ ด ้จากการนาถ่านหิน ผ่านกรรมวิธก ี ลัน
่ ทาลาย คือ
นาเอาอ่านหินไปบรรจุในทีจ ่ ากัดมิให ้อากาศเข ้าได ้ แล ้วให ้ความร ้อนจนถ่านร ้อนแดง
สารไฮโดรคราบอนทีอ ่ ยูใ่ นถ่านหินจะระเหยออกไปเป็ นแก๊ส

3.หินปูน (Limestone) หรือมีชอ ื่ ทางเคมีวา่ แคลเซียมคาร์บอเนต (CaCO3)


เป็ นวัตถุดบ
ิ ทีม
่ ค
ี วามสาคัญอีกอย่างหนึง่ ในการผลิตเหล็กดิบ ทีต ่ ้องใส่หน
ิ ปูนลงไปด ้วยนัน
้ เพือ
่ ทาหน ้าทีเ่ ป็ นฟลั๊ก
แยกสารเจือปนในสินแร่เหล็กออก นอกจากนัน ้ ยังทาให ้สารเจือปนบางชนิดในสินแร่เหล็กซึง่ มีจด ุ หลอมละลายสูง มีอณ ุ หภูมติ า่ ลง
สารเจือปนจะถูกหลอมละลายแยกตัวออกมาเป็ นขีต ้ ะกรัน และลอยตัวอยูเ่ หนือผิวน้ าเหล็ก หน ้าทีอ
่ ก
ี อย่างหนึ่ งของหินปูน ก็คอื
เป็ นตัวช่วยเร่ง ปฏิกริยาการลดออกซิเจนในเตาสูงให ้สมบูรณ์ยงิ่ ขึน ้

4.เศษเหล็ก (Scrap lron) สาเหตุทต ี่ ้องใส่เศษเหล็ก ซึง่ ผ่านการถลุงมาแล ้วครัง้ หนึง่ ลงไปด ้วย เนื่องจากต ้องการประหยัดสินแร่
ทาให ้ลดต ้นทุนการผลิตลง แต่เศษเหล็กทีใ่ ส่ลงไปนัน ้ จะต ้องมีการคัดเลือกเหล็กทีม ่ ส
ี ารเจือปนจาพวกสารทีม ่ ใิ ช่เหล็ก เช่น สังกะสี
ดีบกุ ฯลฯ ให ้ปะปนอยูน ่ ้อยทีส่ ด ุ เพราะสารเหล่านีท ้ าให ้เกิดปั ญหาต่อปฏิกริยาภายในเตา
ก่อนทีจ่ ะป้ อนเศษเหล็กเข ้าเตาเผาจะต ้องทาความสะอาด พยายามกาจัดสารเจือปนและสนิมให ้มากทีส ่ ด

นอกจากนัน ้ ยังต ้องบดให ้ได ้ขนาดตามต ้องการอีกด ้วย เศษเหล็กทีม ี ว่ นผสมของนิเกล โครเมียม โมลิดน
่ ส ิ ัม
เป็ นเศษเหล็กทีต ่ ้องการมากกว่าเศษเหล็กกล ้าคาร์บอน เนือ ่ งจากสารเหล่านี้จะเป็ นตัวช่วยให ้เหล็กดิบทีผ ่ ลิตออกมามีคณ ุ ภาพดียงิ่ ขึน

แต่เศษเหล็กก็ไม่ใช่วต ั ถุดบ ิ ทีจ่ าเป็ นต ้องใส่เสมอไป บางครัง้ อาจจะใส่เฉพาะสินแร่แต่เพียงอย่างเดียว

5.อากาศ (Air) เป็ นวัตถุดบ ิ ทีส


่ าคัญอีกอย่าง เนือ
่ งจากในการเผาไหม ้ภายในเตา
ต ้องการออกซิเจนเข ้าไปช่วยในการเผาไหม ้เป็ นอย่างมาก แหล่งออกซิเจนทีห ่ าง่ายสุดคืออากาศทีใ่ ช ้หายใจ
อากาศจะถูกปั ม ้ ลมเป่ าเข ้าไปในเตาเผา แต่ลมทีพ ่ ่นเข ้าไปนัน
้ จะต ้องอุน
่ ให ้ร ้อนเสียก่อน
เพือ่ เพิม
่ อุณหภูมใิ ห ้แก่เตาเป็ นการประหยัดเชือ ้ เพลิง

6.น้ า (Water) ใช ้สาหรับระบายความร ้อนบริเวณเปลือกเตาซึง่ ทาด ้วยแผ่นเหล็ก น้ าทีใ่ ช ้ต ้องเป็ นน้ าสะอาด
โดยทั่วไปอาจใช ้น้ าจากแม่น้ าลาคลองแต่ไม่ควรใช ้น้ าทะเล เพราะอาจกัดกร่อนชิน
้ ส่วนของเปลือกเตาชารุดได ้ง่าย

การเตรียมสินแร่เหล็ก

สินแร่เหล็กทีข ่ ดุ ได ้จากพืน ้ ไม่สามารถใส่ลงไปในเตาได ้ทันที ต ้องผ่านการแยกสิง่ สกปรกทีต


้ ดินนัน ่ ด
ิ อยูเ่ สียก่อน
สินแร่ทม
ี่ อ
ี ยู่บนพืน
้ โลกมีมากมายหลายชนิด แต่ทม ี่ ค
ี วามสาคัญต่อ วงการอุตสาหกรรม มี 5 ชนิด คือ

1. แร่แม่เหล็ก (Magnetite) มีสต ู รทางเคมี คือ Fe3O4 หรือเรียกว่า เฟอร์โรโซเฟอร์รก ิ ออกไซด์ มีลักษณะ
เป็ นก ้อนสีน้ าตาลเข ้มถึงดา ถ ้านาไปบดให ้ละเอียดผิวเป็ นมันวาว มีคณ
ุ สมบัตเิ ป็ นแม่เหล็กธรรมชาติ มีเหล็กอยูใ่ นเนือ
้ แร่ 72.4%
ออกซิเจน 26.6% มีแมกเนเซียมและแมงกานีสอยู่บ ้างเล็กน ้อย แหล่งทีพ ่ บมีทต ี่ อนเหนือของประเทศสวีเดน
สหรัฐอเมริกาบริเวณตะวันตก นอกจากนัน ้ ยังพบมากที่ นอร์เว โรมาเนีย รัสเซีย และแอฟริกาใต ้

2. เร็ดเฮมาไตท์ (Rad Hematite) มีสต ู รทางเคมี คือ Fe2O3 หรือเรียกว่า เหล็กออกไซด์ มีลก ั ษณะเป็ นก ้อนสีแดง
เรือ ี ดง มีคณ
่ งถึงน้ าตาลเข ้ม ถ ้านาไปบดให ้เป็ นผงจะมีสแ ุ สมบัตเิ ป็ นแผิวของก ้อนสินแร่ไม่เป็ นมันวาว เม็ดเกรนเกาะกันแน่น
มีเหล็กอยูใ่ นเนือ
้ แร่ 70% ออกซิเจน 30% อาจมีตต ิ าเนียมผสมอยูบ
่ ้างเล็กน ้อย แหล่งทีพ่ บได ้แก่ สวิสเซอร์แลนด์ อังกฤษ บลาซิล
ใน สหรัฐอเมริกาพบมากทีแ ่ ถบทะเลสาบทัง้ ห ้า โดยเฉพาะมากทีส่ ดุ ทีท
่ ะเลสาบสุพเี รีย

3.Brown Hematite (บราวน์เฮมาไตท์) มีสต ู รทางเคมี คือ Fe2O3+H2Oหรือมีชอ ื่ เรียกอีกอย่างหนึง่ ว่าลิโมไนท์ (Limonite)
ลักษณะเป็ นก ้อนสีน้ าตาลหรือเหลืองเข ้ม ดินทีอ
่ ยู่บริเวณทีม
่ แ
ี ร่ชนิดนีส ่ ี
้ วนมากจะมีสเหลือง มีเหล็กอยูใ่ นเนือ ้ แร่ 52-66%
แหล่งทีพ
่ บได ้แก่ทเี่ ยอรมัน สหรัฐอเมริกา อังกฤษ

4. ซีเดอร์ไรท์ (Siderite) มีสต ื่ อีกอย่าง คือ เหล็กคาร์บอเนต มีลก


ู รเคมีวา่ Fe2CO3 หรือมีชอ ั ษณะเป็ นก ้อนสีน้ าตาลเข ้ม
มีเหล็กอยูใ่ นเนือ
้ แร่ 48% และมีสารคาร์บอเนตผสมอยู่ประมาณ 37.9% แหล่งทีพ ่ บได ้แก่ อังกฤษ สก็อตแลนด์ สหรัฐอเมริกา
เยอรมัน ออสเตรีย

5. เหล็กไพไรท์ (Iron Pyrite) มีสต ู รเคมีวา่ Fe2S3 เป็ นแหล่งทีม


่ ก
ี ามะถันปนอยูม
่ าก
ซึง่ กามะถันนีเ้ ป็ นตัวทาให ้เหล็กมีคณ ุ สมบัตเิ ปราะ ดังนัน
้ จึงไม่นย
ิ มนาสินแร่เหล็กชนิดนี้ไปถลุงมากนั ก
ถึงแม ้ว่าจะมีเนือ้ เหล็กอยูใ่ นเนื้อแร่ถงึ 45.6% ก็ตาม มีกามะถันผสมอยู่ 53.4% นอกจากนัน ้ มีนเิ กลและโบอลด์ผสมอยู่บ ้างเล็กน ้อย
แหล่งทีพ ่ บได ้แก่ สเปน สหรัฐอเมริกาแถบรัฐเวอร์จเิ นียร์ แมสซาจูเสท โคโรลาโด และอาริโซน่า

แร่เหล็กทีพ
่ บในประเทศไทยนัน ้ มีทเี่ ขาอึมครึม จังหวัดกาญจนบุรี ,เชียงคราม จังหวัดเลย ,แม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่ ,บางคล ้า
จังหวัดฉะเชิงเทรา ,เถิน จังหวัดลาปาง ,หนองไผ่ จังหวัดเพชรบูรณ์ ,แกลง จังหวัดระยอง ,เกาะเหล็ก จังหวัดกระบี่

ชนิดแร่ทพี่ บได ้แก่ เฮมาไตท์และลิกไนท์เป็ นส่วนมาก ส่วนชนิดอืน่ ก็มอ


ี ยู่บ ้างแต่ไม่มากนั ก
ส่วนแร่เหล็กทีม ่ เี ปอร์เซนต์ของเหล็กผสมอยูน่ ้อย จะนาไปใช ้ในการผลิตปูนซีเมนต์ภายในประเทศ สาหรับหินลูกรังหรือศิลาแลง
ซึง่ มีสว่ นผสมของแร่เหล็กอยูบ ่ ้าง จะนาไปทาถนนหรือจาพวกหินประดับ

ขัน
้ ตอนการเตรียมสินแร่เหล็ก

สินแร่ทข ี่ ดุ มาได ้นัน ้ จะมีสงิ่ สกปรกเช่น หิน ทราย ดิน กรวด ติดมาด ้วย ดังนัน ้ ก่อนทีจ
่ ะนาไปเข ้าเตาเผา
จะต ้องทาความสะอาดก่อนโดยการล ้างหรือร่อน จากนัน ้ ก ้อนแร่ซงึ่ มีสว่ นผสมของสารอืน ่ จะต ้องนาไปแยกร่อนก่อนโดยการบด ร่อน
และล ้าง ถ ้าเป็ นแร่ทม ี่ เี ปอร์เซนต์เหล็กน ้อย จะต ้องใช ้วิธบ
ี ดให ้เป็ นผงละเอียด แล ้วใช ้แม่เหล็กดูดก็จะได ้ส่วนทีเ่ ป็ นแร่เหล็กออกมา
จากนัน ้ นาไปอบไล่ความชืน ้ ไล่แก็สคาร์บอนไดออกไซด์และซัลเฟอร์ไดออกไซด์ออก
สินแร่ทไี่ ด ้นัน้ จะมีลักษณะเป็ นผงไม่สามารถบรรจุลงเตาสูง(Blast Furnacc) ได ้ เนือ ่ งจากเกิดการฟุ้ งกระจายขณะเป่ าลมเข ้าไปในเตา
ดังนัน
้ จึงต ้องนาไปผ่านกรรมวิธผ ี งอัด(Sintering) โดยการผสมผงถ่านโค ้กและผงหินปูนลงไปด ้วย
การอัดจะทาให ้ผงอัดเป็ นแผ่นกลม มีเส ้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 10 - 15 มม. ซึง่ พอเหมาะทีจ ่ ะบรรจุลงในเตาได ้

การทีต ่ ้องผสมผงถ่านโค ้กลงไปด ้วย เพือ่ ให ้เป็ นการประหยัดเชือ ้ เพลิง ส่วนหินปูนทีผ ่ สมเพือ
่ ให ้เป็ นฟลั๊ก (Flux)
กาจัดสิง่ สกปรกในสินแร่ขณะหลอมละลาย สาหรับวัตถุดบ ิ อืน
่ ๆ ไม่ต ้องมีการเตรียมทีย
่ งุ่ มาก
เพียงแต่ยอ ่ ยให ้มีขนาดทีเ่ หมาะสมพอทีจ
่ ะบรรจุลงในเตาเผาได ้เท่านัน ้

คุณสมบัิตของอลูมเิ นียม เกรด 5083,6061,7075,6063,5052,1100

อลูมเิ นียม (เกรดต่างๆ)

บริการพิเศษตัดแก๊ส ตัดเลเซอร์ตามขนาดทีต
่ ้องการ และจาหน่ายตามขนาดมาตรฐาน

อลูมเิ นียมเส ้น (Aluminum Bar) - 6063

- อลูมเิ นียมเส ้นกลม (Aluminum Round Bar)

- อลูมเิ นียมเส ้นสีเ่ หลีย


่ ม (Aluminum Square Bar)

- อลูมเิ นียมเส ้นฉาก (Aluminum Angle Bar)

- อลูมเิ นียมเส ้นแบน (Aluminum Flat Bar)

- อลูมเิ นียมแผ่น (Aluminum Sheet) - 1100

- อลูมเิ นียมอัลลอย์ดเส ้น (Aluminum Alloy Bar) - 6061, 7022, 7075, 2011


- อลูมเิ นียมอัลลอย์ดแผ่น (Aluminum Alloy Sheet) - 2024, 5052, 5083, 6061, 7022, 7075, 2011

- อลูมเิ นียมรีด (Aluminum Drawn)

- อลูมเิ นียมหล่อ (Aluminum Casting)

- เพลาอลูมเิ นียม (Aluminum Round Bar) - 6060

- ท่ออลูมเิ นียม (Aluminum Pipe); mso-hansi-font-famil

อลูมเิ นียม (Aluminium)

สัญลักษณ์คอ
ื Al ความหนาแน่น 2.7 กก./ดม3.

จุดหลอมเหลว 658 องศาเซลเซียส

ความเค ้นแรงดึงของอลูมเิ นียมหล่อ 9-12Kp/mm2 (9-12 กก./ตร.มม.)

ความเค ้นแรงดึงของอลูมเิ นียมอบเหนียว 7Kp/mm2(7 กก./ตร.มม.)

ความเค ้นแรงดึงของอลูมเิ นียมรีดแข็ง 13-20 Kp/mm2(13-20 กก./ตร.มม.)

อัตรายืดตัว 3-35%

ขึน
้ อยู่กบ
ั ธาตุประกอบอัลลอยด์ และการอบร ้อน เกรดอลูมเิ นียม สามารถแสดงคุณสมบัตไิ ด ้หลากหลาย จากรูปลักษณ์ทส ี่ วยงาม,
ความสะดวกในการผลิต, ความต ้านทานการกัดกร่อนทีด ่ มได ้ดี
่ ,ี อัตราความแข็งแกร่งต่อน้ าหนักสูง, เชือ
และค่าความต ้านทานการแตกหักสูง เลือกเกรดอลูมเิ นียมทีเ่ หมาะสม ซึง่ ขึน
้ อยู่กับชนิดของงาน และสภาวะการใช ้งาน

เกรดอลูมเิ นียม ประเภท 1xxx

เกรดของอลูมเิ นียมประเภทนีม ้ เี หล็ก และซิลค


ิ อนเป็ นธาตุหลัก (1050, 1060, 1100, 1145, 1200, 1230, 1350, อืน่ ๆ)
ซึง่ เป็ นประเภททีต
่ ้านทานการกัดกร่อนได ้ดี, สภาพการนาความร ้อน และนาไฟฟ้ าสูง, คุณสมบัตท ิ างกลตา่ และใช ้งานได ้ดี
สามารถเพิม ่ ความแข็งระดับปานกลางได ้โดยอาจได ้รับจากกระบวนการเพิม ่ ความเครียด

เกรดอลูมเิ นียม ประเภท 2xxx

เกรดของอลูมเิ นียมประเภทนี้ (2011, 2014, 2017, 2018, 2124, 2219, 2319, 201.0; 203.0; 206.0; 224.0; 242.0; อืน ่ ๆ)
ต ้องการกระบวนการอบร ้อนเพือ ่ ให ้ได ้คุณสมบัตส
ิ งู สุด ในสภาวะกระบวนการอบร ้อนนี้ ค่าคุณสมบัตท
ิ างกลจะคล ้ายกัน
หรือบางทีอาจสูงกว่าในบรรดาเหล็กคาร์บอนตา่ และในบางชนิดการทากระบวนการอบร ้อนซ้า
จะทาให ้สามารถเพิม ่ คุณสมบัตทิ างกลได ้ การอบร ้อนนี้จะเพิม่ ค่าจุดคราก แต่จะทาให ้เสียสภาพการยืดตัว

ซึงจะทาให ้ค่าต ้านทานแรงดึงไม่ด ี

อลูมเิ นียมอัลลอยด์ประเภท 2xxx ไม่ใช่ตัวต ้านทานการกัดกร่อนทีด ่ เี หมือนกับอลูมเิ นียมอัลลอยด์ประเภทอืน ่


และภายใต ้สภาวะการดัดกร่อนแบบบางๆ อาจะจะทาให ้เกิดการกัดกร่อนตามขอบเกรนได ้ เกรดอลูมเิ นียมประเภท 2xxx
จะมีประโยชน์ตอ ่ ส่วนทีต
่ ้องการความแข็งแรงทีอ ่ ณ
ุ หภูมส
ิ งู สุด 150°C (300°F) แต่ยกเว ้นเกรด 2219
อลูมเิ นียมอัลลอยด์เกรดนีม ้ ข
ี ด ่ ม แต่อล
ี จากัดในการเชือ ั ลอยด์บางชนิดในประเภทนีจ ้ ะมีรูปแบบการแปรรูปทีด
่ เี ยีย
่ ม
ส่วนอลูมเิ นียมเกรด 2021 เป็ นเกรดทีไ่ ด ้รับความนิยมสูงสุดในการใช ้ผลิตอากาศยาน
เกรดอลูมเิ นียม ประเภท 3xxx

เกรดของอลูมเิ นียมประเภทนี้ (3003, 3004, 3105, 383.0; 385.0; A360; 390.0) โดยปกติแล ้วจะไม่สามารถใช ้การอบร ้อนได ้
แต่มคี า่ ความแข็งแกร่งมากกว่าประเภท 1xxx อยู่ 20% เพราะว่า ข ้อจากัดของปริมาณแม็กนีเซียม (สูงสุดที่ 1.5%)
ทีส
่ ามารถเพิม ่ เข ้าไปในอลูมเิ นียมได ้ ซึง่ แม็กนีเซียมจะถูกใช ้เป็ นธาตุหลักในอัลลอยด์บางชนิดเท่านัน

เกรดอลูมเิ นียม ประเภท 4xxx

เกรดของอลูมเิ นียมประเภทนี้ (4032, 4043, 4145, 4643, อืน ิ ค


่ ๆ) มีซล ิ อนเป็ นธาตุหลัก ซึง่ สามารถเพิม
่ ได ้ในปริมาณทีเ่ พียงพอ
(สูงสุด 12%) ทีจ ่ ะทาให ้เกิดการลดช่วงการหลอมเหลว ด ้วยเหตุนี้ อลูมเิ นียม-ซิลค ิ อนอัลลอยด์จงึ ถูกใช ้ทาเป็ นลวดเชือ
่ ม
และใช ้ในการเชือ่ มประสานอลูมเิ นียม ในช่วงการหลอมเหลวตา่ แทนการใช ้โลหะ
อลูมเิ นียมอัลลอยด์ทบี่ รรจุซลิ ค ิ อนมากพอจะทาให ้เห็นเป็ นสีเทาดาเหมือนถ่าน เมือ ้ การอโนดิกออกไซด์ (anodic oxide)
่ เสร็จสิน
จะถูกนาไปใช ้ และด ้วยเหตุนจ ่ ้องการสาหรับการใช ้งานด ้านสถาปั ตยกรรม
ี้ งึ เป็ นทีต

เกรดอลูมเิ นียม ประเภท 5xxx

ธาตุหลักของอัลลอยด์ประเภทนีค ้ อ
ื แม็กนีเซียม เมือ ่ ถูกใช ้เป็ นธาตุหลัก หรือใช ้ร่วมกับแมงกานีส
จะทาให ้มีคา่ ความแข็งแกร่งปานกลาง และสามารถทาการชุบแข็งได ้ แม็กนีเซียมจะส่งผลมากกว่าแมงกานีสในเรือ ่ งของความแข็ง
(แมกนีเซียม 0.8% เท่ากับ แมงกานีส 1.25%) และยังสามารถเพิม ่ ได ้ในปริมาณมากอีกด ้วย อลูมเิ นียมอัลลอยด์ในประเภทนี้ (5005,
5052, 5083, 5086, อืน ่ ๆ) ใช ้ในงานเชือ ่ มได ้ดี และต ้านทานการกัดกร่อนจากน้ าได ้ดี
แต่อย่างไรก็ตามการผลิตจะจากัดอยูท ่ ก
ี่ ารขึน้ รูปเย็น และใช ้อุณหภูมใิ นการดาเนินงานที่ 150°F
สาหรับแมกนีเซียมอลูมเิ นียมอัลลอยด์ เพือ ่ หลีกเลีย่ งความอ่อนแอทีเ่ กิดจากการแตกร ้าวเนือ ่ งจากการกัดกร่อนภายใต ้แรงเค ้น
(stress-corrosion cracking)

เกรดอลูมเิ นียม ประเภท 6xxx

อลูมเิ นียมอัลลอยด์ในประเภท 6xxx คือ (6061, 6063) ประกอบไปด ้วยซิลค ิ อน และแม็กนีเซียม ในปริมาณทีม ่ ากพอในการขึน
้ รูป
magnesium silicide (Mg2Si) ซึง่ ทาให ้สามารถทากระบวนการอบร ้อนได ้ แต่ก็มค ี วามแข็งไม่เท่ากับประเภท 2xxx และ 7xxx
โดยประเภท 6xxx นีจ ้ ะสามารถทาการขึน ่ มง่าย, แปรรูปง่าย และต ้านทานการกัดกร่อนได ้ดี
้ รูปได ้ดี, เชือ
ด ้วยความแข็งแกร่งปานกลาง เกรดอลูมเิ นียมในประเภททีส ่ ามารถทาการ heat-treatable ได ้นีอ ้ าจจะขึน
้ รูปในแบบ T4 temper
(แก ้ปั ญหาการอบร ้อนได ้ แต่ไม่สามารถเร่งการอบร ้อนได ้) และเพิม ่ ความแข็งหลังจากการขึน ้ รูปแบบคุณสมบัต ิ T6
โดยการเร่งการอบร ้อน

เกรดอลูมเิ นียม ประเภท 7xxx

สังกะสีประมาณ 1 ถึง 8% เป็ นธาตุหลักในประเภท 7xxx อลูมเิ นียมอัลลอยด์ (7075, 7050, 7049, 710.0, 711.0, อืน ่ ๆ)
และเมือ ่ ทาการรวมกับแม็กนีเซียมในปริมาณเล็กน ้อย ผลทีไ่ ด ้คือจะมีคา่ ความแข็งแกร่งตัง้ แต่ระดับปานกลางจนถึงสูงมาก
ส่วนธาตุอน ื่ ๆ เช่น ทองแดง และโครเมียม ก็ถก ู เพิม
่ เข ้าไปในปริมาณเล็กน ้อยเหมือนกัน อัลลอยด์ประเภท 7xxx
ถูกใช ้ทาเป็ นโครงสร ้างลาตัวของอุปกรณ์มอ ื ถือ และชิน ้ ส่วนทีม
่ ค
ี วามเค ้นสูง อลูมเิ นียมอัลลอยด์ความแข็งแกร่งสูง 7xxx
จะแสดงการลดความต ้านทานต่อการแตกร ้าวเนื่องจากการกัดกร่อนภายใต ้แรงเค ้น (stress-corrosion cracking) และถูกใช ้ใน
temper ทีม ่ อ
ี ายุเกินมาเล็กน ้อย เพือ
่ ให ้ได ้การรวมกันของความแข็งแกร่ง , ความต ้านทานการกัดกร่อน
และค่าความต ้านทานการแตกหัก

เกรดอลูมเิ นียม ประเภท 8xxx

ประเภท 8xxx (8006; 8111; 8079; 850.0; 851.0; 852.0) สงวนไว ้สาหรับการผสมกับธาตุอน ื่ ๆ นอกเหนือจากทีใ่ ช ้สาหรับประเภท
2xxx ถึง 7xxx เหล็ก และนิกเกิลถูกใช ้เพือ
่ เพิม
่ ความแข็งแกร่ง โดยไม่มก ี ารสูญเสียสภาพการนาไฟฟ้ า
และถูกใช ้อย่างแพร่หลายเช่นอัลลอยด์ตวั นา 8017 อลูมน ิ ัม-ลิเทียม อัลลอยด์ 8090 มีความแข็งแรง และความแข็งสูงเป็ นพิเศษ
เพราะถูกพัฒนาให ้ใช ้กับงานอากาศยาน และอลูมเิ นียมอัลลอยด์ในประเภท 8000 สอดคล ้องกับของระบบ Unified Numbering
A98XXX
เกรดอลูมเิ นียม ประเภท 9xxx

้ ังไม่มใี ช ้
ประเภทนีย

ฐานข ้อมูลของ KEY to METALS ได ้รวบรวมข ้อมูลโลหะจากทัว่ โลกมาไว ้ในเครือ ่ งมือค ้นหาเพียงชิน ้ เดียว ทีท
่ งั ้ ง่าย
และรวดเร็วในการเข ้าถึงคุณสมบัตท ิ างกล, ส่วนประกอบทางเคมี, ตารางตัวอ ้างอิงโยง และอืน ่ ๆ
ทีไ่ ด ้เตรียมไว ้ให ้กับผู ้ใช ้งานด ้วยข ้อมูลจานวนมากอย่างทีไ่ ม่เคยมีมาก่อน คลิกทีป่ มด
ุ่ ้านล่างเพือ
่ ศึกษาเพิม ่ เติมจากวิธก ี ารใช ้งาน
หรือทดลองใช ้งานฐานข ้อมูลของKEY to METALS

อลูมเิ นียม
เป็ นโลหะทีม ่ นี ้ าหนักเบาเป็ นอันดับสีโ่ ลหะผสมของอลูมเิ นียมใช ้กันมากในการสร ้างเครือ ่ งบินอลูมเิ นียมหนักเพียงหนึง่ ในสามของเหล็
ก และสามารถนาไฟฟ้ าได ้ดี ในผิวโลกมีอลูมเิ นียมมากกว่าโลหะอืน ่ ๆ ในดินเหนียวอลูมเิ นียมเกือบหนึง่ ในสีโ่ ดยน้ าหนัก
แต่การแยกอลูมเิ นียมบริสท ุ ธิจ
์ ากดินทาได ้ไม่งา่ ยนั ก เขามักแยกอลูมเิ นียมจากแร่ ชือ ่ บอกไซต์ (Bauxite) ซึง่ มีอลูมเิ นียมมากกว่าดิน
แร่นมี้ ม
ี ากในทวีปอเมริกา (ประเทศแคนาดามีมากทีส ่ ด
ุ ) และในออสเตรเลีย
ในประเทศอืน ่ ก็มบ ี ้างเหมือนกันอลูมเิ นียมมีอยูใ่ นรัตนชาติบางชนิด เช่น พลอยและทับทิม เป็ นต ้น แร่กากกะรุน (Emery)
คือออกไซด์ของอลูมเิ นียมเรารู ้จักอลูมเิ นียมนานกว่า 140 ปี แต่เนือ ่ งจากราคาแพงจึงมิได ้มีผู ้ใช ้กันแพร่หลาย
ตราบจนกระทัง่ ถึงสมัยทีอ ่ าจผลิตพลังงานไฟฟ้ าได ้ในราคาตา่ จากน้ าตก โลหะนีจ ้ งึ มีราคาถูกลง
เพราะการแยกอลูมเิ นียมจากแร่ทาโดยวิธไี ฟฟ้ าได ้ดีกว่าอย่างอืน ่

ี าวเหมือนเงิน เนื้อเป็ นมันวาวงดงามไม่หมองง่าย อาจถึงเป็ นเส ้นลวดขนาดเล็กยิง่ กว่าเส ้นผม หรือ ตีแผ่เป็ นแผ่นบางๆ
อลูมเิ นียมมีสข
ทีบ
่ างมากราวกับกระดาษได ้อลูมเิ นียมไม่สก ึ กร่อนโดยง่าย และจะทาปฏิกริ ย ิ ากับกรดและด่างบางชนิดเท่านัน

เมือ
่ ผสมโลหะอืน ่ บางชนิดลงไปในเนือ ้ อลูมเิ นียม จะได ้โลหะผสม ซึง่ แข็งแรง ทนทาน และเหนียวกว่าอลูมเิ นียมบริสท
ุ ธิม
์ าก
ใช ้ทาสิง่ ของเครือ
่ งใช ้ได ้อย่างดี

เราใช ้อลูมเิ นียมทาเครือ


่ งครัว เพราะอลูมเิ นียมนาความร ้อนได ้ดี ทาความสะอาดได ้ง่าย
กับเป็ นเงางามอยูเ่ สมอนอกจากนัน ้ ยังใช ้ทาส่วนประกอบในเครือ ่ งใช ้ไฟฟ้ า เพราะอลูมเิ นียมสามารถนาไฟฟ้ าได ้ดี เครือ
่ งบิน
ละยานพาหนะหลายชนิด เช่น รถไฟ รถโดยสาร และรถยนต์ ก็นย ิ มใช ้อลูมเิ นียมเป็ นส่วนประกอบ เนือ
่ งจากน้ าหนักเบา
แข็งแรงทนทาน

ทีม
่ าของอลูมเิ นียม

อลูมเิ นียมเป็ นโลหะทีเ่ กิดเป็ นสารประกอบอลูมเิ นียมออกไซด์ ส่วนมากพบในดินเหนียว และดินต่างๆ


วัตถุดบิ สาคัญทีใ่ ช ้ในการผลิตอลูมเิ นียม

คือสินแร่ โบไซต์หรือ บอกไซด์(Bauxite)มีลก


ั ษณะเหมือนดินแดง หรือดินลูกรัง
แตามีความแข็งกว่าในสินแร่บอกไซด์จะมีดนิ เหนียวบริสท
ุ ธิ์

(Al2 O3= อลูมเิ นียมออกไซด์) ปนอยู่ประมาณ 55-60% เหล็กออกไซด์(Fe2O3) ไม่เกิน

ิ ก
24% และน้ าในโมเลกุลสินแร่ประมาณ 12-31% แร่ซล ิ า(SiO2)ไม่เกิน 4% แหล่งแร่บอกไซด์ทส
ี่ าคัญๆ คือทีป
่ ระเทศ

ฝรั่งเศษตอนใต ้ ฮังการี รัสเซีย สหรัฐอเมริกา มาเลเซีย อินโดนีเซีย

คุณสมบัตอ
ิ ลูมเิ นียม

ข ้อดีบางประการของอลูมเิ นียมคือ ดูด,ี ง่ายต่อการผลิต, ต่อต ้านการกัดกร่อนได ้ดี, ความหนาแน่นตา่ ,


อัตราความแข็งแรงต่อน้ าหนักสูง และความเหนียวทีต ่ ้านการแตกหักสูง
ด ้วยคุณสมบัตเิ หล่านี้ อลูมเิ นียมจึงเป็ นหนึง่ ในวัสดุทม ี ลต่อเศรษฐกิจ และการทาโครงสร ้าง ทีใ่ ช ้ในการค ้าขาย
ี่ ผ
และอุปกรณ์ทางการทหาร

มือ
่ สัมผัสกับอากาศ จะทาให ้เกิดชัน ้ ฟิ ลม
์ บางๆ เรียกว่า อลูมเิ นียมออกไซด์ อยู่ทช ั ้ ผิวของอลูมเิ นียม
ี่ น
ซึง่ ชัน
้ ผิวนีจ
้ ะสามารถป้ องกันการกัดกร่อน และกรดต่างๆ ได ้ แต่สามารถป้ องกัน อัลคาลิส ได ้เพียงเล็กน ้อยเท่านัน

อลูมเิ นียมบริสท
ุ ธิ์ จะมีคา่ แรงดึงไม่สงู นั ก แต่อย่างไรก็ตามการเพิม ่ ธาตุบางชนิดเข ้าไปเช่น แม็กนีเซียม, ซิลค ิ อน, ทองแดง
และแมงกานีส สามารถเพิม ่ คุณสมบัตค ิ วามแข็งแรงให ้กับอลูมเิ นียมได ้ และได ้อั ลลอยด์ทม
ี่ ค
ี ณ ิ เี่ หมาะสมกับการใช ้งานนัน
ุ สมบัตท ้ ๆ

อลูมเิ นียมเป็ นตัวนาความร ้อนทีด ่ เี ยีย


่ ม และนาความร ้อนได ้ดีกว่าเหล็กถึงสามเท่า
ด ้วยคุณสมบัตน ิ ท
ี้ าให ้อลูมเิ นียมเป็ นวัสดุทม ี วามสาคัญกับทัง้ งานทีใ่ ช ้ความเย็น และความร ้อน เช่น ตัวแลกเปลีย
ี่ ค ่ นความร ้อน (heat-
exchangers) เมือ ่ พูดถึงอลูมเิ นียมทีไ่ ม่ผสมธาตุใดๆ แล ้ว
อลูมเิ นียมประเภทนี้จะถูกใช ้อย่างกว ้างขวางในการผลิตอุปกรณ์การทาอาหาร และชุดเครือ ่ งครัว

่ ผสมแมกนีเซียม สามารถชุบอะโนไดช์สไี ด ้ดีมาก


• อลูมเิ นียม 5083 (รีดแข็ง , H112) อลูมเิ นียมกลุม

่ ตัดกลึง สามารถใช ้งานทีอ


ให ้ผิวสวยงามเมือ ่ ณ
ุ หภูมต ิ ลบได ้ดี นิยมใช ้ทาแม่พม
ิ ด ิ พ์เป่ าพลาสติก แม่พม
ิ พ์ขน
ึ้ รูปยางและโฟม
้ งาน ถังทนแรงดันสูง ตู ้คอนเทนเนอร์ ชิน
อุปกรณ์จับยึดชิน ้ ส่วนยานพาหนะและอาคาร อลูมเิ นียม 5083

• อลูมเิ นียม 6061 (บ่มแข็ง , T651) อลูมเิ นียมกลุม


่ ผสมแมกนีเซียม และซิลก
ิ อน ทีส
่ ามารถบ่มแข็งได ้

่ ม สามารถขัดเงาได ้ดีและชุบอะโนไดซ์สไี ด ้ผิวสวยงาม


จึงมีความแข็งสูงและทนต่อการกัดกร่อนได ้ดีเยีย
นิยมใช ้ทาแม่พม
ิ พ์เป่ าพลาสติกแม่พม
ิ พ์ฉีดโฟมและยาง โครงสร ้างยานพาหนะและอาคาร หมุดย้าราวสะพาน

่ งุ่ ยากกว่า ซับซ ้อน สิน


(จะมีกรรมวิธใี นการทาทีย ้ เปลืองแรงงาน และเวลา กว่าจะได ้เป็ นชิน
้ งาน แต่ก็มค
ี วามคุ ้มค่า

เพราะว่า เป็ นอลูมเิ นียมทีไ่ ม่กระด ้าง โดยสูญเสียความแข็งแรงไปไม่มาก)

• อลูมเิ นียม 7022 (บ่มแข็ง , T651) อลูมเิ นียมกลุม


่ ผสมสังกะสี ทีม
่ ค
ี วามแข็งแรงสูงมาก ตัดกลึงง่าย สามารถชุบอะโนไดซ์แข็งได ้ดี
นิยมใช ้ทาแม่พม ิ พ์เป่ าขวดพลาสติก แม่พม
ิ พ์ฉีดพลาสติกจานวนน ้อย อุปกรณ์ชน ิ้ ส่วนเครือ
่ งจักรกลแผ่นนาความร ้อน อลูมเิ นียม 7022

• อลูมเิ นียม 7075 (บ่มแข็ง , T651) อลูมเิ นียมกลุม


่ ผสมสังกะสี ทีม่ ค
ี วามแข็งแรงสูงทีส
่ ด
ุ ในกลุม
่ ตัดกลึงง่าย
สามารถชุบอะโนไดซ์แข็งได ้ดีเยีย ่ ม นิยมใช ้ทาแม่พมิ พ์เป่ าขวดพลาสติก แม่พมิ พ์ฉด
ี พลาสติก อุปกรณ์ชน ิ้ ส่วนเครือ
่ งจักรกล
โต๊ะเครือ่ งมือ แผ่นรองสแตมปิ้ ง อลูมเิ นียม 7075

• อลูมเิ นียม 2024 (บ่มแข็ง , T451) อลูมเิ นียมกลุม


่ ผสมทองแดงจึงมีความแข็งแรงสูง
และทนต่อการล ้าได ้ดีนยิ มใช ้ทาแม่พม
ิ พ์เป่ าพลาสติกหรือแม่พม
ิ พ์ขน
ึ้ รูปพลาสติกในสูญญากาศ แม่พม
ิ พ์รองเท ้า

้ ส่วนเครือ
ชิน ่ งจักรกล โครงสร ้างเครือ
่ งบินอุปกรณ์จับยึดต่างๆ

่ ผสมแมกนีเซียม สามารถชุบอะโนไดช์สไี ด ้ดีมาก


• อลูมเิ นียม 5052 (รีดแข็ง , H112) อลูมเิ นียมกลุม
ให ้ผิวสวยงามเมือ ่ ตัดกลึง สามารถใช ้งานทีอ่ ณ
ุ หภูมต ิ ลบได ้ดี นิยมใช ้ทาอุปกรณ์จับยึดชิน
ิ ด ้ งาน
แม่พม ิ พ์ตวั อย่างภาชนะหรือเครือ่ งใช ้ในอุตสาหกรรมเคมีและอาหาร ท่อไฮดรอลิก หมุดย้าชิน ้ ส่วนในยานพาหนะและอาคาร

คุณสมบัตข
ิ องสแตนเลส

สแตนเลสเกรด 316,316l,420,420j2, 310,310s,304,304l,431,440c,416, 430,630,17-4ph, Duplex 2205,2507, 3cr12หล็กกล ้าไร ้สนิม หรือ
สเตนเลส (อังกฤษ: Stainless steel) นัน ้ ในทางโลหกรรมถือว่าเป็ นโลหะผสมเหล็ก ทีม ่ โี ครเมียมอย่างน ้อยทีส่ ด
ุ 10.5% ชือ ่ ในภาษาไทย
แปลจากภาษาอังกฤษว่า stainless steel เนือ ่ งจากโลหะผสมดังกล่าวไม่เป็ นสนิมทีม ่ ส
ี าเหตุจากการทาปฏิกริ ย ิ ากันระหว่าง
ออกซิเจนในอากาศกับโครเมียมในเนือ ้ สเตนเลส เกิดเป็ นฟิ ลม ์ บางๆเคลือบผิวไว ้
ทาหน ้าทีป ่ กป้ องการเกิดความเสียหายให ้กับตัวเนือ ้ สเตนเลสได ้เป็ นอย่างดี ปกป้ องการกัดกร่อน
และไม่ชารุดหรือสึกกร่อนง่ายอย่างโลหะทัว่ ไป สาหรับในสหรัฐอเมริกาและในหลายประเทศ โดยเฉพาะในอุตสาหกรรมการบิน
นิยมเรียกโลหะนีว้ า่ corrosion resistant steel เมือ ่ ไม่ได ้ระบุชด ั ว่าเป็ นโลหะผสมชนิดใด และคุณภาพระดับใด
แต่ในท ้องตลาดเราสามารถพบเห็น สเตนเลสเกรด 18-8 มากทีส ุ ซึง่ เป็ นการระบุถงึ ธาตุทเี่ จือลงในในเนือ
่ ด ้ เหล็กคือ โครเมียมและ
นิเกิล ตามลาดับ สแตนเลสประเภทนีจ ้ ัดเป็ น Commercial Grade คือมีใช ้ทั่วไปหาซือ ้ ได ้ง่าย มักใช ้ทาเครือ ่ งใช ้ทั่วไป
ซึง่ เราสามารถจาแนกประเภทของสเตนเลสได ้จากเลขรหัสทีก ่ าหนดขึน ้ ตามมาตรฐาน AISI เช่น 304 304L 316 316L เป็ นต ้น
ซึง่ ส่วนผสมจะเป็ นตัวกาหนดเกรดของสเตนเลส ซึง่ มีความต ้องการในการใช ้งานทีแ ่ ตกต่างกันออกไป สเตนเลสกับการเกิดสนิม ปกติ
Stainless steel จะไม่เป็ นสนิมเพราะทีผ ่ วิ ของมันจะมีฟิลม ์ โครเมียมออกไซด์
บางๆเคลือบผิวอยูอ ่ น
ั เนื่องมาจากการทาปฏิกริ ย ิ ากันระหว่าง Cr ใน Stainless steel กับ ออกซิเจนในอากาศ การทาให ้ Stainless steel
เป็ นสนิมคือการถูกทาลายฟิ ลม ์ โครเมียมออกไซด์ ทีเ่ คลือบผิวออกไปในสภาวะที่ Stainless steel สามารถเกิดสนิมได ้
ก่อนทีฟ ่ ิ ลม์ โครเมียมออกไซด์จะก่อตัวขึน ้ มาอีกครัง้ เช่น ถ ้าสเตนเลสถูกทาให ้เกิดรอยขีดข่วน แล ้วบริเวณรอยนัน ้ มีความชืน ้
ซึง่ สามารถทาให ้เกิดปฏิกริ ย ิ ากับธาตุเหล็กก่อนทีฟ ่ ิ ลม
์ โครเมียมออกไซด์จะก่อตัวขึน ้ มา ก็จะเป็ นสาเหตุให ้เกิดสนิมขึน ้ ได ้

ค่าการนาความร ้อน (Thermal conductivity)

สเตนเลสทุกชนิดจะมีคา่ การนาความร ้อนตา่ กว่าเหล็กกล ้าคาร์บอนมาก สเตนเลสเกรดทีม ี ว่ นผสมโครเมียมอย่างเดียว (plain


่ ส
chromium steel) มีคา่ การนาความร ้อน +_1/3 และเกรดออสเทนนิตก ิ มีคา่ การนาความร ้อน +_1/4 ของเหล็กกล ้าคาร์บอน
ทาให ้มีผลต่อการใช ้งานทีอ ่ ณ
ุ หภูมส
ิ งู เช่นมีผลต่อการควบคุมปริมาณความร ้อนเข ้าระหว่างการเชือ ่ ม,
ต ้องให ้ความร ้อนเป็ นระยะเวลานานขึน ้ เมือ
่ ต ้องทางานขึน
้ รูปร ้อน

สัมประสิทธิก
์ ารขยายตัว(Expansion coefficient)

สเตนเลสเกรดทีม ี ว่ นผสมโครเมียมอย่างเดียวมีสม
่ ส ั ประสิทธิก์ ารขยายตัวคล ้ายกับเหล็กกล ้าคาร์บอน
แต่เกรดออสเทนนิตก ั ประสิทธ์การขยายตัวสูงกว่าเหล็กกล ้าคาร์บอน 1½ เท่า
ิ จะมีสม
การทีส ่ เตนเลสมีการขยายตัวสูงแต่มค ี า่ การนาความร ้อนตา่ ทาให ้ต ้องหามาตรการป้ องกันเพือ ่ หลีกเลีย
่ งผลเสียหายทีต
่ ามมาเช่น
ใช ้ปริมาณความร ้อนในการเชือ ่ มตา่ , กระจายความร ้อนออกโดยใช ้แท่งทองแดงรองหลัง, การจับยึดป้ องกันการบิดงอ
้ ้องพิจารณาการใช ้งานร่วมกันของวัสดุ เช่นท่อแลกเปลีย
ปั จจัยเหล่านีต ่ นความร ้อน (heat exchanger)
ระหว่างเปลือกโครงสร ้างเหล็กกล ้าคาร์บอน และท่อออสเทนนิตค ิ เป็ นต ้น

ฟิ ลม
์ ป้ องกันและการสร ้างฟิ ลม
์ (Passive film)

สเตนเลสจะมีฟิลม
์ บางๆ ต ้านทานการกัดกร่อน จาเป็ นต ้องรักษาความสมบูรณ์ของฟิ ลม
์ ป้ องกัน ดังนี้

หลีกเลีย
่ งความเสียหายหรือการสัมผัสรุนแรงทางกล

ซ่อมปรับปรุงพืน ้ ทีท่ ม
ี่ ผ
ี ลต่อการเสียหายเช่น บริเวณทีเ่ กิดสะเก็ดหรือคราบออกไซด์เนือ ่ งจากอุณหภูมส ่ ม,
ิ งู ใกล ้ๆ แนวเชือ
บริเวณทีเ่ กิดความเสียหายทางกลหรือมีการเจียระไน, มีการปนเปื้ อนโดยวิธก ี ารสร ้างฟิ ลม์ ป้ องกัน (passivation)
อย่างเดียวหรือใช ้ทัง้ วิธก ี ารแช่กรดเพือ
่ กาจัดคราบจากออกไซด์ (pickling) หรือ การแช่กรดหรือทาน้ ายาสร ้างฟิ ลม ์ ออกไซด์
(passivation) ทีผ
่ วิ เหล็กกล ้าสเตนเลส
แน่ใจว่ามีออกซิเจนเพียงพอและสมา่ เสมอ ทีส
่ ร ้างออกไซด์ทผ
ี่ วิ ของ เหล็กกล ้าสเตนเลสได ้

การเสียหายทีผ
่ วิ เนือ
่ งจากการเสียดสีทผ
ี่ วิ โลหะกับโลหะอย่างรุนแรง (Galling /pick up / seizing)

ผิวหน ้าสเตนเลสมีแนวโน ้มทีจ ่ ะเกิดการเสียหายเนือ


่ งจากการเสียดสีอย่างรุนแรง ต ้องหลีกเลีย่ งและระมัดระมัดระวัง
ความเสียหายทีจ ่ ะเกิดขึน
้ ดังกล่าวโดยสาหรับผิวหน ้าทีม ่ ก ั ตลอดเวลา ควรใช ้ Load หรือแรงเสียดสีตา่ สุด
ี ารเสียดสีกน
และต ้องแน่ใจว่าการเสียดสีไม่สร ้างความร ้อนเกิดขึน ้ ควรรักษาผิวสัมผัสไม่ให ้มีการบดกับผงฝุ่ น เม็ด ทรายฯลฯ
และใช ้น้ ามันหล่อลืน
่ หรือเคลือบผิว

ประเภทของสแตนเลส

คนโดยทั่วไปจะไม่ทราบว่าสเตนเลสมีกป ี่ ระเภท และมักจะมีการเข ้าใจผิดว่าสเตนเลสแท ้ต ้องแม่เหล็กดูดไม่ตด



แต่จริงๆแล ้วการทีแ ่ ม่เหล็กจะดูดติดหรือไม่ตด ิ นัน
้ ขึน
้ อยู่กบ
ั ประเภทของสเตนเลส สเตนเลสแบ่งออกเป็ นกลุม่ พืน้ ฐาน ได ้ 5 กลุม
่ คือ
ออสเทนนิตค ิ , เฟอริตค ิ , ดูเพล็กซ์, มาร์เทนซิตค ิ และ กลุม ่ เพิม
่ ความแข็งโดยวิธก
ี ารตกผลึก

กลุม ิ (Austenitic) หรือสเตนเลสตระกูล 300 เป็ นเกรดทีใ่ ช ้งานแพร่หลายมากทีส


่ ออสเทนนิตค ่ ด
ุ ถึง 70%

มีคณุ สมบัตท ิ แ
ี่ ม่เหล็กดูดไม่ตดิ (non – magnetic) มีสว่ นผสมของโครเมียม 16% คาร์บอนอย่างมากทีส ่ ด
ุ 0.15%
มีสว่ นผสมของธาตุนก ิ เกิล 8% เพือ
่ ปรับปรุงคุณสมบัตใิ นการทาการประกอบ(Fabrication)และเพิม
่ ความต ้านทานการกัดกร่อน
เกรดทีร่ ู ้จักกันอย่างแพร่หลายและนิยมเรียก 18/10 คือการทีม ี ว่ นผสมของโครเมียม 18% และนิกเกิล 10%
่ ส

กลุม
่ เฟอริตค
ิ (Ferritic) แม่เหล็กดูดติด(magnetic) มีธาตุคาร์บอนผสมปริมาณทีต่ า่
และมีโครเมียมเป็ นธาตุผสมหลักทีส ่ าคัญอาจอยูร่ ะหว่าง 10.5%-27% และมีนก
ิ เกิล้ เป็ นส่วนผสมอยูน
่ ้อยมากหรือไม่มเี ลย

กลุม
่ มาร์เทนซิตค ิ (Martensitic) แม่เหล็กดูดติด(magnetic) มีสว่ นผสมของโครเมียม 12-14% และมีธาตุคาร์บอนผสมอยูป
่ านกลาง
มีโมลิบดีนัมเป็ นส่วนผสมอยู่ประมาณ 0.2-1% ไม่มน ี ก
ิ เกิล

สเตนเลสตระกูลนีส้ ามารถปรับความแข็งได ้โดยการให ้ความร ้อนแล ้วทาให ้เย็นตัวอย่างรวดเร็ว ( Quenching)และอบคืนตัว (Tempering)


สามารถลดความแข็งได ้ คล ้ายกับเหล็กกล ้าคาร์บอน และพบการใช ้งานทีส ่ าคัญในการผลิตเครือ ่ งตัด,
อุตสาหกรรมเครือ
่ งบินและงานวิศวกรรมทัว่ ไป

กลุม ่ ความแข็งโดยการตกผลึก (Precipitation hardening)เกรดทีเ่ ป็ นทีร่ ู ้จักในตระกูลนี้ คือ 17-4H ซึง่ มีสว่ นผสมของโครเมียม 17%
่ เพิม
และนิกเกิล 4% สามารถเพิม ่ ความแข็งแรงได ้โดยกลไกเพิม ่ ความแข็งจากการตกผลึก ( Precipitation hardening mechanism)
โดยสามารถเพิม ่ ความแข็งแรงสูงมาก มีคา่ ความเค ้นพิสจู น์ ( Proof stress) อยูร่ ะหว่าง 1,000 ถึง 1,500 เมกาปาสคาล (MPa)
ขึน
้ อยู่กบั ชนิดและกรรมวิธปี รับปรุงคุณสมบัตด
ิ ้วยความร ้อน (Heat treatment)

กลุม
่ ดูเพล็กซ์ (Duplex) มีโครงสร ้างผสมระหว่าง โครงสร ้างเฟอริตคิ และออสเทนนิตค
ิ มีโครเมียมเป็ นธาตุผสมอยูร่ ะหว่าง 19-28%
และโมลิบดินัมสูงกว่า 5% และมีนก ิ เกิลน ้อยกว่าตระกูลออสเทนนิตคิ
พบว่ามีการใช ้งานมากโดยเฉพาะอย่างยิง่ ในบรรยากาศแวดล ้อมของคลอไรด์

สเตนเลสแบ่งออกได ้เป็ น 4 กลุม


่ หลัก (อีกนิยามหนึง่ )

1.MARTENSITICเป็ นกลุม่ ทีม ี ว่ นผสมของโครเมีย


่ ส ่ ม (Cr) ระหว่าง 12 - 18% โดยมีเกรด 403, 410, 414,416, 420, 431, 416, 440A/B/C, 501
และ 502 คุณสมบัตห ิ ลักคือ สามารถชุบแข็งได ้ ซึง่ ส่งผลให ้เนือ ้ สเตนเลสมีความแข็งแกร่งมากและทนต่อการเสียดสีได ้ดี
จึงเหมาะกับงานทาชิน ้ ส่วนเครือ ่ งมือ เครือ
่ งจักร แต่แม่เหล็กสามารถดูดติดได ้

2.FERRITICเป็ นกลุม
่ ทีม
่ โี ครเมีย
่ ม (Cr) อยูร่ ะหว่าง 12 - 18% และมีคาร์บอน (C) น ้อยกว่า 0.2% สเตนเลสในกลุม่ นีม
้ รี าคาถูกทีส
่ ด

ไม่สามารถรีดให ้แข็งขึน ้ ได ้ แม่เหล็กดูดติด และไม่สามารถชุบแข็งได ้ มีโอกาสเป็ นสนิมได ้ง่ายกว่ากลุม่ อืน

หากใช ้งานในสิง่ แวดล ้อมทีไ่ ม่เหมาะสม จึงนิยมนามาใช ้งาน บางชนิดทีไ่ ม่สม ั ผัสกับกรดโดยตรง เช่น ฝอยขัดหม ้อ ลวดรัดสายไฟฟ้ า
โครงโต๊ะวางเตาแก๊ส เกรดในกลุม ่ นีม
้ ี 405, 430, 442 และ 446
3.AUSTENITICเป็ นกลุม
่ ทีน ิ มใช ้กันมากทีส
่ ย ่ ด
ุ โดยมีโครเมียม (Cr) 10.5 -24% เมือ ่ เพิม
่ นิเกิล
้ (Ni)
จะทาให ้สเตนเลสมีคณ ุ สมบัตท ิ นต่อสนิมและการกัดกร่อนได ้ดี สามารถเพิม ่ ความแข็งด ้วยการรีดเย็นได ้ แม่เหล็กดูดไม่ตด

แต่ไม่สามารถชุบแข็งได ้ เกรดในกลุม ่ นีม
้ ี 201, 202, 301, 302, 303, 304, 305, 308, 309, 310, 314, 316, 347 และ 348

4.DUPLEX เป็ นกลุม


่ ทีผ
่ สมกันระหว่า AUSTENITIC และ FERRITIC
ซึง่ นาข ้อดีของทัง้ สองกลุม ่ วัตถุประสงค์ของการใช ้งานเฉพาะเจาะจงบางประเภท ซึง่ ไม่คอ
่ มารวมกันเพือ ่ ยมีการผลิตมากนัก

ผิวของสเตนเลส

No.1- รีดร ้อนหรือรีดเย็น / อบอ่อน หรือปรับปรุงด ้วยความร ้อน คราบออกไซด์ไม่ได ้ขจัดออก /


ใช ้งานในสภาพทีร่ ด ี ออกมาโดยทัว่ ไปจะใช ้งานทีท ่ นความร ้อน

2D- สภาพผิว 2D หลังจากการรีดเย็นโดยลดความหนาลง ผ่านการอบอ่อนและการกัดผิวโดยกรดลักษณะผิวสีเทาเงินเรียบ

2B-ผิว 2D ทีผ ่ า่ นลูกรีดขนาดใหญ่กดทับปรับความเรียบ เพิม


่ ความเงาผิวเงาสะท ้อนปานกลาง ผลิตโดยวิธกี ารรีดเย็น
ตามด ้วยการอบนาอ่อนขจัดคราบออกไซด์ และนาไปรีดเบาๆ ผ่านไปยังลูกกลิง้ ขัด ซึง่ เป็ นวิธกี ารทั่วไปของการรีดเย็น
ผิวทีไ่ ด ้ส่วนมากจะอยูใ่ นระดับ 2B

BA-ผ่านกระบวนการรีดเย็นโดยความหนาลดลงทีละน ้อยๆ ผ่านการอบอ่อนด ้วยก๊าซไฮโดรเจน


เพือ ่ ป้ องกันกันการออกซิเดชัน่ กับออกซิเจนในอากาศ ผิวมันเงา สะท ้อนความเงาได ้ดี ผิวผลิตภัณฑ์สเตนเลสจะกระทาด ้วยวิธน ี ี้
ซึง่ จะมีเครือ่ งหมาย BA หรือ No.2BA, A ซึง่ ผิวอบอ่อนเงา จะมีลักษณะเงากระจก ซึง่ เริม
่ ต ้นจากการรีดเย็น
อบอ่อนในเตาควบคุมบรรยากาศ ผิวเงาทีเ่ ห็นจะเป็ นการขัดผิวด ้วยลูกกลิง้ ขัดผิว หรือเจียรนัยผิวตามเกรดทีต ่ ้องการ
ผิวอบอ่อนเงาส่วนมากจะใช ้กับงานสถาปั ตยกรรม ทีต ่ ้องการผิวสะท ้อน ผิวอบอ่อนสีน้ านมจะไม่สะท ้อนแสงเหมือนกับ No.8
จะใช ้กับงานทีเ่ ป็ นขอบ ชิน
้ ส่วนทางสถาปั ตยกรรม ภาชนะในครัว อุปกรณ์ในกระบวนการผลิตอาหาร

สภาพผิว 2B ทีผ
No.4, Hair Line- ่ ่านการจัดถูด ้วยกระดาษทรายเบอร์ 120-220 โดยค่าความหยาบขึน
้ อยู่กับแรงกด,
ขนาดของอนุภาคเม็ดทราย และระยะเวลาการใช ้งานของกระดาษทราย ผิว No.4 เป็ นสภาพผิวทีส ่ นองต่อการนาไปใช ้งานทั่วไป
่ งใช ้ในครัว อุปกรณ์รด
เช่นร ้านอาหาร อุปกรณ์เครือ ี นม

No.8-สภาพผิว 2B, BA ขัดด ้วยผ ้าขัดอย่างละเอียดมากขัน


้ ตามลาดับ เช่น #1000, ผ ้าขนสัตว์
โดยมีผงขัดอะลูมเิ นียมและโครเมียมออกไซด์ ผิว No.8 ส่วนมากจะเป็ นผิวเงาสะท ้อนคล ้ายกระจกเงา
ผลิตภัณฑ์สว่ นใหญ่จะเป็ นสเตนเลสชนิดแผ่นโดยผิวจะถูกขัดด ้วยเครือ่ งขัดละเอียด นาไปใช ้กับงานตกแต่งทางด ้านสถาปั ตยกรรม
และงานทีเ่ น ้นความสวยงาม

สแตนเลสเกรดต่างๆ ดังต่อไปนี้

SUS304

ใช ้งานได ้อย่างกว ้างขวาง มีความต ้านทานการกัดกร่อนดี ต ้านทานความร ้อนได ้ดี สมบัตเิ ชิงกลดีแม ้อุณภูมต
ิ า่ ขึน
้ รูปได ้ดี หักพับได ้ดี
เพิม
่ ความแข็งด ้วยกรรมวิธท ี างความร ้อนไม่ได ้ และแม่เหล็กดูดไม่ตก

เครือ่ งใช ้ในบ ้าน เครือ


่ งใช ้ในครัว ท่อลาเลียง หม ้อต ้ม ยานยนต์ เครือ
่ งมือการแพทย์ สถาปั ทตยกรรม เครือ ้ ส่วนเรือ
่ งมือเคมีภัณฑ์ ชิน
เครือ
่ งจักรกลเกษตร และโรงงานผลิตอาหารเป็ นต ้น

SUS304Cu
เพิม
่ ธาตุ Cu ทาให ้ขึน
้ รูปได ้ดียงิ่ ขึน
้ โดยเฉพาะการขึน
้ รูปลึก

่ งใช ้ในบ ้าน กระติกน้ าสูญญากาศ อ่างห ้องครัว อ่างอาบน้ าเป็ นต ้น


เครือ

SUS304Ni9

เพิม
่ ปริมาณ Ni ทาให ้ขึน
้ รูปได ้ดียงิ่ ขึน
้ โดยเฉพาะการขึน ่ งใช ้ในบ ้าน กระติกน้ าสูญญากาศ อ่างห ้องครัว
้ รูปลึกได ้ดี เครือ
อ่างอาบน้ าเป็ นต ้น

SUS304L

ลดปริมาณธาตุคาร์บอน ทาให ้ทนการกัดกร่อนรอบขอบเกรนได ้ดียงิ่ ขึน


้ เครือ่ งจักร เครือ
่ งมือในโรงงานเคมี
้ เพลิงและโรงงานปิ โตรเคมีทต
เชือ ี่ ้องทนการกัดกร่อนรอบขอบเกรน ชิน้ ส่วนโครงสร ้าง ชิน ้ ส่วนรับความร ้อน

SUS316

ทนความผุกร่อนสูง ทนความร ้อนสูง ใช ้งานได ้ในพืน


้ ทีภ
่ าวะกัดกร่อนสูง มีเวิรค
์ ฮาดเดนนิงน ้อย แม่เหล็กดูดไม่ตก

เครือ
่ งมือทดสอบน้ าทะเล โรงงานเคมี โรงงานทาสีย ้อม โรงงานทากระดาษ กรดสมุนไพร เครือ ่ งจักรกลเกษตร เครือ
่ งถ่ายภาพ
โรงงานผลิตอาหาร เครือ ่ งใช ้ชายฝั ่ งทะเล

SUS316L

ลดปริมาณคาร์บอน ทาให ้ทนการกัดกร่อนรอบขอบเกรนยิง่ ขึน ้ สามารถใช ้งานในภาวะการกัดกร่อนสูง มีเวิรค


์ ฮาดเดนนิงน ้อย
แม่เหล็กดูดไม่ตด
ิ เครือ
่ งมือทดสอบน้ าทะเล โรงงานเคมี โรงงานทาสีย ้อม โรงงานทากระดาษ กรดสมุนไพร เครือ ่ งจักรกลเกษตร
เครือ
่ งถ่ายภาพ โรงงานผลิตอาหาร เครือ่ งใช ้ชายฝั่ งทะเล

SUS321

ด ้วยการเพิม
่ Ti ทาให ้ทนต่อการกัดกร่อนรอบขอบเกรน ทนความร ้อน และทนต่อการเกิดออกไซด์ทอ ี่ ณ
ุ หภูมส
ิ งู ภาชนะทนความร ้อน
ยานยนต์ เครือ่ งบิน ท่อระบาย ฝ่ าครอบหม ้อน้ า เครือ
่ งมือสัมผัสเคมี เครือ
่ งแลกเปลีย
่ นความร ้อน

SUS301

มีโครเมียมและนิกเกินตา่ กว่า 304 สามารถเพิม


่ ความแข็งแรงด ้วยการทางานเย็น รถไฟ เครือ
่ งบิน สายพาน สปริง

SUS301L

มีคาร์บอนน ้อย ทนการกัดกร่อนรอบขอบเกรนได ้ดีกว่า เพิม


่ ความแข็งได ้โดยการทางานเย็น กรอบรถไฟ งานประดับในสถาปั ตยกรรม

SUH409L

่ มได ้ดี ด ้านทานการเกิดออกไซด์ทอ


ดัดแปลงได ้ง่าย เชือ ี่ ณ ิ งึ 800℃ ส่วนใหญ่ใช ้เป็ นปลายท่อในระบบท่อไอเสียรถยนต์
ุ หภูมถ

SUH410L

ด ้วยความทีเ่ หนียวมาก เปลีย ่ มได ้ดี หักพับได ้ดี ทนความร ้อนได ้ดี ทนการเกิดออกไซด์ได ้ดีแม ้ตรงแนวเชือ
่ นรูปได ้ดี เชือ ่ ม
การใช ้งานเช่น ตู ้แช่ขนาดใหญ่ ท่อไอเสียส่วนหน ้า หม ้อน้ า หัวเตา ท่อไอเสีย

SUS430

ขยายตัวเนือ ่ งใช ้ในบ ้าน เครือ


่ งจากความร ้อนน ้อย ดัดแปลงง่าย ทนความร ้อน หัวเตาเผา เครือ ่ งครัว อ่างล ้างจาน

SUS436L

ด ้วยการเพิม
่ Mo Ti Nb ทาให ้ทนการกัดกร่อนได ้ดีเยีย
่ ม ทัง้ การขึน ่ มได ้ดี ระบบท่อไอเสียรถยนต์ หม ้อน้ า
้ รูปและเชือ

SUS444

ด ้วยการเพิม
่ Mo Ti Nb ทาให ้ทนการกัดกร่อนได ้ดีเยีย
่ ม ทัง้ การขึน ่ มได ้ดี ทนการกัดกร่อนจากความเค ้นได ้ดีกว่าเกรด 316
้ รูปและเชือ
ระบบท่อไอเสีย ระบบจ่ายน้ า ถังน้ า

SUS420J2

ความแข็งแรงสูงหลังชุปแข็ง เครือ
่ งจักร เข็มฉีด วาร์ว

สแตนเลสสาเร็จรูป
สแตนเลสเส ้น (Stainless Bar)

สแตนเลสเส ้นกลม (Stainless Round Bar)

สแตนเลสเส ้นสีเ่ หลีย


่ ม (Stainless Square Bar)

สแตนเลสเส ้นหกเหลีย
่ ม (Stainless Hexagon Bar)

สแตนเลสเส ้นฉาก (Stainless Angle)

เส ้นแบน (Stainless Flat Bar)

แผ่น (Stainless Sheet) No. 304, 316L, 430

สแตนเลสแผ่นเรียบ (Stainless steal sheet)

สแตนเลสแผ่นลายกันลืน
่ Checker plate stainless steel

สแตนเลสแผ่นเจาะรู

แป๊ ปสแตนเลส (Stainless Pipe) No. 304, 316L, 420

แป๊ ปสแตนเลสเงา (Stainless steal solid pipe)

แป๊ ปสแตนเลสด ้าน (Stainless steel pipe ASTM)

แป๊ ปสแตนเลสด ้านมีตะเข็บ

แป๊ ปสแตนเลสด ้านไม่มต


ี ะเข็บ (Seamless stainless pipe)

แป๊ ปสแตนเลสกลม (Round stainless pipe)

แป๊ ปสแตนเลสสีเ่ หลีย


่ ม (Square stainless steal pipe)

You might also like