Download as docx, pdf, or txt
Download as docx, pdf, or txt
You are on page 1of 14

คุณสมบัตข

ิ องเหล็กเกรดต่างๆ
เหล็ก SS400 คุณสมบัติ เหล็กแผ่นรีดร้อน สาหรับงานโครงสร้างทัว่ ๆ ไป

เหล็ก SKD11 คุณสมบัติ ทาลูกรีดเกลียว ลูกรีดแป๊ ป ใบมีดตัดเหล็กแม่พม


ิ พ์ป้ม ้ รูป แม่พม
ั ขึน ิ พ์กรรไกร
แม่พมิ พ์กระดาษ ทนแรงตึงสูง
เหล็ก SKS3 คุณสมบัติ เหล็กทาแม่พม
ิ พ์งานเย็น พิมพ์ตดั โลหะแผ่นบางและกระดาษ
มีความสามารถในการชุบแข็งสูง ทนแรงเสียดสีได้ดี
เหล็ก SKD61 คุณสมบัติ เหล็กสาหรับทาแม่พม ิ พ์งานร้อน
มีความแข็งแรงทีอ่ ณ
ุ หภูมปิ กติและอุณหภูมสิ งู ๆทนการสึกหรอดีมาก ทนแรงกระแทกสูง
รักษาความแข็งแรงทีส่ งู ได้ดี ใช้ทาแม่พม ้ รูปโลหะได้ดี
ิ พ์อดั ขึน

เหล็ก P20 คุณสมบัตเิ หล็กแม่พม ้ เงาได้ดีมาก ทางานง่าย ทนแรงดัน


ิ พ์พลาสติกคุณภาพสูง ขัดผิวขึน
เหล็ก S45C คุณสมบัติ เหล็กคาร์บอนปานกลางเหมาะสาหรับงานพืน ้ ฐานทั่วไป โครงสร้างแม่พม
ิ พ์
และแม่พม ิ พ์ฉีดพลาสติก ชุบแข็งได้งา่ ย ทนการเสียดสีได้ดี มีความแข็งแรงสูง
เหมาะสาหรับทาชิน ้ ส่วนพื้นฐาน หรือโครงสร้างของแม่พม ิ พ์และงานทั่วๆ ไป
เหล็ก S50C คุณสมบัติ เหล็กคาร์บอนปานกลางเหมาะสาหรับงานพืน ้ ฐานทั่วไป โครงสร้างแม่พม
ิ พ์
และแม่พม ิ พ์ฉีดพลาสติก ชุบแข็งได้งา่ ย ทนการเสียดสีได้ดี มีความแข็งแรงสูง
เหมาะสาหรับทาชิน ้ ส่วนพื้นฐาน หรือโครงสร้างของแม่พม ิ พ์และงานทั่วๆ ไป
เหล็ก SCM440 คุณสมบัติ เหล็กเครือ
่ งมือมีคาร์บอนปานกลาง มีความเหนียว ทนแรงตึงสูง
เหมาะสาหรับทาเครือ่ งมือ น๊อต สกรู เพลา ก้านสูบและชิน
้ ส่วนรถยนต์
เหล็ก SCM415 คุณสมบัติ ทนแรงดึงสูง มีความเหนียว เหล็กเครือ
่ งมือ เหมาะทีจ่ ะเฟื องรอบจัด
และงานทีต่ อ
้ งการผิวทีแ
่ ข็งเฉพาะผิว

เหล็ก SCM439,SNCM439 คุณสมบัติ เหล็กเครือ


่ งมือทนแรงดึงสูง เหมาะสาหรับทาเพลาข้อเหวีย่ ง
เฟื องแกนพวงมาลัย เพลากลางรถยนต์ และชิน ้ ส่วนเครือ
่ งจักรทีม
่ ค
ี วามเครี ยดสูง
เหล็ก SK5 คุณสมบัติ เหล็กคาร์บอนสูง ชุบแข็งได้งา่ ย ทนทานการเสียดสีได้ดี มีความแข็งแรงสูง
มีคณ
ุ สมบัตเิ ป็ นสปริงสูง
เหล็ก SUP9 คุณสมบัติ ใช้สาหรับสปริงขึน ้ รูปงานร้อน (Hot Format Spring) เช่นเหล็กแผ่นสปริง
(Laminated Springs) เหล็กคอยล์ปริง และเหล็กแหนบสปริงทีใ่ ช้ในรถยนต์

เหล็ก EH400 คุณสมบัตเิ ป็ นเหล็กทนสึก

คุณสมบัตข
ิ องอลูมเิ นียมอัลลอย
อลูมเิ นียม 5083 (รีดแข็ง , H112) อลูมเิ นียมกลุม ่ ผสมแมกนีเซียม สามารถชุบอะโนไดช์สไี ด้ดีมาก
ให้ผวิ สวยงามเมือ่ ตัดกลึง สามารถใช้งานทีอ่ ณ ุ หภูมติ ดิ ลบได้ดี นิยมใช้ทาแม่พมิ พ์เป่ าพลาสติก
แม่พม ิ พ์ขนึ้ รูปยางและโฟม อุปกรณ์ จบั ยึดชิน ้ งาน ถังทนแรงดันสูง ตูค ้ อนเทนเนอร์
ชิน
้ ส่วนยานพาหนะและอาคาร สามารถชุบอะโนไดช์สไี ด้ดีมาก ให้ผวิ สวยงามเมือ่ ตัดกลึง
สามารถใช้งานทีอ่ ณ ุ หภูมต
ิ ด
ิ ลบได้ดี นิยมใช้ทาแม่พม ิ พ์เป่ าพลาสติก แม่พม
ิ พ์ขนึ้ รูปยางและโฟม
อุปกรณ์ จบั ยึดชิน ้ งาน ถังทนแรงดันสูง ตูค ้ อนเทนเนอร์ ชิน ้ ส่วนยานพาหนะและอาคาร
อลูมเิ นียม 6061 (บ่มแข็ง , T651) อลูมเิ นียมกลุม่ ผสมแมกนีเซียมและซิลก ิ อน ทีส่ ามารถบ่มแข็งได้
จึงมีความแข็งสูง และทนต่อการกัดกร่อนได้ดีเยีย่ ม สามารถขัดเงาได้ดแ ี ละชุบอะโนไดซ์สไี ด้ผวิ สวยงาม
นิยมใช้ทาแม่พม ิ พ์เป่ าพลาสติก แม่พม ิ พ์ฉีดโฟมและยาง โครงสร้างยานพาหนะและอาคาร
หมุดยา้ ราวสะพาน (จะมีกรรมวิธีในการทาทีย่ งุ่ ยากกว่า ซับซ้อน สิน ้ เปลืองแรงงาน และเวลา
กว่าจะได้เป็ นชิน
้ งาน แต่ก็มค ี วามคุม้ ค่า เพราะว่าเป็ นอลูมเิ นียมทีไ่ ม่กระด้าง
โดยสูญเสียความแข็งแรงไปไม่มาก)
อลูมเิ นียม 7022 (บ่มแข็ง , T651) อลูมเิ นียมกลุม
่ ผสมสังกะสีทม ี่ ค
ี วามแข็งแรงสูงมาก ตัดกลึงง่าย
สามารถชุบอะโนไดซ์แข็งได้ดี นิยมใช้ทาแม่พม ิ พ์เป่ าขวดพลาสติก แม่พม ิ พ์ฉีดพลาสติกจานวนน้อย
อุปกรณ์ ชน ิ้ ส่วนเครือ
่ งจักรกลแผ่นนาความร้อน อลูมเิ นียม 7022

อลูมเิ นียม 7075 (บ่มแข็ง , T651) อลูมเิ นียมกลุม


่ ผสมสังกะสีทม ี่ ค
ี วามแข็งแรงสูงทีส่ ด
ุ ในกลุม
่ ตัดกลึงง่าย
สามารถชุบอะโนไดซ์แข็งได้ดีเยีย่ ม นิยมใช้ทาแม่พม ิ พ์เป่ าขวดพลาสติก แม่พม ิ พ์ฉีดพลาสติก
อุปกรณ์ ชน ิ้ ส่วนเครือ
่ งจักรกล โต๊ะเครือ ่ งมือ แผ่นรองสแตมปิ้ ง อลู มเิ นียม 7075

อลูมเิ นียม 2024 (บ่มแข็ง , T451) อลูมเิ นียมกลุม


่ ผสมทองแดงจึงมีความแข็งแรงสูง และทนต่อการล้าได้ดี
นิยมใช้ทาแม่พม ิ พ์เป่ าพลาสติกหรือแม่พม ิ พ์ขนึ้ รูปพลาสติกในสูญญากาศ แม่พม
ิ พ์รองเท้า
ชิน
้ ส่วนเครือ่ งจักรกล โครงสร้างเครือ ่ งบินอุปกรณ์ จบั ยึดต่างๆ
อลูมเิ นียม 5052 (รีดแข็ง , H112) อลูมเิ นียมกลุม
่ ผสมแมกนีเซียม สามารถชุบอะโนไดช์สไี ด้ดีมาก
ให้ผวิ สวยงามเมือ่ ตัดกลึง สามารถใช้งานทีอ่ ณ ุ หภูมต
ิ ด
ิ ลบได้ดี นิยมใช้ทาอุปกรณ์ จบั ยึดชิน
้ งาน
แม่พม ิ พ์ตวั อย่างภาชนะ หรือเครือ่ งใช้ในอุตสาหกรรมเคมีและอาหาร ท่อไฮดรอลิก
หมุดยา้ ชิน้ ส่วนในยานพาหนะและอาคาร

สแตนเลสแต่ละเกรดมีคณ ิ งั นี้ (อีกนิยามหนึ่ง)


ุ สมบัตด
สแตนเลส 304
้ รูปเย็น และเชือ
- ใช้งานทั่วไปไม่เป็ นสนิม ทนต่อการกัดกร่อนสูง สามารถขึน ่ มได้ดี
สแตนเลส 304L
- ใช้งานเชือ
่ มทีด
่ ีกว่า ไม่เป็ นสนิม เหมาะสาหรับงานแท้งค์ตา่ งๆ

สแตนเลส 316
- ใช้กบ
ั งานทนกรด ทนเคมี หรือเป็ นเกรดทีป
่ ฏิกริ ยิ ากับกรดน้อย
สแตนเลส 316L
- ใช้กบ
ั งานทนกรดทีเ่ ข้มข้นมากกว่า ทนเคมีมากกว่า หรือเป็ นเกรดทีป
่ ฏิกริ ยิ ากับกรดน้อยมาก
(มีความทนกรดมากกว่า)
สแตนเลส 420/4202J2(มาตรฐานอเมริกา) 420J2 (มาตรฐานญีป่ น)
ุ่
้ ประมาณ 58 HRC)
- เป็ นสแตนเลสเกรดชุบแข็ง สามารถนาไปชุบแข็งได้ (ชุบแล้วความแข็งขึน

สแตนเลส 431
- เป็ นสแตนเลสทีเ่ คลือบแข็งทีผ
่ วิ มา สามารถนาไปชุบแข็งได้เช่นกัน
้ ประมาณ 50-55 HRC) แต่น้อยกว่าเกรด 420
(ชุบแล้วความแข็งขึน
สแตนเลส 301
-ใช้เกีย
่ วกับงานสปริง คอนแทค สายพานลาเลียง

สแตนเลส 310 / 310S


-ใช้กบ
ั งานทนความร้อนสุง 1,150 องศา งานเตาอบ เตาหลอม ฉนวนกัน
้ ความร้อน

สแตนเลส 309/309S
-ใช้เกีย
่ วกับงานทนความร้อนเช่นกัน 900 องศา (น้อยกว่า 310/310S )

สแตนเลส 409/409S
-ใช้กบ
ั งานอุปกรณ์ ทอ่ ไอเสีย ชิน
้ ส่วนผนังท่อเป่ าลมร้อนต่าง ๆ
Duplex Plate 2205/2207
-ใช้งานขุดเจาะแก๊สและน้ามัน อุตสาหกรรมเคมี ปิ โตรเคมี อุตสาหกรรมกระดาษและเยือ

สแตนเลส 440C
-ใช้งานชุบแ็็ ข็งทามีดประเภทต่าง งานแม่พม
ิ พ์ตดั ทีต
่ อ
้ งการความคมแข็งแรง

สแตนเลส 630 /17-4 PH


-ใช้งานสเปคสูงทนสึกแข็งแกร่ง เหนียว ทนทาน เป็ นเกรดทีผ ้ เป็ นพิเศษ งานอะไหล่เครือ่ งบิน
่ ลิตขึน

ทองเหลืองเส้น,ทองเหลืองเส้นกลม,ทองเหลืองเส้นสีเ่ หลีย่ ม,ทองเหลืองเส้นแบน,ทองหลืองแท่ง,ทองเหลือ
งแท่งกลม,ทองเหลืองแผ่น,เพลาทองเหลือง,ทองเหลืองลายเสือ,บูช ๊ ทองเหลือง,ทองเหลืองตัดแบ่งขายตาม
ขนาด,จาหน่ ายทองเหลือง,ขายทองเหลือง,ทองเหลืองกลม,แผ่นทองเหลือง, Brass,Bronze

ทองแดงเส้น,ทองแดงเส้นกลม,ทองแดงเส้นสีเ่ หลีย่ ม,ทองแดงเส้นแบน,ทองแดงเพลากลม,เพลากลมทอง
แดง,ทองแดงแผ่น,ทองแดงกลม,ทองแดงแดง,ทองแดง,จาหน่ ายทองแดง,ขายทองแดง,ทองแดงตัดแบ่งข
ายตามขนาด,ทองแดง เกรด C1100

อลูมเิ นียมเส้น,อลูมเิ นียมแผ่น,อลูมเิ นียมแท่ง,อลูมเิ นียมเส้นสีเ่ หลีย่ ม,อลูมเิ นียมเส้มกลม,เพลาอลูมเิ นียม,อ
ลูมเิ นียมเพลากลม,อลูมเิ นียมเส้นแบน,อลูมเิ นียมกลม,อลูมเิ นียมแผ่นเรียบ,แผ่นอลูมเิ นียม,ตัดแบ่งขายตา
มขนาด,

อลูมเิ นียม เกรด 5083,6061,7075,6063,5052,1100,1050,1200,3003,3105,5005,5251,8006 T5,T6,T651



สแตนเลสเส้น,สแตนเลสเส้นกลม,สแตนเลสเส้นสีเ่ หลีย่ ม,สแตนเลสแผ่น,เพลากลมสแตนเลส,สแตนเลสเส้
นแบน,สแตนเลสแผ่นเรียบ,แผ่นสแตนเลส,ตัดแบ่งขายตามขนาด,สแตนเลสแท่ง,สแตนเลสแท่งกลม,สแ
ตนเลสกลม, สแตนเลส เกรด 304,304l,316,316l,420,420j2,310,310S,431,440c,416,430,410,630,17-
4PH,2205,2207,309L
กรรมวิธก
ี ารผลิตเหล็กกล้า(การผลิตเหล็กดิบ สินแร่เหล็ก )
ยุคแห่งการผลิตเหล็กกล้าเริม ้ อย่างจริงจังเมือ่ ต้นศตวรรษที่ 19 โดยชาวอังกฤษชือ
่ ขึน ่ เฮนรี่
เบสเซเมอร์(Henry Bessemer)
ได้คน้ พบวิธีการถลุงเหล็กกล้าโดยอาศัยการเป่ าอากาศเข้าไปในเตาทาให้เกิดปฏิกริ ยิ าการรวมตัวกับออก
ซิเจนกับสารเจือปน(impurity) สามารถผลิตและหลอมเหล็กได้เหล็กกล้าในเวลารวดเร็ว
ประหยัดจึงทาให้อ ังกฤษการเป็ นประเทศชัน ้ นาในการผลิตเหล็กและเป็ นผูน ้ าในการผลิตเหล็กชนิดต่างๆ
โดยเฉพาะกรรมวิธีการผลิตเหล็กแบบเบสเซเมอร์
การผลิตดังกล่าวนี้เป็ นการเริม
่ ต้นและเพือ่ นาแนวทางสูก ่ ารผลิตด้วยวิธีใหม่ๆให้รวดเร็วและทันสมัยได้ถู
กวิวฒ
ั นาการมาเรือ ่ ยๆจนในปัจจุบ ันได้ใช้ออกซิเจนบริสท ์ ทนอากาศธรรมดา
ุ ธิแ

เตาถลุงเหล็กทีใ่ ช้ในปัจจุบ ันทีน


่ ิยมใช้ 7 แบบ คือ

1. เตาสูง ( blast furnace)

2. เตาเบสเซเมอร์ (Bessemer furnace)

3. เตากระทะ (open hearth furnace)

4. เตาแอลดี (L.D. process)

5. เตาคาลโด (kaldo process)

6. เตาไฟฟ้ า (electric arc furnace)

7. เตาความถีส
่ งู (high frequency furnace)

การผลิตเหล็กดิบ สินแร่เหล็ก
บริเวณพืน ้ โลกของเรามีสน ิ แร่อยูเ่ ป็ นจานวนมากมายและอยูใ่ นลักษณะสารผสม เช่น ดิน หิน
ทราย และสินแร่เหล็กผสมกันอยู่ สินแร่เหล็กทีอ่ ยูใ่ นรูปโดดเดีย่ วนัน ้ ไม่มเี ลย
เพราะแะนัน ้ การทีจ่ ะได้แร่เหล็กบริสทุ ธิน ์ น้ ั ต้องมีขน
้ ั ตอนในการผลิตแล้วนามาผสมกับเนื้อเหล็กผสมอีก
ครัง้ หนึ่งเพือ
่ ปรับปรุงคุณภาพของเหล็กทีจ่ ะนามาใช้งานได้ดยี งิ่ ขึน ้ ทาให้เหล็กทีไ่ ด้สามารถทนแรงเค้น
แรงดึง แรงกด และแรงเฉื อนได้ดี ตลอดจนมีความแข็งเพิม ้
่ ขึน

วัตถุดบ
ิ ทีใ่ ช้ในการถลุงเหล็กเพือ
่ ให้ได้เหล็กดิบ ประกอบด้วย
1. ถ่านโค้ก (coke) เป็ นเช้อเพลิงสาคัญทีใ
่ ห้ความร้อนต่อการถลุงในเตาถลุง
ซึง่ เป็ นสารสังเคราะห์ได้จากกระบวนการโดยการนาถ่านหินมาบรรจุในกล่องเหล็กเพือ ่ ไม่ให้อากาศเข้าไ
ด้แล้วนามาให้ความร้อนจนถ่านภายในร้อนแดง
สารไฮโดรคาร์บอนท่อยูภ ่ ายในถ่านหินก็จะระเหยกลายเป็ นก๊าซ
หลังจากนัน ้ เทถ่านหินทีร่ อ้ นแดงลงในน้าก็จะได้ถา่ นโค้กซึง่ มีลกั ษณะเป็ นรูพรุนและให้คา่ ความร้อนสูง
ก๊าซทีไ่ ด้จากการเผาถ่านก็นามาใช้ประโยชน์ ทางด้านอุตสาหกรรมเคมีได้ เช่น ทายา ทาสียอ ้ มผ้า
เป็ นต้น สาหรับถ่านโค้กทีเ่ หมาะสาหรับในการถลุงควรมีกามะถันน้อยทีส่ ด

เพราะเมือ่ กามะถันเข้าไปรวมตัวกับเหล็กดิบจะทาให้มคี วามเปราะ
2. หินปูน (limestone)
หรือแคลเซียมคาร์บอเนต(CaCo3)ทาหน้าทีแ ่ ยกธาตุสารเจือปนในสินแร่เหล็กออกมาเป็ นขี้ตระกรัน(slag)

จะลอยตัวอยูเ่ หนือผิวน้าเหล็กดิบ และเป็ นตัวเร่งปฏิกริ ยิ าลดออกซิเจนในเตาถลุงให้สมบูรณ์ ยงิ่ ขึน
3. สินแร่ (ores)ได้มาจากเหมืองแร่แหล่งต่างๆ
ก่อนทาการถลุงควรจะขจัดหรือแยกสารเจือปนออกเสียก่อนเพือ
่ จะทาให้ได้สน
ิ แร่เหล็กทีม
่ ค
ี ณ
ุ ภาพดี
เราสามารถแบ่งสินแร่เหล็กออกได้เป็ น คือ
4. แมกนีไทต์ (magnetite) เป็ นแร่แม่เหล็กมีสต
ู รว่า (Fe3O4) หรือบางครัง้ เรียกว่าเหล็กออกไซต์
มีลกั ษณะเป็ นก้อนสีน้าตาลเข้มถึงสีดา ถ้านาไปเข้าเครือ ่ งบดบดให้ละเอียดจะมีเนื้อสีดา มันวาว
มีคณ ุ สมบัตเิ ป็ นแม่เหล็กเลยเรียกว่าแร่แม่เหล็ก มีเนื้อเหล็กอยูม ่ ากถึง 75%
มีแมกนีเซียมและแมงกานีสปะปนอยูบ ่ า้ ง พบมากทีส่ ด
ุ ในประเทศสวีเดน
ต่อมาสวีเดนจึงได้ชือ ่ ว่ามีแร่เหล็กทีค
่ ณ
ุ ภาพมากทีส่ ดุ
5. เรดฮีมาไทต์(red hematite)มีสต
ู รคือ Fe2O3
หรือเรียกว่าเหล็กออกไซต์
มีลกั ษณะเป็ นสีแดงหรือน้าตาลเข้ม เมือ่ บดจะมีสแ
ี ดงมันวาว มีเนื้อเหล็กประมาณ 70 %
มีไทเทเนียมผสมบ้างเล็กน้อย พบมากในประเทศสวิตเซอร์แลนด์ อังกฤษ
ในทะเลสาบสุพีเรียของอเมริกา
6. บราวน์ ฮีมาไทต์(brows hematite) มีสต
ู รคือ Fe2O3 + n(H2O) หรือเรียกว่าลิโมไนต์
มีลกั ษณะเป็ นสีน้าตาลหรือสีเหลืองเข้ม มีสน
ิ แร่ประมาณ 50-67 % พบมากในประเทศเยอรมัน
สหรัฐอเมริกา
7. ซิเดอไรต์ (siderite) มีสต
ู รคือ FeCO3
หรือเรียกว่าเหล็กคาร์บอเนต
มีลกั ษณะเป็ นก้อนสีน้าตาลเข้ม มีสน
ิ เหล็กค่อนข้างน้อยประมาณ 48-60 %
และมีคาร์บอเนตผสมอยูป ่ ระมาณ 38% พบมากในประเทศอังกฤษ สหรัฐอเมริกา
8.เหล็กไพไรต์ (iron pyrite) มีสต ู รว่า FeS2
มีกามะถันปนอยูม ่ ากทาให้เหล็กมีคณ ุ สมบัตเิ ปราะและมีสน ิ แร่อยูน
่ ้อยมาก ประมาณ 46% กามะถัน 53%
และยังมีโคบอลต์และนิกเกิลผสมอยูบ ่ า้ งเล็กน้อย พบมากในประเทศสเปน สหรัฐอเมริกาและไทย

กรรมวิธผ
ี ลิตเหล็กกล้า (Steel Production)

เหล้กกล้า (Steels) คือเหล็กทีม ่ สี ว่ นผสมของเหล็ก คาร์บอน ไม่เกิน 2 % และธาตุอน ื่ ๆ หรือสารเจือ


โดยทัว่ ไปเหล็กบริสท ุ ธิม์ ค ี ณ ุ สมบัตท ิ างกลทีไ่ ม่เหมาะสมสาหรับงานทางด้านวิศวกรรม ดังนัน ้
เหล็กกล้าจึงมีความแตกต่างจากเหล็กอ่อน เหล็กบริสท ์ ละเหล็กหล่อ ตรงทีส่ ามารถทนต่อแรงดึง
ุ ธิแ
แรงบิด การขึน ้ รูปหรือแปรรุปง่าย ไม่เปราะหรือแตกหักง่ายและเชือ ่ มได้
เหล็กกล้ามีจุดหลอมเหลวสูงกว่าเหล็กดิบ เพราะมีปริมาณคาร์บอนต่าการผลิตเหล็กกล้า
เป็ นกระบวนการทีต ่ อ้ งการทาให้เหล็กดิบสีขาวทีไ่ ด้จากการถลุงของเตาเป่ าลม
มาทาให้มค ี วามบริสท ุ ธิข์ นึ้
โดยพยายามลดสารมลทินต่างๆให้เหลือน้อยลงหรือหมดไปพร้อมกับปริมาณของธาตุคาร์บอนและธาตุอื่
นๆ ถูกลดจานวนลง ธาตุตา่ งๆทีผ ่ สมอยูใ่ นเหล็กจะต้องมีปริมาณเหมาะสม เช่น ซิลก ิ อน คาร์บอน
แมงกานีส ฟอสฟแรัส และกามะถัน ละในบางครัง้ ก็จาเป็ นจะต้องเติมธาตุอน ื่ ๆ
เข้าไปเพือ
่ เพิม
่ คุณสมบัตท
ิ ต
ี่ อ
้ งการ เช้าน นิกเกิล โครเมีย่ ม โมลิบดิน่ ม
ั ทองแดง วาเนเดียมไทเทเนียม
เป็ นต้น

เหล็กกล้ามีสว่ นประกอบสาคัญดังนี้
1.ธาตุเหล็กเป็ นส่วนของเปอร์เซนต์ โดยน้าหนักทีม ่ ากทีส่ ด

2.ธาตุคาร์บอน มีคณ ุ สมบัตท
ิ างกลทีเ่ ด่นอยู่ 2 ส่วนคือ

การเพิม
2.1 ่ คุณสมบัตดิ า้ นความแข็ง (Hardness) ความต้านทานแรงดึง (Tensile strength)
การทนต่อการเสียดสี (Wear resistance) ความสามารถในการชุบแข็ง (Hardening)

2.2การลดคุณสมบัตด ิ า้ นความเหนียว(Ductility) ความยืดตัว (Elongation) ความสามารถในการตัดเฉื อน


(Machinability) ความสามารถในการเชือ ่ ม (Welding ability)

3.ธาตุเจือหรือสารเจือทีต
่ ด
ิ มากับเหล็กสารทีม
่ อ
ี ยูแ
่ ล้วและเป็ นทีต
่ อ
้ งการคือ แมงกานีส ซิลค
ิ อน
และอลูมเิ นียม ส่วนสารทีไ่ มต้องการคือ ฟอสฟอรัส กามะถัน ออกซิเจน ไนโตรเจน และไฮโดรเจน
4.สารเติมหรือธาตุประสม
ทีผ
่ สมลงไปเพือ ่ คุณสมบัตจิ าเพาะซึง่ จะต้องมีปริมาณทีพ
่ เพิม ่ อเหมาะเหล็กกล้าแบ่งออกเป็ น 2 ประเภท
คือ เหล็กกล้าคาร์บอนและเหล็กกล้าประสม
1.เหล็กกล้าคาร์บอน (Carbon steels) หมายถึง
เหล็กกล้าทีม
่ ส
ี ว่ นผสมของธาตุคาร์บอนเป็ นธาตุหลักทีม ่ อ
ี ท
ิ ธิพลอย่างมากต่อคุณสมบัตท
ิ างกลของเหล็ก
และยังมีธาตุอน ี ซึง่ แบ่งเหล็กกล้าคาร์บอนออกเป็ น 3 ประเภท ดังนี้
ื่ ผสมอยูอ่ ก

1.1 เหล็กกล้าคาร์บอนต่า เป็ นเหล็กทีม


่ ป
ี ริมาณคาร์บอนไม่เกิน 0.25%
นอกจากคาร์บอนแล้วยังมีธาตุอน ื่ ผสมอยูด่ ว้ ย เช่น แมงกานีส ซิลค ิ อน ฟอสฟอรัส และกามะถัน
แต่มป
ี ริมาณน้อยเนื่องจากหลงเหลือมาจากกระบวนการผลิต เหล็กประเภทนี้ถูกนาไปใช้ในอุตสาหกรรม
และในชีวต ิ ประจาวันไม่ต่ากว่า 90% เนื่องจากขึน ้ รูปง่าย เชือ
่ มง่าย และราคาไม่แพง
โดยเฉพาะเหล็กแผ่นมีการนามาใช้งานอย่างกว้างขวาง เช่น ตัวถังรถยนต์ ชิน ้ ส่วนยานยนต์ตา่ งๆ
กระป๋ องบรรจุอาหาร สังกะสีมงุ หลังคา เครือ ่ งใช้ในครัวเรือน และในสานักงาน

1.2 เหล็กกล้าคาร์บอนปานกลาง เป็ นเหล็กทีม


่ ป
ี ริมาณคาร์บอน 0.2-0.5% มี

ความแข็งแรงและความเค้นแรงดึงมากกว่าเหล็กกล้าคาร์บอนต่า แต่จะมีความเหนียวน้อยกว่า
สามารถนาไปชุบแข็งได้ เหมาะกับงานทาชิน
้ ส่วนเครือ
่ งจักรกล รางรถไฟ เฟื อง ก้านสูบ ท่อเหล็ก
ไขควง เป็ นต้น
1.3 เหล็กกล้าคาร์บอนสูง เป็ นเหล็กทีม
่ ป
ี ริมาณคาร์บอน 0.5 - 1.5% มีความ

แข็งความแข็งแรงและความเค้นแรงดึงสูง เมือ่ ชุบแข็งแล้วจะเปราะ


เหมาะสาหรับงานทีท
่ นต่อการสึกหรอ ใช้ในการทาเครือ ่ งมือ สปริงแหนบ ลูกปื น เป็ นต้น
2.เหล็กกล้าประสม (Alloy steels) หมายถึงเหล็กทีม
่ ธี าตุอน
ื่ นอกจากคาร์บอน ผสมอยูใ่ นเหล็ก
ธาตุบางชนิดทีผ่ สม อยูอ
่ าจมีปริมาณมากกว่าคาร์บอน คิดเป็ นเปอร์เซนต์ โดยน้าหนักในเหล็กก็ได้
ธาตทีผ ่ สมลงไปได้แก่ โมลิบดิน่ ม
ั แมงกานีส ซิลคิ อน โครเมียม อลูมเิ นียม นิกเกิล และวาเนเดียม
เป็ นต้น
จุดประสงค์ทต
ี่ อ
้ งเพิม
่ ธาตุตา่ งๆเข้าไปในเนื้อเหล็กก็เพือ
่ การทาให้คณ
ุ สมบัตข
ิ องเหล็กเปลีย่ นไปนั่นเองที่
สาคัญก็คอ

1. เพิม
่ ความแข็ง

2. เพิม
่ ความแข็งแรงทีอ่ ณ
ุ หภูมป
ิ กติและอุณหภูมสิ งู

3. เพิม
่ คุณสมบัติทางฟิ สิกส์

4. เพิม
่ ความต้านทานการสึกหรอ

5. เพิม
่ ความต้านทานการกัดกร่อน

6. เพิม
่ คุณสมบัติทางแม่เหล็ก

7. เพิม
่ ความเหนียวแน่ นทนต่อแรงกระแทก

เหล็กกล้าประสม แบ่งออกเป็ น 2 ประเภท ดังนี้

2.1 เหล็กกล้าประสมตา่ ( Low Alloy Steels ) เป็ นเหล็กกล้าทีม


่ ธี าตุ
ประสมรวมกันน้อยกว่า 8% ธาตุทผ ี่ สมอยูค
่ อ
ื โครเมีย่ ม นิกเกิล โมลิบดิน่มั และแมงกานีส
ปริมาณของธาตุทใี่ ช้ผสมแต่ละตัวจะไม่มากประมาณ 1 – 2%
ผลจากการผสมทาให้เหล็กสามารถชุบแข็งได้ มีความแข็งแรงสูง
เหมาะสาหรับใช้ในการทาชิน ้ ส่วนเครือ่ งจักรกล เช่น เฟื อง เพลาข้อเหวีย่ ง
จนบางครัง้ มีชือ
่ ว่าเหล็กกล้าเครือ
่ งจักรกล (Machine Steels)
เหล็กกล้ากลุม
่ นี้จะต้องใช้งานในสภาพชุบแข็งและอบก่อนเสมอจึงจะมีคา่ ความแข็งแรงสูง

2.2 เหล็กกล้าประสมสูง ( High alloy steels) เหล็กกล้าประเภทนี้จะถูก

ปรับปรุงคุณสมบัติ สาหรับการใช้งานเฉพาะอย่าง ซึง่ ก็จะมีธาตุประสมรวมกันมากกว่า 8% เช่น


เหล็กกล้าทนความร้อน เหล็กกล้าทนการเสียดสี
และเหล็กกล้าทนการกัดกร่อนในทีน ่ ี้จะศึกษาเหล็กกล้าไร้สนิมและเหล็กกล้าทาเครือ
่ งมือ

2.2.1 เหล็กกล้าสแตนเลส (Stainless Steels)หรือเรียกว่าเหล็กกล้าไร้สนิม

ส่วนมากผลิตมาจากเตาไฟฟ้ าเหล็กกล้ากลุม ่ นี้ทนต่อการผุกร่อน หรือต้านการเป็ นสนิ มได้ดี


ธาตุทม ี่ บ
ี ทบาทมากได้แก่ โครเมีย่ ม ทีผ ่ สมเข้าไปในเนื้อเหล็ก
ซึง่ จะทาให้เกิดเป็ นฟิ ลม์บางๆขึน ้ ทีผ
่ วิ ของเหล็กฟิ ลม์นี้จะมีความแข็งแรงสูง โปร่งใส
ยึดตัวกับผิวเหล็กได้ดี มีความหนาแน่ นสูงและไม่มรี ูพรุน
นอกจากนี้ยงั มีความสามารถในการซ่อมตัวเอง(เกิดขึน ้ ใหม่เองได้
เพือ ่ ทดแทนส่นของฟิ ลม์เก่าทีถ ่ ูกทาลายไปได้อย่างรวดเร็วการทีจ่ ะเกิดฟิ ลม์ในลักษณะดังกล่าวได้
จะต้องมีโครเมีย่ มผสมอยูไ่ ม่น้อยกว่า 10 %(ส่วนใหญ่มอ ี ยูป
่ ระมาณ 12% ) นอกจากโครเมีย่ มแล้ว
เหล็กกล้าไร้สนิมยังมีธาตุอน ื่ ผสมอยูอ ่ ก
ี เช่น โมลิบดินม ั นิกเกิล และแมงกานี ส เป็ นต้น เหล็กกล้าไร้สนิม
ถ้าโครงสร้างเปลีย่ นไปอันเนื่องจากอุณหภูมบ ิ รรยากาศการใช้งาน หรือลักษณะของแรงทีม ่ ากระทา
ฟิ ลม์จะไม่มป ี ระสิทธิภาพในการป้ องกันสนิม อันเกิดจากบรรยากาศภายนอกได้
เหล็กกล้าไร้สนิมก็จะเป็ นสนิมได้ท ันที
้ อยูก
เหล็กกล้าไร้สนิม มีมากมายหลายชนิด ขึน ่ บั ส่วนผสมทางเคมี และโครงสร้างทางโลหะวิทยา
โดยทัว่ ไปแบ่งออกได้เป็ น 3 กลุม

ก.กลุม ่ ออสเตนนิตก ิ (Austenitic) หรือเหล็กกล้าออสเตนนิตก ิ มีสว่ นผสมของคาร์บอน 0.15 %


โครเมีย่ ม 18% นับเป็ นกลุม ่ ทีม
่ ห
ี ลายเกรดมากทีส่ ดุ ถูกนามาใช้งานอย่างกว้างขวาง
เหล็กกลุม่ นี้มโี ครงสร้างหลักเป็ นออสเตนไนท์ (มีนิเกิลและแมงกานีสเป็ นส่วนผสมหลัก)
ไม่เป็ นสารแม่เหล็ก ไม่สามารถทาการชุบแข็ง เพือ ่ ปรับปรุงคุณภาพของเหล็กกล้าด้วยความร้อนได้
นิยมใช้ทา เครือ ่ งครัว มีด แท็งค์น้า เป็ นต้น เหล็กกล้าประเภทนี้มก
ี ารแบ่งออกเป็ นกลุม
่ ย่อย เช่น
ประเภทคาร์บอนต่ากว่าหรือเท่ากับ 0.08% ตามมาตรฐานอเมริกา (AISI) คือ เกรด 304 เกรด 316 เป็ นต้น

ข. กลุม่ เฟอร์รต
ิ ก
ิ (Ferritic) กลุม
่ นี้ไม่มน
ี ิกเกิลเป็ นส่วนผสมมีแต่เหล็ก และโครเมีย่ ม มีราคาถูก
ทนต่อการกัดกร่อนได้ดี ไม่สามารถปรับปรุงคุณสมบัตด ิ ว้ ยความร้อนทางการชุบแข็งได้ (Hardening)
เนื่องจากมีอตั ราส่วนของคาร์บอนกับโครเมีย่ มตา่ มีโครงสร้างหลักเป็ นเฟอร์ไรท์
สามารถดูดแม่เหล็กได้ แบ่งออกเป็ น 2 ประเภท คือ ประเภทคาร์บอนต่ามีโครเมีย่ มประมาณ 15 – 18%
และมีคาร์บอนไม่เกิน 0.12% และประเภททนต่อความร้อน มีโครเมีย่ มประมาณ 25 – 30% และคาร์บอน
0.3 %

ค. กลุม
่ มาร์เตนซิตกิ (Martensitic) มีโครงสร้างเหล็กเป็ นมาณเตนไซท์ มีเหล็ก โครเมียม
และคาร์บอนเป็ นส่วนผสม แต่คาร์บอนเป็ นตัวทีท ่ าให้ความต้านทานการผุกร่อนลดลง
จึงเป็ นธาตะทีไ่ ม่พงึ ประสงค์ แต่เหล็กกลุม่ นี้สามารถเพิม่ ความแข็งโดยการชุบแข็งได้
จึงต้องมีคาร์บอนผสมอยู่ แบ่งออกเป็ น 3 ประเภทคือ ประเภททีม ่ ค
ี าร์บอนไม่เกิน 0.15%
โครเมีย่ มระหว่าง 12 – 14 % ประเภททีม ่ ค
ี าร์บอนประมาณ 0.2 – 0.4% โครเมีย่ มระหว่าง 13 – 15%
และประเภททีม ่ ี คาร์บอนระหว่าง 0.6 – 1% โครเมีย่ มระหว่าง 14 – 16%

2.2.2เหล็กกล้าเครือ
่ งมือ (Tool steels)เป็ นเหล็กทีม
่ ส
ี ว่ นผสมของธาตุ
โครเมีย่ ม โมลิบดิน่ ม
ั นิกเกิล วาเนเดียม โคบอลด์และไทเทเนียม เกินกว่า 5% และมีคาร์บอนอยูร่ ะหว่าง
0.8 – 2.2% ธาตุประสมเหล่านี้ สามารถเพิม ่ คุณสมบัตพ ิ เิ ศษให้กบั เหล็กกล้าเครือ
่ งมือ
โดยเฉพาะเหล็กกล้าความเร็วรอบสูง ทีร่ กั ษาคมมีดตัดโลหะได้ดี ถึงแม้ใช้งานทีอ่ ณ ุ หภูมสิ งู
จนผิวของคมตัดร้อนมีสแ ี ดง คุณสมบัตน ิ ี้เรียกว่า ความแข็งขณะร้อน (Hot hardness) เช่น ดอกกัด
(Endmil) มีดกลึง มีดไส เครือ ่ งมือทาเกลียวใน (Tap) และเครือ ่ งมือทาเกลียวนอก (Die)
การแบ่งชนิดของเหล็กกล้าเครือ ่ งมือสามารถแบ่งได้ 3 ประเภท คือ ลักษณะการใช้งานเหล็กเครือ่ งมือ
ปริมาณของธาตุประสม และลักษณะการชุบแข็ง

จากการทีน่ าวัสดุตา่ ง ๆ ผสมเข้าไปในเหล็กกล้า


ทาให้เกิดเหล็กกล้าประสมทีม ่ คี ณ
ุ สมบัตต
ิ ามวัสดุทม
ี่ าผสม
ซึง่ เหล็กกล้าชนิดนี้จะเรียกชือ ่ ตามวัสดุทมี่ าประสม ได้แก่
เหล็กกล้านิเกิล (Nicket Steel)

เหล็กกล้าผสมนิเกิล จะมีคณ ุ สมบัตค


ิ อ
ื มีความต้านทานการล้าตัว ทนต่อความกัดกร่อน
มีความเหนียวเพิม ้ ทนต่อความกระแทกได้ดี
่ ขึน
เหมาะสมกับชิน ้ งานทีต ่ อ้ งการทนต่อการสึกหรอทีเ่ กิดจากการเสียดสีได้ดี ถ้ามีสว่ นผสมนิเกิล 1.5 – 3%
จะตีรูปได้งา่ ย แต่ถา้ มี 5% จะสามารถรับแรงกระแทกได้ดีมาก
เหล็กกล้านิเกิล ทีม
่ น
ี ิเกิลผสมอยู่ 10 – 22%
และมีโครเมียมผสมอยูด ่ ว้ ยจะทาให้เหล็กกล้านิเกิลทนต่อการกัดกร่อนได้ดีมาก

- ผสมนิเกิล 25%-30% ใช้ทาเหล็กกล้าทีต


่ า้ นทานการกัดกร่อน

- ผสมนิเกิล 30%-40% ์ ยายตัวต่า


จะทาให้สมั ประสิทธิข
ใช้ทาเครือ
่ งมือวัดละเอียดจะต้องมีอตั ราการขยายตัวน้อยทีส่ ด
ุ เมือ่ มีการเปลีย่ นแปลงอุณหภูมิ

- ผสมนิเกิล 30% และโคมเมียม 12% มีคณ


ุ สมบัติ คือ มีอตั ราการยืดหดน้อยมาก

- ผสมนิเกิล 50% มีคณ


ุ สมบัตเิ ป็ นแม่เหล็กได้ดีมาก

เหล็กกล้าโครเมียม (Chromium Steel)

โครเมียม เป็ นโลหะชนิดหนึ่งทีน ่ ิยมนามาผสมลงในเหล็กกล้ากันอย่างกว้างขวาง


จะรวมตัวกับคาร์บอน ได้โครเมียมคาร์ไบด์ (Chromium Carbides) มีความแข็งแรงมาก ทนต่อการสึกหรอ
มีคณ ุ สมบัตเิ ป็ นแม่เหล็กได้ดี เมือ่ ชุบแข็งจะทาให้ความแข็งซึมลึก
และเพิม ่ ความต้านทานต่อการกัดกร่อน เมือ่ ผสมโครเมียม 30%-60% จะทาให้เปราะและแตกง่าย
เมือ่ ผสมโครเมียมกับเหล็กกล้าคาร์บอนต่า จะทาให้มค ี ณ
ุ สมบัตเิ หนี ยว
และทนต่อการกระแทกทีอ่ ณ ุ หภูมป ิ กติ เหมาะทีจ่ ะนาไปทาเฟื อง, ลูกสูบ, สปริง, สลักลูกปื น, ลูกรีด เป็ นต้น
เหล็กกล้าคาร์บอนสูงทีผ่ สมโครเมียมสูงประมาณ 12%-14% และคาร์บอน 1.5-1.25%
ใช้ทามีดหรือเครือ
่ งมือผ่าตัด, ใบมีดเครือ
่ งตัดเฉื อน

เหล็กกล้าประสมโมลิบดินม
ั (Molydenum Steel)

มีคณ
ุ สมบัตค
ิ ล้ายกับเหล็กกล้าประสมโครเมียม
- มีคณ
ุ สมบัตด
ิ า้ นความสามารถในการชุบแข็งได้ดีเมือ่ ผสมโมลิบดินม
ั ลงไปไม่เกิน 1%
แต่ถา้ ประสมปริมาณมากกว่านี้ จะทาให้คณ
ุ สมบัตก
ิ ารชุบแข็งลดลง ทาให้สามารถทนความร้อนได้ดี

- รักษาความแข็งได้จนกระทั่งอุณหภูฒส
ิ งู ถึง 600 องศาเซลเซียส

- สามารถต้านทานการกัดกร่อนได้ดี

เหล็กกล้าประสมวานาเดียม (Vanadium Steel)

เหล็กกล้าประสมวานาเดียมมีคณ
ุ สมบัตด
ิ งั นี้

- เพิม
่ คุณสมบัตต
ิ ามด้านความสามารถในการชุบแข็ง เมือ่ ผสมวานาเดียมไม่เกิน 0.04%

- เมือ
่ ผสมวานาเดียมลงไปมากกว่า 0.04% จะทาให้ลดคุณสมบัตท
ิ างด้านความสามารถในการชุบแข็งลง

- วานาเดียมช่วยให้เหล็กกล้ามีเม็ดเกร็ดละเอียดดีมาก

- สามารถรักษาความแข็งทีอ
่ ณ
ุ หภูมสิ งู ได้

เหล็กกล้าประสมแมงกานีส (Manganese Steel)


เหล็กกล้าประสมแมงกานีสมีคณ
ุ สมบัตค
ิ ล้ายกับเหล็กกล้าประสมนิเกิล คือ
- ทาให้เม็ดเกร็ดละเอียด

- เพิม
่ คุณสมบัตท
ิ างด้านความสามารถในการชุบแข็งให้กบั เหล็ก

- เพิม ้
่ ความแข็งแรงและความแข็งมากขึน แต่ความเหนียวจะลดลง

ในทางปฏิบตั จิ ริงๆ ไม่นิยมใช้แมงกานีสเป็ นธาตุประสม จะทาให้เหล็กกล้าเปราะ


ไม่ทนต่อแรงกระแทก

เหล็กกล้าประสมทังสเตน (Tungsten Steel)

เพิม
่ คุณสมบัตท
ิ างด้านความสามารถในการชุบแข็ง ในอุตสาหกรรมเหล็กเครือ ่ งมือ
จะผสมทังสเตนในเหล็กทีต ่ อ
้ งการความแข็งแรงสูง และสามารถทนต่อความร้อนสูงด้วย เช่น
มีดกลึงโลหะ หรือเหล็กทีใ่ ช้ทาแม่พม
ิ พ์รอ้ น เป็ นต้น

เหล็กกล้าประสมติตาเนียม (Titanium Steel)

มีคณ
ุ สมบัตด
ิ งั นี้

- เพิม ้
่ ความสามารถในการชุบแข็งมากขึน เมือ่ ผสมติตาเนียมในเหล็กด้วยปริมาณไม่เกิน 1%

- ถ้าผสมลงไปในเหล็กเป็ นจานวนมากจะทาให้ลดความสามารถในการชุบแข็ง

- ถ้านาติตาเนี ยมผสมกับไนโตรเจน จะได้ติตาเนียมไนไตรท์ ซึง่ มีความแข็งแรงสูง

เหล็กกล้าประสมซิลก
ิ อน (Silicon Steel)

จะมีคณ
ุ สมบัตด
ิ งั นี้

- ทาให้จุดคราก (Vield Point) ของเหลวสูงขึน

- ไม่มบ
ี ทบาทเกีย่ วกับการชุบแข็ง

- นาไปใช้งานเกีย
่ วกับการเชือ
่ มไม่ดี
เมือ่ ผสมซิลก
ิ อนเข้าไปมาก
เพราะซิลก
ิ อนจะรวมตัวกับออกซิเจนได้งา่ ยมาก

เหล็กกล้าประสมโคบอลต์ (Cobalt Steel)

มีคณ
ุ สมบัตด
ิ งั นี้

- มีความแข็งแรงสูงขึน

- ชุบแข็งไม่คอ
่ ยได้
- สามารถรักษาความแข็งไว้ได้แม้กระทั่งอุณหภูมส
ิ งู

เหล็กกล้าประสมอลูมเิ นียม (Aluminum Steel)

มีคณ
ุ สมบัตด
ิ งั นี้

- มีความแข็งแรงสูงขึน

เหล็กกล้าทีใ่ ช้ในวงการอุตสาหกรรมทัว่ ไป จะไม่ผสมธาตุใดธาตุหนึ่งโดยเฉพาะ


มักจะผสมธาตุอน ื่ ลงไปด้วย ตัง้ แต่สองธาตุขน้ึ ไป
ทัง้ นี้เพือ
่ ให้บทบาทของธาตุทผ ี่ สมลงไปได้มส ี ว่ นเพิม
่ คุณภาพของเหล็กกล้าผสมให้อยูใ่ นเกณฑ์สงู
และราคาไม่แพงจนเกินไ
กระบวนการผลิตเหล็กกล้าทีส่ าคัญในปัจจุบ ันมี 2 กระบวนการ คือ

กระบวนการบีโอเอส (Basic Oxgen Making : BOS)


ใช้ในการผลิตเหล็กกล้าทีม ่ ป
ี ริมาณมากต้องอาศัยเหล็กดิบเป็ นวัตถุดบ
ิ และกระบวนการหลอมด้วยเตาไฟ
ฟ้ า(Electric Arc Furnace : Eaf) ใช้สาหรับผลิตเหล็กกล้าในปริมาณน้อย วัตถุดบิ อาจเป็ นเศษเหล็ก เหล็กพรุน
หรือทัง้ สองอย่างผสมกัน

1.กระบวนการบีโอเอส (Basic Oxgen Making : BOS) หรือเรียกอีกอย่างหนึ่ง

ว่า กระบวนการแอลดี (LD Process) มีหลักการคือ


การพ่นก๊าซออกซิเจนลงไปในเหล็กทีก ่ าลังหลอมเหลวด้วยความเร็วสูง
ก๊าซออกซิเจนจะไปทาปฏิกริยากับสารมลทินในน้าเหล็ก
กลายเป็ นสารประกอบออกไซด์ลอยขึน ้ สูผ
่ วิ หน้าของน้าเหล็กทาให้สามารถขจัดสารมลทินออกจากเนื้อเห
ล็กได้ ดังรูป
กระบวนการนี้ไม่จาเป็ นต้องอาศัยแหล่งความร้อนจากภายนอกแต่ได้จากการลุกไหม้ของสารมลทินกับอ
อกซิเจนทีพ ่ น
่ ใส่น้าเหล็ก การพ่นออกซิเจนจะใช่เวลาประมาณ 20 – 30 นาที
จากนัน้ จึงทาการถ่ายน้าเหล็กลงในถังพัก เพือ ่ ไล่ออกซิเจนทีห
่ ลงเหลืออยูใ่ นน้าเหล็กให้หมดไป
โดยการเติมธาตุ เช่น ซิลก ิ อน อะลูมเิ นียม แล้วปรับปถรุงส่วนผสมทางเคมีโดยการเติมธาตุตา่ งๆ
ลงไปตามความต้องการ
ก่อนทีจ่ ะหล่อเหล็กให้เป็ นแท่งเพือ
่ ทีจ่ ะนาไปผ่านกระบวนการขึน ้ รูปหรืแแปรรูปต่อไป

ผลผลิตทีไ่ ด้จากเตาบีโอเอส ได้แก่ เหล็กกล้าผสม และเหล็กกล้าคาร์บอนต่า นอก


จากนี้ยงั มีกรรมวิธีทม
ี่ ลี กั ษณะคล้ายกันดังนี้
กระบวนการผลิตเหล็กเส้นเสริมคอนกรีต
กระบวนการหล่อเหล็กแท่งบิลเล็ท (Billet)

1. เศษเหล็ก ซื้อในประเทศและนาเข้าจากต่างประเทศ
2. เตาหลอมไฟฟ้ า ใส่เศษเหล็กลงในเตาหลอมไฟฟ้ าและหลอม ณ อุณหภูมป ิ ระมาณ 1,540
องศาเซลเซียส
3. การหลอมเหลว
้ และปรับคุณภาพน้าเหล็กให้ได้ตามมาตรฐาน
ใช้ออ๊ กซิเจนช่วยเร่งการหลอมให้เร็วขึน
4. เครือ
่ งหล่อเหล็กแท่งนาน้าเหล็กไปหล่อเป็ นเหล็กแท่ง
ในเครือ
่ งหล่อเหล็กแท่งและตัดให้ได้ความยาวตามต้องการ

กระบวนการรีดเหล็กเส้นกลมและเหล็กข้ออ้อย

5. เตาอบเหล็ก นาเหล็กแท่งบิลเล็ทเข้าเตาอบซึง่ มีอณ


ุ หภูมป
ิ ระมาณ 1,100 ถึง 1,250 องศาเซลเซียส

6. แท่นรีด
ลาเลียงบิลเล็ทเข้าสูแ
่ ท่นรีดเหล็ก 3 ชุด คือ แท่นรีดหยาบ, แท่นรีดกลาง,
และแท่นรีดละเอียดเพือ
่ รีดให้ได้เหล็กตามลักษณะและขนาดทีต ่ อ
้ งการ
7. เหล็กเส้นกลมและเหล็กข้ออ้อย
นาเหล็กเส้นกลมและเหล็กข้ออ้อยทีร่ ีดจนได้ขนาดเข้าสูล่ านลดอุณหภูมิ
ตัดให้ได้ขนาดตามมาตรฐานและมัดเก็บเพือ ่ รอการจาหน่ าย

ภาพรวมของอุตสาหกรรมเหล็กและเหล็กกล้า
อุตสาหกรรมเหล็กและเหล็กกล้าถือได้วา่ เป็ นหนึ่งในอุตสาหกรรมพื้นฐานทีม ่ คี วามสาคัญในการพัฒนาป
ระเทศ เนื่องจากเป็ นอุตสาหกรรมทีม ่ ค ี วามเชือ
่ มโยงกับอุตสาหกรรมอืน ่ ๆ เป็ นจานวนมาก เช่น
อุตสาหกรรมยานยนต์ เครือ ่ งใช้ไฟฟ้ าและอิเล็กทรอนิกส์ เฟอร์นิเจอร์ อาหารกระป๋ อง (บรรจุภ ัณฑ์)
เครือ
่ งจักรกล และอุตสาหกรรมก่อสร้าง เป็ นต้น
และจากภาวะเศรษฐกิจโดยรวมของประเทศทีม ่ ก
ี ารฟื้ นตัวขึน้ ทัง้ ธุรกิจภาคก่อสร้างและอุตสาหกรรมต่อเ
นื่อง เช่น ไฟฟ้ าและอิเล็กทรอนิกส์ ยานยนต์ บรรจุภณ ั ฑ์ เป็ นต้น
ทาให้ความต้องการใช้เหล็กในประเทศมีแนวโน้มเพิม ้ โดยผลิตภัณฑ์เหล็กกึง่ สาเร็จรูปซึง่ เป็ นวัตถุ
่ สูงขึน
ดิบในการผลิตเหล็กมีการขยายตัวมากทีส่ ด ุ รองลงมาคือเหล็กแผ่นเคลือบชนิดอืน ่ ๆ เหล็กแผ่นรีดร้อน
รวมทัง้ ความต้องการใช้ของอุตสาหกรรมต่อเนื่องในประเทศและการส่งออกทีเ่ พิม ่ มากจึงทาให้อตุ สาหก
รรมเหล็กมีการใช้พลังงานทีเ่ พิม ้
่ สูงขึน

สภาพแวดล้อมทางธุรกิจของอุตสาหกรรมเหล็กและเหล็กกล้า
อุตสาหกรรมเหล็กและเหล็กกล้าแบ่งออกเป็ น อุตสาหกรรมต้นน้า อุตสาหกรรมกลางน้าและ
อุตสาหกรรมปลายน้า ได้ดงั นี้

- อุตสาหกรรมต้นน้า คือ อุตสาหกรรมเหล็กถลุง (Pig Iron) และเหล็กพรุน (Sponge Iron)


ซึง่ จัดได้วา่ เป็ นกระบวนการเริม ่ ต้นของอุตสาหกรรมเหล็กทีม ่ ค
ี วามสาคัญอย่างมากต่อศักยภาพในการพั
ฒนาอุตสาหกรรมเหล็กและอุตสาหกรรมต่อเนื่อง
สาหรับประเทศไทยในปัจจุบ ันยังไม่มก ี ารจัดตัง้ โรงงานผลิตเหล็กต้นน้า
ซึง่ แต่เดิมนัน ้ แนวทางการพัฒนาถูกกาหนดโดยความต้องการของตลาดในประเทศมากกว่าจากนโยบาย
ของภาครัฐ
จึงทาให้อต ุ สาหกรรมเหล็กเริม ่ ต้นพัฒนาจากปลายน้าเพือ ่ ทดแทนการนาเข้าจากต่างประเทศมากกว่ากา
รเริม่ ต้นพัฒนาจากอุตสาหกรรมต้นน้า
- อุตสาหกรรมกลางน้า
เป็ นขัน
้ ทีน
่ าผลิตภัณฑ์จากการผลิตเหล็กขัน
้ ต้นทัง้ ทีเ่ ป็ นของเหลวและของแข็งรวมถึงเศษเหล็ก (Scrap)
มาหลอมปรับปรุงคุณสมบัตแ ิ ละส่วนผสมทางเคมีให้ได้เป็ นเหล็กกล้า (Steelmaking)
สาหรับประเทศไทยผูผ ้ ลิตขัน
้ กลางทุกรายจะผลิตด้วยเตาอาร์ตไฟฟ้ าโดยใช้เศษเหล็กเป็ นวัตถุหลักในกา
รผลิต
นอกจากการผลิตเหล็กกล้าแล้วอุตสาหกรรมขัน ้ กลางยังรวมถึงการหล่อเหล็กกล้าให้เป็ นผลิตภัณฑ์กงึ่ สาเ
ร็จรูปทีม
่ อ
ี ยู่ 3 ประเภท ได้แก่ เหล็กแท่งยาว (Billet) เหล็กแท่งแบน (Slab) และเหล็กแท่งใหญ่ (Bloom)

- อุตสาหกรรมปลายน้า ้ ของการแปรรูปผลิตภัณฑ์กงึ่ สาเร็จรูปด้วยกระบวนการต่าง ๆ ได้แก่


เป็ นขัน
การรีดร้อน การรีดเย็น การเคลือบผิว การผลิตท่อเหล็ก การตีเหล็กขึน ้ รูปรวมไปถึงการหล่อเหล็ก เช่น
เหล็กเส้น เหล็กลวด เหล็กแผ่นรีดร้อน เหล็กแผ่นรีดเย็น เหล็กแผ่นเคลือบ
เหล็กโครงสร้างรูปพรรณรีดร้อน เป็ นต้น ซึง่ จะนาไปใช้เป็ นวัตถุดบ ิ ทางการผลิตในอุตสาหกรรมต่าง ๆ
ทีต
่ อ
่ เนื่อง เช่น อุตสาหกรรมก่อสร้าง อุตสาหกรรมยานยนต์ อุตสาหกรรมเครือ ่ งใช้ไฟฟ้ า
อุตสาหกรรมเฟอร์นิเจอร์และอุตสาหกรรมบรรจุภณ ั ฑ์ เป็ นต้น

จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาสและอุปสรรคของอุตสาหกรรมเหล็กและเหล็กกล้าไทย

จุดแข็ง
1. มีการนาเครือ
่ งจักรทีท
่ น
ั สมัยเข้ามาใช้ในการผลิต
2. บุคลากรมีความพร้อมทีจ
่ ะรับการเรียนรูใ้ นเทคโนโลยีการผลิตใหม่ๆ
3.
อุตสาหกรรมมีแหล่งทีต
่ ง้ ั ทางภูมศิ าสตร์ทเี่ หมาะสมจึงทาให้เกิดความได้เปรียบในการกระจายผลิตภัณฑ์
ไปยังประเทศต่างๆ ในกลุม ่ อาเซียน

จุดอ่อน
1.
ขาดแคลนการผลิตแร่เหล็กทาให้อต ุ สาหกรรมเหล็กไทยต้องนาเข้าเหล็กต้นน้าเกือบทัง้ หมดเพือ
่ ผลิตเหล็
กกลางน้าและเหล็กปลายน้า
2. ผูป
้ ระกอบการขาดความต่อเนื่องเชือ
่ มโยงในระบบการผลิต
3.
อุตสาหกรรมมีการใช้กาลังการผลิตของเครือ่ งจักรไม่เต็มประสิทธิภาพและมีการใช้กระบวนการผลิตทีไ่
ม่เหมาะสมทาให้ตน้ ทุนการผลิตของไทยสูง
4. ขาดกลไกในการแก้ไขปัญหาการทุม ่ ตลาดและข้อกีดกันทางการค้าอย่างทันท่วงที
5. ขาดแคลนแรงงานและโครงสร้างระบบสาธารณู ปโภคทีม ่ ค
ี ณ
ุ ภาพเพียงพอ
6. ขาดยุทธศาสตร์การพัฒนาอุตสาหกรรมเหล็กและผลิตภัณฑ์ทช ี่ ดั เจนจากภาครัฐ

โอกาส
1. อัตราการบริโภคเหล็กต่อตัวยังมีโอกาสขยายตัวได้อก

เนื่องจากขณะนี้อตั ราส่วนดังกล่าวยังอยูใ่ นระดับต่าเมือ่ เปรียบเทียบกับอัตราการบริโภคเหล็กต่อหัวในป
ระเทศทีพ่ ฒ
ั นาแล้ว แต่ตอ้ งพิจารณาปัจจัยอืน ่ ๆ (ภายใน/ภายนอก) ประกอบด้วย
2. ผลิตภัณฑ์เหล็กสามารถนาไปใช้เป็ นวัสดุทดแทนผลิตภัณฑ์อน
ื่ เช่น คอนกรีตและไม้

อุตสาหกรรมเหล็กมีแนวโน้มในการพัฒนาไปสูร่ ูปแบบใหม่ๆ ได้

อุปสรรค
1. อุตสาหกรรมเหล็กต้องใช้เงินลงทุนสูง
และต้องอาศัยการนาเข้าวัตถุดบ
ิ เทคโนโลยี
และอุปกรณ์ การผลิตจากต่างประเทศเป็ นจานวนมาก
2.
โครงสร้างภาษี และขัน
้ ตอนศุลกากรของไทยมีความยุง่ ยากและซับซ้อนทาให้เป็ นอุปสรรคต่อการแข่งขัน
กับประเทศอืน
่ ๆ
3. การแข่งขันในตลาดโลกทีส ้
่ งู ขึน
และการใช้มาตรการกีดกันทางการค้าและการทุม
่ ตลาดจากประเทศผูผ
้ ลิตรายใหญ่ อาทิ ญีป
่ นและจี
ุ่ น
เป็ นต้น

การบริโภคภายในประเทศ

ปริมาณความต้องการใช้ภายในประเทศมีการเปลีย่ นแปลงโดยมีแนวโน้มทีล่ ดลงโดยเฉพาะในอุตสาหก


รรมก่อสร้างและอุตสาหกรรมรถยนต์ รวมทัง้ การผลิตเหล็กทีม
่ งุ่ เน้นในเรือ
่ งของการก่อสร้างลดลงร้อยละ
60
้ึ เนื่องจากแรงกร
ซึง่ สถาบันเหล็กและเหล็กกล้าคาดการณ์ วา่ แนวโน้มตลาดการค้าเหล็กในประเทศจะดีขน
ะตุน ้ ของโครงการเมกะโปรเจกต์และอุตสาหกรรมก่อสร้าง
แต่อย่างไรก็ตามต้องพิจารณาสถานการณ์ อน ื่ ๆ ประกอบด้วย

การส่งออกและนาเข้า

อุตสาหกรรมเหล็กและเหล็กกล้าในไทยยังไม่มผ ี ูผ
้ ลิตครบวงจรโดยจะมีเพียงผลิตภัณฑ์เหล็กอุตสาหกรร
มกลางน้าและอุตสาหกรรมปลายน้าเท่านัน ้
โดยการส่งออกในอุตสาหกรรมเหล็กและเหล็กกล้ามีแนวโน้มลดลงโดยเฉพาะตลาดหลัก คือ อินเดีย
สหรัฐอเมริกา และตลาดใหม่ทส ี่ ามารถส่งออก ได้แก่ ประเทศซาอุดอิ าระเบีย เวียดนาม อินเดีย
และมีการคาดการณ์ วา่ ในปี 2553 จะมีการนาเข้าเหล็กชนิดต่างๆ
เพิม ้ เพราะปริมาณเหล็กคงคลังในประเทศไทยยังมีไม่มาก
่ มากขึน
เนื่องจากไม่มก ี ารกักตุนรวมทัง้ มีกาลังการผลิตน้อยและขาดการส่งเสริมจากภาครัฐตัง้ แต่อต ุ สาหกรรมต้
นน้าอย่างเป็ นระบบ

แนวโน้มของอุตสาหกรรมเหล็กและเหล็กกล้าไทย

ภาวะอุตสาหกรรมเหล็กและเหล็กกล้ามีแนวโน้มว่าจะทรงตัวทัง้ นี้ขน ึ้ อยูก


่ บั การฟื้ นตัวของภาวะเศรษฐกิจ
โลกตลอดจนมาตรการเพือ ่ คุม
้ ครองอุตสาหกรรมภายในประเทศของภาครัฐ เช่น
มาตรการตอบโต้การทุม ่ ตลาด (AD/CVD)
และการสนับสนุนให้มก ี ารใช้มาตรการกีดกันทางการค้าทีม ่ ใิ ช่ภาษี (NTBs) เช่น
มาตรการตรวจสอบมาตรฐานการนาเข้าผลิตภัณฑ์อต ุ สาหกรรมทีเ่ พิม ่ มากขึน ้
ซึง่ จะเป็ นการปกป้ องอุตสาหกรรมในประเทศและทาให้อต ุ สาหกรรมต่อเนื่องต่างๆ
ทีใ่ ช้เหล็กเป็ นวัตถุดบ
ิ ใช้ผลิตภัณฑ์ทไี่ ด้มาตรฐานและยังเป็ นการสนับสนุนให้ผูผ ้ ลิตเหล็กในประเทศพัฒ
นาคุณภาพและมาตรฐานผลิตภัณฑ์ตนเองต่อเนื่องด้วย

You might also like