Ch4 20FmPara

You might also like

Download as pps, pdf, or txt
Download as pps, pdf, or txt
You are on page 1of 46

4.

2 Formation parameters
ในการแปลความหมายข ้อมูลทีได ่ ้จากการหยัง่
่ าคัญทีต
ธรณี ในหลุมเจาะ สิงส ่ ้องเกียวข
่ ้องมี
อยู่ 2 ส่วนคือ ส่วนประกอบของหิน
(constitutes of rock) ซึงได ่ ้แก่ เนื อ้
หิน (matrix) หินดินดาน (shale) ของ
ไหล (fluids) และ ธรรมชาติของชนหิ ้ั น
(nature of formation) ซึงได ่ ้แก่
ความพรุน (porosity) สัมประสิทธิความ ์
ซึมได ้ (permeabilty) ความต ้านทาน
4.2.1 Matrix
้ น ในทีนี
matrix หรือ เนื อหิ ่ หมายถึ
้ ง
ส่วนประกอบของหินทีเป็ ่ นของแข็ง ยกเว ้น
่ นหินดินดานหรือชนดิ
ส่วนทีเป็ ้ั นเหนี ยว
้ นจะประกอบไปด ้วยแร่หลักชนิ ดต่างๆ
เนื อหิ

(grains) และตัวเชือมประสาน
(cements)
้ั นทีเรี
ชนหิ ่ ยกว่า clean formation
หมายถึงชนหิ ้ั นทีไม่
่ มดี นิ เหนี ยวหรือ
หินดินดานปะปนหรือแทรกสลับอยู่ ส่วนชน้ั
่ ดน
หินทีมี ิ เหนี ยวหรือหินดินดานปะปนหรือ
แทรกสลับอยูจ ่ ะเรียกว่า shaly
formation หรือ dirty formation
4.2.2 Shale
shale หรือ หินดินดาน เป็ นหินตะกอนเนื อ้

ละเอียดทีประกอบด ้วยตะกอนขนาดดิน
เหนี ยว (clay) และ ขนาดทรายแป้ ง
(silt) เกิดการสะสมตัวเมือกระแสน ่ ้ ่
าที
พัดพาเอาตะกอนเหล่านี มา ้ มีความเร็วลดลง
้ั นดินดานเป็ นชนหิ
ชนหิ ้ั นทีมี
่ คา่ ความพรุนสูง

แต่ให ้ค่าสัมประสิทธิความซึ มได ้ต่า
ตะกอนขนาดดินเหนี ยว ซึงมั ่ กประกอบด ้วยแร่
ดิน (clay minerals) เป็ นส่วนประกอบ
สาคัญในหินตะกอน แร่ดน ิ มีหลายชนิ ด
่ าคัญของแร่ดน
ตัวอย่างทีส ิ ได ้แก่
montmorillonite, illite,
chlorite, kaolinite แร่ดน ิ มีขนาด
เล็กมาก อัตราส่วนของพืนที ้ ผิ
่ วต่อปริมาตร
สูงมาก จึงมีความสามารถในการดึงนาให ้ ้เข ้า
้ วนนี ไม่
มาอยูใ่ นโครงสร ้างของแร่ได ้มาก นาส่ ้
สามารถไหลออกมาได ้ แต่จะมีผลอย่างมาก

กับการหยังธรณี ในหลุมเจาะ
4.2.3 Fluid
่ ดขึนระหว่
ช่องว่างทีเกิ ้ างเม็ดตะกอนในชนหิ ้ั น

จะถูกบรรจุด ้วยของไหล ซึงอาจเป็ น นา้
อากาศ ก๊าซ นามั ้ น ปริมาณของของไหล
้ นกั
เหล่านี จะขึ ้ บปริมาณช่องว่างทีเกิ่ ดขึนใน ้
่ ยกว่าความพรุน
หินทีเรี
ของไหลทีอยู ่ ใ่ นช่องว่างเหล่านี ้ ยกเว ้นนาแล
้ ้ว
มีสมบัตท ี่ อนกันอย่างหนึ่ งคือ เป็ นตัวนา
ิ เหมื
ไฟฟ้ าทีไม่่ ดี ในขณะทีน ่ าซึ
้ งมั
่ กละลายเอาแร่
ดังนั้นความสามารถในการนาไฟฟ้ าของชนหิ ้ั น

ใดๆ จึงขึนอยูก่ บั ปริมาณนาที ้ อยู
่ ่ในช่องว่าง
ของชนหิ้ั น ปริมาณของนาเป็ ้ นสัดส่วนกับ
ความพรุนของชนหิ ้ั น ดังนั้นจึงอาจอธิบายได ้
ถึงความสาคัญในการศึกษาค่าความ
ต ้านทานไฟฟ้ าของชนหิ ้ั นว่า สามารถใช ้ใน
การบอกถึงปริมาณของนาที ้ อยู
่ ใ่ นชนหิ
้ั นได ้
สัดส่วนของปริมาณนาที ้ อยู
่ ใ่ นช่องว่าง

เปรียบเทียบกับช่องว่างทังหมดในช ้ั น
นหิ
เรียกค่านี ว่้ า ค่าการอิมตัวของน
่ ้า
(water saturation, Sw) ในทานอง
เดียวกัน ถ ้าพิจารณาปริมาณก๊าซหรือ
้ นทีอยู
นามั ่ ใ่ นช่องว่างเปรียบเทียบกับช่องว่าง

ทังหมดในช ้ั นเรียกค่านี ว่้ า ค่าการอิมตัว
นหิ ่
ของไฮโดรคาร ์บอน (hydrocarbon
saturation, Sh)
ถ ้ากาหนดว่า ในขณะเริมแรกช่ ่ องว่างทังหมด ้
ในชนหิ้ั นมีนาบรรจุ
้ อยู่ ต่อมาสาร
ไฮโดรคาร ์บอนเข ้ามาแทนทีน ่ า้ พบว่าสาร
ไฮโดรคาร ์บอนไม่สามารถแทนทีน ่ าทั
้ งหมด

่ ่ องจากแรงยึดเหนี่ ยวระหว่างเม็ด
ได ้ ซึงเนื
ตะกอนกับโมเลกุลของนาที ้ อยู
่ ร่ อบเม็ด
ตะกอนซึงมี ่ คา่ สูง ส่วนของนาที ้ คงค
่ ้างอยูใ่ น

ช่องว่างทีสารไฮโดรคาร ์บอนไม่สามารถ
แทนทีได ่ ้นั้น เรียกสัดส่วนของนาในส่ ้ วนนี ้

เปรียบเทียบกับช่องว่างทังหมดในช ้ั นว่า
นหิ
ค่าการอิมตั ่ วของน้ าคงค้าง
ในชนหิ้ั นทีประกอบด
่ ้วยเม็ดตะกอนขนาดใหญ่
่ พนที
ซึงมี ื ้ ผิ่ วน้อย หรืออาจสูงถึง 0.4 ในชน้ั

หินทีประกอบด ้วยเม็ดตะกอนขนาดเล็กซึงมี ่
้ ผิ
พืนที ่ วมาก นาคงค ้ ้
้างนี จะไม่ สามารถไหล
ออกจากชนหิ ้ั นได ้


ปริมาณทังหมดของสารไฮโดรคาร ์บอนในชน้ั
่ น
หินมีคา่ เท่ากับ Sh หรือ (1-Sw) ซึงเป็
่ าคัญทีต
ค่าทีส ่ ้องการหา ซึงเป็
่ นวัตถุประสงค ์
ส่วนหนึ่ งของการหยังธรณี
่ ในหลุมเจาะ ค่านี ้
4.2.4 Porosity and
permeabilty
ความพรุน (porosity) เป็ นส่วน

ของช่องว่างทังหมดในช ้ั นที่
นหิ
ไม่ถก ่ ้วยของแข็งและ
ู แทนทีด
อาจมีของเหลวบรรจุอยู่ ความ
้ั นตะกอนขึนอยู
พรุนในชนหิ ้ ก
่ บั
ปัจจัยหลายประการ เช่น
ในกรณี ของชนหิ ้ั นทียั่ งไม่แข็งตัว
ความพรุนขึนอยู้ ก
่ บั การกระจาย
ตัวของขนาดของเม็ดตะกอน

ซึงอยูใ่ นช่วงระหว่าง 0.35 ถึง
่ ดตะกอนมีขนาด
0.4 เมือเม็
ใกล ้เคียงกัน หรือประมาณ 0.25
่ เม็ดตะกอนขนาดเล็กอยู่
เมือมี
หากกาหนดให ้เม็ดตะกอนเป็ น
ทรงกลม มีเส ้นผ่าศูนย ์กลาง
เท่ากับ d มีการเรียงตัวเป็ นทรง
่ ่
สีเหลียมลูกบาศก ์ ความพรุน
สามารถคานวณได ้ดังนี ้
กาหนดให ้ ลูกบาศก ์หนึ่ งมี
(nd )  4 / 3 (nd / 2)
3 3

ปริมาตรเท่า(ndกั)บ (nd)3 หน่
 3
6 วย
 1   0.4764
จากสมการแสดงให ้เห็นว่า ความ

พรุนทีมากที สุ ่
่ ดทีจะเป็ นไปได ้

เมือทรงกลมที ่ ขนาดเท่ากับมา
มี
เรียงตัวกันเป็ นทรงลูกบาศก ์ มี
ค่าเท่ากับ 47.64% แต่เนื่ องจาก
การเรียงตัวของเม็ดตะกอนเป็ น
รูปทรงลูกบาศก ์ในธรรมชาติน้ัน

นอกจากกลไกการเรียงตัวของ
เม็ดตะกอนซึงมี ่ ผลต่อค่าความ
พรุนแล ้ว การอัดตัวของเม็ด

ตะกอนอันเนืองจากความกดดั
 depth/ 

0e
่ กเป็ นอีกปัจจัยหนึ่ งทีจะไป
ในทีลึ ่
ลดค่าความพรุน ซึงเป็ ่ นไปตาม
สมการ
ความพรุนแบ่งออกได ้เป็ นหลาย
ชนิ ด ได ้แก่
V  V Vt, เป็ น
1. Total porosity,

t
s p
t
้ V
t ่ V t้
ช่องว่างทังหมดทีเกิดขึนระหว่าง
ของแข็ง สามารถคานวณจาก


2. Interconnected porosity,
connect, ่ บ
เป็ นความพรุนทีนั
่ อมต่
เฉพาะช่องว่างทีเชื ่ อกัน ซึง่
มักมีคา่ น้อยกว่าความพรุนรวม

3. Potential porosity, pot, เป็ น


ส่วนของ interconnected
porosity ่
ซึงจะต ้องมีขนาด
4. Effective porosity, eff, เป็ น
ส่วนของช่องว่างทีเกี ่
่ ยวข ้องกับ

ของไหลทีไหลได ้อย่างอิสระ
(free fluids) ไม่นับช่องว่าง
่ น non-connected
ส่วนทีเป็
porosity และช่องว่างทีถู ่ กแทนที่

ด ้วยนาในช่ องว่างหรือรอบๆ

สัมประสิทธิความซึ มได้
(permeability, k) เป็ นการวัด
ความสามารถของชนหิ ้ั นทียอม

ให ้ของเหลวสามารถไหลผ่านได ้
ภายใต ้ความแตกต่างของความ
ดัน มีหน่ วยเป็ น millidarcies

(md) ซึงอาจมี คา่ สูงถึง 1000 md

สัมประสิทธิความซึ มได ้จะมีคา่

ขึนอยู ก
่ บั ขนาดของเม็ดตะกอน
ถ ้าเม็ดตะกอนมีขนาดใหญ่
ช่องว่างระหว่างเม็ดตะกอนก็จะ
มีขนาดใหญ่ด ้วย ทาให ้
ของเหลวสามารถไหลผ่านได ้

สะดวก ค่าสัมประสิทธิความซึ ม
กาหนดให ้การไหลของของเหลว
้ั นเป็ นแบบ
ผ่านช่องว่างในชนหิ
laminar อาศัยกฏของ
qL Darcy
k
สามารถนามาใช pA้ในการ
คานวณหาค่าสัมประสิทธิความ ์
ซึมได ้จากสมการ

่ q
เมือ = อัตราการไหล, cm3/s
ความสัมพันธ ์ระหว่างค่า

สัมประสิทธิความซึ มได ้และ
ความพรุนขึนอยู ้ ก
่ บั ชนิ ดของ

หิน โดยทัวไป log ของค่า

สัมประสิทธิความซึ มได ้มี
ความสัมพันธ ์เชิงเส ้นกับค่า
ความพรุนสาหร ับหินแต่ละชนิ ด

สมการของ Kozeny เป็ นสมการ

หนึ่ งทีแสดงให ้เห็นถึง
ความสัมk พั(constant)
นธ ์ ระหว่d
.างค่า
2 3


(1   )
2

สัมประสิทธิความซึมได ้กับค่า
ความพรุนดังนี ้

ในบางกรณี สัมประสิทธิความซึ ม
้ั นในแต่ละทิศทางมีคา่
ได ้ในชนหิ
ไม่เท่ากัน เนื่ องจากการสะสม

ตัวของตะกอนทีมีการเรียงตัว
ของเม็ดตะกอนให ้แกนยาวของ
เม็ดตะกอนวางตัวขนานกัน ทา

ให ้ค่าสัมประสิทธิความซึ มได ้ใน

ในชนหิ้ั นซึงช่
่ องว่างทังหมดบรรจุ

ของเหลวเพียงชนิ ดเดียว

ของเหลวซึงไหลอยู ใ่ นชนหิ้ั น
เป็ นไปตามกฎของ Darcy แต่
่ ของเหลวตังแต่
เมือมี ้ 2 ชนิ ดขึน้
ไปอยูใ่ นช่องว่างของชนหิ ้ั น
ความสามารถในการเคลือนที ่ ่

ถ ้ากาหนดให ้ชนหิ้ั นอยูภ ่ ายใต ้
ความกดดัน มีนาและน ้ ้ นอยู่
ามั
ในช่องว่างของชนหิ ้ั น ค่า
k 
o
q L
o

ธิความซึมไดpA
สัมประสิทpA o
k 
w
q  L
w

้ทีแท ้จริง
w

ของนามั้ น (ko) และนา้ (kw)


คานวณได ้จากสมการ
อัตราการไหลรวม, qt (= qo +
qw), มักพบว่ามีคา ่ น้อยกว่า
อัตราการไหลของนาหรื ้ ออัตรา

การไหลของนามัน เมือนาหรือ ่ ้
้ นมีคา่ ความอิมตั
นามั ่ วเป็ น 100%
่ ของเหลวตังแต่
จึงเห็นได ้ว่าเมือมี ้
2 ชนิ ดอยูใ ่ นชนหิ ้ั น จะเกิดการ

สัมประสิทธิความซึ มได้
สัมพัทธ ์ (relative
permeability, kr) เป็ นอัตราส่วน

ระหว่างสัมประสิทธิความซึมได ้ที ่
แท ้จริงkของของเหลวแต่

k
k 
kละชนิ ด

r w

กับสัมประสิทธิความซึมได ้
ro rw
k k


สัมบูรณ์ สัมประสิทธิความซึ ม

4.2.5 Resisitivity and
conductivity
ความต้านทานไฟฟ้า
(resistivity) ของวัตถุใดๆ เป็ น
การวัดค่าการต่อต ้านการไหล
ของกระแสไฟฟ้ าทีไหลผ่ ่ านวัตถุ
นั้นๆ มีหน่ วยเป็ น ohm.m
ความนาไฟฟ้า (conductivity)
ความต ้านทานไฟฟ้ าของชนหิ ้ั น
นั้น เกิดขึนเนื
้ ่ องจากแร่สว่ นใหญ่ทประกอบ
ี่
้ นชนหิ
ขึนเป็ ้ั นเป็ นพวกทีไม่ ่ นา
ไฟฟ้ าหรือเป็ นฉนวนทาให ้
กระแสไฟฟ้ าไหลผ่านไปได ้ยาก
แต่อย่างไรก็ดี ในชนหิ ้ั นนอกจากจะ
ประกอบด ้วยแร่แล ้ว ยังมีชอ่ งว่าง

ในส่วนทีมี ่ นามั
้ นหรือก๊าซบรรจุ
อยูน่ ้ัน เนื่องจากทังน ้ นและก๊าซไม่นา
้ ามั
ไฟฟ้ าด ้วยเช่นกัน ทาให ้ชนหิ ้ั นทีกั
่ ก

เก็บนามันและก๊าซมีคา่ ความ
ต ้านทานไฟฟ้ าสูงด ้วย ส่วนในกรณี
ทีมี ้
่ นาบรรจุ อยู่ เนื่องจากนามั
้ กจะ
ละลายเอาสารละลายต่างๆไว ้ ทา
้ ่ ่ ้
ความต ้านทานไฟฟ้ าของชนหิ ้ั น

ขึนอยู ก
่ บั
1. ความต ้านทานไฟฟ้ าของนาใน ้
ช่องว่าง จะขึนอยู
้ ก ่ บั ธรรมชาติและ
ปริมาณของสารทีละลายอยู ่ ใ่ น
นา้
2. ปริมาณของนาที ้ มี ่ อยู่
4.2.6 Relationship between
resistivity and salinity
เนื่ องจากความต ้านทานไฟฟ้ า

ขึนอยู ก
่ บั ความเข ้มข ้นและชนิ ด
ของสารละลายในนา้ ความต ้านทาน

ไฟฟ้ าจะมีคา่ ลดลงเมือความ
่ น้
เข ้มข ้นของสารมีคา่ เพิมขึ
ความเค็ม (salinity) เป็ นการวัด
4.2.7 Relationship between
resistivity and temperature
ความต ้านทานไฟฟ้ าของ
สารละลายลดลงเมืออุ ่ ณหภูมิ
สูงขึน้ สมการที ่
แสดงความสั
T  6. 77  มพันธ ์
R R  1

ระหว่างใช ้ค่าความต ้านทาน


wT 2 wT 1 
T  6.277 

ไฟฟ้ Rาและอุ ณ  หภูม ิ


T  21. 5 
R wT 2 
wT 1
1

T  212. 5 

O
่ RwT1 = ค่าความต ้านทานไฟฟ้ า
เมือ
ของสารละลายในชนหิ ้ั นที่
อุณหภูมิ T1

RwT2 = ค่าความต ้านทานไฟฟ้ า


ของสารละลายในชนหิ ้ั นที่
อุณหภูมิ T2
4.2.8 Logging techniques

การหยังธรณี หลุมเจาะ เพือวั ่ ดค่า
สมบัตต ิ า่ งๆของชนหิ้ั นในหลุม
เจาะนั้น สามารถแบ่งออกได ้เป็ น 2
ลักษณะคือ การวัดค่าทีเกิ่ ดขึนเองตาม

ธรรมชาติ (natural phenomena)
และ การวัดค่าทีได
่ ้จากการเหนี่ ยวนา
่ ดขึนเองตาม
การวัดค่าทีเกิ ้
ธรรมชาติ ทาได ้โดยการหย่อนเครืองมื
่ อ

ทีเหมาะสมลงไปในหลุ มเจาะเพือ่

วัดค่าเหล่านัน ค่าทีเกิ ้
่ ดขึนเองตาม
ธรรมชาติได ้แก่
1. Natural gamma
radioactivity
2. Spontaneous potential
การวัดค่าทีได่ ้จากการเหนี่ยวนา
ต ้องอาศัยเครืองมื ่
่ อทีจะสร ้าง

พลังงานขึนมาเหนี ่ ยวนาหรือ

กระตุ ้นให ้ชนหิ ั นเกิดการ
ตอบสนองและทาการวัดค่า
ตอบสนองทีจากช ่ ้ั น ค่าทีได
นหิ ่ ้จาก
การเหนี่ ยวนา ได ้แก่
1. Electrical measurement :
2. Nuclear measurement :
- Density
- Photo-electric absorption
coefficient
- Hydrogen index
- Macroscopic thermal neutron
capture cross-section
- Elemental composition
- Proton spin relaxation time
3. Acoustic measurement :
- Velocity of compressional
wave
- Transit time from surface
to downhole
- Amplitude of wave-train

ความเร็วในการหยังธรณี หลุม
เจาะของเครืองมื ่ อแต่ละชนิ ดไม่
เท่ากันขึน้ แต่โดยทัวไปหากพิ
่ จารณาว่า
้ ่
ทังค่าทีวัดได ้จากธรรมชาติหรือ
ค่าทีวั่ ดได ้จากการเหนี่ ยวนา
จาเป็ นต ้องอาศัยช่วงเวลาระยะ
หนึ่ งในการเก็บสะสมข ้อมูลและ

Survey Maximumloggingspeed
(ft/min) (m/min)
SP 100 30
Induction 100 30
Laterolog 50 15
Microlaterolog 35 10
Neutron 30 9
GR 20 6
Density TDT 15 4.5
Sonic 70 20

You might also like