Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 17

(สําเนา)

ประกาศกระทรวงสาธารณสุข
เรื่อง ยาสามัญประจําบานแผนโบราณ
------------------------------------

โดยที่เปนการสมควรปรับปรุงประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง ยาสามัญประจําบานแผน


โบราณ ใหเหมาะสมกับสภาวการณทางการแพทยและการสาธารณสุขในปจจุบัน
อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 76 (5) (7) (8) และ (9) แหงพระราชบัญญัติยา พ.ศ. 2510
ซึ่งแกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติยา (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2522 รัฐมนตรีวาการกระทรวงสาธารณสุข โดย
คําแนะนําของคณะกรรมการยา จึงออกประกาศไวดังตอไปนี้
ขอ 1. ใหยกเลิก ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง ยาสามัญประจําบาน ฉบับที่ 2
ลงวันที่ 29 สิงหาคม พ.ศ. 2537
ขอ 2. ใหยาแผนโบราณตามตํารับตอไปนี้เปนยาสามัญประจําบาน

1. ยาขับลม แกทองอืด ทองเฟอ


1.1 ยาประสะกะเพรา ยาวิสัมพยาใหญ ยาประสะกานพลู ยาแสงหมึก ยามันท
ธาตุ ยาประสะเจตพังคี ยามหาจักรใหญ ที่มีสวนประกอบ วิธที ํา สรรพคุณ ขนาดรับประทาน ขนาดบรรจุ
ตามรายละเอียดในขอ 3 แหงประกาศฉบับนี้
1.2 ตํารับยาทีม่ ีตัวยาดังตอไปนี้ตัวหนึง่ ตัวใดหรือหลายตัวเปนตัวยาสําคัญ คือ ขิง ขา
ตะไคร กานพลู สะระแหน โหระพา กะเพรา ขมิน้ ชัน ขมิ้นออย กระเทียม หอมแดง กะทือ ไพล
เม็ดพริกไทย เจตพังคี ลูกกระวาน จันทนเทศ อบเชย ดีปลี มหาหิงคุ ลูกจันทน ดอกจันทน ลูกเรว
ลูกผักชีลา เปราะหอม ชาพลู สะคาน เกล็ดสะระแหน การบูร ผิวและใบมะกรูด ผิวและใบมะนาว สมัดนอย
สมัดใหญ โดยสูตรสวนประกอบ วิธที ํา สรรพคุณ ขนาดรับประทาน และขนาดบรรจุ ตองไดรับความเห็นชอบ
จากคณะกรรมการยา

2. ยาถาย ยาระบาย
2.1 ยาตรีหอม ยาธรณีสันฑะฆาต ยาถาย ทีม่ สี วนประกอบ วิธีทาํ สรรพคุณ ขนาด
รับประทาน ขนาดบรรจุตามรายละเอียดในขอ 3 แหงประกาศฉบับนี้
2.2 ตํารับยาทีม่ ีตัวยาดังตอไปนี้ตัวหนึง่ ตัวใดหรือหลายตัวเปนตัวยาสําคัญ คือ ยาดํา
โกฐน้าํ เตา มะขามแขก ฝกคูณ ขี้เหล็ก สมอไทย น้ํามันละหุง ดีเกลือ ชะเอมไทย ออยสามสวน ชุมเห็ดเทศ
เกลือสินเธาว เกลือเทศ สลัดได รากตองแตก มะขามปอม มะขามเปยก โดยสูตรสวนประกอบ วิธที ํา
สรรพคุณ ขนาดรับประทาน และขนาดบรรจุ ตองไดรับความเห็นชอบจากคณะกรรมการยา
3. ยาแกทองเสีย
3.1 ยาเหลืองปดสมุทร ยาธาตุบรรจบ ที่มีสว นประกอบ วิธีทาํ สรรพคุณ ขนาด
รับประทาน ขนาดบรรจุตามรายละเอียดในขอ 3 แหงประกาศฉบับนี้
3.2 ตํารับยาทีม่ ีตัวยาดังตอไปนี้ตัวหนึง่ ตัวใดหรือหลายตัวเปนตัวยาสําคัญ คือ ใบฝรั่ง
เปลือกมังคุด เปลือกทับทิม เปลือกขี้อาย รากกระทอน รากมะพราว รากตาล รากลาน เปลือกตนไขเนา
เปลือกตนมะขาม เปลือกฝกเพกา หมาก ขนุนดิบ ใบชา ครั่ง สีเสียด เปลือกซิก เปลือกแค เปลือกมะเดื่อ
ชุมพร ขมิน้ ชัน ลูกเบญกานี โดยสูตรสวนประกอบ วิธีทาํ สรรพคุณ ขนาดรับประทาน และขนาดบรรจุ ตอง
ไดรับความเห็นชอบจากคณะกรรมการยา

4. ยาแกไข
4.1 ยาจันทนลีลา ยาประสะจันทนแดง ที่มีสวนประกอบ วิธีทาํ สรรพคุณ ขนาด
รับประทาน ขนาดบรรจุตามรายละเอียดในขอ 3 แหงประกาศฉบับนี้
4.2 ตํารับยาทีม่ ีตัวยาดังตอไปนี้ตัวหนึง่ ตัวใดหรือหลายตัวเปนตัวยาสําคัญ คือ สะเดา
หญานาง หญาแพรก บอระเพ็ด ชิงชาชาลี ลูกใตใบ ฟาทะลายโจร รากคนทา รากมะเดื่อชุมพร รากชิงชี่ ราก
ทาวยายมอม จันทนเทศ จันทนแดง ใบพิมเสน โกฐกานพราว โกฐสอ โกฐจุฬาลัมพา รากปลาไหลเผือก ลูก
กระดอม หญาตีนนก พญามือเหล็ก ตนเหมือดคน รากไครเครือ กรุงเขมา เมล็ดในฝกเพกา ขี้กาทั้งสอง
โดยสูตรสวนประกอบ วิธีทาํ สรรพคุณ ขนาดรับประทาน และขนาดบรรจุ ตองไดรับความเห็นชอบจาก
คณะกรรมการยา

5. ยาแกรอ นใน
5.1 ยาเขียวหอม ที่มีสว นประกอบ วิธีทํา สรรพคุณ ขนาดรับประทาน ขนาดบรรจุตาม
รายละเอียดในขอ 3 แหงประกาศฉบับนี้
5.2 ตํารับยาทีม่ ีตัวยาดังตอไปนี้ตัวหนึง่ ตัวใดหรือหลายตัวเปนตัวยาสําคัญ คือ
ผักกาดน้ํา เมล็ดมะกอก หญาใตใบ ใบพิมเสน จันทนแดง จันทนเทศ ฟาทะลายโจร แฝกหอม ผักกระโฉม
ใบสันพราหอม ผลมะระขีน้ ก ลูกมะคําดีควายเผา ดอกงิ้ว ใบตําลึง บอระเพ็ด โดยสูตรสวนประกอบ วิธที ํา
สรรพคุณ ขนาดรับประทาน และขนาดบรรจุ ตองไดรับความเห็นชอบจากคณะกรรมการยา

6. ยาบรรเทาหัด อีสุกอีใส
6.1 ยามหานิลแทงทอง ยาเขียวหอม ที่มีสว นประกอบ วิธีทาํ สรรพคุณ ขนาด
รับประทาน ขนาดบรรจุตามรายละเอียดในขอ 3 แหงประกาศฉบับนี้
6.2 ตํารับยาทีม่ ีตัวยาดังตอไปนี้ตัวหนึง่ ตัวใดหรือหลายตัวเปนตัวยาสําคัญ คือ
จันทนเทศ จันทนแดง ใบพิมเสน ใบหญานาง ใบมะระ รากมะเดื่อชุมพร รากชิงชี่ รากหญานาง รากคนทา
รากทาวยายมอม ผักกระโฉม ใบสันพราหอม วานกีบแรด วานรอนทอง มหาสดํา ไครเครือ เนระพูสี
ลูกมะคําดีควาย รากมะนาว รากมะกรูด รากมะปราง รากมะเฟอง โดยสูตรสวนประกอบ วิธีทาํ สรรพคุณ
ขนาดรับประทาน และขนาดบรรจุ ตองไดรับความเห็นชอบจากคณะกรรมการยา

7. ยาแกลมวิงเวียน
7.1 ยาหอมเทพจิตร ยาหอมทิพโอสถ ยาหอมอินทจักร ยาหอมนวโกฐ ทีม่ ี
สวนประกอบ วิธีทาํ สรรพคุณ ขนาดรับประทาน ขนาดบรรจุตามรายละเอียดในขอ 3 แหงประกาศฉบับนี้
7.2 ตํารับยาทีม่ ีตัวยาดังตอไปนี้ตัวหนึง่ ตัวใดหรือหลายตัวเปนตัวยาสําคัญ คือ เกสร
ทั้งหา กฤษณา สมุลแวง โกฐพุงปลา โกฐกระดูก เปราะหอม แฝกหอม อบเชย ชะมด เทียนทั้งหา พิมเสน
เกล็ดสะระแหน โกฐหัวบัว โกฐเชียง กระลําพัก ขอนดอก หญาฝรัน่ จันทนหอม จันทนเทศ เปลือกชะลูด
กานพลู จันทนชะมด ผิว ดอก ใบสม โดยสูตรสวนประกอบ วิธีทาํ สรรพคุณ ขนาดรับประทาน และขนาด
บรรจุ ตองไดรับความเห็นชอบจากคณะกรรมการยา

8. ยาแกไอ
8.1 ยาอํามฤควาที ยาประสะมะแวง ที่มีสว นประกอบ วิธีทาํ สรรพคุณ ขนาด
รับประทาน ขนาดบรรจุตามรายละเอียดในขอ 3 แหงประกาศฉบับนี้
8.2 ตํารับยาทีม่ ีตัวยาดังตอไปนี้ตัวหนึง่ ตัวใดหรือหลายตัวเปนตัวยาสําคัญ คือ
มะแวง ชะเอมเทศ สมอเทศ มะขามปอม สมปอย ใบสวาด มะนาว มะเขือขื่น กฤษณา รากสมกุง
มะขามเปยก โดยสูตรสวนประกอบ วิธีทาํ สรรพคุณ ขนาดรับประทาน และขนาดบรรจุ ตองไดรับความ
เห็นชอบจากคณะกรรมการยา
9. ยาบํารุงรางกาย
ตํารับยาที่มีตัวยาดังตอไปนี้ตัวหนึ่งตัวใดหรือหลายตัวเปนตัวยาสําคัญ คือ ระยอม
โกฐเชียง โกฐหัวบัว โสม เห็ดหลินจือ แหวหมู กระชาย กําลังวัวเถลิง กําลังหนุมาน กําลังชางสาร
เม็ดขอย เปลือกตะโกนา เปลือกทิ้งถอน หัวกวาวเครือ กําลังเสือโครง โดยสูตรสวนประกอบ วิธีทาํ
สรรพคุณ ขนาดรับประทาน และขนาดบรรจุ ตองไดรับความเห็นชอบจากคณะกรรมการยา
10. ยาบํารุงโลหิต
10.1 ยาบํารุงโลหิต ทีม่ ีสวนประกอบ วิธที ํา สรรพคุณ ขนาดรับประทาน ขนาดบรรจุ
ตามรายละเอียดในขอ 3 แหงประกาศฉบับนี้
10.2 ตํารับยาทีม่ ีตัวยาดังตอไปนี้ตัวหนึง่ ตัวใดหรือหลายตัวเปนตัวยาสําคัญ คือ ฝาง
ดอกคําฝอย ผักเปดแดง โกฐเชียง ดอกคําไทย ดอกกรรณิการ สนิมเหล็ก โกฐทัง้ หา แกแล แกนขี้เหล็ก
วานสากเหล็ก โดยสูตรสวนประกอบ วิธที ํา สรรพคุณ ขนาดรับประทาน และขนาดบรรจุ ตองไดรับความ
เห็นชอบจากคณะกรรมการยา

11. ยาแกประจําเดือนไมปกติ
11.1 ยาประสะไพล ที่มีสวนประกอบ วิธที ํา สรรพคุณ ขนาดรับประทาน ขนาดบรรจุ
ตามรายละเอียดในขอ 3 แหงประกาศฉบับนี้
11.2 ตํารับยาที่มีตัวยาตอไปนี้ตัวหนึง่ ตัวใดหรือหลายตัวเปนตัวยาสําคัญ คือ แกน
แสมสาร แกนแสมทะเล ลูกคัดเคา หางไหลแดง มะไฟเดือนหา เอื้องเพชรมา สารสม ฝาง แกแล คําฝอย
คําไทย เทียนดํา ไพล ผิวมะกรูด ใบสมเสี้ยวใบสมปอย รากมะดัน เถาคันทั้งสอง ผักเปดแดง ผักเสี้ยนผี
ขมิ้นเครือ วานชักมดลูก โดยสูตรสวนประกอบ วิธีทาํ สรรพคุณ ขนาดรับประทาน และขนาดบรรจุ ตอง
ไดรับความเห็นชอบจากคณะกรรมการยา

12. ยาขับน้ําคาวปลา
12.1 ยาไฟประลัยกัลป ยาไฟหากอง ที่มสี วนประกอบ วิธีทาํ สรรพคุณ ขนาด
รับประทาน ขนาดบรรจุตามรายละเอียดในขอ 3 แหงประกาศฉบับนี้
12.2 ตํารับยาที่มีตวั ยาตอไปนี้ตวั หนึง่ ตัวใดหรือหลายตัวเปนตัวยาสําคัญ คือ ราก
เจตมูลเพลิงแดง ขิง ดีปลี พริกไทย ผิวมะกรูด แกนแสมทะเล ฝาง สารสม หัสคุณเทศ หางไหลแดง วานชัก
มดลูก เปลือกมะรุม กระเทียม ขา ไพล ตะไคร โดยสูตรสวนประกอบ วิธีทาํ สรรพคุณ ขนาดรับประทาน
และขนาดบรรจุ ตองไดรับความเห็นชอบจากคณะกรรมการยา

13. ยากษัยเสน หรือยาแกปวดเมื่อย


ตํารับยาที่มีตวั ยาดังตอไปนี้ตัวหนึง่ ตัวใดหรือหลายตัวเปนตัวยาสําคัญ คือ
เถาวัลยเปรียง เถาเอ็นออน มะคําไก รากแจง รางแดง เถาโคคลาน กําแพงเจ็ดชัน้ หัวดองดึง หัวกระดาดทั้ง
สอง หัวอุตพิษ หัวบุก หัวกลอย กําลังหนุมาน กําลังเสือโครง เถาเมื่อย แสมา ทะลาย โรกแดง
โรกขาว โดยสูตรสวนประกอบ วิธที ํา สรรพคุณ ขนาดรับประทาน และขนาดบรรจุ ตองไดรับความเห็นชอบ
จากคณะกรรมการยา

14. ยาขับปสสาวะ
ตํารับยาที่มีตวั ยาดังตอไปนี้ตัวหนึง่ ตัวใดหรือหลายตัวเปนตัวยาสําคัญ คือ หญาคา
หญาชันกาด ขลู ออยแดง โคกกระสุน หญาหนวดแมว รากลําเจียก เหงาสับปะรด รากมะละกอ รากไมรวก
บานไมรูโรย ใบอินทนิลน้าํ รากไทรยอย กระเจี๊ยบ สารสม ตนหงอนไก ผักกาดน้าํ โดยสูตรสวนประกอบ วิธี
ทํา สรรพคุณ ขนาดรับประทาน และขนาดบรรจุ ตองไดรับความเห็นชอบจากคณะกรรมการยา

15. ยาบรรเทาริดสีดวงทวารหนัก
ตํารับยาที่มีตัวยาดังตอไปนี้ตัวหนึ่งตัวใดหรือหลายตัวเปนตัวยาสําคัญ คือ โกฐกักกรา
อัคคีทวาร เพชรสังฆาต ผักแพวแดง แพงพวย เปลือกขอย ขลู โดยสูตรสวนประกอบ วิธที ํา สรรพคุณ
ขนาดรับประทาน และขนาดบรรจุ ตองไดรับความเห็นชอบจากคณะกรรมการยา
16. ยาถายพยาธิ
ตํารับยาที่มีตวั ยาดังตอไปนี้ตัวหนึง่ ตัวใดหรือหลายตัวเปนตัวยาสําคัญ คือ ลูก
มะเกลือสด รากทับทิม เมล็ดสะแก และสะแกทั้งหา รากเล็บมือนาง เปลือกมะหาด ชุมเห็ดเทศ เปลือกตน
ไขเนา ตนถอบแถบ ปวกหาด ลูกเล็บมือนาง โดยสูตรสวนประกอบ วิธีทํา สรรพคุณ ขนาดรับประทาน และ
ขนาดบรรจุ ตองไดรับความเห็นชอบจากคณะกรรมการยา
.
17. ยาแกทรางตานขโมย
17.1 ยาประสะเปราะใหญ ที่มีสวนประกอบ วิธที ํา สรรพคุณ ขนาดรับประทาน
ขนาดบรรจุตามรายละเอียดในขอ 3 แหงประกาศฉบับนี้
17.2 ตํารับยาที่มีตวั ยาดังตอไปนีต้ ัวหนึง่ ตัวใดหรือหลายตัวเปนตัวยาสําคัญ คือ
ตานทัง้ หา ลูกสะแก เล็บมือนาง ถอบแถบ บอระเพ็ด ขมิ้นออย เปลือกตนไขเนา แกนมะเกลือ งวงตาล
ชุมเห็ดเทศ เถาลิ้นเสือ จุกหอม จุกกระเทียม รากทับทิม มะหาด โดยสูตรสวนประกอบ วิธที ํา สรรพคุณ
ขนาดรับประทาน และขนาดบรรจุ ตองไดรับความเห็นชอบจากคณะกรรมการยา

18. ยาบรรเทาอาการผืน่ คันตามผิวหนัง


ตํารับยาที่มีตวั ยาดังตอไปนี้ตัวหนึง่ ตัวใดหรือหลายตัวเปนตัวยาสําคัญคือ ขมิ้นชัน
ขมิ้นออย ขา ดอกชุมเห็ดเทศ ใบเล็บมือนาง ขาวเย็นทั้งสอง ขันทองพยาบาท กํามะถันเหลือง
น้ําสารสม ลิน้ ทะเล ดินสอพอง กระเทียม โดยสูตรสวนประกอบ วิธีทาํ สรรพคุณ ขนาดรับประทาน และ
ขนาดบรรจุ ตองไดรับความเห็นชอบจากคณะกรรมการยา

19. ยาแกกลากเกลื้อน
ตํารับยาที่มีตัวยาดังตอไปนี้ตัวหนึ่งตัวใดหรือหลายตัวเปนตัวยาสําคัญ คือ
ขันทองพยาบาท ใบเหงือกปลาหมอ ใบทองพันชั่ง กะเม็ง ใบนอยหนา หนอนตายอยาก กํามะถันเหลือง
เม็ดในสะบาใหญ กระเทียม สารสม โดยสูตรสวนประกอบ วิธที ํา สรรพคุณ ขนาดรับประทาน และขนาด
บรรจุ ตองไดรับความเห็นชอบจากคณะกรรมการยา

20. ยาแกหิด
ตํารับยาทีม่ ีตัวยาดังตอไปนี้ตัวหนึง่ ตัวใดหรือหลายตัวเปนตัวยาสําคัญ คือ เมล็ดใน
นอยหนา กํามะถัน ลูกกระเบา ลูกกระเบียน ลูกสะบามอญ โดยสูตรสวนประกอบ วิธีทาํ สรรพคุณ ขนาด
รับประทาน และขนาดบรรจุ ตองไดรับความเห็นชอบจากคณะกรรมการยา

21. ยาบรรเทาฝ แผล


ตํารับยาที่มีตวั ยาตอไปนี้ตัวหนึง่ ตัวใดหรือหลายตัวเปนตัวยาสําคัญ คือ วานหาง
จระเข ขมิ้นออย ตอยติง่ หมากดิบ สีเสียด เสน ยางสน ใบมะกา กํามะถันเหลือง โดยสูตรสวนประกอบ
วิธีทาํ สรรพคุณ ขนาดรับประทาน และขนาดบรรจุ ตองไดรับความเห็นชอบจากคณะกรรมการยา
22. ยาทาแผลไฟไหม น้ํารอนลวก
ตํารับยาที่มีตวั ยาตอไปนี้ตัวหนึง่ ตัวใดหรือหลายตัวเปนตัวยาสําคัญ คือ วานหาง
จระเข วานหางชาง ดินสอพอง ขมิน้ ออย ขมิ้นชัน พิมเสน การบูร เกล็ดสะระแหน ลิน้ ทะเล โดยสูตร
สวนประกอบ วิธีทาํ สรรพคุณ ขนาดรับประทาน และขนาดบรรจุ ตองไดรับความเห็นชอบจาก
คณะกรรมการยา

23. ยาบรรเทาอาการปวดเมื่อย และแมลงกัดตอย


ตํารับยาที่มีตวั ยาตอไปนี้ตัวหนึง่ ตัวใดหรือหลายตัวเปนตัวยาสําคัญ คือ เกล็ด
สะระแหน พิมเสน การบูร น้าํ มันยูคาลิปตัส เสลดพังพอน น้ํามันอบเชย น้าํ มันกานพลู น้ํามันเขียว น้ํามัน
ระกํา ตะไครหอม วานเพชรหึง โดยสูตรสวนประกอบ วิธีทํา สรรพคุณ ขนาดรับประทาน และขนาดบรรจุ
ตองไดรับความเห็นชอบจากคณะกรรมการยา

24. ยาบรรเทาอาการเจ็บคอ
ตํารับยาที่มีตวั ยาตอไปนี้ตัวหนึง่ ตัวใดหรือหลายตัวเปนตัวยาสําคัญ คือ ฟาทะลาย
โจร มะขามปอม ชะเอมเทศ สมอเทศ ลูกเบญกานี ผักคราด หญาดอกขาว น้าํ ประสานทองสะตุ พิมเสน
โดยสูตรสวนประกอบ วิธีทาํ สรรพคุณ ขนาดรับประทาน และขนาดบรรจุ ตองไดรับความเห็นชอบจาก
คณะกรรมการยา

25. ยาแกลิ้นเปนฝา
ตํารับยาที่มีตวั ยาตอไปนี้ตัวหนึง่ ตัวใดหรือหลายตัวเปนตัวยาสําคัญ คือ ลูก
เบญกานี ชาดกอน พิมเสน หมึกหอม ลิ้นทะเล ใบสวาด ใบฝรั่ง สีเสียด หมาก โดยสูตรสวนประกอบ วิธที ํา
สรรพคุณ ขนาดรับประทาน และขนาดบรรจุ ตองไดรับความเห็นชอบจากคณะกรรมการยา

ขอ 3. ใหยาแผนโบราณซึ่งมีชื่อ สวนประกอบ วิธที ํา สรรพคุณ ขนาดรับประทาน คําเตือนและ


ขนาดบรรจุ ตอไปนี้ เปนยาสามัญประจําบาน

(1) ยาประสะกะเพรา
วัตถุสวนประกอบ พริกไทย ขิง ดีปลี กระเทียม หนักสิง่ ละ2 สวน ชะเอมเทศ มหาหิงคุ
หนักสิ่งละ 8 สวน เกลือสินเธาว หนัก 1 สวน ผิวมะกรูด หนัก 20 สวน ใบกะเพรา หนัก 47 สวน
วิธีทาํ บดเปนผง ทําเปนเม็ด หนักเม็ดละ 0.1 กรัม
สรรพคุณ แกทองขึ้น ทองเฟอ ละลายน้ําสุก หรือน้ําใบกะเพราตม แกทองแนนจุกเสียด ใชไพลเผา
ไฟพอสุก ฝนแทรก
ขนาดรับประทาน รับประทานเชา เย็น
เด็กอายุ 1-3 เดือน ครั้งละ 1-2 เม็ด
เด็กอายุ 4-6 เดือน ครั้งละ 2-3 เม็ด
เด็กอายุ 7-12 เดือน ครั้งละ 4-6 เม็ด
ขนาดบรรจุ 30 เม็ด

(2) ยาวิสัมพยาใหญ
วัตถุสวนประกอบ ลูกผักชีลา ลูกจันทน ดอกจันทน หนักสิง่ ละ 8 สวน กระวาน
กานพลู โกฐสอ โกฐเขมา โกฐหัวบัว โกฐเชียง โกฐจุฬาลัมพา อบเชย สมุลแวง สมอเทศ สมอไทย ราก
ไครเครือ วานน้ํา บอระเพ็ด ขิงแหง พญารากขาว หนักสิง่ ละ 2 สวน ดีปลี หนัก 56 สวน
วิธีทาํ บดเปนผง
สรรพคุณ แกทองขึ้น อืดเฟอ จุกเสียด
ขนาดรับประทาน รับประทานทุก 4 ชั่วโมง
ครั้งละ 1 ชอนชา ใชนา้ํ สุกเปนกระสาย
หรือผสมน้าํ ผึ้งปนเปนลูกกลอน
ขนาดบรรจุ 15 กรัม

(3) ยาประสะกานพลู
วัตถุสวนประกอบ เทียนดํา เทียนขาว โกฐสอ โกฐกระดูก กํามะถันเหลือง การบูร
รากไครเครือ เปลือกเพกา เปลือกขี้อาย ใบกระวาน ลูกกระวาน ลูกผักชีลา แฝกหอม วานน้ํา หัวกระชาย
เปราะหอม รากแจง กรุงเขมา หนักสิ่งละ 4 สวน รากขาวสาร เนื้อไม ลูกจันทน ขมิ้นชัน หนักสิ่งละ 8 สวน ขิง
แหง ดีปลี หนักสิ่งละ 3 สวน ไพล เจตมูลเพลิงแดง สะคาน ชาพลู หนักสิ่งละ 2 สวน เปลือกซิก หนัก 10 สวน
พริกไทย หนัก 1 สวน กานพลู หนัก 131 สวน
วิธีทาํ บดเปนผง
สรรพคุณ แกปวดทอง เนื่องจากธาตุไมปกติ ใชไพลเผาไฟฝนกับน้ําปูนใส ถาหาน้าํ กระสาย
ไมได ใหใชน้ําสุกแทน
ขนาดรับประทาน รับประทานทุก 3 ชั่วโมง
ผูใหญ ครั้งละ 1 ชอนชา
ขนาดบรรจุ 15 กรัม

(4) ยาแสงหมึก
วัตถุสวนประกอบ หมึกหอม จันทนชะมด ลูกกระวาน จันทนเทศ ใบพิมเสน ลูก
จันทน ดอกจันทน กานพลู ใบสันพราหอม หัวหอม ใบกะเพรา หนักสิ่งละ4 กรัม พิมเสน หนัก 1 สวน
วิธีทาํ บดเปนผง ทําเปนเม็ด หนักเม็ดละ 0.2 กรัม
สรรพคุณ แกตัวรอน ละลายน้ําดอกไมเทศ
แกทองขึ้น ปวดทอง ละลายน้าํ ใบกะเพราตม
แกไอ ขับเสมหะ ละลายน้ําลูกมะแวงเครือ หรือลูกมะแวงตนกวาดคอ
แกปากเปนแผล แกละออง ละลายน้ําลูกเบญกานีฝนทาปาก
ขนาดรับประทาน
ใชกวาดคอวันละ 1 ครั้ง หลังจากนั้นรับประทานทุก 3 ชั่วโมง
เด็กอายุ 1-6 เดือน ครั้งละ 2 เม็ด
เด็กอายุ 7-12 เดือน ครั้งละ 3 เม็ด
ขนาดบรรจุ 12 เม็ด

(5) ยามันทธาตุ
วัตถุสวนประกอบ โกฐสอ โกฐเขมา โกฐหัวบัว โกฐเชียง โกฐจุฬาลัมพา เทียนดํา
เทียนแดง เทียนขาว เทียนขาวเปลือก เทียนตาตั๊กแตน รากไครเครือ ลูกผักชีลอม ลูกผักชีลา การบูร
กระเทียม เปลือกสมุลแวง เปลือกโมกมัน จันทนแดง จันทนเทศ กานพลู ดีปลี รากชาพลู เถาสะคาน
รากเจตมูลเพลิงแดง พริกไทยลอน ลูกจันทน หนักสิ่งละ 1 สวน ขิง ลูกเบญกานี หนักสิ่งละ 3 สวน
วิธีทาํ บดเปนผง
สรรพคุณ แกธาตุไมปกติ แกทองขึน้ ทองเฟอ
ขนาดรับประทาน รับประทาน วันละ 3 ครั้ง กอนอาหาร
ผูใหญ ครั้งละ 1 ชอนชา ละลายน้ําสุก
เด็ก ครั้งละ 1/2 ชอนชา ละลายน้ําสุก
ขนาดบรรจุ 15 กรัม

(6) ยาประสะเจตพังคี
วัตถุสวนประกอบ ดอกจันทน ลูกจันทน ลูกกระวาน ใบกระวาน กานพลู กรุงเขมา
รากไครเครือ การบูร ลูกสมอทะเล พญารากขาว เปลือกหวา เกลือสินเธาว หนักสิง่ ละ 1 สวน พริกไทยลอน
บอระเพ็ด หนักสิ่งละ 2 สวน ขา หนัก 16 สวน ระยอม หนัก 2 สวน เจตพังคี หนัก 34 สวน
วิธีทาํ บดเปนผง
สรรพคุณ แกกษัยจุกเสียด
ขนาดรับประทาน รับประทานเชาและเย็น กอนอาหาร
ครั้งละ 1 ชอนชา ละลายน้ําสุก
ขนาดบรรจุ 15 กรัม

(7) ยามหาจักรใหญ
วัตถุสวนประกอบ โกฐสอ โกฐเขมา โกฐพุงปลา โกฐกานพราว โกฐกระดูก เทียนดํา
เทียนแดง เทียนขาว เทียนขาวเปลือก เทียนเยาวพาณี สมอไทย (เอาแตเนื้อ) สมอพิเภก (เอาแตเนือ้ )
มะขามปอม (เอาแตเนื้อ) ลูกจันทน ดอกจันทน ลูกกระวาน กานพลู ชะเอมเทศ เมล็ดโหระพา ลูกผักชีลา
สารสม ขมิน้ ออย หัวกระเทียม หนักสิ่งละ 1 สวน ยาดําสะตุ หนัก 4 สวน ใบกระพังโหม หนัก 30 สวน
วิธีทาํ บดเปนผง ทําเปนเม็ด หนักเม็ดละ 0.5 กรัม
สรรพคุณ แกลมทราง แกอาการทองอืด ทองเฟอ
ขนาดรับประทาน เด็กอายุต่ํากวา 5 ขวบ รับประทานครั้งละ 1 - 3 เม็ด
เพิ่มและลดไดตามสวน รับประทานกับน้ําสุกกกอนอาหาร เชา - เย็น
ขนาดบรรจุ 10 เม็ด

(8) ยาตรีหอม
วัตถุสวนประกอบ เนื้อลูกสมอเทศ เนื้อลูกสมอพิเภก เนื้อลูกมะขามปอม ลูกผักชีลา
หนักสิ่งละ 4 สวน รากไครเครือ โกฐสอ ชะเอมเทศ ลูกซัดคั่ว หนักสิง่ ละ 1 สวน เนือ้ ลูกสมอไทย โกฐน้าํ เตา
ใหญนงึ่ สุก หนักสิ่งละ 22 สวน
วิธีทาํ บดเปนผง ทําเปนเม็ด หนักเม็ดละ 0.2 กรัม
สรรพคุณ แกเด็กทองผูก ระบายพิษไข

ขนาดรับประทาน รับประทานกอนอาหารเชา
เด็กอายุ 1-2 เดือน ครั้งละ 2-3 เม็ด
เด็กอายุ 3-5 เดือน ครั้งละ 4-5 เม็ด
เด็กอายุ 6-12 เดือน ครั้งละ 6-8 เม็ด
ขนาดบรรจุ 30 เม็ด

(9) ยาธรณีสันฑะฆาต
วัตถุสวนประกอบ ลูกจันทน ดอกจันทน ลูกกระวาน กานพลู เทียนดํา เทียนขาว หัว
ดองดึง หัวบุก หัวกลอย หัวกระดาดขาว หัวกระดาดแดง ลูกเรว ขิง ชะเอมเทศ รากเจตมูลเพลิงแดง โกฐ
กระดูก โกฐเขมา โกฐน้ําเตา หนักสิง่ ละ 1 สวน ผักแพวแดง เนื้อลูกมะขามปอม หนักสิ่งละ 2 สวน เนื้อลูก
สมอไทย มหาหิงคุ การบูร หนักสิ่งละ 6 สวน รงทอง (ประสะแลว) หนัก 4 สวน ยาดํา หนัก 20 สวน พริกไทย
ลอน หนัก 96 สวน
วิธีทาํ บดเปนผง
สรรพคุณ แกกษัยเสน เถาดาน ทองผูก
ขนาดรับประทาน รับประทาน วันละ 1 ครั้ง กอนอาหารเชาหรือกอนนอน
ครั้งละ 1/2-1 ชอนชา ละลายน้าํ สุก หรือผสมน้ําผึง้ ปน เปนลูกกลอน
คําเตือน คนเปนไข หรือ สตรีมีครรภ หามรับประทาน
ขนาดบรรจุ 15 กรัม

(10) ยาถาย
วัตถุสวนประกอบ ใบมะกา ใบมะขาม ใบสมปอย หญาไทร ใบไผปา ฝกคูณ ราก
ขี้กาแดง รากขี้กาขาว รากตองแตก เถาวัลยเปรียง หัวหอม ฝกสมปอย สมอไทย สมอดีงู หนักสิ่งละ 1 สวน
ขี้เหล็กทัง้ 5 หนัก 1 สวน ยาดํา หนัก 4 สวน ดีเกลือฝรัง่ หนัก 20 สวน
วิธีทาํ บดเปนผง ทําเปนเม็ด หนักเม็ดละ 0.5 กรัม
สรรพคุณ แกทองผูก
ขนาดรับประทาน รับประทาน วันละ 1 ครั้ง กอนนอน
ครั้งละ 2 – 5 เม็ด ตามธาตุหนักธาตุเบา
ขนาดบรรจุ 10 เม็ด

(11) ยาเหลืองปดสมุทร
วัตถุสวนประกอบ แหวหมู ขมิน้ ออย เปลือกเพกา รากกลวยตีบ กระเทียมคั่ว ดีปลี
ชันยอย ครั่ง สีเสียดเทศ สีเสียดไทย ใบเทียน ใบทับทิม หนักสิ่งละ 1 สวน ขมิ้นชัน หนัก 6 สวน
วิธีทาํ บดเปนผง ทําเปนเม็ด หนักเม็ดละ 0.1 กรัม
. สรรพคุณ แกทองเสีย ใชน้ําเปลือกลูกทับทิมหรือเปลือกแคตมกับน้ําปูนใสเปนกระสาย ถาหาน้ํา
กระสายไมไดใหใชนา้ํ สุกแทน และใหรับประทานรวมกับน้ําละลายเกลือแกงดวย
ขนาดรับประทาน รับประทานวันละ 3 เวลา กอนอาหาร
ผูใหญ ครั้งละ 10 เม็ด
ขนาดบรรจุ 30 เม็ด

(12) ยาธาตุบรรจบ
วัตถุสวนประกอบ ขิง โกฐเขมา โกฐพุงปลา โกฐเชียง โกฐสอ เทียนดํา เทียนขาว
เทียนสัตตบุษย เทียนเยาวพาณี เทียนแดง ลูกจันทน ดอกจันทน กานพลู การบูร เปลือกสมุลแวง ลูก
กระวาน ลูกผักชีลา ใบพิมเสน รากไครเครือ ดีปลี เปราะหอม หนักสิง่ ละ 4 สวน โกฐกานพราว หนัก 8 สวน
เนื้อลูกสมอไทย หนัก 16 สวน
วิธีทาํ บดเปนผง
สรรพคุณ แกธาตุไมปกติ ทองเสีย ใชเปลือกแคหรือเปลือกสะเดา หรือเปลือกลูกทับทิมตมกับน้ําปูน
ใส แกทองขึน้ ทองเฟอ ใชกระเทียม 3 กลีบ ทุบชงน้ํารอน หรือใชใบกะเพราตมเปนกระสาย ถาหาน้าํ
กระสายไมได ใหใชนา้ํ สุกแทน
ขนาดรับประทาน รับประทาน วันละ 3 เวลา กอนอาหาร
ผูใหญ ครั้งละ 1 ชอนชา
เด็ก ครั้งละ 1/2 ชอนชา
ขนาดบรรจุ 15 กรัม

(13) ยาจันทนลีลา
วัตถุสวนประกอบ โกฐสอ โกฐเขมา โกฐจุฬาลัมพา จันทนเทศ จันทนแดง ลูก
กระดอม บอระเพ็ด รากปลาไหลเผือก หนักสิ่งละ 4 สวน พิมเสน หนัก 1 สวน
วิธีทาํ ชนิดผง บดเปนผง
ชนิดเม็ด บดเปนผง ทําเปนเม็ด หนักเม็ดละ 0.5 กรัม
สรรพคุณ แกไข แกตัวรอน
ขนาดรับประทาน รับประทาน ทุก 4 ชั่วโมง
ชนิดผง เด็ก ครั้งละ 1/2-1 ชอนชา
ผูใหญ ครั้งละ 1-2 ชอนชา
ชนิดเม็ด เด็ก ครั้งละ 1-2 เม็ด
ผูใหญ ครั้งละ 3-4 เม็ด
ขนาดบรรจุ ชนิดผง 15 กรัม
ชนิดเม็ด 30 เม็ด

(14) ยาประสะจันทนแดง
วัตถุสวนประกอบ รากเหมือดคน รากมะปรางหวาน รากมะนาว เปราะหอม โกฐ
หัวบัว จันทนเทศ ฝางเสน หนักสิ่งละ 4 สวน เกสรบัวหลวง ดอกบุนนาค ดอกสารภี ดอกมะลิ หนักสิ่งละ 1
สวน จันทนแดง หนัก 32 สวน
วิธีทาํ บดเปนผง
สรรพคุณ แกไขตัวรอน กระหายน้าํ ละลายน้ําสุกหรือน้าํ ดอกมะลิ
ขนาดรับประทาน รับประทานทุก 3 ชั่วโมง
ผูใหญ ครั้งละ 1 ชอนชา
เด็ก ครั้งละ 1/2 ชอนชา
ขนาดบรรจุ 15 กรัม

(15) ยาเขียวหอม
วัตถุสว นประกอบ ใบพิมเสน ใบผักกระโฉม ใบหมากผู ใบหมากเมีย ใบ
สันพราหอม รากแฝกหอม เปราะหอม จันทนเทศ จันทนแดง วานกีบแรด วานรอนทอง เนระพูสี พิษนาศน
มหาสดํา รากไครเครือ ดอกพิกลุ เกสรบุนนาค เกสรสารภี เกสรบัวหลวง หนักสิง่ ละ 1 สวน
วิธีทาํ บดเปนผง
สรรพคุณ แกตัวรอน รอนใน กระหายน้าํ ละลายน้ําสุก หรือน้ําดอกกมะลิ
แกพิษหัด พิษสุกใส ละลายน้ํารากผักชีตม ทัง้ รับประทานและชะโลม
ขนาดรับประทาน รับประทานวันละ 4-6 ครั้ง
ผูใหญ ครั้งละ 1 ชอนชา
เด็ก ครั้งละ 1-2 ชอนชา
ขนาดบรรจุ 30 กรัม
(16) ยามหานิลแทงทอง
วัตถุสวนประกอบ เนื้อในเม็ดสะบามอญสุม หวายตะคาสุม เม็ดมะกอกสุม
ลูกมะคําดีควายสุม ถานไมสัก จันทนแดง จันทนเทศ ใบพิมเสน ใบหญานาง หมึกหอม หนักสิง่ ละ 1 สวน
เบี้ยจั่นคัว่ ใหเหลือง 3 เบี้ย
วิธีทาํ บดเปนผง ทําเปนเม็ด ปดทองคําเปลว หนักเม็ดละ 0.5 กรัม
สรรพคุณ แกไข แกกระหายน้ํา แกหัด อีสุก อีใส
ขนาดรับประทาน รับประทาน วันละ 2 ครั้ง
ผูใหญ ครั้งละ 3-4 เม็ด
เด็ก ครั้งละ 1-2 เม็ด
ขนาดบรรจุ 30 เม็ด

(17) ยาหอมเทพจิตร
วัตถุสวนประกอบ ลูกจันทน ดอกจันทน ลูกกระวาน กานพลู จันทนแดง จันทนขาว
กฤษณา กระลําพัก ขอนดอก ชะลูด อบเชย เปราะหอม แฝกหอม หนักสิ่งละ 2 สวน ผิวมะกรูด ผิวมะงัว่ ผิว
มะนาว ผิวสมตะรังกะนู ผิวสมจีน ผิวสมโอ ผิวสมเขียวหวาน หนักสิง่ ละ 4 สวน ผิวสมซาหนัก 28 สวน ดอก
พิกุล ดอกบุนนาค ดอกสารภี เกสรบัวหลวง ดอกบัวขม ดอกบัวเผื่อน หนักสิ่งละ 4 สวน การบูร หนัก 1 สวน
โกฐสอ โกฐเขมา โกฐหัวบัว โกฐเชียง โกฐจุฬาลัมพา โกฐกระดูก โกฐกานพราว โกฐพุงปลา โกฐชฎามังสี
หนักสิ่งละ 4 สวน เทียนดํา เทียนแดง เทียนขาว เทียนขาวเปลือก เทียนตาตั๊กแตน เทียนเยาวพาณี เทียน
สัตตบุษย เทียนเกล็ดหอย เทียนตากบ หนักสิ่งละ 4 สวน พิมเสนหนัก 4 สวน ดอกมะลิ หนัก 184 สวน
วิธีทาํ บดเปนผง ผสมน้ําดอกไมเทศ ทําเปนเม็ด หนักเม็ดละ 0.2 กรัม
สรรพคุณ แกลม บํารุงหัวใจ
ขนาดรับประทาน ครั้งละ 5-7 เม็ด
ขนาดบรรจุ 30 เม็ด

(18) ยาหอมทิพโอสถ
วัตถุสวนประกอบ ดอกพิกุล ดอกบุนนาค ดอกสารภี ดอกมะลิ เกสรบัวหลวง ดอก
กระดังงา ดอกจําปาดอกบัวจงกลนี หัวแหวไทย กระจับ ฝาง จันทนแดง จันทนขาว จันทรเทศ กฤษณา
ชะลูด อบเชย สมุลแวง สนเทศ วานน้าํ กระชาย เปราะหอม ดอกคําไทย ชะเอมเทศ สุรามฤต ขาตน ลูก
จันทน ดอกจันทน หนักสิ่งละ 4 สวน โกฐสอ โกฐเขมา โกฐหัวบัว โกฐเชียง โกฐจุฬาลัมพา โกฐกระดูก โกฐ
กานพราว โกฐพุงปลา โกฐชฎามังสี หนักสิ่งละ 2 สวน เทียนดํา เทียนแดง เทียนขาว เทียนขาวเปลือก เทียน
ตาตั๊กแตน เทียนเยาวพาณี เทียนสัตตบุษย เทียนเกล็ดหอย เทียนตากบ การบูร หนักสิ่งละ 1 สวน พิมเสน
หนัก 2 สวน
วิธีทาํ ชนิดผง บดเปนผง
ชนิดเม็ด บดเปนผง ทําเปนเม็ด หนักเม็ดละ 0.2 กรัม
สรรพคุณ แกลม วิงเวียน ละลายน้ําดอกไมหรือน้าํ สุก

ขนาดรับประทาน ชนิดผง ครั้งละ 1/2-1 ชอนชา


ชนิดเม็ด ครั้งละ 5-7 เม็ด
ขนาดบรรจุ ชนิดผง 15 กรัม
ชนิดเม็ด 30 เม็ด

(19) ยาหอมอินทจักร
วัตถุสวนประกอบ สะคาน รากชาพลู ขิง ดีปลี รากเจตมูลเพลิงแดง ลูกผักชีลา โกฐ
สอ โกฐเขมา โกฐกานพราว โกฐพุงปลา โกฐจุฬาลัมพา โกฐเชียง โกฐกักกรา โกฐน้ําเตา โกฐกระดูก
เทียนดํา เทียนขาว เทียนแดง เทียนขาวเปลือก เทียนเยาวพาณี จันทนแดง จันทนเทศ เถามวกแดง เถามวก
ขาว รากหญานาง เปลือกชะลูด อบเชย เปลือกสมุลแวง กฤษณา กระลําพัก บอระเพ็ด ลูกกระดอม กํายาน
ขอนดอก ลูกจันทน ดอกจันทน ลูกกระวาน กานพลู รากไครเครือ ลําพันแดง ดอกสารภี ดอกพิกุล ดอก
บุนนาค ดอกจําปา ดอกกระดังงา ดอกมะลิ ดอกคําไทย ฝางเสน ดีววั พิมเสน สิง่ ละ 1 สวน
วิธีทาํ ชนิดผง บดเปนผง
ชนิดเม็ด บดเปนผง ทําเปนเม็ด หนักเม็ดละ 0.2 กรัม
สรรพคุณ แกลมบาดทะจิต ใชนา้ํ ดอกมะลิ
แกคลื่นเหียนอาเจียน ใชน้ําลูกผักชี เทียนดําตม ถาไมมีใชนา้ํ สุก
แกลมจุกเสียด ใชนา้ํ ขิงตม
ขนาดรับประทาน รับประทานทุก 3 ชั่วโมง
ชนิดผง ครั้งละ 1/2-1 ชอนชา
ชนิดเม็ด ครั้งละ 5-10 เม็ด
ขนาดบรรจุ ชนิดผง 15 กรัม
ชนิดเม็ด 30 เม็ด

(20) ยาหอมนวโกฐ
วัตถุสวนประกอบ ขิงแหง ดีปลี เจตมูลเพลิงแดง สะคาน ชาพลู หนักสิง่ ละ 3 สวน
แหวหมู โกฐสอ โกฐเขมา โกฐหัวบัว โกฐเชียง โกฐจุฬาลัมพา โกฐกระดูก โกฐกานพราว โกฐพุงปลา โกฐ
ชฎามังสี เทียนดํา เทียนแดง เทียนขาว เทียนขาวเปลือก เทียนตาตัก๊ แตน เทียนเยาวพาณี เทียนสัตตบุษย
เทียนเกล็ดหอย เทียนตากบ สักขี ลูกราชดัด ลูกสารพัดพิษ ลูกกระวาน กานพลู ดอกจันทน ลูกจันทน
จันทนเทศ จันทนแดง อบเชยญวน เปลือกสมุลแวง หญาตีนนก แฝกหอม เปลือกชะลูด เปราะหอม ราก
ไครเครือ เนื้อไม ขอนดอก กระลําพัก เนื้อลูกมะขามปอม เนื้อลูกสมอพิเภก ชะเอมเทศ ลูกผักชีลา ลูก
กระดอม บอระเพ็ด เกสรบัวหลวง เกสรบุนนาค ดอกพิกุล ดอกสารภี ดอกมะลิ แกนสน หนักสิง่ ละ 4 สวน
พิมเสน หนัก 1 สวน
วิธีทาํ ชนิดผง บดเปนผง
ชนิดเม็ด บดเปนผง ทําเปนเม็ด หนักเม็ดละ 0.2 กรัม

สรรพคุณ แกลมคลื่นเหียน อาเจียน ใชน้ําลูกผักชี เทียนดําตม แกลมปลายไข ใชกา นสะเดา ลูกกระดอม


และบอระเพ็ด ตมเอาน้ํา ถาหาน้ํากระสายไมไดใชน้ําสุกแทน
ขนาดรับประทาน รับประทานทุก 3 ชั่วโมง
ชนิดผง ครั้งละ 1/2-1 ชอนชา
ชนิดเม็ด ครั้งละ 5-10 เม็ด
ขนาดบรรจุ ชนิดผง 15 กรัม
ชนิดเม็ด 30 เม็ด

(21) ยาอํามฤควาที
วัตถุสวนประกอบ รากไครเครือ โกฐพุงปลา เทียนขาว ลูกผักชีลา เนื้อลูก
มะขามปอม เนื้อลูกสมอพิเภก หนักสิง่ ละ 7 สวน ชะเอมเทศ หนัก 43 สวน
วิธีทาํ บดเปนผง
สรรพคุณ แกไอ ขับเสมหะ ละลายน้ํามะนาวแทรกเกลือ ใชจิบหรือกวาดคอ
ขนาดที่ใช ผูใหญ ครั้งละ 1 ชอนชา
เด็ก ลดลงตามสวน
ขนาดบรรจุ 15 กรัม

(22) ยาประสะมะแวง
วัตถุสวนประกอบ สารสม หนัก 1 สวน ขมิ้นออย หนัก 3 สวน ใบสวาด ใบ
ตานหมอน ใบกะเพรา หนักสิ่งละ 4 สวน ลูกมะแวงตน ลูกมะแวงเครือ หนักสิง่ ละ 8 สวน
วิธีทาํ บดเปนผง ผสมน้ําสุกแทรกพิมเสนพอควร ทําเปนเม็ด หนักเม็ดละ 0.2 กรัม
สรรพคุณ แกไอ แกเสมหะ ละลายน้ํามะนาวแทรกเกลือรับประทานหรือใชอม
ขนาดรับประทาน
เด็ก ครั้งละ 1-2 เม็ด
ผูใหญ ครั้งละ 5-7 เม็ด
ขนาดบรรจุ 30 เม็ด

(23) ยาบํารุงโลหิต
วัตถุสวนประกอบ ขิงแหง ดีปลี เจตมูลเพลิงแดง สะคาน ชาพลู ขมิน้ เครือ เถามวก
แดงกําลังวัวเถลิง ดอกสารภี ดอกพิกุล ดอกบุนนาค เกสรบัวหลวง หนักสิ่งละ 2 สวน ดอกจันทน ลูกจันทน
ลูกกระวาน กานพลู เทียนดํา เทียนแดง เทียนขาว เทียนขาวเปลือก เทียนตาตั๊กแตน โกฐสอ โกฐเขมา
โกศหัวบัว โกฐเชียง โกฐจุฬาลัมพา เนื้อลูกสมอไทย เนื้อลูกสมอดีงู เนือ้ ลูกสมอพิเภก เปลือกชะลูด เปลือก
อบเชยเทศ จันทนแดง แกนแสมสาร แกนแสมทะเล กฤษณา หนักสิ่งละ 1 สวน ครัง่ หนัก 8 สวน ฝาง ดอก
คําไทย หนักสิง่ ละ 10 สวน
วิธีทาํ บดเปนผง
สรรพคุณ บํารุงโลหิต
ขนาดรับประทาน รับประทาน วันละ 2 ครั้ง เชา-เย็น กอนอาหาร ครั้งละ 1 ชอนชา ละลายน้าํ สุก
ขนาดบรรจุ 30 กรัม

(24) ยาประสะไพล
วัตถุสวนประกอบ ผิวมะกรูด วานน้าํ กระเทียม หัวหอม พริกไทย ดีปลี ขิง ขมิน้
ออย เทียนดํา เกลือสินเธาว หนักสิ่งละ 8 สวน การบูร หนัก 1 สวน ไพล หนัก 81 สวน
วิธีทาํ บดเปนผง
สรรพคุณ แกจุกเสียด แกระดูไมปกติ ขับน้าํ คาวปลา
ขนาดรับประทาน รับประทาน วันละ 3 ครั้ง กอนอาหาร ครั้งละ 1 ชอนชา ละลายน้าํ สุก หรือน้ําสุรา
ขนาดบรรจุ 30 กรัม

(25) ยาไฟประลัยกัลป
วัตถุสวนประกอบ พริกไทยลอน ขิง ดีปลี กระเทียม หนักสิ่งละ 4 สวน .ขมิ้นออย
กะทือ ขา ไพล เปลือกมะรุม หนักสิ่งละ 5 สวน รากเจตมูลเพลิงแดง สารสม แกนแสมทะเล การบูร ผิว
มะกรูด หนักสิง่ ละ 6 สวน
วิธีทาํ บดเปนผง
สรรพคุณ ขับน้ําคาวปลาในเรือนไฟ ชวยใหมดลูกเขาอู
ขนาดรับประทาน รับประทาน วันละ 3 ครั้ง กอนอาหาร ครั้งละ 1 ชอนชา ละลายน้าํ สุก หรือ น้ําสุรา
ขนาดบรรจุ 15 กรัม

(26) ยาไฟหากอง
วัตถุสวนประกอบ รากเจตมูลเพลิงแดง ขิง พริกไทยลอน สารสม ฝกสมปอย หนัก
สิ่งละ 1 สวน
วิธีทาํ บดเปนผง
สรรพคุณ ขับน้ําคาวปลาในเรือนไฟ ชวยใหมดลูกเขาอู
ขนาดรับประทาน รับประทาน วันละ 3 ครั้ง กอนอาหาร ครั้งละ 1 ชอนชา ละลายน้ําสุก หรือ น้ําสุรา
ขนาดบรรจุ 15 กรัม
(27) ยาประสะเปราะใหญ
วัตถุสวนประกอบ โกฐสอ โกฐเขมา โกฐหัวบัว โกฐเชียง โกฐจุฬาลัมพา เทียนดํา
เทียนแดง เทียนขาว เทียนขาวเปลือก เทียนตาตั๊กแตน ลูกจันทน ดอกจันทน ลูกกระวาน กานพลู จันทนเทศ
จันทนแดง ดอกบุนนาค ดอกสารภี ดอกพิกุล เกสรบัวหลวง หนักสิง่ ละ 1 สวน เปราะหอม หนัก 20 สวน
วิธีทาํ บดเปนผง
สรรพคุณ ถอนพิษไขตานทรางสําหรับเด็ก ละลายน้ําดอกไมเทศหรือน้ําสุก
รับประทาน หรือผสมน้ําสุราสุมกระหมอม
ขนาดรับประทาน รับประทานทุก 3 ชั่วโมง ครั้งละ 1/2 - 1 ชอนชา
ขนาดบรรจุ 15 กรัม
ขอ 4. ฉลากยาสามัญประจําบานตามประกาศนี้ตองแสดงขอความดังตอไปนี้
4.1 ชื่อยาตามที่ระบุในประกาศ ในกรณีเปนตํารับยาทีม่ ีการกําหนดชื่อยาไวในประกาศ
ฉบับนี้
กรณีมีชื่อทางการคา ใหแสดงชื่อยาตามประกาศควบคูกับชื่อทางการคาดวย
4.2 คําวา “ยาสามัญประจําบาน” ในกรอบสีเขียวมีขนาดตัวอักษรที่สามารถอานได
ชัดเจน
4.3 คําวา “ยาสิ้นอายุ” และแสดงวันเดือนปทยี่ าสิน้ อายุ
ใหยาสามัญประจําบานตามประกาศฉบับนี้มีอายุการใชของยาไดไมเกิน 2 ป สําหรับยา
น้ํา และไมเกิน 3 ป สําหรับยารูปแบบอื่น เวนแตยาใดทีม่ ีหลักฐานชัดเจนแสดงวามีอายุการใชมากกวาที่
กําหนด ใหสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา มีอาํ นาจขยายอายุการใชของยาชนิดนัน้ ไดเปนเฉพาะ
ราย
4.4 ขอความอื่นตามทีก่ าํ หนดไวในมาตรา 57(2) แหงพระราชบัญญัติยา พ.ศ. 2510 ซึ่ง
แกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติยา (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2522 แลวแตกรณี
ขอ 5. ยาสามัญประจําบานที่ไดขึ้นทะเบียนตํารับยาไวกอ นวันที่ประกาศฉบับนี้ใชบงั คับ ใหถือ
วาเปนยาสามัญประจําบานตอไปไดภายในหนึ่งรอยแปดสิบวัน นับแตประกาศฉบับนี้มีผลใชบงั คับ
ขอ 6. ใหผูรับอนุญาตผลิตยาแผนโบราณที่ประสงคจะผลิตตํารับยาสามัญประจําบานตาม
ประกาศฉบับนี้ ยืน่ คําขอขึ้นทะเบียนตํารับยา โดยตองมีสูตร สวนประกอบ วิธีทาํ สรรพคุณ
วิธีการใช และขอความคําเตือน ตามประกาศฉบับนีห้ รือตามที่สาํ นักงานคณะกรรมการอาหารและยาอนุมัติ
โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการยา เมื่อไดรับใบสําคัญการขึ้นทะเบียนตํารับยาแลว จึงจะผลิตยานัน้ ได
ขอ 7. ใหผรู ับอนุญาตผลิตยาแผนโบราณที่มีตํารับยาตามประกาศฉบับนี้และไดขึ้นทะเบียน
ตํารับยาไวกอนที่ประกาศฉบับนี้มีผลใชบงั คับที่ประสงคจะใหตํารับยานัน้ เปนยาสามัญประจําบานโดยไม
ตองขอขึ้นทะเบียนตํารับยาใหม ขอแกไขรายการทะเบียนตํารับยา ภายในกําหนดหนึ่งรอยแปดสิบวัน นับแต
ประกาศฉบับนี้มีผลใชบงั คับ
ขอ 8. ประกาศฉบับนี้ใหใชบงั คับตั้งแตวันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา เปนตนไป

ประกาศ ณ วันที่ 26 มิถุนายน พ.ศ. 2542


(ลงชื่อ) กร ทัพพะรังสี
(นายกร ทัพพะรังสี)
รัฐมนตรีวาการกระทรวงสาธารณสุข

(คัดจากราชกิจจานุเบกษา เลม 116 ตอนที่ 67 ง วันที่ 24 สิงหาคม 2542)

You might also like