Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 59

ชูเลิศ จิตเจือจุน

วก www.tatech2006.com
www.facebook.com/tatech2006
าวศิ
เสาเข็มมีความบกพร่ องหรื อไม่ สมบูรณ์
„ การฝื นตอกเสาเข็มลงในชันดินแข็ง
สภ

„ การนําเสาเข็มทียังไม่ได้ อายุมาใช้ งาน


„ เสาเข็มแตกร้ าวระหว่างการขนส่งหรือขณะยกติดตัง
„ เสาเข็มเอียง
„ การเชือมรอยต่อของเสาเข็มไม่ได้ มาตรฐาน
„ การก่อสร้ างเสาเข็มเจาะทีไม่ได้ มาตรฐาน เสาเข็มขาดกลาง เกิดNecking
„ การเคลือนตัวด้ านข้ างของดินระหว่างการตอกไปดันเสาเข็มทีตอกก่อนหัก
วิธีการ
ต่อเสาเข็ม


วก
าวศิ
ปั ญหารอยเชือมของเสาเข็ม
สภ
ปั ญหารอยเชือมของเสาเข็ม


วก
าวศิ
ปั ญหาการฝื นตอกเสาเข็ม
สภ

วก
ระยะยกเสาเข็มแบบ 1 จุด เพือ
ทําการตอกโดยปั นจัน
อ้างอิงรูปภาพ
Construction knowledge By Thammanoon M
าวศิ
สภ

ระยะยกเสาเข็มแบบ 2 จุด เพือการขนส่ง


อ้างอิงรูปภาพ
Construction knowledge By Thammanoon M

วก
ระยะวางเสาเข็มแบบ 2 จุด ด้วยไม้หมอน
อ้างอิงรูปภาพ
Construction knowledge By Thammanoon M
าวศิ
สภ

ระยะวางเสาเข็มแบบ 3 จุด ด้วยไม้หมอน

อ้างอิงรูปภาพ
Construction knowledge By Thammanoon M
การกองเก็บเสาเข็ม


วก
าวศิ
ลูกตุม้ มีขนาดตังแต่ 2.5-7.0 ตัน การเลือกใช้ลุกตุม้ อยูร่ ะหว่าง 0.70-2.5 เท่าของ
นําหนักเสาเข็ม ระยะยกลูกตุม้ โดยทัวไปมีระยะ 30-80 ซม. ในการตอกเสาเข็มต้องมี
หมวกเสาเข็มเพือป้ องกันการแตกร้าว และเพิมประสิทธิภาพในการส่งถ่ายแรง
สภ

อ้างอิงรูปภาพ
http://www.civilclub.net
มาตรฐานงานเสาเข็มตอก


วก
าวศิ
การนับการตอก 10 ครังสุดท้าย (Last Ten Blow) เป็ นการ
ตรวจสอบระยะจมของเสาเข็ม 10 ครังสุดท้ายว่าจมลงไปไม่
สภ

มากกว่าหรือเท่ากับค่าทีคํานวณได้ โดยคํานวณจากสูตร
การตอกเสาเข็ม หากได้ตามทีคํานวณก็ให้ยุตกิ ารตอก
ในกรณีนผูี ค้ วบคุมงานต้องคอยดูการปล่อยลูกตุม้ ต้อง
ปล่อยอย่างเสรี โดยสังเกตจากเส้นสลิง เวลาลูกตุม้ กระทบ
หัวเสาเข็ม สลิงจะหย่อน ถ้าสลิงตึงแสดงว่าไม่ปล่อยลูกตุม้
อย่างเสรี (มีการโกง Blow Count)
ปั ญหาการตอกเสาเข็ม


วก
าวศิ
เสาเข็มมีความบกพร่ องหรื อไม่ สมบูรณ์
สภ
เสาเข็มมีความบกพร่ องหรื อไม่ สมบูรณ์


วก
ฐานรากเสาเข็มกลุ่มเกิดการทรุ ดเอียง
าวศิ
เนืองจากเสาเข็มต้นหนึ งภายในฐานหัก
สภ

วก ฐานรากเสาเข็มกลุ่มเกิดการทรุ ดเอียงเนืองจาก
เสาเข็มต้นหนึ งภายในฐานหัก
าวศิ
เสาเข็มรับนําหนักมากเกินไป

„ การใช้ งานผิดวัตถุประสงค์ จากทีได้ ออกแบบไว้ ในตอนแรก


สภ

„ การถมดินเพือหนีนําท่ วม
„ วิศวกรผู้ออกแบบประเมินกําลังรับนําหนักของเสาเข็มสู ง
เกินจริ ง
เสาเข็มระเบิดเนื องจาก
รับนําหนักมากเกินไป


วก
าวศิ
งานตรวจสอบ
สภ

ความสมบูรณ์ของเสาเข็ม
โดยวิธี Seismic test
Velocity

Impact Pulse
Impact Effect
CR Effect
CR Effect 2"

Time

R Effect

Time

CR


R

วก Depth
าวศิ
ลักษณะการเดินทางของคลืนหน่ วยแรงในเสาเข็มทีสมบูรณ์
สภ

อ้างอิ งจาก มยผ. 1551-51


ตัวอย่างของค่าทีวัดได้จากหัววัดสัญญาณกรณี เสาเข็มมีสภาพสมบูรณ์


วก อ้างอิ งจาก มยผ. 1551-51
าวศิ
สภ

อ้างอิ งจาก มยผ. 1551-51



วก
อ้างอิ งจาก มยผ. 1551-51
าวศิ
สภ

อ้างอิ งจาก มยผ. 1551-51


ตัวอย่างผลทีได้จากการทดสอบ Seismic


วก อ้างอิ งจาก บริษทั เอส ที เอส อิ นสตรูเม้นท์ จํากัด
าวศิ
ดัชนี แสดงสภาพความสมบูรณ์ หรือ ค่าเบต้า, β
สภ

อ้างอิ งจาก บริษทั เอส ที เอส อิ นสตรูเม้นท์ จํากัด


ข้อจํากัดของการทดสอบ Seismic Test


วก
าวศิ
สภ

ตรวจสอบด้วย Seismic Test ได้ ตรวจสอบด้วย Seismic Test ไม่ได้


การประเมินค่ าความยาวเสาเข็ม


โดยวิธี Seismic test

วก
าวศิ
ค่าความยาวของเสาเข็มทีได้ จากวิธี Seismic test นัน เป็ น
การประมาณค่าในเบืองต้ นอย่างหยาบๆ เนืองจากค่า
ความยาวทีคํานวณโดยวิธีนีจะได้ มาจาก
สภ

สูตร s = v.t โดยที

s = ระยะทางหรือความยาวเสาเข็ม, เมตร
v = ความเร็วของคลืนทีวิงผ่านเสาเข็ม, เมตร/วินาที
t = ระยะเวลาทีคลืนวิงผ่านเสาเข็ม, วินาที

วก อ้างอิ งจาก บริษทั เอส ที เอส อิ นสตรูเม้นท์ จํากัด
าวศิ
„ ผลการวิจย
ั ในต่างประเทศ สรุปไว้ว่าค่า
สะท้อนกลับทีปลายเสาเข็มจะปรากฏให้
เห็นชัดเมือเสาเข็มมีความยาวน้ อยกว่า 30
สภ

เท่าของขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางของเสาเข็ม
„ ดังนันถ้าเสาเข็มมีขนาดหน้ าตัด 0.30 เมตร
ก็จะสามารถวิเคราะห์ได้แม่นยําเมือเสาเข็ม
ยาวไม่เกิน 9 เมตร เท่านัน
งานตรวจสอบความยาวเสาเข็ม


โดยวิธี Parallel Seismic Test

วก
าวศิ
Parallel Seismic Test
สภ
Depth (m.)
ตรวจสอบความยาวเสาเข็มด้วยวิธี Parallel Seismic Test


วก
หลักการทดสอบเพือหาความยาวของเสาเข็มด้วยวิธี Parallel Seismic Test
าวศิ
สภ

Length
การทดสอบ Parallel Seismic Test


วก
าวศิ
สภ

วก
าวศิ
เสาเข็มเยืองศู นย์ (Eccentricity)
„ ปั ญหาการเกิดเสาเข็มเยืองศูนย์นนั มักเกิดกับฐานรากทีเป็ นเสาเข็มต้ นเดียว
สภ

โดยทัวไปพบในการการสร้ างโดยใช้ เสาเข็มตอก โดยเฉพาะการตอกเสาเข็มใน


บริ เวณทีเป็ นดินอ่อน หรือบริ เวณทีใกล้ ชายฝัง คู คลอง ทีดินสามารถเคลือนตัว
ออกไปทางด้ านข้ างโดยง่าย เนืองจากไม่มีสภาพของการจํากัดบริเวณ
(Confinement) การตอกเสาเข็มซึงเป็ นการแทนทีดิน จึงทําให้ เกิดการเคลือนตัว
ทางด้ านข้ างได้ ง่าย
„ หากพบว่าเสาเข็มมีการเยืองศูนย์มาก ก่อนทีจะทําการก่อสร้ างต่อไป ควรทําการ
ทดสอบความสมบูรณ์ของเสาเข็ม (Seismic Test) ว่าเสาเข็มมีความชํารุด
บกพร่ องหรื อไม่ ทังนีเพือทีจะได้ สามารถแก้ ไขได้ ทนั ท่วงที
เสาเข็มเยืองศู นย์ (Eccentricity)
ข้อกําหนดงานเข็มเจาะ ของ ว.ส.ท.
„ ระยะเยืองศูนย์ ไม่เกิน 7.5 ซ.ม.
„ เอียงไม่เกิน 1:100


ข้อกําหนดงานเข็มตอก ของ ว.ส.ท.
„ ระยะเยืองศูนย์ ไม่เกิน 5 ซ.ม.

วก
„ เอียงไม่เกิน 1:50
าวศิ
Eccentric of pile
สภ
ปัญหาเสาเข็มเยืองศูนย์


วก
าวศิ
สภ
สภ
าวศิ
วก

สภ
าวศิ
วก

สภ
าวศิ
วก

สภ
าวศิ
วก

สภ
าวศิ
วก

สภ
าวศิ
วก

สภ
าวศิ
วก

สภ
าวศิ
วก


วก
าวศิ
อาคารพาณิชย์ 4 ชัน บางนา กม. 28
สภ
การเคลือนตัวของดินทําให้เสาเข็มหัก

2.5 m.


วก
าวศิ
การวิบัตเิ กิดจากเสาเข็มทีหักเยืองศูนย์

เสาโครงสร้าง
สภ

Strap Beam

เสาเข็ม

วก
าวศิ
การวิบตั ิ ทีเกิดจากเสาเข็มหัก
สภ

2.5 m.

วก
าวศิ
ปัญหาและแนวทางแก้ไขในงานตอกเสาเข็ม
1)

2)
สภ

3)

4)
Jack In Pile


วก
าวศิ
Jack In Pile
สภ
Jack In Pile


วก
าวศิ
ปัญหาและแนวทางแก้ไขในงานตอกเสาเข็ม
5)
สภ

6)

7)
ความยาวของเสาเข็มทีใช้ ไม่ เท่ ากัน
(Differential Settlement)
„ วิศวกรออกแบบผิดพลาดตังแต่ ต้น
„ การต่ อเติมอาคารโดยใช้ เสาเข็มยาวกว่ าอาคารเดิม
„ การต่ อเติมอาคารโดยใช้ เสาเข็มสั นกว่ าอาคารเดิม
„ การก่ อสร้ างอาคารใหม่ ทใช้
ี เสาเข็มยาวมาชิดกับอาคารเก่าทีเป็ น


เสาเข็มสั น

วก
าวศิ
สภ
สภ
าวศิ
วก

สภ
าวศิ
วก


ดินอ่อน

วก
ดินแข็ง
าวศิ
สภ

ดินอ่อน
ดินแข็ง

วก
าวศิ
A B C D E
สภ

Soft Clay

Medium Clay

Sand

Settlement (A=B) > C > (D=E)



วก
าวศิ
สภ

Settlement
Settlement Record
2530 2532 2534 2536 2538 2540 2542 2544 2546
0

-20
Settlement (cm.)

-40


-60

วก
-80

-100
Time (year)
าวศิ
สภ
สภ
าวศิ
วก

สภ
าวศิ
วก

ร 3.0 m. 6.0 m. 6.0 m.
วก
าวศิ
สภ
3.0 m. 3.0 m.
3.0 m.
3.0 m.


วก
I 0.18x0.18x14 m.
Safe Load 13 ton
I 0.26x0.26x24 m.
Safe Load 30 ton
าวศิ
I 0.18x0.18x14 m.
I 0.26x0.26x24 m. Safe Load 13 ton
สภ

Safe Load 30 ton

Soft Clay

Stiff Clay
Negative Skin Friction
-
Consolidation Consolidation


Soft Clay

วก
+
Stiff Clay
าวศิ
สภ
สภ
าวศิ
วก

การต่อเติมโครงสร้ างโดยใช้ เสาเข็มเจาะ
„ ขบวนการในการก่อสร้ างเสาเข็มเจาะนัน แตกต่างกับเสาเข็มตอกอย่าง
สินเชิง ซึงก็มีผลทําให้ พฤติกรรมของเสาเข็มเจาะแตกต่างกับเสาเข็ม
ตอกตามไปด้ วย โดยเสาเข็มเจาะจะมีการทรุดตัวสูงกว่าเสาเข็มตอก
มากพอสมควร เนืองจากเสาเข็มเจาะจะมีการทรุดตัวเนืองจากการหด
ตัวของคอนกรี ตทีใช้ หล่อเสาเข็ม และการทรุดตัวทีปลายเสาเข็ม (Soft


Toe) มากกว่าเสาเข็มตอก ด้ วยเหตุนีหากต้ องการทีจะต่อเติมโครงสร้ าง
โดยใช้ เสาเข็มเจาะ ควรทําการตัดแยกโครงสร้ างใหม่และเก่าออกจาก
กันอย่างเด็ดขาด โดยสร้ างโครงสร้ างยืนเข้ าไปใกล้ กนั แต่ไม่ให้ มีการ

วก
เชือมติดกัน โครงสร้ างทังสองต้ องเป็ นอิสระต่อกัน ไม่ควรฉาบปูนปิ ด
รอยต่อ เนืองจากแรงยึดเหนียวและแรงเสียดทานของปูนฉาบ อาจ
ก่อให้ เกิดปั ญหาการทรุดเอียงของโครงสร้ างใหม่ได้
าวศิ
สภ
สภ
าวศิ
วก

เสาเข็มเจาะทีเกิดปัญหา
Necking


วก
าวศิ
Bad quality concrete.
สภ
สภ
าวศิ
วก

สภ
าวศิ
วก

สภ
าวศิ
วก

ฐานรากวางตัวอยู่บนชันดินต่ างชนิดกัน

„ ประเด็นของปัญหานีมักไม่คอ่ ยเกิดขึนบ่อย เนืองจากในการตอกเสาเข็ม


มักจะมีการกําหนดค่า Blow Count ไว้ ซึงหากยังไม่ได้ คา่ Blow Count
ทีกําหนด ก็จะต้ องตอกส่งเสาเข็มลงไปอีก แต่อย่างไรก็ตาม กรณีการ
วิบตั ิเช่นนีก็ยงั เกิดขึน เนืองจากผู้รับเหมาตอกเสาเข็มต้ องการ
ประหยัดเวลาและค่าใช้ จ่ายในการตอก โดยจะทําการ “โกง B l o w


Count” เพือให้ ความลึกของเสาเข็มตามต้ องการ ซึงถ้ าไม่มีวิศวกรมา
คอยควบคุมอยูห่ น้ างาน หรือวิศวกรไม่มีความเชียวชาญพอ ก็จะไม่ทนั

วก
เล่ห์เหลียมของผู้รับเหมาตอกเสาเข็ม และถูกโกง Blow Count ในทีสุด
าวศิ
สภ

ดินอ่อน

ดินแข็ง

ดินอ่อน

วก
ดินแข็ง
าวศิ
สภ

ขอบคุณทีรับฟังอย่างตังใจ
www.facebook.com/tatech2006
www.tatech2006.com
tatech2006@gmail.com

You might also like