Download as docx, pdf, or txt
Download as docx, pdf, or txt
You are on page 1of 16

่ นทีรู่ ้จักกันดีในศตวรรษที20

บทเพลงทีเป็ ่

ความจาเป็ น
ของเทปเพลงใหม่ๆของวงดนตรีทมี ่ี คณ
ุ ค่าทางศิลปะและมีความคิดทีสร ่ ้างสรรค ์ยัง
คงเป็ นจุดมุ่งหมายของนักดนตรีทุกคนผูเ้ ชือในศั ่ กยภาพของโน้ตเพลงของวงเครือ่

งเป่ าทีแสนจะตระการตาถึ ่
งเวลาแล ้วทีจะละทิ ้ ดเก่าๆทีว่่ าวงดนตรีในคอนเสิ
งความคิ
่ นวงออร ์เคสตร ้า ทีไม่
ร ์ตทีเป็ ่ มเี ครืองสายจั
่ ่ คณ
ดอยู่ในการแสดงทีมี ุ ค่า -- Joseph
Wagner
ในศตวรรษที่ 20 มักจะได ้เห็นการเติบโตของงานประพันธ ์แบบดังเดิ
้ ม

ของวงดนตรีเครืองเป่ ่ งแต่
าโดยเฉพาะอย่างยิงตั ้ ในปี 1940 ความพยายาม

อย่างมีนัยสาคัญทีจะปร ่ นทีรู่ ้จักกันดี ทัง้
ับปรุงบทเพลงทีเป็

ในส่วนของเนื อหาและความดั ้ มในขณะเดียวกันก็จะออกแบบ หน้าที่ ในวง และ
งเดิ
ความสอดประสานกันของเครืองดนตรี ่ อย่างไรก็ตาม เทรนนี ้
ยังเข ้ามาค่อนข ้างช ้า (ในสมัยนั้น) หลายสิบปี ทีวงเครื
่ ่
องเป่ า
ถูกนามาเล่นในวงออร ์เคสตร ้า
่ นทีรู่ ้จักเพราะจริงๆแล ้วทังสองวงนั
ได ้หลายหลายบทเพลงทีเป็ ้ ้นมีความคล ้ายคลึงกั


ในการบันทึกเสียงของวงออร ์เคสตร ้าสร ้างเสียงทีไพเราะและจุ ดประสงค ์เฉพาะในก

ารทางานของนักแต่งเพลง ทีรวมเอาสไตล ์บางอย่าง ใน แบบออร ์เคสตร ้า
ด ้วยเทคนิ คในการแต่งเพลง

่ ้ววงเครืองเป่
ในหน้าทีแล ่ าไม่ใช่แค่ปรากฏการณ์ในศตวรรษที่ 20
่ี ความสัมพันธ ์กับยุคฟื ้ นฟูศล
แต่เป็ นดนตรีทมี ิ ปวิทยาและแนวดนตรีของกาบริเอลี,
หอดนตรีในเยอรมัน และ วงเครืองเป่ ่ ่
ายุคบาโรคในร ัชสมัยของพระเจ ้าหลุยส ์ที14
,ดนตรีharmonicในยุค
คลาสสิกในสมัยปฏิวต ั ฝ ่ั
ิ รงเศสและรุ ง่ อรุณแห่งยุคจินตนิ ยม,

วงเครืองเป่ ่
าถูกปร ับเปลียนให ้
้มีความหลากหลายมากขึนตามภาวการณ์ ในช่วงศต
วรรษที่ 20

โดยเครืองเป่ าในยุคใหม่ๆจะมีรป ู แบบในด ้านของศิลปะมากกว่าการสร ้างการแสดง
่ คณ
ทีมี ุ ค่า

วงเครืองเป่ าได ้ร ับการนับถือว่า
เป็ นแรงผลักดันทีท ่ าให ้มีการแสดงดนตรีในยุคของ วงดนตรีมอ ื อาชีพ.The
legacy of Gilmore ,Sousa
และอีกหลายหลายวงได ้ส่งมอบความตระการตาทีน่่ าจดจาบางส่วนให ้กับวง
Goldman และ วงดนตรีของทหาร
่ บทบาทสาคัญในการอนุ รกั ษ ์มรดกทางดนตรีของวงเครืองเป่
ซึงมี ่ ่ี คว
า.วงดนตรีทมี
ามโดดเด่น หลายๆวงก็เริมก่ ่ อตัวขึน้ ในมหาวิทยาลัยและวิทยาลัยทัวสหร
่ ัฐอเมริกา
เนื่ องจากยังไม่มก ้
ี ารเติบโตขึนมาของวงดนตรี ในโรงเรียนประถมศึกษาแต่ยกเว ้นว
งโยธวาทิต,

การประพันธ ์ยังคงดาเนิ นอยู่เกือบทังหมดโดยประกอบด ่ น
้วยการบันทึกเสียงซึงเป็

พืนฐานของการท าดนตรีคลาสสิก
่ นทีรู่ ้จักกันดีในช่วงก่อนศตวรรษที่ 20
บทเพลงทีเป็

วงเครืองเป่ ่ าให ้มีการแสดงดนตรีในยุคของ
าได ้ร ับการนับถือว่า เป็ นแรงผลักดันทีท
วงดนตรีมอ ื อาชีพ.The legacy of Gilmore ,Sousa
และอีกหลายหลายวงได ้ส่งมอบความตระการตาทีน่่ าจดจาบางส่วนให ้กับวง
Goldman และ วงดนตรีของทหาร
่ บทบาทสาคัญในการอนุ รกั ษ ์มรดกทางดนตรีของวงเครืองเป่
ซึงมี ่ า.วงดนตรีทมี่ี คว
ามโดดเด่น หลายๆวงก็เริมก่ ่ อตัวขึน้ ในมหาวิทยาลัยและวิทยาลัยทัวสหร ่ ัฐอเมริกา
เนื่ องจากยังไม่มก ้
ี ารเติบโตขึนมาของวงดนตรี ในโรงเรียนประถมศึกษาแต่ยกเว ้นว
งโยธวาทิต,

การประพันธ ์ยังคงดาเนิ นอยู่เกือบทังหมดโดยประกอบด ่ น
้วยการบันทึกเสียงซึงเป็

พืนฐานของการท าดนตรีคลาสสิก
ในปี 1917 ถึง 1928 รวมรวมแล ้วมี 49

บทเพลงของวงเครืองเป่ ่
าทีประพั ้
นธ ์ขึนโดยนั กแต่งเพลง อาทิ
Webern,Beg,Ives,Villa-
Lobos,Piston,Sibelius,Poulenc,Busoni,Milhaud,
Scoenberg,Stravinsky,Vaughan Williams และ
Ibert. Stravinsky คนเดียวก็ประพันธ ์ผลงานไปแล ้วกว่า
7 บทเพลงในระหว่างปี 1916 และ 1924 อันได ้แก่ the
Duet for Two Bassoons , The Soldier's Tale ,
Rag Time , Three Pieces for Clarinet Solo ,
Symphonies of Wind Instruments , Octet for
Igor Stravinsky
Wind Instruments , and Concerto for Piano and Winds
ในขณะเดียวกัน ถึงผลงานส่วนใหญ่จะถูกประพันธ ์
้ ความตระการตาเพียงเล็กน้อยแต่ทว่านักแต่งเพลงหลายๆคนทีมาจากพื
ขึนมี ่ ้
นเพที ่
หลากหลายแตกต่างกันก็ยงั แสดงถึงความสนใจทีมี ่ ต่อเพลงเครือง

้ ถงึ อย่างไรก็ตามความสนใจ ของ
ตังแต่
นักแต่งเพลงเหล่านั้นก็ยงั ล ้มเหลวทีจะน
่ ามาใช ้ประโยชน์ในโอกาสทีดี ่ นี ้

(หนึ่ งยกเว ้นทีมี


่ ชอเสี
่ื ยง คือ
การประกวดผลงานของวงดนตรีดงเดิ้ั มซึงริ
่ เริมโดยEdwin
่ Franko Goldman
ในปี 1920)

ในขณะเดียวกันปริมาณของความสนใจถูกแสดงให ้เห็นโดยนักประพันธ ์เพลง



ด ้านเครืองเป่ าของดนตรีคลาสสิก หลายๆคน,
จานวนผลงานต ้นฉบับของวงถูกบันทึกเสียง ไว ้โดยนักแต่งเพลงอย่างเงียบๆ.
ในช่วงสามทศวรรษแรกของศตวรรษที่ 20 ผลงานดังกล่าวประกอบด ้วย
ในปี 1929the American Bandmaster
Association ได ้ถูกก่อตังขึ ้ น,
้ และ Sousa
ได ้ร ับเกียรติถูกเลือกให ้เป็ นประธานคนแรกของสมาคม.
จากการก่อตังABA ้ ,

Percy Grainger

ความพยายามทีจะน ่ าเครืองดนตรี
่ ่ี นมาตรฐาน,เทคนิ คการฝึ กซ ้อม,
ทเป็

ความเชียวชาญหรื อประสบการณ์ใน ด ้านการแสดง,
บทเพลงใหม่ๆให ้เป็ นทีรู่ ้จักและกระจายไปทัวประเทศถู
่ ่ น้ (
กริเริมขึ
จากจุดเริมต ่ ้นในมหาวิทยาลัยของIllinois).
ในบรรยากาศแบบนี การฝึ ้ กซ ้อมของผูก้ ากับการแสดงในอนาคตคงจะเกิดขึนในไ ้
ม่ช ้า. แมค้ วามพยายามของABA และวาทยกรทีมี ่ อทิ ธิพลอย่าง E.F. Goldman,
ผลักดันให ้การประพันธ ์ดนตรีแบบดังเดิ ้ มเริมต่ ้นขึนมา.


นักประพันธ ์เพลงผูร้ ว่ มก่อตังบางคนเช่ นHenry Cowell ( Shoonthree ,
1940), Gustav Holst ( Hammersmith , 1930), Percy Grainger (
Lincolnshire Posey , 1937), and Ottorino Resphigi ( Huntingtower
Ballad , 1932) พยายามตอบสนองความต ้องการนั้นๆ
้ั มโดยเหล่านักแต่งเพลงชาวอเมริกน
แต่งานแสดงดนตรีดงเดิ ั ยังคงไม่เป็ นทีรู่ ้จักมา
กนัก

่ นทีรู่ ้จักกันดีในช่วงก่อนปี 1940s


บทเพลงทีเป็

่ ่ในช่วงสงครามโลกครงที
ในปี ทีอยู ้ั สองเราจะได
่ ้เห็ นความแปลกใหม่ทน่่ี าสนใจของเ
พลงในแบบฉบับของวงเครืองเป่ ่ า.
หนึ่ งในเหตุผลทีสามารถคาดคะเนได
่ ้คือการให ้ความสาคัญกับ ความ
สนุ กเพลิดเพลินของวงดนตรีทหารในช่วงนั้น.
่ นทีรู่ ้จักในยุคนั้นประกอบด ้วย
เพลงและผูแ้ ต่งทีเป็
ถึงอย่างไรก็ตามความสนใจทีมี ่ มากขึนต่ ้ อเพลงของวงดนตรีเครืองเป่ ่ า,
่ กยภาพของสิงที
ซึงศั ่ เป็่ นทีรู่ ้จักไหมนี ยั ้ งไม่ได ้ถูกตระหนักอย่างชัดเจนนัก,David
Whitwell ได ้ ให ้ ข ้อสังเกตในการตรวจสอบโรงเรียนดนตรี ที่ Prescott เเละ
Chidester พบว่ามีผลลัพธ ์ทีดี ่ ขน,ึ ้ หนังสือถูกตีพม ่
ิ พ ์ในปี 1938 เกียวกั บ 10
ความสาเร็จใน 17 โปรแกรมกับวงดนตรีของนักเรียน( ทีเป็ ่ นเด็กโต) โดย

มีการเรียบเรียงเพลงขึนมาใหม่ ถงึ 85 เปอร ์เซ็นต ์.Whitwell สังเกตแนวโน้มเดิม

ในวงดนตรีของR.F. Goldman และยังคงตีพมิ พ ์ในปี 1938



แม้ในส่วนแรกของหนังสือรายชือเพลงแนะน ่ นทีรู่ ้จักมีกว่า 800 ผลงาน
า ทีเป็

และกว่า 88% ถูกเรียบเรียงขึนใหม่
่ นทีรู่ ้จักกันดีในช่วง1940sและ 1950s :
บทเพลงทีเป็
นักประพันธ ์เพลงชาวอเมริกน ั สร ้างเอกลักษณ์เป็ นของตัวเอง

เนื อเพลงต ่
้นฉบับจะไม่เป็ นทีแพร่
หลายมากนักอย่างทีหวั่ งเอาไว ้แต่วงดนตรีขนาด
่ นทีรู่ ้จักและนักประพันธ ์เพลงชาวอเมริ
กลางก็ยงั คงค่อยๆพัฒนาเพลงต ้นฉบับทีเป็

กันต่างแสดงความสนใจเป็ นอย่างมาก.ในอีก 10 ถึง 12



ปี ข ้างหน้าก็จะสะท ้อนความสนใจทีมากขึ ้ อยๆของนั
นเรื ่ กประพันธ ์เพลงชาวอเมริก ั
นต่อเพลง

แมว้ ่าจะ มีการกาเนิ ดขึนของการประพั นธ ์ใหม่ๆ, การใช ้การเรียบเรียง
บทประพันธ ์ยังเป็ นเรืองทั่ วๆไป.่ ในปี 1956
นักดนตรีได ้เริมท ่ าเพลงทีมี ่ ชอว่
่ื า"The Best in Band Music". ในปี
1958 ได ้รวบรวมเอา ผลของ 31 ผูร้ ว่ มสมทบ
ไว ้ในคอลัมน์เดียวกันโดยมีอยู่ทงหมด ้ั 118 ชือ่
เพลงทีได ่ ้ร ับการเสนอแนะ จากอย่างน้อย 3 วาทยกร และมากกว่า 66%

ของชือเพลงเหล่ านั้นได ้ถูกเรียบเรียงบทประพันธ ์วงขึน้
แมเ้ พลงทีเลื่ อกมาส่วนใหญ่ถูกวิจารณ์ว่าเกือบทังหมดเรี ้ ้
ยบเรียงขึนโดยไม่ มขี ้อ
ใหม่ แมเ้ พลงทีเลื ่ อกมาส่วนใหญ่ถก ้
ู วิจารณ์ว่าเกือบทังหมด
แมเ้ พลงทีเลื ่ อกมาส่วนใหญ่ถูกวิจารณ์ว่าเกือบทังหมดเรี ้ ้
ยบเรียงขึนโดยไม่ มข
ี ้อยก
เว ้นใดๆ จากงานต ้นฉบับเลย

่ นทีรู่ ้จักในปี 1960s


บทเพลงทีเป็
่ งออกมาในปี 1960 sได ้แก่
ท่ามกลางจานวนเพลงทีแต่
่ นทีรู่ ้จักใน ปี 1970s
บทเพลงทีเป็
ในช่วงกลางยุค 70
สมดุลระหว่างการประพันธ ์แบบดังเดิ ้ มและการเรียบเรียงบทประพันธ ์ขึนใหม่

โดยเปรียบเทียบจานวนงานต ้นฉบับและ งานทีถู ่ กเรียบเรียงใหม่
่ าเนิ นงานอยู่ใน. the Midwest National Band and Orchestra Clinic
ทีด
และ the College Band Directors National Association conventions,
James Westbrookกาหนดว่า 27
เปอร ์เซ็นต ์ของเพลงทีด่ าเนิ นงานอยู่ใหถ้ ูกเรียบเรียงขึนใหม่

ในปัจจุบน ่ นของจ
ั การเพิมขึ ้ านวนงานประพันธ ์จะมีการ
ทาในวงดนตรีระดับกลางโดยจะเป็ นทียอมร ่ ับกันว่างานประพันธใหม่ ่ ์ จานวนมากม
ากไม่สามารถยืนอยู่บนบททดสอบของเวลาได ้. แต่สงนี ่ิ ้

มีแนวโน้มทีจะไม่ ่
อาจเปลียนแปลง
แนวเพลงทุกชนิ ดไม่ว่าจะเป็ นยุคไหนของประวัตศ ิ าสตร ์ดนตรีก็ตาม.
ในความพยายาม ในความเป็ นวงดนตรีคลาสสิคระดับกลางจะทา การแสดงที่
น่ าผิดหวัง งานประพันธ ์มีเนื อหาที ้ ่ นและเบาจนเกิ
สั ้ นไป .
่ี นทียอมร
ผูท้ เป็ ่ ับชาวอเมริกน ั รายหลายคนผูเ้ ขียนงานเพลงต ้นฉบับให ้วงดนตรีตงแ ้ั
ต่สมัยสงครามโลกครงที ้ั ่ 2
เขียนเพลงออกมาอย่างยิงใหญ่ ่ ในหลายๆการประพันธ ์ของดนตรีคลาสสิค.
ในขณะเดียวกันงานเพลงของดนตรีทเป็ ี่ นทีรู่ ้จักจิตเปี่ ยมไปด ้วยคุณภาพ,

ผูเ้ ขียนงานเพลงเหล่านี บางคนไม่ ได ้ใช ้
พลังงานและความมุ่งมั่นเท่าเท่ากันทุกเพลงตัวอย่างเช่น, instance, Barber's
Commando March - albeit a very fine march -
จะไม่มค ่ นในการแสดงเดียวไวโอลิ
ี วามยังยื ่ น.
ข่าวดีคอื หลายๆคนทียอมร ่ ่
ับทีจะแข่ งขันกันและสร ้างงานทีมี ่ ความยาว อย่าง the
symphonies by Gould, Persichetti, and Giannini,La Fiesta Mexicana
by H. Owen Reed, and Lincolnshire Posy by Grainger.

่ งออกมาใหม่ในปี 1970 s ได ้แก่


จานวนงานเพลงทีแต่
่ นทีรู่ ้จักกันดีในปี 1980s
บทเพลงทีเป็

่ นทีรู่ ้จักกันดีในปี 1990s


บทเพลงทีเป็
สรุป
คุณภาพและความซับซ ้อนของดนตรีวงเครืองเป่ ่ าในหลายๆทศวรรษได ้เติบโตขึนอ ้

ย่างชัดเจนจังหวะและโน้ตเพลงก็เปลียนแปลงไปตามกาลเวลา. ่
เครืองดนตรี,

เครืองกระทบ,

เครืองเป่ ้
าไมแ้ ละทองเหลืองทังหมดล ้วนถูกให ้ความสาคัญอย่างเท่าเทียมกัน.
โทนและสีสน ั ของเพลงจากส่วนของpercussion ช่างยิงใหญ่ ่ ่
. โดยการเพิมbrake
drum,ความหลากหลายของethic drumsเเละเคืองดนตรี ่ ตา่ งๆ.The mallet
instrument(ค ้อนเล็ กๆทีอยุ ่ ่ในเปี ยโน) เข ้ามาทาให ้เป็ นโนนสมบูรณ์.

ไม่บ่อยนักทีจะได ้เห็นharpเเละcelesteในวงดนตรี.
การร ้องเพลงในวงดนตรีเป็ นเรืองทั ่ วไปเช่
่ นเดียวกับความบังเอิญหลากหลายรูปแบ
่ ดจากการ ซ ้อม. ธรรมเนี ยม ของเหล่านักแต่งเพลง
บทีเกิ
ในมุมมองของวงดนตรีเครืองเปล่ ่ าถูกเปลียนไป่ ตลอดกาลด ้วยการเขียนงานเช่น.
Husa's Music for Prague 1968, โดยเฉพาะอย่างยิง่ Schwantner's and
the mountains rising nowhereการขับเคลือนการพั ่ ่
ฒนาทีSchwantnerใช ้,
เปี ยโน, and ปรากฏการณ์ทเกิ ่ี ดขึนจากความบั
้ งเอิญ และความ
มหึมาของPercussion เหล่านี คื ้ อปรากฏการณ์ของนวัตกรรมเช่นwater gong
่ นการปฏิวต
ซึงเป็ ั ก
ิ ารทาเพลง
ความมุ่งมั่นของนักแต่งเพลงในการเขียนเพลงใหก้ บ ่
ั วงเครืองเป่ า
่ ออย่างมากซึงดี
มีความน่ าเชือถื ่ กว่าในอดีต
่ ้องพึงโชคในการคั
ทีต ่ ดเพียงหนึ่ งหรือสองผลงานจากนักแต่งเพลงคนสาคัญ.
ปัจจุบน ่ น่
ั มันเป็ นเรืองที ่ าตืนเต
่ ่
้นทีจะตระหนั กเวลาได ้ฟังการแสดงดนตรีคลาสสิคข

องFrank Ticheli ทีงานของเขาแต่ ้ บเป็ นงานทีมี
ละชินนั ่ คณ
ุ ค่าเป็ นอย่างยิง่
ด ้วยความมุ่งมั่นในการทางานและการแข่งขันกันทาเพลงการเพิมขึ ่ นของเพลงให

ม่ๆของวงดนตรีเครืองเป่ ่ าด ้วยความสามารถและความชาญฉลาดเห็นได ้จาก
นักแต่งเพลงหลายๆคนทังหมดนี ้ ้ าให ้การแสดงดนตรีคลาสสิคนั้นถูกพัฒนาใหด้ ี

่ น.
มากยิงขึ ้
ข่าวดีในยุคเรเนสซองส ์ในการประพันธ ์เพลงให ้กับวงดนตรีใหม่ๆคือเพลงเกิดขึนเ ้
่ ่วงวงหนึ่ งจะสามารถเล่นได ้. งานประพันธ ์ที่
กินกว่าทีอยู
ล ้นเหลือนี่ เองทีจะสร
่ ้างบรรทัดฐานของเพลงทีเป็ ่ น ทีรู่ ้จักกันในทีสุ
่ ด.
หวังว่าในศตวรรษที่ 21 นั้นจะยังคงมีการแข่งขัน
ของผูแ้ สดงในวงดนตรีเครืองเป่ ่ ่ นแรงผลักดันให ้กับความพยายาม
ากันต่อไปเพือเป็
ของโรงเรียนและผูช ้ านาญการในวงดนตรีได ้สร ้างงานประพันธ ์ใหม่ๆทีดี ่ อย่างทีนั
่ ก
แต่งเพลงส่วนใหญ่ควรจะทาได ้ต่อไป

รายงาน
่ ประวัติวงโยทวาทิศ บทที่ 12
เรือง

จัดทาโดย
นายจิรเวช ิ พิสุทธิ ์ 58350136
วิรย
นายเนติธร ภิญวัย 58350155

เสนอ
ดร.รณช ัย ร ัตนเศรษฐ
้ นส่วนหนึ่งของวิชาประวัติและพัฒนาการวงโ
รายงานนี เป็
ยทวาทิต774315

คานา
รายงานเล่มนี จั้ ดทาขึนเพื
้ อศึ่ กษาประวัตข ิ องวงโยธวาธิต
รวมถึงประวัตข ่
ิ องนักประพันธ ์เพลง และเครืองดนตรี
โดยการแปลจากหนังสือ อยู่ในรายวิชา
ประวัตแิ ละพัฒนาการวงโยธวาธิต 774315
ผูจ้ ด ่ ารายงานเล่มนี จะมี
ั ทาหวังเป็ นอย่างยิงว่ ้ ประโยชน์ในอนาคตต่อตัวผูจ้ ั
ดทาเองรวมถึงผูท้ ต ี่ ้องการศึกษาประวัตข
ิ องวงโยธสาธิต
หากผิดพลาดประการใดต ้องขออภัยมา ณ ทีนี ่ ด้ ้วย

You might also like