Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 9

การเกิด Pulmonary Aspiration ระหว่างการให้ยาระงับ

ความรูส้ กึ แบบทัว่ ไปในโรงพยาบาลศรีนครินทร์:


อุบตั กิ ารณ์และสาเหตุ
กชกร พลาชีวะ พย.บ.,*
เทพกร สาธิตการมณี พ.บ.,*
สิริรัตน์ ตรีพุทธรัตน์ พ.บ.,*
วินิตา จีราระรื่นศักดิ์ วท.บ.,(พยาบาล)*
วิริยา ถิ่นชีลอง พยบ.บ.,*
พูนพิสมัย เงินภูเขียว วท.บ.,(พยาบาล)*

Abstract : Anesthesia Related Pulmonary Aspiration in Srinagarind Hospital: Incidence and


Causes
Palachewa K, B.N.,* Sathitkarnmanee T, M.D.,* Tribuddharat S, M.D.,*
Jeerararuensak
W, B.Sc. Nursing.,* Thinchelong V, B.N.,* Ngernpookhiew P, B.Sc. Nursing.*
* Department of Anesthesiology, Faculty of Medicine, Khon Kaen University, Khon
Kaen 40002

Background: Pulmonary aspiration give safe anesthesia. Objective: To study the


increases morbidity and mortality, leading to incidence of anesthesia related pulmonary
acute respiratory distress syndrome (ARDS), aspiration and analyze the causes. Method: This
with the incidence of 30%, with among them, study was a retrospective descriptive and
mortality rate of 16%. Anesthesia personnel analytical study. We analyzed 29,407 patients
should be aware, know the contributing factors received general anesthesia at Srinagarind Hospital
and factors minimizing the incident, in order to during October, 2006 and March, 2009. Result:

* ภาควิชาวิสัญญีวิทยา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ขอนแก่น 40002

Vol. 36, No.1, January - March 2010 Thai Journal of Anesthesiology 55


There were 19 cases of pulmonary aspiration esophagoscopy and during intubation period.
(7.6:10,000). The incidences were 4.4, 5.0, and The human contributing factors were inexperienced
13.5 per 10,000 in 2007, 2008, and 2009 (first six personnel and inadequate patient evaluation.
months), which was much higher than the THAI Factors which may minimize the incident were
study (2.7:10,000). Contributing factors were high vigilance, well experienced personnel and
conditions which prolonged gastric emptying assistant, and applying rapid sequence induction
time, elective surgery, supine position, inexperienced with cricoids pressure (RSI) in every case with
personnel and inadequate patient evaluation. prolonged gastric emptying time.
Factors minimizing the incident were high
vigilance, well experienced personnel and assistant. Key words : General Anesthesia, incidence and
Conclusion: There were 19 cases of pulmonary causes, pulmonary aspiration
aspiration, most of them occurred in patients
with conditions which prolonged gastric emptying Thai J Anesthesiology 2010: 36(1): 55-63
time in elective, intra-abdominal surgery and

บทนำ
หลังจากได้รับยาระงับความรู้สึกแบบทั่วไป วรรณกรรมพบว่า ปัจจัยที่เพิ่มความเสี่ยงต่อการเกิด
(general anesthesia) ผู้ป่วยจะหมดสติและสูญเสีย ภาวะแทรกซ้อนได้แก่ กลุม่ ผูป้ ว่ ยอายุนอ้ ย กลุม่ ผูป้ ว่ ย
รีเฟล็กซ์ (airway protective reflex) ในการป้องกัน อายุ ม าก (extremes of age) ชนิ ด การผ่ า ตั ด เช่ น
การสำลักอาหารหรือสิง่ ตกค้างลงหลอดลมหรือปอด ผ่าตัดบริเวณ esophagus ช่องท้องส่วนบน การอุดกัน้
(tracheal / pulmonary aspiration) ซึ่งในระหว่างการ หรือมีการโป่งพองของ esophagus หรือมี tracheoeso-
ผ่าตัดบุคลากรวิสัญญีจะต้องเฝ้าระวังและควบคุม phageal fistula ผู้ป่วยไม่ได้งดอาหารและน้ำดื่มก่อน
ระบบหายใจอย่างใกล้ชิดเพื่อป้องกันไม่ให้เกิดภาวะ มารับการระงับความรู้สึก ภาวะที่มีการเพิ่มความดัน
แทรกซ้อนของระบบทางเดินหายใจ ซึ่งอาจจะส่งผล ในกระเพาะอาหาร หญิงมีครรภ์ อ้วน difficult airway
ให้เกิดความพิการและอันตรายได้ จากการศึกษาผูป้ ว่ ย มีก้อนเนื้องอกในช่องท้อง ascites2
ที่ ไ ด้ รั บ การระงั บ ความรู้ สึ ก แบบทั่ ว ไปและเกิ ด จากการศึ ก ษาอุ บั ติ ก ารณ์ ก ารสำลั ก อาหาร
pulmonary aspiration พบอั ต ราการเกิ ด acute หรือสิ่งตกค้างลงหลอดลมหรือปอด จากการให้ยา
respiratory distress syndrome (ARDS) ถึงมากกว่า ระงับความรูส้ กึ ในประเทศไทย (The Thai Anesthesia
ร้อยละ 30 และพบอัตราการตายได้ถึงร้อยละ 161 Incidents Study : THAI Study) ปี 2548 พบ pulmonary
ถึงแม้ว่าจะเป็นเหตุการณ์ที่พบได้ไม่บ่อย แต่บุคลากร aspiration 2.7:10,0003 ดังนั้นคณะผู้วิจัยจึงสนใจที่
วิ สั ญ ญี ค วรต้ อ งทราบและตระหนั ก ถึ ง ปั จ จั ย เสี่ ย ง จะศึกษาอุบัติการณ์และปัจจัยที่ทำให้เกิด pulmonary
ของการเกิดภาวะแทรกซ้อนรวมทั้งมีความรู้เกี่ยวกับ aspiration ระหว่างการให้ยาระงับความรู้สึกแบบ
วิธกี ารจัดการภาวะแทรกซ้อนดังกล่าว จากการทบทวน ทั่วไปในโรงพยาบาลศรีนครินทร์ เพื่อที่จะนำมาเป็น

56 วิสัญญีสาร ปีที่ 36 ฉบับที่ 1 มกราคม - มีนาคม 2553


ข้ อ มู ล พื้ น ฐานในการปรั บ ปรุ ง งานบริ ก าร จั ด ทำ บริหารความเสี่ยงที่มีประสบการณ์มากกว่า 15 ปี
แนวทางป้องกันและลดภาวะแทรกซ้อนที่เกิดขึ้น จากนัน้ จึงมาประชุมหาข้อสรุปร่วมกันกับวิสญ ั ญีแพทย์
กับผู้ป่วย ที่ทำงานด้านบริหารความเสี่ยงมากว่า 25 ปี บันทึก
การศึ ก ษาครั้ ง นี้ มี วั ต ถุ ป ระสงค์ เ พื่ อ ศึ ก ษา ข้อมูลลงในแบบฟอร์มรายงานการเกิดอุบัติการณ์
อุบตั กิ ารณ์และสาเหตุทที่ ำให้เกิด pulmonary aspiration การสำลั ก อาหารหรื อ สิ่ ง ตกค้ า งลงหลอดคอหรื อ
ระหว่ า งการให้ ย าระงั บ ความรู้ สึ ก แบบทั่ ว ไปใน ปอดที่ผู้ศึกษาต้องการศึกษา ตามแบบฟอร์มการเก็บ
โรงพยาบาลศรีนครินทร์ ข้อมูล pulmonary aspiration มีรายละเอียดเกี่ยวกับ
patient characteristics, period of incident, surgical
วิธีการศึกษา factors, contributing factors และ factor minimizing
การศึ ก ษานี้ ไ ด้ รั บ ความเห็ น ชอบจากคณะ- incident สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล แสดงค่าความถี่
กรรมการวิจัยในมนุษย์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น เป็น และร้อยละ
งานวิจัยเชิงพรรณนาและเชิงวิเคราะห์ชนิดย้อนหลัง
(Retrospective descriptive and analytical study) ผลการศึกษา
เก็บข้อมูลย้อนหลังในการผ่าตัดทุกราย ตั้งแต่เดือน จากการศึ ก ษาข้ อ มู ล ผู้ ป่ ว ยที่ ไ ด้ รั บ ยาระงั บ
ตุลาคม พ.ศ. 2549 จนถึงเดือนมีนาคม พ.ศ. 2552 ความรูส้ กึ จำนวน 29,407 ราย พบผูป้ ว่ ยทีม่ ี pulmonary
ทำการเก็บข้อมูลผู้ป่วยที่ได้รับการให้ยาระงับความ aspiration จำนวน 19 ราย คิดเป็น 7.6 :10,000 โดย
รู้ สึ ก แบบทั่ ว ไปและทบทวนข้ อ มู ล ที่ มี อ ยู่ เ ดิ ม จาก พบจำนวน 5 ใน 11,422 6 ใน 12,074 และ 8 ใน
แหล่งข้อมูลของกลุ่มงานบริหารความเสี่ยง และจาก 5,911ราย ในปี 2550, 2551 และ 2552 (6 เดือนแรก)
ข้อมูลในระบบฐานข้อมูลผู้ป่วยในคอมพิวเตอร์ ของ คิดเป็นอุบัติการณ์ 4.3, 5.0 และ 13.5 ต่อ 10,000 ตาม
ภาควิชาวิสญ ั ญีวทิ ยา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัย ลำดับ (table 1) ส่วนใหญ่เกิดในเพศหญิงมากกว่า
ขอนแก่น นำข้อมูลทีไ่ ด้มาวิเคราะห์เป็นแบบ indepen- เพศชาย ASA class 2 ในช่วงอายุระหว่าง 15-64 ปี
dent reviewในแต่ละราย โดยวิสัญญีพยาบาลในกลุ่ม ผู้ป่วยไม่อ้วนและใส่ท่อช่วยหายใจไม่ยาก (table 2)

Table 1 Incidents of pulmonary aspiration


Year Number of patients Number of case Incidents (per 10,000)
2007 11,422 5 4.3
2008 12,074 6 5.0
2009 (first six month) 5,911 8 13.5
Average 29,407 19 7.6

Vol. 36, No.1, January - March 2010 Thai Journal of Anesthesiology 57


Table 2 Patient characteristics (N=19)
Data Number (%)
Sex
Male 7 (36.8)
Female 12 (63.2)
ASA Physical status
1 6 (31.6)
2 7 (36.8)
1E 3 (15.8)
2E 3 (15.8)
Age group (years)
0–1 2 (10.5)
2 – 14 5 (26.3)
15 – 64 10 (52.6)
> 64 2 (10.5)
BMI
< 28 15 (78.9)
> 28 4 (21.1)
Difficult intubation
Yes 1 (5.3)
No 16 (84.2)
Not stated 2 (10.5)

จากการศึกษาสาเหตุจากโรคและการผ่าตัดที่ สามารถเกิ ด ได้ ทุ ก บริ เ วณการผ่ า ตั ด แต่ ที่ พ บมาก


เกี่ยวข้องกับการเกิด Pulmonary aspiration พบใน ทีส่ ดุ คือการผ่าตัดบริเวณช่องท้อง (abdominal surgery)
ผู้ป่วยที่มี prolonged gastric emptying time จำนวน จำนวน 4 ราย (ร้อยละ 21.1) รองลงมาคือการส่อง
12 ราย (ร้อยละ 63.2) เป็นผู้ป่วยที่มารับการผ่าตัด หลอดอาหาร (esophagoscopy) จำนวน 3 ราย (ร้อยละ
elective จำนวน 17 ราย (ร้อยละ 89.5) นอนท่านอน 15.8) (table 3)
หงายขณะผ่าตัด จำนวน 16 ราย (ร้อยละ 84.2) และ

58 วิสัญญีสาร ปีที่ 36 ฉบับที่ 1 มกราคม - มีนาคม 2553


Table 3 Disease and Surgical factors
Data Number (%)
Disease attributed to prolonged gastric emptying time
Yes 12 (63.2)
No 7 (36.8)
Type of surgery
Elective 17 (89.5)
Emergency 2 (10.5)
Position
Supine 16 (84.2)
Lateral 2 (10.5)
Not stated 1 (5.3)
Site of surgery
Abdomen 4 (21.1)
Esophagoscopy 3 (15.8)
Cesarean section 2 (10.5)
Superficial (hernia) 2 (10.5)
Breast (MRM) 1 (5.3)
Intra-oral 1 (5.3)
Peri-anal 1 (5.3)

การศึกษาช่วงเวลาทีเ่ กิด pulmonary aspiration ในช่วง induction จำนวน 5 ราย (ร้อยละ 26.3) และ
ขณะให้ยาระงับความรูส้ กึ พบว่าเกิดในช่วง intubation น้อยที่สุดที่มีจำนวนเท่ากันคือ ช่วง maintenance
มากที่สุดจำนวน 8 ราย (ร้อยละ 42.1) รองลงมาเกิด และ extubation จำนวน 3 ราย (ร้อยละ 15.9) (figure 1)

Figure 1 Period of incident

Vol. 36, No.1, January - March 2010 Thai Journal of Anesthesiology 59


จากการศึกษาถึงปัจจัยน (contributing factors) พบจำนวน 16 ราย (ร้อยละ 33.3) ประเมินผู้ป่วยไม่ดี
ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการเกิด pulmonary aspiration พบ 10 ราย (ร้อยละ 20.8) ขาดความรูแ้ ละการตัดสินใจ
ในระหว่างการให้ยาระงับความรู้สึก พบมากที่สุด 3 ไม่เหมาะสมพบ 7 ราย (ร้อยละ 14.6) (table 4)
อันดับแรก คือ ผูใ้ ห้ยาระงับความรูส้ กึ ขาดประสบการณ์
Table 4 Contributing factors
Data Number (%)
1. Inexperienced personnel 16 (33.3)
2. Incomplete patient evaluation 10 (20.8)
3. Lack of knowledge 7 (14.6)
4. Inappropriate decision making 7 (14.6)
5. Emergency situation 5 (10.4)
6. Inadequate pre-operative preparation 2 (4.2)
7. Inadequate/ineffective equipment 1 (2.1)
Note: Each case could have more than one factor

จากการศึกษาปัจจัยที่จะลดความผิดพลาดใน ราย (ร้อยละ 36.5) มีประสบการณ์เรื่องนั้น ๆ มา


การเกิด pulmonary aspiration ในระหว่างการให้ยา ก่อนจำนวน 17 ราย (ร้อยละ 32.7) และควรมีผู้ช่วย
ระงับความรู้สึก เรียงจากมากไปน้อย คือผู้ให้ยาระงับ ที่ มี ป ระสบการณ์ จำนวน 14 ราย (ร้ อ ยละ 26.9)
ความรู้สึกควรมีความระแวดระวังสูงพบจำนวน 19 (table 5)

Table 5 Factors minimizing incident


Data Number (%)
1. High vigilance 19 (36.5)
2. Well experienced personnel 17 (32.7)
3. Well experienced assistant 14 (26.9)
4. Adequate equipments 2 (3.9)

วิจารณ์
จากการศึ ก ษาครั้ ง นี้ พ บอุ บั ติ ก ารณ์ ก ารเกิ ด 2552) พบอุบัติการณ์ 4.3 – 13.5 : 10,0004-6 ซึ่งพบ
pulmonary aspiration ในผู้ ป่ ว ยที่ ไ ด้ รั บ การให้ ย า ว่ า ข้ อ มู ล ที่ ไ ด้ จ ากการศึ ก ษาสู ง กว่ า การศึ ก ษาของ
ระงั บ ความรู้ สึ ก แบบทั่ ว ไป จำนวน 19 ราย และ THAI Study (ปี พ.ศ.2548) ที่พบอุบัติการณ์ 2.7 :
เปรี ย บเที ย บแต่ ล ะปี ที่ ท ำการศึ ก ษา (พ.ศ. 2550 - 10,000 3 และจากผลการศึ ก ษาในต่ า งประเทศที่

60 วิสัญญีสาร ปีที่ 36 ฉบับที่ 1 มกราคม - มีนาคม 2553


Scandinavian hospital พบอุบัติการณ์ 4.7 : 10,000 (ร้อยละ 61) abdominal surgery (ร้อยละ 16) ผ่าตัด
ที่เกิดในผู้ป่วยที่ได้รับการให้ยาระงับความรู้สึกแบบ บริเวณหลอดอาหาร (esophagus), หญิงมีครรภ์ และ
ทั่วไป7 ส่วนสาเหตุการเกิด pulmonary aspiration ที่ แ ตกต่ า งกั น คื อ พบว่ า เกิ ด ใน case emergency
จากการศึกษาพบว่า ส่วนใหญ่เกิดในเพศหญิงมากกว่า (ร้อยละ 43) เป็นส่วนมาก7 ดังนั้นแนวทางหนึ่งใน
เพศชาย ASA class 2 (ร้อยละ 36.8) อยู่ในช่วงอายุ การลดอุ บั ติ ก ารณ์ นี้ คื อ ควรทำ RSI with cricoid
15-64 ปี (ร้อยละ 52.6) ผู้ป่วยไม่อ้วน (ร้อยละ 78.9) pressure ในผูป้ ว่ ยทีม่ ภี าวะ prolonged gastric emptying
และใส่ท่อช่วยหายใจไม่ยาก ซึ่งคล้ายกับการศึกษา time ทุกราย
ของ Suraseranivongse และคณะ แต่มขี อ้ มูลทีแ่ ตกต่าง จากศึกษาปัจจัยทีเ่ กีย่ วข้องกับการเกิด pulmonary
กันคือ เกิดในเพศชายมากกว่าเพศหญิง8 นอกจากนี้ aspiration ครั้งนี้พบว่าผู้ให้ยาระงับความรู้สึกขาด
ยั ง พบว่ า สอดคล้ อ งกั บ การศึ ก ษาของ Messahel ประสบการณ์ ประเมินผู้ป่วยไม่ดีและการตัดสินใจ
และคณะ ซึ่งพบว่าเกิดในเพศหญิงมากกว่าเพศชาย ไม่เหมาะสม ทั้งนี้อาจเนื่องมาจากในหน่วยงานมีการ
เช่นกัน เกิดในอายุ 12-104 ปี แต่ไม่แบ่งชัดเจนว่าช่วง เปลีย่ นแปลงบุคลากรในแต่ละปี เป็นสถาบันทีม่ งุ่ เน้น
อายุใดเกิดมากเกิดน้อย แต่พบในผู้ป่วยที่ได้รับการ การเรียนการสอนให้กับผู้ที่มาฝึกปฏิบัติงานหลาย
ใส่ท่อช่วยหายใจ laryngeal mask airway (LMA) ระดับ ตั้งแต่นักศึกษาแพทย์ นักเรียนวิสัญญีพยาบาล
และ face mask9 แพทย์ใช้ทนุ และแพทย์ประจำบ้านทีข่ าดประสบการณ์
จากการศึกษาสาเหตุการเกิดอุบัติการณ์จาก จึงจำเป็นต้องฝึกปฏิบัติผู้มาเรียนให้มีประสบการณ์
การผ่าตัดพบว่าเกิดใน case elective (ร้อยละ 89.5) ในการฝึกปฏิบัติให้มากยิ่งขึ้นเพื่อความปลอดภัยของ
มากกว่า case emergency (ร้อยละ 10.5) ทั้งนี้อาจ ผู้ ป่ ว ยและพบว่ า ปั จ จั ย ที่ จ ะช่ ว ยลดอุ บั ติ ก ารณ์ ที่
เนื่องมาจากใน case emergency จะมีการเตรียมการ เกิ ด ขึ้ น ได้ แ ก่ ความระแวดระวั ง ของผู้ ใ ห้ ย าระงั บ
อย่างดีในการป้องกัน aspiration โดยใช้เทคนิค rapid ความรู้สึกมีประสบการณ์เรื่องนั้นมาก่อน และควร
sequence induction (RSI) with cricoid pressure10 มี ผู้ ช่ ว ยเหลื อ ที่ มี ป ระสบการณ์ ซึ่ ง จากการศึ ก ษา
ในขณะที่ elective case จะใช้เทคนิคนี้เฉพาะเมื่อ ของ Messahel และคณะ แนะนำว่าสิ่งสำคัญสำหรับ
มีข้อบ่งชี้หรือพิจารณาแล้วว่ามีความเสี่ยงที่จะเกิด ความปลอดภัยของผู้ป่วย บุคลากรวิสัญญีจำเป็นต้อง
pulmonary aspiration ได้ ซึ่งพบผู้ป่วยที่มีโรคที่จะนำ มี ป ระสบการณ์ ที่ ดี ดู แ ลสมาชิ ก ใหม่ แ ละผู้ ม าฝึ ก
ไปสูภ่ าวะ prolonged gastric emptying time ถึงร้อยละ ปฏิบัติงานอย่างใกล้ชิด ให้คำแนะนำที่เหมาะสม มี
63.2 และเกิดในผู้ป่วยที่จัดท่านอนหงายขณะผ่าตัด ผู้เชี่ยวชาญติดตามการปฏิบัติงาน ประชุมพูดคุยและ
(ร้อยละ 84.2) พบมากในการผ่าตัดบริเวณช่องท้อง ทบทวนคุณภาพการปฏิบัติงานอย่างสม่ำเสมอโดย
(ร้อยละ 21.1) รองลงมาคือการส่องหลอดอาหาร การนำ case มาศึ ก ษาถึ ง สาเหตุ ว่ า เกิ ด ได้ อ ย่ า งไร 9
(ร้อยละ 15.8) และการผ่าตัดอืน่ ๆ เช่นการผ่าตัดคลอด นอกจากนี้ในหน่วยงานควรร่วมกันจัดทำแนวทางใน
(cesarean section), ไส้เลื่อน (hernia), ผ่าตัดรยางค์ การป้องกันไม่ให้เกิด pulmonary aspiration โดยเฉพาะ
(extremity) ซึ่งคล้ายกับการศึกษาของ Olsson และ ในผู้ป่วยที่มีปัจจัยนำและมีความเสี่ยงสูง
คณะ ที่พบในผู้ป่วย delayed gastric emptying time

Vol. 36, No.1, January - March 2010 Thai Journal of Anesthesiology 61


สรุป 4. รายงานสถิ ติ ง านบริ ก าร. ภาควิ ช าวิ สั ญ ญี วิ ท ยา
คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น: 2549.
การเกิด pulmonary aspiration หลังผู้ป่วยได้
5. รายงานสถิ ติ ง านบริ ก าร. ภาควิ ช าวิ สั ญ ญี วิ ท ยา
รับการให้ยาระงับความรู้สึกแบบทั่วไปพบจำนวน คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น: 2550.
19 ราย ส่วนใหญ่พบในผู้ป่วยที่มี delayed gastric 6. รายงานสถิ ติ ง านบริ ก าร. ภาควิ ช าวิ สั ญ ญี วิ ท ยา
emptying time ที่มารับการผ่าตัดแบบ elective ผ่าตัด คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น: 2551.
บริเวณช่องท้อง ส่องหลอดอาหาร และเกิดมากใน 7. Olsson GL, Hallen B, Hambraeus-Jonzon K.
Aspiration during anaesthesia: a computer-aided
ช่วงใส่ท่อช่วยหายใจ ส่วนปัจจัยนำที่เกี่ยวข้องมาก
study of 185,358 anaesthetics. Acta Anaesthesiol
ที่สุดคือ ผู้ให้ยาระงับความรู้สึกขาดประสบการณ์ Scand. 1986; 30(1): 84-92.
และปัจจัยที่จะช่วยลดการเกิดอุบัติการณ์คือผู้ให้ยา 8. Suraseranivongse S, Valairucha S, Chanchayanon
ระงับความรู้สึกต้องมีความระแวดระวังสูง และควร T, Mankong N, Veerawatakanon T, Rungreungvanich
ใช้ วิ ธี Rapid sequence induction with cricoid M. The Thai Anesthesia Incidents Study (THAI
Study) of Pulmonary Aspiration : A Qualitative
pressure ในผู้ ป่ ว ยที่ มี ภ าวะ prolonged gastric
Analysis. J Med Assoc Thai. 2005; 88(7): S76-
emptying time ทุกราย S83.
9. Messahel M, Al-Qahtani A.S. Pulmonary
เอกสารอ้างอิง aspiration of gastric contents in anesthesia. The
1. Bartusch O, Finkl M, Jaschinski U. Aspiration Internet Journal of Anesthesiology [serial on the
syndrome: epidemiology, pathophysiology, Internet]. 2009 [cited 2009 Jul 2] ; 19(1) : [about
therapy. Anaesthesist. 2008 May; 57(5): 519-30. 9p.]. Available from: http://www.ispub.com/
2. Prazeres, GDA. Pulmonary Aspiration. Anesthesiology journal/the_internet_journal_of_anesthesiology/
[serial on the Internet]. 2009 [cited 2009 Jul 5]. volume_19_number_1/article/pulmonary_aspiration_
Available from : http://www.Medstudents.com. of_gastric_contents_in_anesthesia_a_review_
br/anest/anest2.htm over_15_year_period.html
3. Charuluxananan S, Punjasawadwong Y, 10. Meek ST, Vincent A, Dugan JE. Cricoid
Suraseranivongse S, Srisawasdi S, Kyokong O, pressure: can protective force be sustained. Br J
Chinachoti T, et al. The Thai Anesthesia Anaesth. 1998; 80: 672-74.
Incidents Study (THAI Study) of anesthetic
outcomes: II. Anesthetic profiles and adverse
events. J Med Assoc Thai. 2005; 88(7): S14-29.

62 วิสัญญีสาร ปีที่ 36 ฉบับที่ 1 มกราคม - มีนาคม 2553


การเกิด Pulmonary Aspiration ระหว่างการให้ยาระงับความรู้สึก
แบบทั่วไปในโรงพยาบาลศรีนครินทร์: อุบัติการณ์และสาเหตุ

บทคัดย่อ
บทนำ: การสำลักอาหารหรือสิ่งตกค้างลงหลอดลมหรือปอด (tracheal / pulmonary aspiration) จะส่งผล
ให้เกิดความพิการและอันตรายได้ พบอัตราการเกิด Acute respiratory distress syndrome (ARDS) ถึงมากกว่า
ร้อยละ 30 และพบอัตราการตายได้ถึงร้อยละ 16 บุคลากรวิสัญญีควรต้องทราบและตระหนักถึงปัจจัยเสี่ยง
ของการเกิดภาวะแทรกซ้อนรวมทั้งมีความรู้เกี่ยวกับวิธีการจัดการภาวะแทรกซ้อนเพื่อความปลอดภัยของ
ผู้ป่วย วัตถุประสงค์: เพื่อ ศึกษาอุบัติการณ์และสาเหตุที่ทำให้เกิด pulmonary aspiration ระหว่างการให้ยา
ระงับความรู้สึกแบบทั่วไปในโรงพยาบาลศรีนครินทร์ วิธีการศึกษา: เป็นงานวิจัยเชิงพรรณนาและเชิง
วิเคราะห์ชนิดย้อนหลัง เก็บข้อมูลย้อนหลังในการผ่าตัดทุกราย ตั้งแต่เดือนตุลาคม พ.ศ. 2549 จนถึงเดือน
มีนาคม พ.ศ. 2552 ทำการเก็บข้อมูลผู้ป่วยที่ได้รับการให้ยาระงับความรู้สึกแบบทั่วไปจำนวน 29,407 ราย
ผลการศึกษา: จากการศึกษาข้อมูลผูป้ ว่ ย พบผูป้ ว่ ยpulmonary aspiration พบจำนวน 19 ราย คิดเป็น 7.6 :10,000
และพบว่าเกิดอุบัติการณ์ ปี 2550, 2551 และ 2552 (6 เดือนแรก) คิดเป็น 4.3, 5.0 และ 13.5 ต่อ 10,000 ตาม
ลำดับ ซึ่งมีอัตราการเกิดมากกว่าการศึกษาของ THAI Study (2.7:10,000) สาเหตุการเกิดอุบัติการณ์ที่สัมพันธ์
กับโรคและการผ่าตัดพบว่าเกิดในผู้ป่วยที่มีภาวะ prolonged gastric emptying time, case elective ผู้ป่วยที่จัด
ท่านอนหงายขณะผ่าตัด ขาดประสบการณ์ ประเมินผู้ป่วยไม่ดี ปัจจัยที่จะช่วยลดอุบัติการณ์คือ บุคลากรผู้ดูแล
ผู้ป่วยควรมีประสบการณ์และความระแวดระวัง สรุปผล: การเกิด pulmonary aspiration หลังผู้ป่วยได้รับการ
ให้ยาระงับความรู้สึกแบบทั่วไปพบจำนวน 19 ราย ส่วนใหญ่พบในผู้ป่วยที่มี delayed gastric emptying time
ที่มารับการผ่าตัดแบบ elective ผ่าตัดบริเวณช่องท้อง ส่องหลอดอาหารและเกิดมากในช่วงใส่ท่อช่วยหายใจ
ส่วนปัจจัยนำที่เกี่ยวข้องมากที่สุดคือ ผู้ให้ยาระงับความรู้สึกขาดประสบการณ์ และปัจจัยที่จะช่วยลดการเกิด
อุบตั กิ ารณ์คอื ผูใ้ ห้ยาระงับความรูส้ กึ ต้องมีความระแวดระวังสูง และควรใช้วธิ ี rapid sequence induction (RSI)
with cricoid pressure ในผู้ป่วยที่มีภาวะ prolonged gastric emptying time ทุกราย

คำสำคัญ: การระงับความรู้สึกแบบทั่วไป, อุบัติการณ์และสาเหตุ, ภาวะที่มีการสำลักอาหารหรือสิ่งตกค้างลง


หลอดคอหรือปอด

Vol. 36, No.1, January - March 2010 Thai Journal of Anesthesiology 63

You might also like