หนังสือรางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นประจำปี 2561

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 44

2 นักวิทยาศาสตร์ดีเด่น ประจำ�ปี 2561 2018 OUTSTANDING SCIENTIST AWARDS 3

สารบัญ

สารประธานกรรมการมูลนิธิส่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในพระบรมราชูปถัมภ์ 4
สารเอสซีจี 5
สารมูลนิธิพลังสร้างสรรค์นวัตกรรม 6
สารสำ�นักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย 7
สารสำ�นักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ 8
คำ�ปรารภประธานกรรมการรางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่น 9
รางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่น พ.ศ. 2561 (2018 Outstanding Scientist Award)
คำ�ประกาศเกียรติคุณ ศาสตราจารย์ ดร. อรวรรณ ชัยลภากุล 10
Curriculum Vitae: Professor Dr. Orawon Chailapakul 16
List of Publications: Professor Dr. Orawon Chailapakul 19
The Achievements of Professor Dr. Orawon Chailapakul 32
การพัฒนาเซ็นเซอร์ชนิดใหม่เพื่อการตรวจวัดทางเคมีไฟฟ้า และการประยุกต์ใช้ 40
รางวัลนักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่ พ.ศ. 2561 (2018 Young Scientist Awards)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. เจ้าทรัพย์ บุญมาก 48
ดร. จุฬารัตน์ วัฒนกิจ 56
ประวัติมูลนิธิส่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในพระบรมราชูปถัมภ์ 64
รางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นประจำ�ปี พ.ศ.2561
สงวนลิขสิทธิ์ โดย มูลนิธิส่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในพระบรมราชูปถัมภ์ ใบอนุญาตจัดตั้งมูลนิธิส่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในพระบรมราชูปถัมภ์ 65
พิมพ์ครั้งที่ 1 กรกฎาคม 2561
หนังสือให้อำ�นาจจัดตั้งมูลนิธิส่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในพระบรมราชูปถัมภ์ 66
จำ�นวนพิมพ์ 1,300 เล่ม
หนังสือพระราชทานพระมหากรุณาให้มูลนิธิส่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
จัดทำ�โดย อยู่ในพระบรมราชูปถัมภ์ 67
มูลนิธิส่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในพระบรมราชูปถัมภ์
มูลนิธิส่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอยู่ในพระบรมราชูปถัมภ์เป็นองค์การ
ดำ�เนินการโดย หรือสถานสาธารณกุศล ลำ�ดับที่ 481 ของประกาศกระทรวงการคลังฯ 68
คณะกรรมการรางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่น
รายงานผลการดำ�เนินงาน มูลนิธิส่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ข้อมูลทางบรรณานุกรม
ในพระบรมราชูปถัมภ์ประจำ�ปี พ.ศ. 2560 69
มูลนิธิส่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในพระบรมราชูปถัมภ์ โครงการรางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นและนักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่ 73
รางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นประจำ�ปี พ.ศ. 2561.-- กรุงเทพฯ : มูลนิธิ, 2561.
84 หน้า. รายนามนักวิทยาศาสตร์ดีเด่น (List of Outstanding Scientists) 75
1. นักวิทยาศาสตร์ I. ชื่อเรื่อง. รายนามนักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่ (List of Young Scientists) 80
925
ISBN 978-616-8154-01-4 คณะกรรมการมูลนิธิส่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในพระบรมราชูปถัมภ์ 83
4 นักวิทยาศาสตร์ดีเด่น ประจำ�ปี 2561 2018 OUTSTANDING SCIENTIST AWARDS 5

สารประธานกรรมการ สารเอสซีจี
มลูนิธิส่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในพระบรมราชูปถัมภ์

มูลนิธิส่งเสริมวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีในพระบรมราชูปถัมภ์ ได้เล็งเห็น ตลอดระยะเวลากว่า 36 ปี มูลนิธิเอสซีจีด�ำเนินกิจกรรมต่างๆ เพื่อประโยชน์


และตระหนักดีว่าวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีมีความสําคัญยิ่งต่อการพัฒนา สาธารณะ ภายใต้หลักปรัชญา “เชื่อมั่นในคุณค่าของคน” ซึ่งการท�ำงานดัง
ประเทศไทยให้เจริญรุดหน้าทัดเทียมนานาอารยประเทศ และการ พัฒนา กล่าวน�ำไปสู่งานด้านการพัฒนาและส่งเสริมศักยภาพให้คนมีความเข้มแข็ง
ทรัพยากรมนุษย์ด้านวิทยาศาสตร์เป็นปัจจัยพื้นฐานที่สําคัญที่สุด จึงได้ จากภายใน ลดทอนอุปสรรคในการเรียนรู้ และเสริมสร้าง “โอกาส” ให้กับ
ดําเนินโครงการ “รางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่น” มาตั้งแต่ปีพุทธศักราช บุคคลที่มีความรู้ความสามารถ ด้วยเชื่อมั่นว่า พลังของคุณค่าในตัวตน จะ
2525 เพื่อเชิดชูเกียรตินักวิทยาศาสตร์ไทยที่มีผลงานดีเด่นเป็น ที่ประจักษ์ เป็นแรงผลักดันให้เกิดการท�ำงานที่ประโยชน์ต่อประเทศชาติต่อไปในอนาคต
ทางด้านวิชาการ ได้อุทิศตนพัฒนางานวิทยาศาสตร์มาอย่างต่อเนื่องจนเกิด
การส่งเสริมแนวทางการพัฒนาทรัพยากรบุคคลของประเทศ ให้เป็น “คน
ผลกระทบที่สําคัญต่อ แวดวงวิชาการและสังคม และเป็นผู้ที่มีความประพฤติ
เก่งและดี” เป็นภารกิจหลักที่มูลนิธิเอสซีจีด�ำเนินการอย่างต่อเนื่อง ผ่านการ
ดีมีจรรยาบรรณ เป็นที่เคารพนับถือ เป็นแบบอย่างที่ดี เพื่อให้เยาวชนได้ยึดถือ
ให้ทุ น การศึ ก ษาแก่เ ด็ ก และเยาวชน ซึ่ ง การพั ฒ นาทรั พ ยากรมนุ ษ ย์ใ นสาขา
เป็นแนวทางในการดําเนินรอยตามได้
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ถือเป็นอีกหนึ่งภารกิจส�ำคัญในการพัฒนาคนของมูลนิธิฯ
และเพื่อสร้างนักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่ ซึ่งจะเป็นกําลังสําคัญของประเทศต่อไปในอนาคต มูลนิธิ ฯ จึงได้ริเริ่มให้ โดยมูลนิธิฯ ให้การสนับสนุนทุนการศึกษากับบุคลากรในสาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีตลอดมา เหมือนดังเช่นการ
มีการมอบ “รางวัลนักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่” ขึ้นในปีพุทธศักราช 2534 โดยการสรรหาบุคคลอายุไม่เกิน 35 ปี ให้ทุนสนับสนุนการท�ำงานแก่ครู และ นักวิทยาศาสตร์ดีเด่น การส่งเสริมนักวิทยาศาสตร์รุน ่ ใหม่ ผ่านโครงการประกวด
ที่มีความสามารถในการวิจัยให้ได้รับรางวัลนี้ เพื่อเป็นก�ำลังใจและเป็นแรงผลักดันให้นักวิจัยรุ่นใหม่ มีความมุ่งมั่นสร้าง และสร้างสรรค์ผลงานทางวิทยาศาสตร์ที่จะน�ำไปสู่งานวิจัยและพัฒนาที่ยอดเยี่ยมในอนาคต ซึ่งเป็นหนึ่งในการท�ำงาน
ผลงานวิจัยให้มีคุณภาพดียิ่งๆ ขึ้น และพัฒนาต่อไปอย่างเต็มศักยภาพ เพื่อพัฒนาบุคลากรและองค์ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี นอกจากนั้น มูลนิธิฯ ยังร่วมเป็นเจ้าภาพจัดการ
ประกวดรวมถึงจัดกิจกรรมชุมนุมนักวิทยาศาสตร์รุ่นเยาว์ เพื่อเสริมสร้างแรงบันดาลใจให้กับทุกท่านที่ได้รับรางวัล
มูลนิธิฯ ใคร่ขอขอบคุณประธานและกรรมการรางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่น ที่ร่วมกันทํางานอย่างเข้มแข็งและยุติธรรม
ได้มีพลังสร้างสรรค์ มุ่งมั่นที่จะสร้างสิ่งดีๆ เพื่อพัฒนาวงการวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีต่อไป
จนได้มาซึ่งนักวิทยาศาสตร์ผู้มีความสามารถสมควรได้รับเกียรติในปีนี้ และขอขอบคุณ เอสซีจี สํานักงานพัฒนา
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) สถาบันส่งเสริมการสอน มูลนิธิเอสซีจี เชื่อมั่นว่า การพัฒนา “ทรัพยากรมนุษย์” ผ่านการสนับสนุนดังกล่าวข้างต้น เป็นการสร้างเสริมต้นทุน
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) และมูลนิธิพลังสร้างสรรค์นวัตกรรม โดยกลุ่ม ปตท. ที่ให้การสนับสนุนเงิน ภายในตัวบุคคล กล่าวคือ เป็นการสร้างความเชื่อมั่นในตนเองในการเรียนรู้ ต่อยอดในสิ่งที่รัก และยังเป็นการเปิด
รางวัลเพื่อเป็นกําลังใจแด่นักวิทยาศาสตร์ดีเด่นและนักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่ด้วยดีเสมอมา และขอถือโอกาสนี้แสดง โอกาสจากทุนสนับสนุนที่ไม่มีภาระผูกพันของมูลนิธิฯ เช่นกัน
ความยินดีกับนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นและนักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่ ประจําปีพุทธศักราช 2561 ทุกๆ ท่าน ขอแสดง
ในฐานะองค์กรที่มุ่งพัฒนาศักยภาพของมนุษย์อย่างยั่งยืน ภายใต้แนวคิด “เชื่อมั่นในคุณค่าของคน” และ “ถือมั่นใน
ความชื่ น ชมในผลงานที่ ท รงคุ ณ ค่า และเป็น ประโยชน์อ ย่า งยิ่ ง แก่ป ระเทศชาติ พร้อ มทั้ ง ขอส่ง กํ า ลั ง ใจให้ท ่า น
ความรับผิดชอบต่อสังคม” มูลนิธิเอสซีจีมีความภาคภูมิใจที่มีโอกาสได้รว่ มผลักดัน และเสริมสร้างความเข้มแข็งของ
สามารถปฏิบัติงานค้นคว้าวิจัยต่อไปได้อย่างราบรื่นไม่หยุดนิ่ง ไม่ท้อถอย เพื่อสร้างความเจริญก้าวหน้าให้แก่
บุคลากรในแวดวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี จากจุดเริ่มต้นเล็กๆ กลายเป็นแรงผลักดันให้การท�ำงานเกิดการขยาย
ประเทศชาติและสังคมโลกอย่างยั่งยืนสืบไป
ผลต่อไปในวงกว้าง สร้างสรรค์ประโยชน์แก่ประเทศชาติ น�ำไปสู่การพัฒนาประเทศ เพื่อให้ก้าวอย่างรู้รอบ และเท่าทัน
การเปลี่ยนแปลงของโลกแห่งวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ที่ก�ำลังหนุนเปลี่ยนอย่างรวดเร็วในปัจจุบัน และอนาคต

(รองศาสตราจารย์ ดร. ศักรินทร์ ภูมิรัตน) (นายรุ่งโรจน์ รังสิโยภาส)


ประธานกรรมการมูลนิธิเอสซีจี
ประธานกรรมการ
มูลนิธิส่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในพระบรมราชูปถัมภ์
6 นักวิทยาศาสตร์ดีเด่น ประจำ�ปี 2561 2018 OUTSTANDING SCIENTIST AWARDS 7

สารมูลนิธิพลังสร้างสรรค์นวัตกรรม สารสำ�นักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย

ด้วยความมุ่งมัน
่ ของรัฐบาล และการก�ำหนดเป้าหมายของยุทธศาสตร์ชาติเพือ ่ ขับเคลือ
่ น
ประเทศไทยไปสู่ความมัน ่ คง มัง่ คัง่ และยัง่ ยืนด้วยการพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี
และนวัตกรรม เพือ ่ ยกระดับขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศให้กา้ วพ้น
ประเทศรายได้ปานกลางสู่ประเทศรายได้สูง สู่ประเทศไทย 4.0 (Thailand
4.0) บนฐานเศรษฐกิจที่ขับเคลื่อนด้วยฐานความรู้และนวัตกรรม”

ส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว ) ในฐานะหน่วยงาน ในก�ำกับ


ส�ำนักนายกรัฐมนตรี มีภารกิจในการสนับสนุนทุนวิจัยเพื่อสร้างองค์ความรู้
ที่เป็นประโยชน์ต่อประเทศทั้งด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สังคมศาสตร์
มนุษยศาสตร์ และงานวิจัยเชิงพื้นที่ ทั้งในมิติของการวิจัยและพัฒนา การวิจัย
พืน
้ ฐาน การสร้างและพัฒนานักวิจย ั รวมถึงสนับสนุนการพัฒนาระบบวิจัย และเครือ
ข่ายวิจัยให้มีคุณภาพและมีประสิทธิภาพ โดยมีเป้าหมายเพื่อยกระดับขีดความสามารถ
มูลนิธิส่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในพระบรมราชูปถัมภ์ ได้ด�ำเนินโครงการรางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่น ในการแข่งขันของประเทศให้ก้าวพ้นกับดักประเทศรายได้ปานกลางสู่การเป็นประเทศทีพ ่ ฒ
ั นาแล้วด้วยการส่งเสริมและ
และรางวัลนักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่ เพื่อมอบเป็นเกียรติให้กับนักวิทยาศาสตร์ไทยที่มีผลงานวิจัยโดดเด่นทางวิทยาศาสตร์ สนับสนุนให้สงั คมไทยขับเคลือ
่ นด้วยฐานความรู้ ควบคู่กบั การขับเคลือ่ นด้วยฐานวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและนวัตกรรม
และงานวิจัยนั้นจะต้องด�ำเนินการมาอย่างต่อเนื่อง และเป็นที่ยอมรับในแวดวงวิทยาศาสตร์ทั้งภายในและต่างประเทศ
สกว. ตระหนักว่าการพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมของประเทศนั้น จ�ำเป็นต้องส่งเสริมและพัฒนา
มูลนิธิพลังสร้างสรรค์นวัตกรรม มีความยินดีเป็นอย่างยิ่งในการร่วมสนับสนุน เชิดชูเกียรตินักวิทยาศาสตร์ไทยที่มี วิทยาศาสตร์พื้นฐานทั้งในส่วนของการพัฒนาก�ำลังคน การส่งเสริมการวิจัย และการบริหารจัดการผลงานวิจัยปลาย
ผลงานโดดเด่น สอดคล้องกับเจตนารมณ์ของกลุ่มผู้ก่อตั้ง ซึ่งเชื่อมั่นว่า วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม ทางควบคู่กัน เนื่องจากวิทยาศาสตร์พื้นฐานเป็นหัวใจส�ำคัญของความเข้มแข็งทางการวิจัยในทุกระดับของประเทศ
จะน�ำมาซึ่งคุณภาพชีวิตที่ดีและยั่งยืนของคนไทย โดยในปีนี้ ขอแสดงความยินดีกับนักวิทยาศาสตร์ที่ได้รับรางวัล โดยเฉพาะอย่างยิง่ การวิจย ั ด้านทฤษฏีและการปฏิบต ั ิ ทีเ่ ป็นจุดเริม
่ ต้นของการค้นพบทางวิทยาศาสตร์ทส
ี่ ำ� คัญจ�ำนวนมาก
ทั้ง 3 ท่าน ได้แก่ ศาสตราจารย์ ดร.อรวรรณ ชัยลภากุล ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และเป็นฐานความรู้ในการพัฒนาต่อยอดเชิงพาณิชย์ในปัจจุบัน ซึ่งงานวิทยาศาสตร์พื้นฐานจะเปล่งประกายได้เต็มที่
ที่ ไ ด้รั บ เลื อ กให้เ ป็น นั ก วิ ท ยาศาสตร์ดี เ ด่น ประจ� ำ ปี พ.ศ. 2561 ผู ้ช ่ว ยศาสตราจารย์ ดร.เจ้า ทรั พ ย์ บุ ญ มาก ต่อเมือ
่ จับคู่กบ
ั งานพัฒนาเทคโนโลยี และต่อยอดด้วยการสร้างสรรค์ผลงานปลายทางทีเ่ ป็นองค์ความรู้ใหม่ หรือนวัตกรรม
ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น และ ดร.จุฬารัตน์ วัฒนกิจ ส�ำนักวิชาวิทยาการพลังงาน ของการประดิษฐ์คด ิ ค้น ทีก
่ ่อเกิดประโยชน์ต่อสังคมและชุมชนอย่างเป็นรูปธรรม งานทัง้ สองส่วนจึงต้องด�ำเนินเคียงคู่กน ั
สถาบันวิทยสิริเมธี ที่ได้รับเลือกให้เป็นนักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่ ประจ�ำปี พ.ศ. 2561 อันจะเป็นก�ำลังส�ำคัญใน และได้รับการสนับสนุนให้มีความความเข้มแข็งทัดเทียมกัน ซึ่ง สกว. เชื่อมั่นว่า “การวิจัยวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและ
การสร้างองค์ความรู้ พัฒนานวัตกรรม และเทคโนโลยีต่าง ๆ เป็นรากฐานที่แข็งแรงในการพัฒนาสังคมและประเทศชาติ นวัตกรรม” ของประเทศในอนาคตเป็นกลไกส�ำคัญในการสร้างความมั่งคั่งอย่างยั่งยืนให้กับประเทศสืบต่อไป
ให้มีขีดความสามารถในการแข่งขัน เพื่อความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืนต่อไป
ในโอกาสนี้ สกว. ขอแสดงความชื่นชมมูลนิธิส่งเสริมวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ในพระบรมราชูปถัปภ์ ที่ได้ริเริ่ม
โครงการรางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่น และรางวัลนักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่ อันทรงคุณค่า และขอแสดงความยินดีแก่ผู้
ที่ได้รับรางวัล “นักวิทยาศาสตร์ดีเด่น” และ “นักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่” ประจ�ำปี 2561 ทุกท่าน พร้อมทั้งขออ�ำนวย
พรให้ทุกท่านมีสุขภาพกายสุขภาพใจที่สมบูรณ์ มีสติปัญญา และมีคุณธรรม เป็นแบบอย่างแก่นักวิจัยรุ่นใหม่ พร้อม
เป็นก�ำลังส�ำคัญในการพัฒนางานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีให้ก้าวหน้าและเกิดประโยชน์ต่อสังคมและประเทศ
อย่างต่อเนื่อง โดย สกว. พร้อมเป็นส่วนหนึ่งในการ สานพลังการวิจัย และนวัตกรรม เพื่อเปลี่ยนประเทศไทยของเรา
สู่ประเทศที่พัฒนาแล้วอย่างยั่งยืน

(นายเทวินทร์ วงศ์วานิช) (ศาสตราจารย์นายแพทย์ สุทธิพันธ์ จิตพิมลมาศ)


ประธานกรรมการมูลนิธิพลังสร้างสรรค์นวัตกรรม ผู้อำ�นวยการสำ�นักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
8 นักวิทยาศาสตร์ดีเด่น ประจำ�ปี 2561 2018 OUTSTANDING SCIENTIST AWARDS 9

สารสำ�นักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์ คำ�ปรารภประธานกรรมการ
และเทคโนโลยีแห่งชาติ รางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่น

จากที่รัฐบาลได้มีนโยบายพัฒนาประเทศสู่ “ประเทศไทย ๔.๐ (Thailand 4.0)” นักวิทยาศาสตร์และงานวิจัยทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่มีคุณภาพ มีบทบาทส�ำคัญอย่างยิ่งต่อการขับเคลื่อน


ซึง่ เป็นโมเดลการขับเคลือ่ นประเทศสู่ความมัน ่ คง มัง่ คัง่ และยัง่ ยืน ด้วยวิทยาศาสตร์ ประเทศไทยไปสู่ “ไทยแลนด์ 4.0” ความก้าวหน้าและการพัฒนาเทคโนโลยีในปัจจุบน ั และอนาคตทีค
่ รอบคลุมทางด้านพลังงาน
เทคโนโลยี และนวัตกรรม (วทน.) นั้น กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และสิง่ แวดล้อม (Energy and Environment) วัสดุขน ั้ สูง (Advanced materials) เทคโนโลยีชวี ภาพ (Biotechnology)
และดิจท ิ ล
ั (Digital) รวมทัง้ การส่งเสริมความเป็นเลิศในสาขาวิจย ั ทีส
่ ร้างศักยภาพให้กบ
ั ประเทศ การคัดสรรนักวิจย
ั และผู้นำ�
เป็นกระทรวงหลักในการขับเคลือ ่ นโมเดลดังกล่าว โดยกระทรวงวิทยาศาสตร์
กลุ่มนักวิจย ั ชั้นแนวหน้า การเชื่อมโยงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม และการสนับสนุนให้เกิดการลงทุนด้านการวิจย ั
และเทคโนโลยี ได้ให้ความส�ำคัญกับการเชื่อมโยง วทน. เพื่อตอบโจทย์
เพื่อเร่งผลิตนักวิทยาศาสตร์ นักวิจัย วิศวกร ฯลฯ ที่มีคุณภาพให้เพียงพอต่อความต้องการ ล้วนแล้วแต่เป็นปัจจัยส�ำคัญใน
กลุ่มเป้าหมายทุกภาคส่วน รวมถึงสร้างแรงจูงใจในเส้นทางอาชีพนักวิจัย การผลักดันโครงการเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (EECi) ให้มีความเข้มแข็งและยั่งยืน
นักวิทยาศาสตร์ และนวัตกร ท�ำให้ วทน. เป็นเรือ ่ งใกล้ตวั มีผลต่อการด�ำรง
มูลนิธิส่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในพระบรมราชูปถัมภ์ มีการมอบรางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นและนักวิทยาศาสตร์
ชีวิต และการด�ำเนินธุรกิจ เข้าถึงได้ง่าย ใช้งานได้จริง ตรงกับความต้องการ
รุ่นใหม่เป็นประจ�ำทุกปี โดยรางวัลนักวิทยาสตร์ดีเด่นเริ่มมีการมอบรางวัลตั้งแต่ปีพุทธศักราช 2525 เป็นต้นมา ในขณะที่
ของตลาด และค�ำนึงถึงประโยชน์ที่ประชาชนจะได้รับเป็นส�ำคัญ
รางวัลนักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่เริ่มมีการมอบรางวัลตั้งแต่ปีพุทธศักราช 2534 เป็นต้นมา การมอบรางวัลนักวิทยาศาสตร์ดี
ส�ำนักงานพัฒนาํวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) ในฐานะหน่วย เด่น (Outstanding Scientist Award) และรางวัลนักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่ (Young Scientist Award) มีวัตถุประสงค์
หลักเพื่อเป็นขวัญและก�ำลังใจให้กับนักวิทยาศาสตร์ที่ได้รับคัดเลือก ก่อเกิดพลังในการมุ่งมั่นท�ำงานวิจัย ประกอบคุณงาม
งานภายใต้กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ที่มีบทบาทหลักในด้านการวิจัยและ
ความดีเพือ ่ ประเทศชาติและมนุษยชาติต่อไปในอนาคต ตลอดจนสร้างแบบอย่างทีด ่ แี ก่นก
ั เรียน นักศึกษาและเยาวชนของชาติ
พัฒนา ได้มีการด�ำเนินงานเชิงรุกเพื่อขับเคลื่อนโมเดลประเทศไทย ๔.๐ โดยการสร้างความเข้มแข็งใน ๕ ประเด็นวิจัย
ให้สังคมไทยได้มองเห็นและร่วมยกย่องเชิดชู เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ดังกล่าว คณะกรรมการรางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่น
มุ่งเน้น ได้แก่ ๑. อาหารเพื่ออนาคต ๒. ระบบขนส่งสมัยใหม่ ๓. การสร้างสุขภาพและคุณภาพชีวิตคนไทย ๔. เคมี จึงได้วางแนวทางการคัดเลือกนักวิทยาศาสตร์ที่มีความเป็นเลิศทางวิชาการ (Academic Excellence) มีผลงานวิจัยที่มี
ชีวภาพและเชือ ้ เพลิงชีวภาพ และ ๕. นวัตกรรมเพือ ่ การเกษตรยัง่ ยืน เพือ
่ สร้างผลกระทบเชิงเศรษฐกิจและสังคมให้เป็นที่ คุณภาพ (High Quality Research Output) และสร้างการเปลี่ยนแปลงอย่างเห็นได้ชัด (High Impact) อีกทั้งยังมี
ประจักษ์ โดยให้ความส�ำคัญกับการท�ำงานร่วมกับพันธมิตร เพือ ่ ให้เกิดประโยชน์สงู สุดต่อประเทศ ตามวิสย ั ทัศน์ “สวทช. ความส�ำคัญและเป็นคุณประโยชน์ต่อประเทศชาติ (Nationally Important) และเป็นที่ประจักษ์ในระดับสากล (Globally
เป็นพันธมิตรร่วมทางที่ดี สู่สังคมฐานความรู้ด้วยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี” ซึ่งการท�ำงานจะให้ได้ผลงานที่มี Visible) รวมถึงพิจารณาจากคุณสมบัตส ิ ่วนบุคคลในด้านการอุทศ ิ ตนเพือ
่ งานด้านวิทยาศาสตร์อย่างต่อเนือ ่ ง มีความประพฤติ
ผลกระทบสูงต่อประเทศดังกล่าวนั้น ต้องอาศัยความร่วมมืออย่างมากจากเครือข่ายนักวิจัย นักวิทยาศาสตร์ รวมทั้ง เป็นที่น่าเคารพนับถือและมีลักษณะเป็นผู้น�ำทางวิชาการ เหมาะสมที่จะได้รับการยกย่องให้เป็น “นักวิทยาศาสตร์ดีเด่น”
ผู้เกี่ยวข้องจากทัง้ ภาครัฐและเอกชน ดังนัน้ การผลักดันและเสริมสร้างศักยภาพของนักวิจย ั นักวิทยาศาสตร์ และนวัตกร และ “นักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่” ที่จะเป็นต้นแบบที่ดีงามของสังคมไทยและสังคมโลก
รวมทัง้ การสร้างแรงจูงใจให้กบั เยาวชนรุ่นใหม่ ให้เข้าใจเส้นทางอาชีพนักวิจยั ฯ เพือ
่ สนับสนุนการเพิม
่ จ�ำนวนของบุคลากรวิจยั ในการสรรหานักวิทยาศาสตร์ดีเด่นและนักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่ประจ�ำปีพุทธศักราช 2561 นั้น คณะกรรมการฯ ได้เชิญ
จึงเป็นกลไกที่ส�ำคัญเป็นอย่างยิ่ง ในการสร้างพลังเพื่อการขับเคลื่อนประเทศทั้งในปัจจุบัน และอนาคต ผู้ทรงคุณวุฒใิ ห้เสนอชือ
่ นักวิทยาศาสตร์ไทยทีม ่ ค
ี ณ
ุ สมบัตส
ิ อดคล้องกับเกณฑ์การพิจารณา นอกจากนีค ้ ณะกรรมการฯ ยังได้
น�ำรายชือ ่ นักวิทยาศาสตร์ทอี่ ยู่ในล�ำดับสูงของการพิจารณาในปีทผ ี่ ่านมา เข้ามาร่วมพิจารณาด้วย โดยในปีนค
ี้ ณะกรรมการฯ
ในการนี้ สวทช. ขอขอบคุณ มูลนิธิส่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในพระบรมราชูปถัมภ์ ที่ได้ริเริ่มโครงการ ได้มมี ติเป็นเอกฉันท์ ยกย่อง ศาสตราจารย์ ดร.อรวรรณ ชัยลภากุล ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
รางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่น และรางวัลนักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่ มาตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๒๕ และ พ.ศ. ๒๕๓๔ ตามล�ำดับ เป็นนักวิทยาศาสตร์ดเี ด่น ประจ�ำปีพท ุ ธศักราช 2561 และยกย่อง ดร.จุฬารัตน์ วัฒนกิจ ส�ำนักวิชาวิทยาการพลังงาน สถาบัน
และ สวทช. ได้รับเกียรติจากมูลนิธิฯ ในการร่วมสนับสนุน ตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๔๒ โดยคาดหวังว่า โครงการรางวัล วิทยสิริเมธี และ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เจ้าทรัพย์ บุญมาก ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น เป็น
นักวิทยาศาสตร์ดเี ด่น และรางวัลนักวิทยาศาสตร์ร่น
ุ ใหม่ นอกจากจะท�ำให้นก
ั วิทยาศาสตร์ดเี ด่น และนักวิทยาศาสตร์ร่น
ุ ใหม่ นักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่ ประจ�ำปีพุทธศักราช 2561
มีความภาคภูมิใจในรางวัล และภูมิใจกับงานวิจัยที่มีคุณค่า จนได้รับการยอมรับอย่างสูงจากสังคมวิทยาศาสตร์ กระผมขอขอบพระคุณ คณะกรรมการรางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่น และผู้ร่วมงานทุกท่านที่ได้ช่วยให้
แล้ว ยังจะได้สร้างความเข้าใจให้แก่สังคมไทย ถึงความส�ำคัญของ วทน. สร้างแรงบันดาลใจและสร้างความตระหนัก
การพิจารณารางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นและรางวัลนักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่ในปีนี้ส�ำเร็จลุล่วงด้วยดี และในนามของ
ให้แก่เยาวชน ในเส้นทางอาชีพของนักวิจัย นักวิทยาศาสตร์ และนวัตกร ตามแนวทาง “วิทย์สร้างคน” ของกระทรวง
คณะกรรมการรางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่น ขอแสดงความชื่นชมยินดีต่อนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นและนักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี อีกด้วย
ประจ�ำปีพุทธศักราช 2561 โดยหวังเป็นอย่างยิ่งว่า ผลงานและเกียรติประวัติอันดีเด่นของทุกท่านจะช่วยเป็นแรงบันดาลใจ
ในโอกาสนี้ ขอแสดงความยินดีแก่ผู้ได้รับรางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่น และนักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่ ประจ�ำปี ๒๕๖๑ ให้ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย ตระหนักถึงความส�ำคัญของวิทยาศาสตร์ และร่วมส่งเสริมให้วงการวิทยาศาสตร์ไทยมีความโดดเด่น
ทุกท่าน และหวังว่าทุกท่านจะได้ช่วยสร้างงานวิทยาศาสตร์ที่มีคุณค่า พัฒนาเยาวชน และคนรุ่นใหม่เพื่อช่วยพัฒนา และก้าวหน้าสืบไป

ประเทศต่อไปในอนาคต

(ดร. ณรงค์ ศิริเลิศวรกุล) (ศาสตราจารย์ ดร. จำ�รัส ลิ้มตระกูล)


ผู้อำ�นวยการสำ�นักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
ประธานกรรมการรางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่น
10 นักวิทยาศาสตร์ดีเด่น ประจำ�ปี 2561 2018 OUTSTANDING SCIENTIST AWARDS 11

เทคนิคการตรวจวัดได้อกี ด้วย เซ็นเซอร์ทางเคมีไฟฟ้าทีไ่ ด้พฒ


ั นาขึน
้ นี้ ได้นำ� ไปใช้ควบคู่กบ
ั ระบบของไหล (Flow-based
system) ต่าง ๆ เช่น เทคนิคโฟลว์อน ิ เจคชันอะนาลิซสิ (Flow injection analysis) ซีเคว็นเชียลอินเจคชันอะนาลิซส ี
(Sequential injection analysis) ลิควิดโครมาโตกราฟี รวมถึงอุปกรณ์ไมโครฟลูอิดิกส์ (Microfluidic device)

นอกจากการน�ำวัสดุทางเคมีมาใช้เพื่อการพัฒนาขั้วไฟฟ้าแล้ว กลุ่มวิจัยของศาสตราจารย์ ดร. อรวรรณ ชัยลภากุล ยัง


คำ�ประกาศเกียรติคุณ ได้มีความร่วมมือกับนักวิจัยในประเทศ ในการน�ำสารชีวโมเลกุล เช่น แอนติเจน แอนติบอดี รวมถึงพีเอ็นเอ ซึ่งเป็น
ทรัพยากรที่ผลิตได้ในประเทศไทย มาใช้ในการตรวจวัดสารบ่งชี้ทางชีวภาพ อันเป็นสาเหตุในการเกิดโรคต่างๆ เช่น
ศาสตราจารย์ ดร. อรวรรณ ชัยลภากุล
โรคไข้ไทฟอยด์ โรคมะเร็งปากมดลูก และวัณโรค เป็นต้น โดยการตรวจวัดมุ่งเน้นไปในทิศทางของการตรวจเพื่อการ
นักวิทยาศาสตร์ดีเด่น สาขาเคมีวิเคราะห์
คัดกรอง จากงานวิจัยนี้ท�ำให้ได้มาซึ่งอุปกรณ์รับรู้ชนิดใหม่ ก่อให้เกิดประโยชน์อย่างกว้างขวาง และมีแนวทางน�ำไป
ประจำ�ปีพุทธศักราช 2561
ต่อยอดสู่เชิงพาณิชย์ได้

การพัฒนาการตรวจวัดรูปแบบใหม่ เป็นอีกผลงานหนึง่ ซึง่ กลุ่มวิจย ั ของศาสตราจารย์ ดร. อรวรรณ ชัยลภากุล ได้พฒ ั นา


ด้วยคณะกรรมการรางวัลนักวิทยาศาสตร์ดเี ด่น ได้พจิ ารณาเห็นว่า ศาสตราจารย์ ดร. อรวรรณ ชัยลภากุล เป็นผู้มผ
ี ลงาน ขึน
้ ภายใต้กรอบแนวคิดในการย่อส่วนของระบบการตรวจวัดทางเคมีไฟฟ้าแบบดัง้ เดิมทีม ่ ขี นาดใหญ่ให้มาอยู่บนอุปกรณ์
โดดเด่นในด้านเคมีวิเคราะห์ โดยเป็นผู้ที่เล็งเห็นถึงความส�ำคัญและผลักดันให้เกิดองค์ความรู้ใหม่ในศาสตร์ทางด้าน ชิน้ เล็ก ๆ โดยเริม
่ ต้นจาก อุปกรณ์ปฏิบต ั ก
ิ ารบนชิพ (Lab-on-a-chip) ซึง่ ท�ำจากพอลิเมอร์ รูปแบบการตรวจวิเคราะห์
เคมีวิเคราะห์เชิงไฟฟ้า ซึ่งเป็นแขนงหนึ่งของการตรวจวัดทางเคมีวิเคราะห์ เพื่อเป็นแนวทางในการน�ำไปต่อยอด ด้วยอุปกรณ์ปฏิบัติการบนชิพนี้ มีข้อดี คือ ช่วยลดปริมาณสารเคมีที่ใช้ในการตรวจวิเคราะห์ อีกทั้งยังสามารถน�ำไปใช้
และประยุกต์ใช้ได้จริงในอนาคตอันใกล้ นอกห้องปฏิบัติการได้ เนื่องจากอุปกรณ์มีขนาดเล็ก สามารถพกพาได้ จากแนวความคิดนี้กลุ่มวิจัยของศาสตราจารย์
ดร. อรวรรณ ชัยลภากุล ได้ต่อยอดไปสู่การพัฒนารูปแบบการตรวจวัด ทีเ่ รียกว่า อุปกรณ์ปฏิบต ั ก
ิ ารบนกระดาษ (Lab-
ศาสตราจารย์ ดร. อรวรรณ ชัยลภากุล มุ่งเน้นในการสร้างสรรค์งานวิจัยทางด้านการพัฒนาขั้วไฟฟ้าใช้งาน ซึ่งเป็น
on-paper) โดยถือเป็นครั้งแรกของโลก ที่มีการน�ำอุปกรณ์ที่ท�ำจากกระดาษมาใช้ร่วมกับการตรวจวัดทางเคมีไฟฟ้า
องค์ประกอบทีส ่ ำ� คัญของเซลล์เคมีไฟฟ้า โดยเลือกใช้วส
ั ดุทห
ี่ ลากหลายและทันสมัย เพือ
่ ให้เกิดประโยชน์สงู สุดทางด้าน
ซึ่งปัจจุบันผลงานวิจัยนี้ได้รับการอ้างอิงมากกว่า 549 บทความ จากคุณสมบัติเด่นของกระดาษที่มีรูพรุน ท�ำให้สาร
การตรวจวิเคราะห์ ในแง่ของการเพิ่มสภาพความไวและความจ�ำเพาะ ซึ่งวัสดุที่ได้น�ำมาพัฒนา ดัดแปรและประยุกต์
สามารถไหลบนกระดาษได้โดยไม่ต้องอาศัยแรงหรืออุปกรณ์ภายนอก ดังนัน ้ จึงสามารถออกแบบให้ตรวจวิเคราะห์สาร
ใช้ส�ำหรับเป็นเซ็นเซอร์ทางเคมีไฟฟ้า ได้แก่ เพชรเจือโบรอน (Boron-doped diamond, BDD) วัสดุนาโนคาร์บอน
มากกว่า 1 ชนิดในอุปกรณ์ชน ิ้ เดียวได้ นอกจากการตรวจวัดร่วมกับเทคนิคทางเคมีไฟฟ้าแล้ว กลุ่มวิจย ั ของศาสตราจารย์
(Carbon nanomaterials) และอนุภาคโลหะขนาดนาโนเมตร (Metal nanoparticles) จากผลงานวิจัยที่เกิดขึ้น
ดร. อรวรรณ ชัยลภากุล ยังได้น�ำอุปกรณ์ปฏิบัติการบนกระดาษไปใช้ร่วมกับการตรวจวัดเชิงแสง โดยอาศัยหลักการ
จึงน�ำไปสู่นวัตกรรมใหม่ อีกทั้งยังช่วยเพิ่มมิติในการตรวจวิเคราะห์ทางเคมีไฟฟ้าแบบทั่วไป
เปลีย ่ นแปลงสีของปฏิกิรย ิ าทีเ่ กิดขึน
้ บนกระดาษ ซึง่ สามารถสังเกตได้ด้วยตาเปล่า หรือใช้การถ่ายภาพร่วมกับโปรแกรม
ศาสตราจารย์ ดร. อรวรรณ ชัยลภากุล นับเป็นผู้ที่ริเริ่มงานวิจัยในประเทศไทยทางด้านการน�ำขั้วไฟฟ้าเพชรเจือโบรอน ทางคอมพิวเตอร์ในกรณีที่ต้องการตรวจวิเคราะห์เชิงปริมาณ จากองค์ความรู้ใหม่ที่เกิดขึ้น กลุ่มวิจัยของศาสตราจารย์
(BDD electrode) มาใช้เป็นเซ็นเซอร์ส�ำหรับการตรวจวัดสารที่มีความส�ำคัญหลากหลายชนิด การค้นพบครั้งแรก ดร. อรวรรณ ชัยลภากุล ยังได้รวมเทคนิคการตรวจวัดต่างชนิดกัน ได้แก่ การตรวจวัดเชิงเคมีไฟฟ้าและการตรวจวัด
เริ่มจากการใช้ขั้วไฟฟ้า BDD ส�ำหรับการวิเคราะห์หาปริมาณกรดอินทรีย์ ซึ่งพบว่าให้ความไวในการตรวจวัดสูงกว่า เชิงแสง ไว้บนอุปกรณ์ปฏิบัติการบนกระดาษชิ้นเดียวกัน ท�ำให้สามารถตรวจวัดสารมากกว่า 1 ชนิดได้ในเวลาเดียวกัน
ขั้วไฟฟ้ากลาสสิคาร์บอน (Glassy carbon electrode) ที่ใช้อยู่ทั่วไป จากความส�ำเร็จนี้จึงเป็นจุดเริ่มต้นในการใช้ โดยใช้เทคนิคการตรวจวัดที่แตกต่างกัน นับเป็นการพัฒนารูปแบบการตรวจวัดอย่างก้าวกระโดด
ขั้วไฟฟ้า BDD ส�ำหรับการตรวจวิเคราะห์สารชนิดอื่น ๆ ตามมาอย่างต่อเนื่อง ไม่ว่าจะเป็นสารในกลุ่มที่มีซัลเฟอร์เป็น
ตลอดระยะเวลาการท�ำงานเป็นนักวิทยาศาสตร์ ศาสตราจารย์ ดร. อรวรรณ ชัยลภากุล ได้ท่ม ุ เททัง้ แรงกาย แรงใจ และ
องค์ประกอบ สารในกลุ่มยาปฏิชีวนะ สารในกลุ่มบีตา-อะโกนิสต์ (β-agonists) รวมไปถึงโลหะหนัก เป็นต้น
มุ่งมัน่ สร้างสรรค์ผลงานทีม่ ค
ี ณ
ุ ภาพ ท�ำให้สามารถตีพมิ พ์ผลงานในวารสารวิชาการชัน ้ น�ำระดับโลกได้กว่า 168 ผลงาน
กลุ่มวิจัยของศาสตราจารย์ ดร. อรวรรณ ชัยลภากุล ยังได้มีการน�ำวัสดุนาโนคาร์บอน เช่น ท่อนาโนคาร์บอน (Carbon ทีม่ ค
ี ่า H-index เท่ากับ 42 และมีบทความในหนังสือรวม 3 บทความ จากผลงานอันเป็นทีป ่ ระจักษ์ ท�ำให้ศาสตราจารย์
nanotube) กราฟีน รวมถึงวัสดุนาโนคอมโพสิต (Nonocomposites) มาใช้ในการเตรียมเซ็นเซอร์ทางเคมีและ ดร. อรวรรณ ชัยลภากุล เป็นทีร่ ้จู ก
ั และได้รบ
ั การยอมรับในวงการเคมีวเิ คราะห์ทงั้ ในและต่างประเทศ โดยได้รบ ั การเชิญ
ทางชีวภาพ โดยวัสดุเหล่านี้มีความโดดเด่น คือ มีพื้นที่ผิวที่มากและมีคุณสมบัติในการเป็นตัวเร่งปฏิกิริยา จึงสามารถ ไปน�ำเสนอผลงานมากกว่า 30 ครั้งทั่วโลก อีกทั้งยังได้รับรางวัล JAFIA Scientific Award จาก The Japanese
ช่วยเพิม่ สภาพความไวของการตรวจวิเคราะห์ได้ แสดงถึงศักยภาพทีส ่ ามารถน�ำไปใช้เป็นวิธท
ี างเลือกหรือวิธใี หม่สำ� หรับ Association for Flow Injection Analysis (JAFIA) รางวัลนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ สาขาวิทยาศาสตร์เคมีและ
การตรวจวัด เภสัช จากส�ำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ รางวัลจากส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) ในการรับทุน
เมธีวจิ ัยอาวุโส สกว. รวมไปถึงกลุ่มวิจัยภายใต้การน�ำของ ศาสตราจารย์ ดร. อรวรรณ ชัยลภากุล ยังได้รับรางวัลผล
วัสดุอีกชนิดหนึ่งที่กลุ่มวิจัยของศาสตราจารย์ ดร. อรวรรณ ชัยลภากุล ได้น�ำมาใช้เพื่อช่วยเพิ่มประสิทธิภาพใน
งานวิจัยดีเด่นด้านวิชาการ ประจ�ำปี 2560 จาก สกว.
การตรวจวิเคราะห์ คือ อนุภาคโลหะขนาดนาโนเมตร ได้แก่ อนุภาคทองขนาดนาโนเมตร อนุภาคเงินขนาดนาโนเมตร
และควอนตัมดอท (Quantum Dots) อนุภาคโลหะขนาดนาโนเมตรเหล่านี้มีคุณสมบัติเด่นที่เหมาะสมส�ำหรับการ ด้วยเหตุที่ ศาสตราจารย์ ดร. อรวรรณ ชัยลภากุล เป็นผู้เพียบพร้อมด้วยคุณวุฒิและคุณธรรม คณะกรรมการรางวัล
น�ำไปใช้เตรียมเป็นเซ็นเซอร์ทางเคมีไฟฟ้า โดยสามารถน�ำไปดัดแปรบนผิวของขั้วไฟฟ้าโดยตรงด้วยเทคนิคการเคลือบ นักวิทยาศาสตร์ดีเด่นจึงมีมติเป็นเอกฉันท์ยกย่อง ศาสตราจารย์ ดร. อรวรรณ ชัยลภากุล เป็นนักวิทยาศาสตร์ดีเด่น
ทางเคมีไฟฟ้า วัสดุเหล่านีไ้ ม่เพียงแต่ช่วยเพิม
่ สภาพความไวในการตรวจวิเคราะห์ แต่ยงั ช่วยเพิม
่ ความจ�ำเพาะเจาะจงของ สาขาเคมีวเิ คราะห์ ประจ�ำปีพุทธศักราช 2561
12 นักวิทยาศาสตร์ดีเด่น ประจำ�ปี 2561 2018 OUTSTANDING SCIENTIST AWARDS 13

ประวัติ

ศาสตราจารย์
ดร. อรวรรณ ชัยลภากุล

นักวิทยาศาสตร์ดีเด่น ประวัติการรับราชการ ตำ�แหน่งทางวิชาการ


ประจำ�ปี พ.ศ. 2561 พ.ศ. 2530 ผู้ช่วยสอนที่ University of New Mexico
พ.ศ. 2537 ผู้ช่วยวิจัยที่ Texas A & M
พ.ศ. 2558-2559 ประธานกรรมการบริหารหลักสูตรเทคโนโลยีชวี ภาพ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
พ.ศ. 2543-2547 ผู้ช่วยหัวหน้าภาคฝ่ายบัณฑิตศึกษา คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ประวัติ ประวัติการทำ�งานและตำ�แหน่งบริหารอื่น ๆ
ศาสตราจารย์ ดร. อรวรรณ ชัยลภากุล เกิดเมื่อวันที่ 10 มิถุนายน พ.ศ. 2501 ที่จังหวัดกรุงเทพมหานคร เป็นบุตรคน พ.ศ. 2530 ผู้ช่วยสอนที่ University of New Mexico
ที่สองในจ�ำนวนบุตรหกคนของ นายไกรสีห์ และ นางนํ้าทิพย์ ชัยลภากุล พ.ศ. 2537 ผู้ช่วยวิจัยที่ Texas A & M
พ.ศ. 2558-2559 ประธานกรรมการบริหารหลักสูตรเทคโนโลยีชวี ภาพ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ประวัติการศึกษา พ.ศ. 2543-2547 ผู้ช่วยหัวหน้าภาคฝ่ายบัณฑิตศึกษา คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
พ.ศ. 2520 มัธยมศึกษาตอนต้น-ปลาย โรงเรียนสตรีวัดมหาพฤฒาราม ในพระบรมราชินูปถัมภ์
พ.ศ. 2523 อนุปริญญาบัตรจากสถานศึกษาเคมีปฏิบตั ิ กรมวิทยาศาสตร์บริการ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประวัติการได้รับรางวัลและประกาศเกียรติคุณ
พ.ศ. 2525 วิทยาศาสตรบัณฑิต (สาขาเคมี) คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล พ.ศ. 2549 รางวัลผลงานวิจัยดี จากกองทุนรัชดาภิเษกสมโภช จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
พ.ศ. 2529 วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (สาขาเคมีวเิ คราะห์) คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ. 2549 รางวัล The best article award for FIA จาก The Japanese Association for
พ.ศ. 2537 ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (สาขาเคมีวิเคราะห์) The University of New Mexico Flow Injection Analysis (JAFIA) The Division of the Japanese Society
ประเทศสหรัฐอเมริกา for Analytical Chemistry
พ.ศ. 2551 รางวัลนักวิจย
ั ทีม
่ ผ
ี ลงานได้รบ
ั การอ้างอิงสูงสุด สาขาวิทยาศาสตร์กายภาพและคณิตศาสตร์
ประวัติการรับราชการและตำ�แหน่งทางวิชาการ ประจำ�ปี 2551 จากคณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
พ.ศ. 2529-2539 อาจารย์ ประจำ�ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณ พ.ศ. 2551 รางวัล JAFIA Scientific Award จาก The Japanese Association for Flow
ทหารลาดกระบัง Injection Analysis (JAFIA) The Division of the Japanese Society for
พ.ศ. 2540-2544 โอนย้ายมารับราชการตำ�แหน่งอาจารย์ ประจำ�ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ Analytical Chemistry (JSAC)
มหาวิทยาลัย พ.ศ. 2552 รางวัล Best Poster จากงานประชุมวิชาการ International Conference on
พ.ศ. 2544-2547 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ประจำ�ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Nanoscience & Technology ที่จัดขึ้น ณ ประเทศจีน
พ.ศ. 2547-2554 รองศาสตราจารย์ ประจำ�ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ. 2552 รางวัล TRF-CHE-Scopus Researcher Award สาขา Physical Science
พ.ศ. 2554-ปัจจุบัน ศาสตราจารย์ ประจำ�ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จากสำ�นักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย สำ�นักงานคณะกรรมการอุดมศึกษาแห่งชาติ
และสำ�นักพิมพ์ Elsevier
14 นักวิทยาศาสตร์ดีเด่น ประจำ�ปี 2561 2018 OUTSTANDING SCIENTIST AWARDS 15

พ.ศ. 2553 รางวัลนักวิจัยดีเด่น กองทุนรัชดาภิเษก พ.ศ. 2550-ปัจจุบัน ประธานการประชุมสาขาย่อยเคมีวเิ คราะห์ การประชุมวิชาการวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


สมโภช ประจำ�ปี 2552 สาขาวิทยาศาสตร์ แห่งประเทศไทย
และเทคโนโลยี จากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ. 2560 วิทยากรในงาน 3rd InnoMat ในหัวข้อเรื่อง “Smart Materials” ณ อาคารเฉลิมราช
พ.ศ. 2554 รางวัล CST High Impact Chemist กุมารี 60 พรรษา (จามจุรี 10) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Award จากสมาคมเคมีแห่งประเทศไทย
พ.ศ. 2556 รางวัลนักวิจยั ดีเด่นแห่งชาติ สาขาวิทยาศาสตร์
หน้าที่และกิจกรรมในองค์กรระดับนานาชาติ
เคมีและเภสัช จากสำ�นักงานคณะกรรมการ พ.ศ. 2545-ปัจจุบัน ได้รบ
ั เชิญเป็นผู้ทรงคุณวุฒพ
ิ จิ ารณาบทความเพือ ่ ตีพม
ิ พ์ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติ
วิจัยแห่งชาติ เช่น Biosensor and Bioelectronics/ Talanta / Analytical Chimica Acta /
พ.ศ. 2556 รางวัลนักวิจัยที่มีผลงานวิจัยที่ได้รับการ Langmuir / Journal of Agriculture and Food Chemistry / Sensor and
อ้างอิงสูงสุด สาขาวิทยาศาสตร์กายภาพ Actuator B: Chemical / Sensors / International Journal of Environmental
จากกองทุนรัชดาภิเษกสมโภช จุฬาลงกรณ์ Analytical Chemistry / Journal of Pharmaceutical and Biomedical Analysis
มหาวิทยาลัย / Journal of Applied Electrochemistry / Analytical Science
พ.ศ. 2556 รางวัลจุลมงกุฎเกียรติภูมิวิทยา ประจำ�ปี พ.ศ. 2551-ปัจจุบัน Editorial Advisory Board ส�ำนักพิมพ์ Elsevier
2556 สาขาวิทยาศาสตร์เคมีและเภสัช จาก พ.ศ. 2553 ประธานในการจัดประชุมระดับนานาชาติ The 2nd Regional Electrochemistry
คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Meeting of South-East Asia (REMSEA 2010) และเป็นประธานร่วมในงานประชุม
พ.ศ. 2557 รางวัล Honor of Invention จาก World Invention Intellectual Property Association The 16th International Conference on Flow Injection Analysis and Related
พ.ศ. 2557 รางวัล Silver Medal จาก Taipei International Show & Technomart Invention Techniques
Contest พ.ศ. 2553-ปัจจุบัน ประธานการประชุมสาขาย่อยเคมีวิเคราะห์ การประชุมวิชาการ Pure and Applied
พ.ศ. 2557 รางวัลหน่วยปฏิบัติการวิจัย (RU) ที่มีผลงานดีเด่น กองทุนรัชดาภิเษกสมโภช จุฬาลงกรณ์ Chemistry International Conference
มหาวิทยาลัย พ.ศ.2554 และ 2558 คณะกรรมการ การประชุมวิชาการ International Chemical Congress of Pacifichem,
พ.ศ. 2557 เมธีวิจัยอาวุโส สกว. จากสำ�นักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) Symposium on Electrochemistry on Boron-doped Diamond (BDD)
พ.ศ. 2557 รางวัลยกย่องเชิดชูเกียรติ เมธีวิจัยอาวุโส สกว. จากคณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ Electrodes
มหาวิทยาลัย พ.ศ. 2555 Keynote lecture ในหัวข้อเรื่อง “Nanoparticles for Electroanalysis” งาน
พ.ศ. 2559 รางวัล CST Distinguished Chemist จากสมาคมเคมีแห่งประเทศไทย ประชุมวิชาการระดับนานาชาติ The 27th Philippine Chemistry Congress with
พ.ศ. 2559 รางวัลนักวิจัยที่มีผลงานวิจัยได้รับการอ้างอิงสูงสุด จากคณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ the theme “Crossing Junctions in Chemistry towards Global Oneness”
มหาวิทยาลัย ณ เมืองมันดาลูยง ประเทศฟิลป ิ ปินส์
พ.ศ. 2561 รางวัลผลงานวิจัยดีเด่นด้านวิชาการ ประจำ�ปี 2560 จากสำ�นักงานกองทุนสนับสนุน พ.ศ. 2557 Invited speaker ในหัวข้อเรือ ่ ง “Macro/Micro Flow-Based Analysis Coupled
การวิจัย (สกว.) with Electrochemical Detection” งานประชุมวิชาการระดับนานาชาติ The 19th
International Conference on Flow Injection Analysis ณ เมืองฟุกโุ อกะ ประเทศ
หน้าที่และกิจกรรมในองค์กรระดับประเทศ ญี่ปุ่น
พ.ศ. 2540-ปัจจุบัน สมาชิกสมาคมวิทยาศาสตร์แห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ พ.ศ. 2561 Invited speaker ในหัวข้อเรือ ่ ง Paper-based Biosensor and Its Applications
พ.ศ. 2550-ปัจจุบัน ผูท
้ รงคุณวุฒแิ ละกรรมการประเมินผลงานวิชาการและข้อเสนอโครงการวิจย ั ของหน่วยงาน งานประชุมวิชาการระดับนานาชาติ 17th International Meeting of Chemical
ต่าง ๆ เช่น กองทุนสนับสนุนการวิจย
ั (สกว.) สำ�นักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา (สกอ.) ศูนย์ Sensors ณ เมืองเวียนนา ประเทศออสเตรีย
นาโนเทคโนโลยีแห่งชาติ (NANOTEC) และโครงการให้ทน ุ สนับสนุนโครงการอุตสาหกรรม
สำ�หรับนักศึกษาปริญญาตรี (IRPUS)
16 นักวิทยาศาสตร์ดีเด่น ประจำ�ปี 2561 2018 OUTSTANDING SCIENTIST AWARDS 17

CURRICULUM VITAE
PROFESSOR
DR. ORAWON CHAILAPAKUL
DATE OF BIRTH 10 June 1958
PLACE OF BIRTH Bangkok
MARITAL STATUS Single

EDUCATION 2008 JAFIA Scientific Award, The Japanese Association for Flow Injection
1977 High School, Mahaprutaram Girls’ School Under the Royal Patronage Analysis (JAFIA), The Division of the Japanese Society for Analytical
of her Majesty the Queen, Thailand
Chemistry
1980 Diploma in Practical Chemistry, Department of Science service,
2009 The Best Poster Award, International Conference on Nanoscience &
Chulalongkorn University, Thailand
Technology, China
1982 B.Sc. (Chemistry), Mahidol University, Thailand
2009 TRF-CHE-Scopus Researcher (Physical Science), The Thailand Research
1986 M.Sc. (Analytical Chemistry), Chulalongkorn University, Thailand
Fund, Office of the Higher Education Commission, and Elsevier Publishing
1994 Ph.D. (Analytical Chemistry), The University of New Mexico, U.S.A
2010 Chulalongkorn University Distinguished Researcher Award 2009,
Ratchadaphiseksomphot Endowment Fund, Chulalonkorn University
PROFESSIONAL EXPERIENCES
2011 CST High Impact Chemist Award, Chemical Society of Thailand
1986-1996 Lecturer, Department of Chemistry, King Mongkut’s Institute of Technology
2013 National Distinguished Researcher Award (Chemical and Pharmaceutical
Ladkrabang
1987 Teaching Assistance, University of New Mexico Sciences), National Research Council of Thailand
1994 Research Assistance, Texas A&M University 2013 Most Cited Research Publication Award of Physical Science,
1997-2001 Lecturer, Department of Chemistry, Faculty of Science, Chulalongkorn Ratchadaphiseksomphot Endowment Fund, Chulalongkorn University
University 2013 Chulalongkorn University Distinguished Researcher Award (Chemical
2001-2004 Assistant Professor, Department of Chemistry, Faculty of Science, Science and Pharmacy), Faculty of Science, Chulalongkorn University
Chulalongkorn University 2014 Honor of Invention, World Invention Intellectual Property Associations
2004-2011 Associate Professor, Department of Chemistry, Faculty of Science, 2014 Silver Medal Award, Taipei International Invention Show & Technomart
Chulalongkorn University Invention Contest
2011-present Professor, Department of Chemistry, Faculty of Science, Chulalongkorn 2014 Distinguished Research Unit Award, Ratchadaphiseksomphot Endowment
University Fund, Chulalongkorn University
2014 TRF Senior Research Scholar, The Thailand Research Fund
HONORS AND AWARDS
2014 TRF Senior Research Scholar Awards, Faculty of Science, Chulalongkorn
2006 Best Article Award, Ratchadaphiseksomphot Endowment Fund,
University
Chulalongkorn University
2016 CST Distinguished Chemist Award, Chemical Society of Thailand
2006 The best article award for FIA, The Japanese Association for Flow
2016 Most Cited Research Publication Award, Faculty of Science, Chulalongkorn
Injection Analysis (JAFIA), The Division of the Japanese Society for
University
Analytical Chemistry
2018 The 2017 TRF Outstanding Research Awards (Academic), The Thailand
2008 Most Cited Research Publication Award, Faculty of Science, Chulalongkorn
Research Fund
University
18 นักวิทยาศาสตร์ดีเด่น ประจำ�ปี 2561 2018 OUTSTANDING SCIENTIST AWARDS 19

MEMBERSHIP/COMMITTEE MEMBER- THAILAND


LIST OF PUBLICATIONS
1997-present Member of the Science Society of
Thailand under the Patronage of
PROFESSOR
His Majesty the King
DR. ORAWON CHAILAPAKUL
2007- present Reviewer for granting agencies
including the Thailand Research ORIGINAL RESEARCH ARTICLES
Fund (TRF) / Office of Higher 1. Chailapakul O., Crooks R.M., Synthesis and characterization of simple self-assembling, nanoporous
Education Commission (OHEC) / monolayer assemblies - A new strategy for molecular recognition. Langmuir 1993; 9(4): 884-888.
National Nanotechnology Center 2. Chailapakul O., Ross C.B., Crooks R.M., Synthesis and characterization of simple self-assembling
(NANOTEC) / Industrial and Research Projects for Undergraduate nanoporous assemblies - electrochemical, scanning probe microscopic, and theoretical analyses
Students (IRPUS) of 2-dimensional molecular recognition membranes. Abstracts of Papers of the American
2007-present Chairman of Analytical Science session, Congress on Science and Chemical Society 1993; 206: 170-COLL.
Technology of Thailand 3. Chailapakul O., Sun L., Xu C.J., Crooks R.M., Interactions between organized, surface-confined
2017 (Invited Speaker) “Smart Materials” 3rd InnoMat, Chulalongkorn University monolayers and vapor-phase probe molecules .7. comparison of self-assembling n-alkanethiol
monolayers deposited on gold from liquid and vapor-phases. Journal of the American Chemical
MEMBERSHIP/COMMITTEE MEMBER- INTERNATIONAL Society 1993; 115(26): 12459-12467.

2002-present Reviewer for international journals including Biosensor and Bioelectronics/ 4. Crooks R.M., Chailapakul O., Ross C.B., Sun L., Schoer J.K., Synthesis and characterization of
2-dimensional molecular recognition interfaces, in: Mallouk T.E., Harrison D.J. (Eds.), Interfacial
Talanta / Analytical Chimica Acta / Langmuir / Journal of Agriculture
Design and Chemical Sensing 1994, pp. 104-122.
and Food Chemistry / Sensor and Actuator B: Chemical / Sensors /
5. Chailapakul O., Crooks R.M., Interactions between organized, surface-confined monolayers
International Journal of Environmental Analytical Chemistry / Journal
and liquid-phase probe molecules .4. synthesis and characterization of nanoporous molecular
of Pharmaceutical and Biomedical Analysis / Journal of Applied
assemblies - Mechanism of probe penetration. Langmuir 1995; 11(4): 1329-1340.
Electrochemistry / Analytical Science
6. Li Y.Q., Chailapakul O., Crooks R.M., Electrochemical scanning-tunneling-microscopy study
2008-present International Editorial Advisory Board Member- Elsevier of the electrochemical-behavior of naked and N-alkanethiol-modified Au(111) surfaces in
2010 Chair of Organization Committee of 2nd Regional Electrochemistry F--containing and Cn--containing electrolyte-solutions. Journal of Vacuum Science & Technology
Meeting of South-East Asia (REMSEA 2010) and Co-chair of Organization B 1995; 13(3): 1300-1306.
Committee of 16th International Conference on Flow Injection Analysis 7. Chailapakul O., Popa E., Tai H., Sarada B.V., Tryk D.A., Fujishima A., The electrooxidation of
and Related Techniques organic acids at boron-doped diamond electrodes. Electrochemistry Communications 2000;
2010-present Chairman of Analytical Science Session, Pure and Applied Chemistry 2(6): 422-426.
International Conference 8. Chailapakul O., Aksharanandana P., Frelink T., Einaga Y., Fujishima A., The electrooxidation
2011 and 2015 Committee of International Chemical Congress of Pacifichem, Symposium of sulfur-containing compounds at boron-doped diamond electrode. Sensors and Actuators
on Electrochemistry on Boron-doped Diamond (BDD) Electrodes B-Chemical 2001; 80(3): 193-201.

2012 (Keynote lecture) “Nanoparticles for Electroanalysis” The 27th Philippine 9. Chailapakul O., Siangproh W., Sarada B.V., Terashima C., Rao T.N., Tryk D.A., Fujishima A., The
electrochemical oxidation of homocysteine at boron-doped diamond electrodes with application
Chemistry Congress with the theme “Crossing Junctions in Chemistry
to HPLC amperometric detection. Analyst 2002; 127(9): 1164-1168.
towards Global Oneness” Mandaluyong, Philippines
10. Wangfuengkanagul N., Chailapakul O., Electrochemical analysis of D-penicillamine using a
2014 (Invited speaker) “Macro/Micro Flow-Based Analysis Coupled with
boron-doped diamond thin film electrode applied to flow injection system. Talanta 2002; 58(6):
Electrochemical Detection” The 19th International Conference on Flow 1213-1219.
Injection Analysis, Fukuoka, Japan
11. Wangfuengkanagul N., Chailapakul O., Electrochemical analysis of acetaminophen using a boron-
2018 (Invited speaker) “Paper-based Biosensor and Its Applications” doped diamond thin film electrode applied to flow injection system. Journal of Pharmaceutical
17th International Meeting of Chemical Sensors, Vienna, Austria and Biomedical Analysis 2002; 28(5): 841-847.
20 นักวิทยาศาสตร์ดีเด่น ประจำ�ปี 2561 2018 OUTSTANDING SCIENTIST AWARDS 21

12. Palaharn S., Charoenraks T., Wangfuengkanagul N., Grudpan K., Chailapakul O., Flow injection 26. Treetepvijit S., Chuanuwatanakul S., Einaga Y., Sato R., Chailapakul O., Electroanalysis of
analysis of tetracycline in pharmaceutical formulation with pulsed amperometric detection. tetracycline using nickel-implanted boron-doped diamond thin film electrode applied to flow
Analytica Chimica Acta 2003; 499(1-2): 191-197. injection system. Analytical Sciences 2005; 21(5): 531-535.
13. Siangproh W., Ngamukot P., Chailapakul O., Electrochemical determination of captopril at boron- 27. Wang J., Siangproh W., Thongngamdee S., Chailapakul O., Continuous monitoring with microfabricated
doped diamond thin film electrode applied to a flow injection system. Sensors and Actuators capillary electrophoresis chip devices. Analyst 2005; 130(10): 1390-1394.
B-Chemical 2003; 91(1-3): 60-66. 28. Chailapakul O., Ngamukot P., Yoosamran A., Siangproh W., Wangfuengkanagul N., Recent
14. Siangproh W., Wangfuengkanagul N., Chailapakul O., Electrochemical oxidation of tiopronin at electrochemical and optical sensors in flow-based analysis. Sensors 2006; 6(10): 1383-1410.
diamond film electrodes and its determination by amperometric flow injection analysis. Analytica 29. Chailapakul O., Siangproh W., Tryk D.A., Boron-doped diamond-based sensors: A review. Sensor
Chimica Acta 2003; 499(1-2): 183-189. Letters 2006; 4(2): 99-119.
15. Sukwattanasinitt M., Nantalaksakul A., Potisatityuenyong A., Tuntulani T., Chailapakul O., 30. Karuwan C., Mantim T., Chaisuwan P., Wilairat P., Grudpan K., Jittangprasert P., Einaga Y.,
Praphairakait N., An electrochemical sensor from a soluble polymeric Ni-salen complex. Chemistry Chailapakul O., Suntornsuk L., Anurukvorakun O., Nacapricha D., Pulsed amperometry for anti-
of Materials 2003; 15(23): 4337-4339. fouling of boron-doped diamond in electroanalysis of beta-agonists: Application to flow injection
16. Tantrakarn K., Ratanatawanate C., Pinsuk T., Chailapakul O., Tuntulani T., Synthesis of redox- for pharmaceutical analysis. Sensors 2006; 6(12): 1837-1850.
active biscalix 4 quinones and their electrochemical properties. Tetrahedron Letters 2003; 31. Ngamukot P., Charoenraks T., Chailapakul O., Motomizu S., Chuanuwatanakul S., Cost-effective
44(1): 33-36. flow cell for the determination of malachite green and leucomalachite green at a boron-doped
17. Tomapatanaget B., Tuntulani T., Chailapakul O., Calix 4 arenes containing ferrocene amide as diamond thin-film electrode. Analytical Sciences 2006; 22(1): 111-116.
carboxylate anion receptors and sensors. Organic Letters 2003; 5(9): 1539-1542. 32. Preechaworapun A., Chuanuwatanakul S., Einaga Y., Grudpan K., Motomizu S., Chailapakul O.,
18. Chailapakul O., Amatatongchai M., Wilairat P., Grudpan K., Nacapricha D., Flow-injection Electroanalysis of sulfonamides by flow injection system/high-performance liquid chromatography
determination of iodide ion in nuclear emergency tablets, using boron-doped diamond thin film coupled with amperometric detection using boron-doped diamond electrode. Talanta 2006;
electrode. Talanta 2004; 64(5): 1253-1258. 68(5): 1726-1731.
19. Charoenraks T., Palaharn S., Grudpan K., Siangproh W., Chailapakul O., Flow injection analysis 33. Treetepvijit S., Preechaworapun A., Praphairaksit N., Chuanuwatanakul U., Einaga Y., Chailapakul
of doxycycline or chlortetracycline in pharmaceutical formulations with pulsed amperometric O., Use of nickel implanted boron-doped diamond thin film electrode coupled to HPLC system
detection. Talanta 2004; 64(5): 1247-1252. for the determination of tetracyclines. Talanta 2006; 68(4): 1329-1335.
20. Wangfuengkanagul N., Siangproh W., Chailapakul O., A flow injection method for the analysis 34. Wang J., Siangproh W., Blasco A.J., Chailapakul O., Escarpa A., Microchip device for rapid
of tetracycline antibiotics in pharmaceutical formulations using electrochemical detection at screening and fingerprint identification of phenolic pollutants. Analytica Chimica Acta 2006;
anodized boron-doped diamond thin film electrode. Talanta 2004; 64(5): 1183-1188. 556(2): 301-305.
21. Boonsong K., Chuanuwatanakul S., Wangfuengkanagul N., Chailapakul O., Electroanalysis of 35. Amatatongchai M., Hofmann O., Nacapricha D., Chailapakul O., Demello A.J., A microfluidic
lincomycin using boron-doped diamond thin film electrode applied to flow injection system. system for evaluation of antioxidant capacity based on a peroxyoxalate chemiluminescence
Sensors and Actuators B-Chemical 2005; 108(1-2): 627-632. assay. Analytical and Bioanalytical Chemistry 2007; 387(1): 277-285.
22. Charoenraks T., Chuanuwatanakul S., Honda K., Yamaguchi Y., Chailapakul O., Analysis of 36. Apilux A., Tabata M., Chailapakul O., Electrochemical behaviors of native and thermally denatured
tetracycline antibiotics using HPLC with pulsed amperometric detection. Analytical Sciences fish DNA in the presence of cytosine derivatives and porphyrin by cyclic voltammetry using
2005; 21(3): 241-245. boron-doped diamond electrode. Bioelectrochemistry 2007; 70(2): 435-439.
23. Kerdpaiboon N., Tomapatanaget B., Chailapakul O., Tuntulani T., Calix 4 quinones derived from 37. Dungchai W., Siangproh W., Lin J.M., Chailapakul O., Lin S., Ying X.T., Development of a sensitive
double calix 4 arenes: Synthesis, complexation, and electrochemical properties toward alkali micro-magnetic chemiluminescence enzyme immunoassay for the determination of carcinoembryonic
metal ions. Journal of Organic Chemistry 2005; 70(12): 4797-4804. antigen. Analytical and Bioanalytical Chemistry 2007; 387(6): 1965-1971.
24. Siangproh W., Chailapakul O., Laocharoensuk R., Wang J., Microchip capillary electrophoresis/ 38. Muncharoen S., Nacapricha D., Chailapakul O., Halsall H.B., Heineman W.R., ANYL 108-Determination
electrochemical detection of hydrazine compounds at a cobalt phthalocyanine modified of transferrin using an enzyme labeled immunoassay. Abstracts of Papers of the American
electrochemical detector. Talanta 2005; 67(5): 903-907. Chemical Society 2007; 234.
25. Suksai C., Leeladee P., Jainuknan D., Tuntulani T., Muangsin N., Chailapakul O., Kongsaeree P., 39. Vickers J.A., Dressen B.M., Weston M.C., Boonsong K., Chailapakul O., Cropek D.M., Henry C.S.,
Pakavatchai C., A new heteroditopic receptor and sensor highly selective for bromide in the Thermoset polyester as an alternative material for microchip electrophoresis/electrochemistry.
presence of a bound cation. Tetrahedron Letters 2005; 46(16): 2765-2769. Electrophoresis 2007; 28(7): 1123-1129.
22 นักวิทยาศาสตร์ดีเด่น ประจำ�ปี 2561 2018 OUTSTANDING SCIENTIST AWARDS 23

40. Yiamsawas D., Kangwansupamonkon W., Chailapakul O., Kiatkamjornwong S., Synthesis and 54. Sangjarusvichai H., Dungchai W., Siangproh W., Chailapakul O., Rapid separation and highly
swelling properties of poly acrylamide-co-(crotonic acid) superabsorbents. Reactive & Functional sensitive detection methodology for sulfonamides in shrimp using a monolithic column coupled
Polymers 2007; 67(10): 865-882. with BDD amperometric detection. Talanta 2009; 79(4): 1036-1041.
41. Boonsong K., Caulum M.M., Dressen B.M., Chailapakul O., Cropek D.M., Henry C.S., Influence of 55. Siangproh W., Teshima N., Sakai T., Katoh S., Chailapakul O., Alternative method for measurement
polymer structure on electroosmotic flow and separation efficiency in successive multiple ionic of albumin/creatinine ratio using spectrophotometric sequential injection analysis. Talanta 2009;
layer coatings for microchip electrophoresis. Electrophoresis 2008; 29(15): 3128-3134. 79(4): 1111-1117.
42. Chailapakul O., Korsrisakul S., Siangproh W., Grudpan K., Fast and simultaneous detection of 56. Tantavichet N., Damronglerd S., Chailapakul O., Influence of the interaction between chloride
heavy metals using a simple and reliable microchip-electrochemistry route: An alternative and thiourea on copper electrodeposition. Electrochimica Acta 2009; 55(1): 240-249.
approach to food analysis. Talanta 2008; 74(4): 683-689. 57. Apilux A., Dungchai W., Siangproh W., Praphairaksit N., Henry C.S., Chailapakul O., Lab-on-Paper
43. Chailapakul O., Wonsawat W., Siangproh W., Grudpan K., Zhao Y.F., Zhu Z.W., Analysis of sudan with Dual Electrochemical/Colorimetric Detection for Simultaneous Determination of Gold and
I, sudan II, sudan III, and sudan IV in food by HPLC with electrochemical detection: Comparison Iron. Analytical Chemistry 2010; 82(5): 1727-1732.
of glassy carbon electrode with carbon nanotube-ionic liquid gel modified electrode. Food 58. Dungchai W., Chailapakul O., Henry C.S., Use of multiple colorimetric indicators for paper-based
Chemistry 2008; 109(4): 876-882. microfluidic devices. Analytica Chimica Acta 2010; 674(2): 227-233.
44. Chinvongamorn C., Pinwattana K., Praphairaksit N., Imato T., Chailapakul O., Amperometric 59. Injang U., Noyrod P., Siangproh W., Dungchai W., Motomizu S., Chailapakul O., Determination of
determination of sulfite by gas diffusion-sequential injection with boron-doped diamond electrode. trace heavy metals in herbs by sequential injection analysis-anodic stripping voltammetry using
Sensors 2008; 8(3): 1846-1857. screen-printed carbon nanotubes electrodes. Analytica Chimica Acta 2010; 668(1): 54-60.
45. Chuanuwatanakul S., Chailapakul O., Motomizu S., Electrochemical analysis of chloramphenicol 60. Kukusamude C., Santalad A., Boonchiangma S., Burakham R., Srijaranai S., Chailapakul O.,
using boron-doped diamond electrode applied to a flow-injection system. Analytical Sciences Mixed micelle-cloud point extraction for the analysis of penicillin residues in bovine milk by high
2008; 24(4): 493-498. performance liquid chromatography. Talanta 2010; 81(1-2): 486-492.
46. Chuanuwatanakul S., Dungchai W., Chailapakul O., Motomizu S., Determination of trace heavy 61. Pinwattana K., Wang J., Lin C.T., Wu H., Du D., Lin Y.H., Chailapakul O., CdSe/ZnS quantum dots
metals by sequential injection-anodic stripping voltammetry using bismuth film screen-printed based electrochemical immunoassay for the detection of phosphorylated bovine serum albumin.
carbon electrode. Analytical Sciences 2008; 24(5): 589-594. Biosensors & Bioelectronics 2010; 26(3): 1109-1113.
47. Dungchai W., Siangproh W., Chaicumpa W., Tongtawe P., Chailapakul O., Salmonella typhi 62. Siangproh W., Rattanarat P., Chailapakul O., Reverse-phase liquid chromatographic determination
determination using voltammetric amplification of nanoparticles: A highly sensitive strategy for of alpha-lipoic acid in dietary supplements using a boron-doped diamond electrode. Journal of
metalloimmunoassay based on a copper-enhanced gold label. Talanta 2008; 77(2): 727-732. Chromatography A 2010; 1217(49): 7699-7705.
48. Preechaworapun A., Dai Z., Xiang Y., Chailapakul O., Wang J., Investigation of the enzyme hydrolysis 63. Wong-ek K., Chailapakul O., Nuntawong N., Jaruwongrungsee K., Tuantranont A., Cardiac troponin
products of the substrates of alkaline phosphatase in electrochemical immunosensing. Talanta T detection using polymers coated quartz crystal microbalance as a cost-effective immunosensor.
2008; 76(2): 424-431. Biomedizinische Technik 2010; 55(5): 279-284.
49. Preechaworapun A., Ivandini T.A., Suzuki A., Fujishima A., Chailapakul O., Einaga Y., Development 64. Dungchai W., Chailapakul O., Henry C.S., A low-cost, simple, and rapid fabrication method for
of amperometric immunosensor using boron-doped diamond with poly(o-aminobenzoic acid). paper-based microfluidics using wax screen-printing. Analyst 2011; 136(1): 77-82.
Analytical Chemistry 2008; 80(6): 2077-2083. 65. Leesutthiphonchai W., Dungchai W., Siangproh W., Ngamrojnavanich N., Chailapakul O., Selective
50. Siriwattanarungsee S., Sukontason K.L., Olson J.K., Chailapakul O., Sukontason K., Efficacy of determination of homocysteine levels in human plasma using a silver nanoparticle-based
neem extract against the blowfly and housefly. Parasitology Research 2008; 103(3): 535-544. colorimetric assay. Talanta 2011; 85(2): 870-876.
51. Dungchai W., Chailapakul O., Henry C.S., Electrochemical Detection for Paper-Based Microfluidics. 66. Nerngchamnong N., Chailap B., Leeladee P., Chailapakul O., Suksai C., Tuntulani T., Topological
Analytical Chemistry 2009; 81(14): 5821-5826. and metal ion effects on the anion binding abilities of new heteroditopic receptors derived from
52. Laiwattanapaisal W., Kunanuvat U., Intharachuti W., Chinvongamorn C., Hannongbua S., Chailapakul p-tert-butylcalix 4 arene. Tetrahedron Letters 2011; 52(22): 2914-2917.
O., Simple sequential injection analysis system for rapid determination of microalbuminuria. 67. Ruecha N., Siangproh W., Chailapakul O., A fast and highly sensitive detection of cholesterol
Talanta 2009; 79(4): 1104-1110. using polymer microfluidic devices and amperometric system. Talanta 2011; 84(5): 1323-1328.
53. Laiwattanapaisal W., Yakovleva J., Bengtsson M., Laurell T., Wiyakrutta S., Meevootisom V., 68. Sameenoi Y., Mensack M.M., Boonsong K., Ewing R., Dungchai W., Chailapakul O., Cropek
Chailapakul O., Emneus J., On-chip microfluidic systems for determination of L-glutamate based D.M., Henry C.S., Poly(dimethylsiloxane) cross-linked carbon paste electrodes for microfluidic
on enzymatic recycling of substrate. Biomicrofluidics 2009; 3(1). electrochemical sensing. Analyst 2011; 136(15): 3177-3184.
24 นักวิทยาศาสตร์ดีเด่น ประจำ�ปี 2561 2018 OUTSTANDING SCIENTIST AWARDS 25

69. Siangproh W., Dungchai W., Rattanarat P., Chailapakul O., Nanoparticle-based electrochemical 83. Apilux A., Ukita Y., Chikae M., Chailapakul O., Takamura Y., Development of automated paper-
detection in conventional and miniaturized systems and their bioanalytical applications: A review. based devices for sequential multistep sandwich enzyme-linked immunosorbent assays using
Analytica Chimica Acta 2011; 690(1): 10-25. inkjet printing. Lab on a Chip 2013; 13(1): 126-135.
70. Songjaroen T., Dungchai W., Chailapakul O., Laiwattanapaisal W., Novel, simple and low-cost 84. Chaiyo S., Chailapakul O., Sakai T., Teshima N., Siangproh W., Highly sensitive determination of
alternative method for fabrication of paper-based microfluidics by wax dipping. Talanta 2011; trace copper in food by adsorptive stripping voltammetry in the presence of 1,10-phenanthroline.
85(5): 2587-2593. Talanta 2013; 108: 1-6.
71. Tantichanakul T., Chailapakul O., Tantavichet N., Gelled electrolytes for use in absorptive glass 85. Dungchai W., Sameenoi Y., Chailapakul O., Volckens J., Henry C.S., Determination of aerosol
mat valve-regulated lead-acid (AGM VRLA) batteries working under 100% depth of discharge oxidative activity using silver nanoparticle aggregation on paper-based analytical devices.
conditions. Journal of Power Sources 2011; 196(20): 8764-8772. Analyst 2013; 138(22): 6766-6773.
72. Wong-ek K., Chailapakul O., Eiamchai P., Horpratum M., Limnonthakul P., Patthanasettakul V., 86. Ekabutr P., Chailapakul O., Supaphol P., Modification of Disposable Screen-Printed Carbon
Sutapan B., Tuantranont A., Chindaudom P., Nuntawong N., Surface-enhanced Raman scattering Electrode Surfaces with Conductive Electrospun Nanofibers for Biosensor Applications. Journal
using silver nanocluster on anodic aluminum oxide template sensor toward protein detection. of Applied Polymer Science 2013; 130(6): 3885-3893.
Biomedizinische Technik 2011; 56(4): 235-240. 87. Janrungroatsakul W., Lertvachirapaiboon C., Ngeontae W., Aeungmaitrepirom W., Chailapakul O.,
73. Amatatongchai M., Laosing S., Chailapakul O., Nacapricha D., Simple flow injection for screening Ekgasit S., Tuntulani T., Development of coated-wire silver ion selective electrodes on paper
of total antioxidant capacity by amperometric detection of DPPH radical on carbon nanotube using conductive films of silver nanoparticles. Analyst 2013; 138(22): 6786-6792.
modified-glassy carbon electrode. Talanta 2012; 97: 267-272. 88. Keawkim K., Chuanuwatanakul S., Chailapakul O., Motomizu S., Determination of lead and cadmium
74. Apilux A., Siangproh W., Praphairaksit N., Chailapakul O., Simple and rapid colorimetric detection in rice samples by sequential injection/anodic stripping voltammetry using a bismuth film/crown
of Hg(II) by a paper-based device using silver nanoplates. Talanta 2012; 97: 388-394. ether/Nafion modified screen-printed carbon electrode. Food Control 2013; 31(1): 14-21.
75. Kukusamude C., Burakham R., Chailapakul O., Srijaranai S., High performance liquid chromatography 89. Kunthadee P., Watchasit S., Kaowliew A., Suksai C., Wongsan W., Ngeontae W., Chailapakul O.,
for the simultaneous analysis of penicillin residues in beef and milk using ion-paired extraction Aeungmaitrepirom W., Tuntulani T., Intriguing sensing properties of a di-tripodal amine calix 4
and binary water-acetonitrile mixture. Talanta 2012; 92: 38-44. arene ionophore towards anions from Donnan failure in ion-selective membranes induced by
76. Ninwong B., Chuanuwatanakul S., Chailapakul O., Dungchai W., Motomizu S., On-line preconcentration Cu2+. New Journal of Chemistry 2013; 37(12): 4010-4017.
and determination of lead and cadmium by sequential injection/anodic stripping voltammetry. 90. Noiphung J., Songjaroen T., Dungchai W., Henry C.S., Chailapakul O., Laiwattanapaisal W.,
Talanta 2012; 96: 75-81. Electrochemical detection of glucose from whole blood using paper-based microfluidic devices.
77. Preechakasedkit P., Pinwattana K., Dungchai W., Siangproh W., Chaicumpa W., Tongtawe P., Analytica Chimica Acta 2013; 788: 39-45.
Chailapakul O., Development of a one-step immunochromatographic strip test using gold 91. Nurak T., Praphairaksit N., Chailapakul O., Fabrication of paper-based devices by lacquer spraying
nanoparticles for the rapid detection of Salmonella typhi in human serum. Biosensors & method for the determination of nickel (II) ion in waste water. Talanta 2013; 114: 291-296.
Bioelectronics 2012; 31(1): 562-566. 92. Punrat E., Chuanuwatanakul S., Kaneta T., Motomizu S., Chailapakul O., Method development for
78. Ratnarathorn N., Chailapakul O., Henry C.S., Dungchai W., Simple silver nanoparticle colorimetric the determination of arsenic by sequential injection/anodic stripping voltammetry using long-
sensing for copper by paper-based devices. Talanta 2012; 99: 552-557. lasting gold-modified screen-printed carbon electrode. Talanta 2013; 116: 1018-1025.
79. Rattanarat P., Dungchai W., Siangproh W., Chailapakul O., Henry C.S., Sodium dodecyl sulfate- 93. Rattanarat P., Dungchai W., Cate D.M., Siangproh W., Volckens J., Chailapakul O., Henry C.S.,
modified electrochemical paper-based analytical device for determination of dopamine levels A microfluidic paper-based analytical device for rapid quantification of particulate chromium.
in biological samples. Analytica Chimica Acta 2012; 744: 1-7. Analytica Chimica Acta 2013; 800: 50-55.
80. Songjaroen T., Dungchai W., Chailapakul O., Henry C.S., Laiwattanapaisal W., Blood separation 94. Rodthongkum N., Ruecha N., Rangkupan R., Vachet R.W., Chailapakul O., Graphene-loaded
on microfluidic paper-based analytical devices. Lab on a Chip 2012; 12(18): 3392-3398. nanofiber-modified electrodes for the ultrasensitive determination of dopamine. Analytica
81. Wonsawat W., Chuanuwatanakul S., Dungchai W., Punrat E., Motomizu S., Chailapakul O., Graphene- Chimica Acta 2013; 804: 84-91.
carbon paste electrode for cadmium and lead ion monitoring in a flow-based system. Talanta 95. Sameenoi Y., Panymeesamer P., Supalakorn N., Koehler K., Chailapakul O., Henry C.S., Volckens
2012; 100: 282-289. J., Microfluidic paper-based analytical device for aerosol oxidative activity. Environmental Science
82. Wonsawat W., Dungchai W., Motomizu S., Chuanuwatanakul S., Chailapakul O., Highly Sensitive & Technology 2013; 47(2): 932-940.
Determination of Cadmium and Lead Using a Low-cost Electrochemical Flow-through Cell Based 96. Siangproh W., Sonamit K., Chaiyo S., Chailapakul O., Fast determination of sudan i-iv in chili
on a Carbon Paste Electrode. Analytical Sciences 2012; 28(2): 141-146. products using automated on-line solid phase extraction coupled with liquid chromatography-
mass spectrometry. Analytical Letters 2013; 46(11): 1705-1717.
26 นักวิทยาศาสตร์ดีเด่น ประจำ�ปี 2561 2018 OUTSTANDING SCIENTIST AWARDS 27

97. Tantichanakul T., Chailapakul O., Tantavichet N., Influence of fumed silica and additives on the 109. Ruecha N., Rangkupan R., Rodthongkum N., Chailapakul O., Novel paper-based cholesterol
gel formation and performance of gel valve-regulated lead-acid batteries. Journal of Industrial biosensor using graphene/polyvinylpyrrolidone/polyaniline nanocomposite. Biosensors &
and Engineering Chemistry 2013; 19(6): 2085-2091. Bioelectronics 2014; 52: 13-19.
98. Tee-ngam P., Nunant N., Rattanarat P., Siangproh W., Chailapakul O., Simple and rapid determination 110. Thammasoontaree N., Rattanarat P., Ruecha N., Siangproh W., Rodthongkum N., Chailapakul O.,
of ferulic acid levels in food and cosmetic samples using paper-based platforms. Sensors 2013; Ultra-performance liquid chromatography coupled with graphene/polyaniline nanocomposite
13(10): 13039-13053. modified electrode for the determination of sulfonamide residues. Talanta 2014; 123: 115-121.
99. Wongsan W., Aeungmaitrepirom W., Chailapakul O., Ngeontae W., Tuntulani T., Bifunctional 111. Boonyasit Y., Heiskanen A., Chailapakul O., Laiwattanapaisal W., Selective label-free electrochemical
polymeric membrane ion selective electrodes using phenylboronic acid as a precursor of anionic impedance measurement of glycated haemoglobin on 3-aminophenylboronic acid-modified
sites and fluoride as an effector: A potentiometric sensor for sodium ion and an impedimetric eggshell membranes. Analytical and Bioanalytical Chemistry 2015; 407(18): 5287-5297.
sensor for fluoride ion. Electrochimica Acta 2013; 111: 234-241. 112. Chaiyo S., Siangproh W., Apilux A., Chailapakul O., Highly selective and sensitive paper-based
100. Chaiyo S., Chailapakul O., Siangproh W., Highly sensitive determination of mercury using copper colorimetric sensor using thiosulfate catalytic etching of silver nanoplates for trace determination
enhancer by diamond electrode coupled with sequential injection-anodic stripping voltammetry. of copper ions. Analytica Chimica Acta 2015; 866: 75-83.
Analytica Chimica Acta 2014; 852: 55-62. 113. Charoenkitamorn K., Chailapakul O., Siangproh W., Development of gold nanoparticles modified
101. Ekabutr P., Sangsanoh P., Rattanarat P., Monroe C.W., Chailapakul O., Supaphol P., Development screen-printed carbon electrode for the analysis of thiram, disulfiram and their derivative in
of a disposable electrode modified with carbonized, graphene-loaded nanofiber for the detection food using ultra-high performance liquid chromatography. Talanta 2015; 132: 416-423.
of dopamine in human serum. Journal of Applied Polymer Science 2014; 131(19). 114. Nantaphol S., Chailapakul O., Siangproh W., A novel paper-based device coupled with a silver
102. Jampasa S., Wonsawat W., Rodthongkum N., Siangproh W., Yanatatsaneejit P., Vilaivan T., nanoparticle-modified boron-doped diamond electrode for cholesterol detection. Analytica
Chailapakul O., Electrochemical detection of human papillomavirus DNA type 16 using a pyrrolidinyl Chimica Acta 2015; 891: 136-143.
peptide nucleic acid probe immobilized on screen-printed carbon electrodes. Biosensors & 115. Nantaphol S., Chailapakul O., Siangproh W., Sensitive and selective electrochemical sensor
Bioelectronics 2014; 54: 428-434. using silver nanoparticles modified glassy carbon electrode for determination of cholesterol in
103. Kiatkumjorn T., Rattanarat P., Siangproh W., Chailapakul O., Praphairaksit N., Glutathione and bovine serum. Sensors and Actuators B-Chemical 2015; 207: 193-198.
L-cysteine modified silver nanoplates-based colorimetric assay for a simple, fast, sensitive and 116. Promphet N., Rattanarat P., Rangkupan R., Chailapakul O., Rodthongkum N., An electrochemical
selective determination of nickel. Talanta 2014; 128: 215-220. sensor based on graphene/polyaniline/polystyrene nanoporous fibers modified electrode for
104. Mulyani R., Noviandri I., Buchari B., Ciptati C., Chailapakul O., Electrochemical oxidation of sodium simultaneous determination of lead and cadmium. Sensors and Actuators B-Chemical 2015;
dodecylbenzenesulphonate, cetyltrimethyl-ammonium bromide and oleic acid at platinum and 207: 526-534.
cobalt hydroxide modified platinum electrodes. International Journal of Electrochemical Science 117. Ratnarathorn N., Chailapakul O., Dungchai W., Highly sensitive colorimetric detection of lead
2014; 9(5): 2410-2419. using maleic acid functionalized gold nanoparticles. Talanta 2015; 132: 613-618.
105. Nantaphol S., Chailapakul O., Siangproh W., Ultrasensitive and simple method for determination 118. Rattanarat P., Teengam P., Siangproh W., Ishimatsu R., Nakano K., Chailapakul O., Imato T., An
of n-acetyl-l-cysteine in drug formulations using a diamond sensor. Electroanalysis 2014; 26(5): electrochemical compact disk-type microfluidics platform for use as an enzymatic biosensor.
1024-1030. Electroanalysis 2015; 27(3): 703-712.
106. Noyrod P., Chailapakul O., Wonsawat W., Chuanuwatanakul S., The simultaneous determination 119. Reanpang P., Themsirimongkon S., Saipanya S., Chailapakul O., Jakmunee J., Cost-effective
of isoproturon and carbendazim pesticides by single drop analysis using a graphene-based flow injection amperometric system with metal nanoparticle loaded carbon nanotube modified
electrochemical sensor. Journal of Electroanalytical Chemistry 2014; 719: 54-59. screen printed carbon electrode for sensitive determination of hydrogen peroxide. Talanta 2015;
107. Punrat E., Chuanuwatanakul S., Kaneta T., Motomizu S., Chailapakul O., Method development for 144: 868-874.
the determination of mercury(II) by sequential injection/anodic stripping voltammetry using an 120. Ruecha N., Rodthongkum N., Cate D.M., Volckens J., Chailapakul O., Henry C.S., Sensitive
in situ gold-film screen-printed carbon electrode. Journal of Electroanalytical Chemistry 2014; electrochemical sensor using a graphene-polyaniline nanocomposite for simultaneous detection
727: 78-83. of Zn(II), Cd(II), and Pb(II). Analytica Chimica Acta 2015; 874: 40-48.
108. Rattanarat P., Dungchai W., Cate D., Volckens J., Chailapakul O., Henry C.S., Multilayer paper- 121. Suea-Ngam A., Rattanarat P., Chailapakul O., Srisa-Art M., Electrochemical droplet-based
based device for colorimetric and electrochemical quantification of metals. Analytical Chemistry microfluidics using chip-based carbon paste electrodes for high-throughput analysis in
2014; 86(7): 3555-3562. pharmaceutical applications. Analytica Chimica Acta 2015; 883: 45-54.
28 นักวิทยาศาสตร์ดีเด่น ประจำ�ปี 2561 2018 OUTSTANDING SCIENTIST AWARDS 29

122. Talalak K., Noiphung J., Songjaroen T., Chailapakul O., Laiwattanapaisal W., A facile low-cost 135. Rungsawang T., Punrat E., Adkins J., Henry C., Chailapakul O., Development of electrochemical
enzymatic paper-based assay for the determination of urine creatinine. Talanta 2015; 144: 915- paper-based glucose sensor using cellulose-4-aminophenylboronic acid-modified screen-printed
921. carbon electrode. Electroanalysis 2016; 28(3): 462-468.
123. Yakoh A., Pinyorospathum C., Siangproh W., Chailapakul O., Biomedical probes based on inorganic 136. Saengsookwaow C., Rangkupan R., Chailapakul O., Rodthongkum N., Nitrogen-doped graphene-
nanoparticles for electrochemical and optical spectroscopy applications. Sensors 2015; 15(9): polyvinylpyrrolidone/gold nanoparticles modified electrode as a novel hydrazine sensor. Sensors
21427-21477. and Actuators B-Chemical 2016; 227: 524-532.
124. Bardpho C., Rattanarat P., Siangproh W., Chailapakul O., Ultra-high performance liquid 137. Siangproh W., Chailapakul O., Songsrirote K., Simple and fast colorimetric detection of inorganic
chromatographic determination of antioxidants in teas using inkjet-printed graphene-polyaniline arsenic selectively adsorbed onto ferrihydrite-coated silica gel using silver nanoplates. Talanta
electrode. Talanta 2016; 148: 673-679. 2016; 153: 197-202.
125. Boonyasit Y., Chailapakul O., Laiwattanapaisal W., A multiplexed three-dimensional paper- 138. Suea-Ngam A., Rattanarat P., Wongravee K., Chailapakul O., Srisa-Art M., Droplet-based
based electrochemical impedance device for simultaneous label-free affinity sensing of total glucosamine sensor using gold nanoparticles and polyaniline-modified electrode. Talanta 2016;
and glycated haemoglobin: The potential of using a specific single-frequency value for analysis. 158: 134-141.
Analytica Chimica Acta 2016; 936: 1-11. 139. Tirawattanakoson R., Rattanarat P., Ngamrojanavanich N., Rodthongkum N., Chailapakul O.,
126. Boonyasit Y., Laiwattanapaisal W., Chailapakul O., Emneus J., Heiskanen A.R., Boronate-Modified Free radical scavenger screening of total antioxidant capacity in herb and beverage using
interdigitated electrode array for selective impedance-based sensing of glycated hemoglobin. graphene/PEDOT:PSS-modified electrochemical sensor. Journal of Electroanalytical Chemistry
Analytical Chemistry 2016; 88(19): 9582-9589. 2016; 767: 68-75.
127. Chaiyo S., Apiluk A., Siangproh W., Chailapakul O., High sensitivity and specificity simultaneous 140. Tundorn P., Chailapakul O., Tantavichet N., Polyaspartate as a gelled electrolyte additive to
determination of lead, cadmium and copper using µPAD with dual electrochemical and colorimetric improve the performance of the gel valve-regulated lead-acid batteries under 100 % depth of
detection. Sensors and Actuators B-Chemical 2016; 233 540-549. discharge and partial-state-of charge conditions. Journal of Solid State Electrochemistry 2016;
128. Chaiyo S., Mehmeti E., Zagar K., Siangproh W., Chailapakul O., Kalcher K., Electrochemical 20(3): 801-811.
sensors for the simultaneous determination of zinc, cadmium and lead using a Nafion/ionic 141. Upan J., Reanpang P., Chailapakul O., Jakmunee J., Flow injection amperometric sensor with a
liquid/graphene composite modified screen-printed carbon electrode. Analytica Chimica Acta carbon nanotube modified screen printed electrode for determination of hydroquinone. Talanta
2016; 918: 26-34. 2016; 146: 766-771.
129. Jampasa S., Siangproh W., Duangmal K., Chailapakul O., Electrochemically reduced graphene 142. Akkarachanchainon N., Rattanawaleedirojn P., Chailapakul O., Rodthongkum N., Hydrophilic
oxide-modified screen-printed carbon electrodes for a simple and highly sensitive electrochemical graphene surface prepared by electrochemically reduced micellar graphene oxide as a platform
detection of synthetic colorants in beverages. Talanta 2016; 160: 113-124. for electrochemical sensor. Talanta 2017; 165: 692-701.
130. Kajornkavinkul S., Punrat E., Siangproh W., Rodthongkum N., Praphairaksit N., Chailapakul O., 143. Apilux A., Siangproh W., Insin N., Chailapakul O., Prachayasittikul V., Paper-based thioglycolic
Graphene/polyvinylpyrrolidone/polyaniline nanocomposite-modified electrode for simultaneous acid (TGA)-capped CdTe QD device for rapid screening of organophosphorus and carbamate
determination of parabens by high performance liquid chromatography. Talanta 2016; 148: 655-660. insecticides. Analytical Methods 2017; 9(3): 519-527.
131. Kongpeth J., Jampasa S., Chaumpluk P., Chailapakul O., Vilaivan T., Immobilization-free 144. Jirasirichote A., Punrat E., Suea-Ngam A., Chailapakul O., Chuanuwatanakul S., Voltammetric
electrochemical DNA detection with anthraquinone-labeled pyrrolidinyl peptide nucleic acid detection of carbofuran determination using screen-printed carbon electrodes modified with
probe. Talanta 2016; 146: 318-325. gold nanoparticles and graphene oxide. Talanta 2017; 175: 331-337.
132. Maluin F.N., Sharifah M., Rattanarat P., Siangproh W., Chailapakul O., Issam A.M., Manan N.S.A., 145. Nantaphol S., Channon R.B., Kondo T., Siangproh W., Chailapakul O., Henry C.S., Boron doped
Synthesis of PANI/hematite/PB hybrid nanocomposites and fabrication as screen printed paper diamond paste electrodes for microfluidic paper-based analytical devices. Analytical Chemistry
based sensors for cholesterol detection. Analytical Methods 2016; 8(45): 8049-8058. 2017; 89(7): 4100-4107.
133. Punrat E., Maksuk C., Chuanuwatanakul S., Wonsawat W., Chailapakul O., Polyaniline/graphene 146. Nantaphol S., Watanabe T., Nomura N., Siangproh W., Chailapakul O., Einaga Y., Bimetallic Pt-Au
quantum dot-modified screen-printed carbon electrode for the rapid determination of Cr(VI) nanocatalysts electrochemically deposited on boron-doped diamond electrodes for nonenzymatic
using stopped-flow analysis coupled with voltammetric technique. Talanta 2016; 150: 198-205. glucose detection. Biosensors & Bioelectronics 2017; 98: 76-82.
134. Rattanarat P., Suea-Ngam A., Ruecha N., Siangproh W., Henry C.S., Monpichar S.A., Chailapakul O., 147. Punrat E., Tutiyasarn P., Chuanuwatanakul S., Chailapakul O., Determination of nickel(II) by
Graphene-polyaniline modified electrochemical droplet-based microfluidic sensor for high- ion-transfer to hydroxide medium using sequential injection-electrochemical analysis (SIECA).
throughput determination of 4-aminophenol. Analytica Chimica Acta 2016; 925: 51-60. Talanta 2017; 168: 286-290.
30 นักวิทยาศาสตร์ดีเด่น ประจำ�ปี 2561 2018 OUTSTANDING SCIENTIST AWARDS 31

148. Ruecha N., Chailapakul O., Suzuki K., Citterio D., Fully inkjet-printed paper-based potentiometric 161. Jampasa S., Siangproh W., Laocharoensuk R., Vilaivan T., Chailapakul O., Electrochemical
ion-sensing devices. Analytical Chemistry 2017; 89(19): 10608-10616. detection of c-reactive protein based on anthraquinone-labeled antibody using a screen-printed
149. Ruecha N., Lee J., Chae H., Cheong H., Soum V., Preechakasedkit P., Chailapakul O., Tanev G., graphene electrode. Talanta 2018; 183: 311-319.
Madsen J., Rodthongkum N., Kwon O.S., Shin K., Paper-based digital microfluidic chip for multiple 162. Jampasa S., Siangproh W., Laocharoensuk R., Yanatatsaneejit P., Vilaivan T., Chailapakul O.,
electrochemical assay operated by a wireless portable control system. Advanced Materials A new DNA sensor design for the simultaneous detection of HPV type 16 and 18 DNA. Sensors
Technologies 2017; 2(3). and Actuators B-Chemical 2018; 265: 514-521.
150. Ruengpirasiri P., Punrat E., Chailapakul O., Chuanuwatanakul S., Graphene oxide-modified 163. Panraksa Y., Siangproh W., Khampieng T., Chailapakul O., Apilux A., Paper-based amperometric
electrode coated with in-situ antimony film for the simultaneous determination of heavy metals sensor for determination of acetylcholinesterase using screen-printed graphene electrode.
by sequential injection-anodic stripping voltammetry. Electroanalysis 2017; 29(4): 1022-1030. Talanta 2018; 178: 1017-1023.
151. Siangproh W., Somboonsuk T., Chailapakul O., Songsrirote K., Novel colorimetric assay for 164. Preechakasedkit P., Osada K., Katayama Y., Ruecha N., Suzuki K., Chailapakul O., Citterio D., Gold
paraquat detection on-silica bead using negatively charged silver nanoparticles. Talanta 2017; nanoparticle core-europium(III) chelate fluorophore-doped silica shell hybrid nanocomposites for
174: 448-453. the lateral flow immunoassay of human thyroid stimulating hormone with a dual signal readout.
152. Teengam P., Siangproh W., Tuantranont A., Henry C.S., Vilaivan T., Chailapakul O., Electrochemical Analyst 2018; 143(2): 564-570.
paper-based peptide nucleic acid biosensor for detecting human papillomavirus. Analytica 165. Preechakasedkit P., Siangproh W., Khongchareonporn N., Ngamrojanavanich N., Chailapakul O.,
Chimica Acta 2017; 952: 32-40. Development of an automated wax-printed paper-based lateral flow device for alpha-fetoprotein
153. Teengam P., Siangproh W., Tuantranont A., Vilaivan T., Chailapakul O., Henry C.S., Multiplex enzyme-linked immunosorbent assay. Biosensors & Bioelectronics 2018; 102: 27-32.
paper-based colorimetric dna sensor using pyrrolidinyl peptide nucleic acid-induced AgNPs 166. Reanpang P., Chailapakul O., Jakmunee J., Fabrication of a home-made SPCE modified with
aggregation for detecting MERS-CoV, MTB, and HPV oligonucleotides. Analytical Chemistry thionine for determination of hydrogen peroxide. Chiang Mai Journal of Science 2018; 45(3):
2017; 89(10): 5428-5435. 1449-1459.
154. Yukird J., Wongtangprasert T., Rangkupan R., Chailapakul O., Pisitkun T., Rodthongkum N., Label- 167. Worftamongkona P., Seeda K., Phansomboon P., Ratnarathorn N., Chailapakul O., Dungchai W., A
free immunosensor based on graphene/polyaniline nanocomposite for neutrophil gelatinase- simple paper-based colorimetric device for rapid and sensitive urinary oxalate determinations.
associated lipocalin detection. Biosensors & Bioelectronics 2017; 87: 249-255. Analytical Sciences 2018; 34(1): 103-108.
155. Chaiyo S., Mehmeti E., Siangproh W., Hoang T.L., Nguyen H.P., Chailapakul O., Kalcher K., Non- 168. Yakoh A., Rattanarat P., Siangproh W., Chailapakul O., Simple and selective paper-based
enzymatic electrochemical detection of glucose with a disposable paper-based sensor using colorimetric sensor for determination of chloride ion in environmental samples using label-free
a cobalt phthalocyanine ionic liquid graphene composite. Biosensors & Bioelectronics 2018; silver nanoprisms. Talanta 2018; 178: 134-140.
102: 113-120.
156. Charoenkitamorn K., Chaiyo S., Chailapakul O., Siangproh W., Low-cost and disposable sensors BOOK CHAPTERS
for the simultaneous determination of coenzyme Q10 and alpha-lipoic acid using manganese
1. Siangproh W., Tryk D.A., Chailapakul O. “Chapter 6: Boron-doped diamond for electroanalyical
(IV) oxide-modified screen-printed graphene electrodes. Analytica Chimica Acta 2018; 1004:
applications” Edited by Ozoemena KI. Recent advances in analytical electrochemistry, 167-197.
22-31.
India: Published by Transworld Research Network, 2007. Total page: 307.
157. Charoenkitamorn K., Tue P.T., Kawai K., Chailapakul O., Takamura Y., Electrochemical immunoassay
2. Chailapakul O., Fujishima A., Tryk D.A. “Chapter 15: Determination and electrooxidation of sulfur
using open circuit potential detection labeled by platinum nanoparticles. Sensors 2018; 18(2).
containing compounds at boron-doped diamond electrodes” Edited by Fujishima A, Einaga Y,
158. Ekabutr P., Ariyathanakul T., Chaiyo S., Niamlang P., Rattanaveeranon S., Chailapakul O., Rao TN, and Tryk DA. Daimond Electrochemistry, 321-341. Tokyo: Published by Elsevier, 2005.
Supaphol P., Carbonized electrospun polyvinylpyrrolidone/metal hybrid nanofiber composites Total page: 307.
for electrochemical applications. Journal of Applied Polymer Science 2018; 135(1).
3. Siangproh W., Apilux A., Chantarateepra P., Chailapakul O. “Chapter 7: Electroanalytical applications
159. Ekabutr P., Klinkajon W., Sangsanoh P., Chailapakul O., Niamlang P., Khampieng T., Supaphol P., of diamond films” Edited by Brillas CE and Martinez-Huitle A. Synthetic diamond films, 158-180.
Electrospinning: a carbonized gold/graphene/PAN nanofiber for high performance biosensing. New Jersey: Published by John Wiley & Sons, Inc., 2011. Total page: 632.
Analytical Methods 2018; 10(8): 874-883.
160. Ishii M., Preechakasedkit P., Yamada K., Chailapakul O., Suzuki K., Citterio D., Wax-Assisted
one-step enzyme-linked immunosorbent assay on lateral flow test devices. Analytical Sciences
2018; 34(1): 51-56.
32 นักวิทยาศาสตร์ดีเด่น ประจำ�ปี 2561 2018 OUTSTANDING SCIENTIST AWARDS 33

THE
ACHIEVEMENTS OF
PROFESSOR
DR. ORAWON CHAILAPAKUL

CONTRIBUTIONS IN THE ADVANCEMENT


OF ELECTROCHEMISTRY

Electrochemical detection is a detection method which These sensors and platform were successfully Meeting of South-East Asia (REMSEA 2010),
focuses on the reactions which occur on the working tested to different types of analytes opening Editorial Board Member and Referee of many
electrode surface. Working electrode is the most a new frontier and possibilities for analytical high profile international journals, Reviewer of
significant part of an electrochemical cell where target automation, portability and disposability, with many national and international grant agencies.
analytes are detected and monitored. Developmental added advantages of substantial reduction in
Professor Chailapakul’s research group
research for the improvement of detection performance analysis time, waste, and cost. It is undeniable
and collaborators have authored over 168
is therefore significantly important to maximize the that Professor Chailapakul’s research has
publications (H-Index 42), 3 patents, and 3
advantageous aspects of electrochemical methods such set a strong foundation for a new era of
book chapters. Her enthusiasm and willingness
as being easy-to-operate, economical and portable electroanalytical techniques. Her research
to collaborate with colleagues have made
without sacrificing detection sensitivity, very simple to group continues to produce new advancements
her a very popular and active member of
construct, and applicable to a variety of applications. in the fields of electrochemical detections
both the national and international analytical
Numerous new types of working electrodes based on of portable and disposable sensors, and
chemistry circuit. Professor Chailapakul has
non-traditional materials have been developed as nanomaterial sensors for bioanalysis.
been invited to present more than 30 lectures
sensors for electrochemical detection by Professor
Professor Chailapakul is well recognized around the world.
Dr. Orawon Chailapakul.
as one of the world leading researchers in
During 2014-2016, Thailand Research Fund
The focus of Professor Chailapakul’s research is new electroanalytical chemistry especially for her
awarded Professor Chailapakul a Senior
sensor materials for electrochemical detection. She breakthrough research on the boron-doped
Scholarship under the title ‘Novelty in Analytical
is well recognized by her pioneering publications on diamond electrode (BDD). Over the years, her
Chemistry for Innovation of Detection’. Based
boron-doped diamond electrodes as sensors for the research group constantly has contributed to
on this theme, the research team published
detection of organic and inorganic compounds. She both the fundamentals and the applications
30 papers in high impact journals. All works
further enhanced the capability of such system by of electrochemistry; their discoveries often
have led to new advancement in routine
coupling the sensor with flow-based techniques such exceeded the capabilities of published
assessment and detection techniques for
as flow injection analysis, sequential injection analysis, traditional methods. These reputations have
clinical, food, and environmental samples.
liquid chromatography, and microfluidic devices (Lab- led to several national and internationally
The research has opened doors for portable
on-a-chip). Recently, her research group pioneered a active roles such as: Chair of the organizing
analytical systems that are suitable for field
novel detection platform called lab-on-paper in Thailand. committee The 2nd Regional Electrochemistry
34 นักวิทยาศาสตร์ดีเด่น ประจำ�ปี 2561 2018 OUTSTANDING SCIENTIST AWARDS 35

analysis and possibility of new automatic electroanalysis was first published in 2000 The group later applied BDD for the analyses
platforms for screening and determination of when the Chailapakul group successfully of antibiotic, β-agonists, dyes, DNA, proteins,
various predictors of health status, disease employed a BDD electrode for the analysis iodides, sulfites, and heavy metals. To further
risk, and environmental safety. of organic acids with improved sensitivity improved the sensitivity and selectivity of
over the conventional glassy carbon. From BDD electrode, modifiers such as metal and
Throughout her career, Professor Chailapakul
this initial finding, the group further their metal nanoparticles were incorporated into
has focused on the development of new
investigation of BDD on various compounds and the conventional BDD electrode material
electrochemical sensors of improved selectivity
concluded that the BDD electrode is superior leading to a novelty in electroanalysis. To
and sensitivity on 3 types of materials. The
for sulfur-containing compounds commonly further extended the capability of common
first was the Boron-doped diamond (BDD)
present in clinical, food, environmental, and electroanalysis, the group coupled these
which was recognized as the new material
agricultural samples. BDD electrode can be novel sensors to basic and modern analytical
for the twentieth century owing to its
used for direct analysis at ultratrace levels; instrument including flow injection analysis
unique properties over the common carbon
its limit of detection has surpassed many (FIA), sequential injection analysis (SIA), high
electrode. Second, was carbon nanomaterials
published limits of the conventional methods. performance liquid chromatography (HPLC),
including carbon nanotubes, graphene and
and microchip capillary electrophoresis
their nanocomposite. The last, are metal
(µChip CE). The coupling of a sensitive
nanoparticles such as gold nanoparticles,
detection method to a modern analytical
silver nanoparticles, and quantum dot.
instrument greatly improved the performance
Research directions concentrated on a clear
of the analytical methods and extending its
and concise view of new preparation and
applications in many fields.
modification strategies which opened up new
concepts for future research. An abridged Recently, the group demonstrated that BDD
version of her research advancement on powder could surpass morphological limitations including metals, metal-oxide, nanocomposites,
these materials is present in the following of the conventional BDD electrode. New and quantum dots have been assembled
sections. electrode platforms can be achieved with and tested for electrochemical purposes.
improved compatibility to the unconventional The Chailapakul group has focused in the
1. Boron-doped diamond electrode following areas:
analytical platform such as paper-based
The development of the boron-doped diamond analytical devices. These paper-based
thin film (BDD) electrode as sensor for sensors can successfully detect biological 2.1. Carbon nanotube (CNT) as electrochemical
species such as neuro transmittances, sensors
glucose, and heavy metals, thus extending The unique electronic, chemical, and mechanical
electroanalysis to point-of-care application. properties of carbon nanotubes (CNT) make
Altogether, the Chailapakul group published them extremely attractive for electrochemical
30 manuscripts on BDD related titles in sensors. Many studies demonstrated the
journals with a high impact factor. ability of CNT to promote electron transfer
reactions in many compounds. The Chailapakul
2. Carbon nanomaterials group first reported application of CNT for
the detection of Sudan dyes after their
Applications of nanoparticles (NPs) of separation by HPLC in 2008. Reported
high surface area and significant catalytic analytical method is reproducible, sensitive,
activity are subjects for intensive studies in and is applicable for routine analysis of
biosensors, chemical sensors, and clinical Sudan dyes in soft drinks. In 2010, the group
chemistry. Several types of nanoparticles developed a method to produce CNT-based
36 นักวิทยาศาสตร์ดีเด่น ประจำ�ปี 2561 2018 OUTSTANDING SCIENTIST AWARDS 37

screen-printed electrodes which facilitated


simultaneous determination of trace heavy
metals in Thai herbs. The methodology was
extended to new screening methodologies
for total antioxidant capacity, and for novel
highly sensitive detection of hydrogen peroxide
and hydroquinone.

2.2. Graphene as electrochemical sensors

Graphene is very popular in electroanalytical


applications due to its excellent properties
such as high electrical conductivity, increased
electron transportation, high mechanical and
chemical stability, large specific surface
area, and good biocompatibility. In 2012,
The Chailapakul group reported significantly
enhanced electrooxidative current of heavy
metals on bismuth film modified graphene-
carbon powder paste electrode in a flow-based common matrix types of nanocomposites. In 3.1. Gold nanoparticles 3.2. Silver nanoparticles
system. From that point on, the group employed 2012, the Chailapakul group published their
different processes such as electrospinning, Gold nanoparticles (AuNPs) are the most Silver nanoparticles (AgNPs) have been
first paper-based cholesterol biosensor
electrospraying, and screen-printing techniques commonly used metal nanoparticles for the widely employed for sensing applications
fabricated from nanocomposite of graphene,
in the development of novel graphene-based identification of chemical and biological taking advantage of unusual electronic and
polyvinylpyrrolidone, and polyaniline. Many
sensors. These sensors were tested in both agents. AuNPs have unique surface plasmon physiochemical properties and vast specific
interesting electroanalytical characteristics
batch and flow-based systems, such as resonance, narrow size distribution, and can be surface area of AgNPs. The Chailapakul
and enhanced sensitivity of the biosensor were
microchip and paper-based devices. Good easily conjugated with biomolecules. In surface group modified AgNPs on various electrode
observed. This work established a fabrication
method performance was observed when modified electrodes and biosensors, AuNPs materials such as paper-based coated-wire
basis of new generation nanocomposite
graphene-based sensors were applied on bind to amine and thiol functional groups of ion selective electrodes (ISEs). Enhanced
sensors in various applications.
clinical, pharmaceutical, environmental, foods, biomolecules. In 2015, the Chailapakul group sensitivity was observed implying strong
and agricultural samples. The results met 3. Metal nanoparticles modified electrodes reported successful detections of herbicides potential of AgNPs modified electrode for
the detection limits and constraints of the in contaminated fruits and vegetables using trace analysis applications.
Metal nanoparticles demonstrated many AuNPs modified screen-printed carbon electrode
current standard methods and demonstrated
suitable properties for electrochemical sensors. in efficient UHPLC-ED platform for rapid, 3.3. Quantum dots
the potential of graphene-based electrodes
Metallic nanoparticles can be deposited onto selective, highly sensitive analysis. Further
as a reliable new or alternative analytical Quantum dots (QD) are colloidal nanocrystalline
the electrode surface by direct electrochemical works were later applied to pharmaceutical
alternatives. semiconductors with unique tunable
deposition. The Chailapakul group focused on and clinical applications. AuNPs based portable
photoluminescence properties due to a
2.3. Nanocomposites as electrochemical gold nanoparticles, silver nanoparticles, and power supply and wireless control system
quantum confinement effect, and therefore,
sensors quantum dots due to their superb properties called paper-based chip platform were later
they contain great potential for novel
that matched their research objectives. developed by the group. This platform can be
Multiphase solid materials of one, two, or chemical sensors and biosensors. In 2010,
further developed into an advanced point-of-
three dimensions with a size of less than the Chailapakul group fabricated a CdSe/
care device for simultaneous assays using
100 nm are known as nanocomposites. ZnS quantum dot based electrochemical
digital microfluidics technology for medical
Polymers, metals, and ceramics are the three immunoassay for the detection of a protein
applications.
38 นักวิทยาศาสตร์ดีเด่น ประจำ�ปี 2561 2018 OUTSTANDING SCIENTIST AWARDS 39

National Science and Technology Development


Agency: Prof. Dr. Morakot Tanticharoen, Dr.
Adisorn Tuantranon

Suan Sunandha Rajabhat University: Assist.


Prof. Dr. Wanida Wonsawat

Overseas Collaborators
USA: Prof. Dr. Joseph Wang (University of
California), Prof. Dr. Charles S. Henry (Colorado
State University), Prof. Dr. Vincent T. Remcho
(Oregon State University), Prof. Dr. Purnendu
Collaborators in Thailand K. Dasgupta (University of Texas at Arlington)

Chulalongkorn University: Prof. Dr. Sirirat Japan: Prof. Dr. Arika Fujishima (Tokyo University
Kokpol, Prof. Dr. Sirirat Rengpipat, Prof. Dr. of Science), Prof. Dr. Yasuaki Einaga (Keio
Tirayut Vilaivan, Prof. Dr. Thawatchai Tuntulani, University), Prof. Dr. Toshihiko Imato (Kyushu
Prof. Dr. Sanong Ekgasit, Prof. Dr. Mongkol University), Prof. Dr. Shoji Motomizu (Okayama
biomarker. This QD-based electrochemical and diseases (i.e. Tuberculosis (TB), Cervical Sukwattasinitt, Prof. Dr. Pitt Supaphol, Assoc. University), Prof. Dr. Yuzuru Takamura (JAIST),
immunoassay is simple and cost-effective. cancer and Middle East Respiratory Syndrome Prof. Dr. Nattaya Ngamrojanavanich, Assoc. Prof. Dr. Takashi Kaneta (Okayama University),
It set a new standard for future analysis of (MERS)). These new analytical platforms Prof. Dr. Narong Praphairaksit, Assoc. Prof. Dr. Prof. Dr. Daniel Citterio (Keio University), Assoc.
protein biomarkers. can be cost-effective for field analysis, or Suchada Chuanuwatanakul, Assoc. Prof. Nisit Prof. Dr. Takeshi Kondo (Tokyo University
portable for screening analysis. Endless Tantavichet, Prof. Dr. Wanida Laiwattanapaisal, of Science), Prof. Dr. Masaaki Tabata (Saga
4. Miscellaneous combinations can be constructed based on University)
Assist. Prof. Dr. Nanthika Khongchareanporn,
specific requirements of each analysis. Dr. Nadnudda Rodthongkum, Dr. Monpichar
Not only carbon and nanoparticles that China: Prof. Dr. Jin-Min Lin (Tsinghua University),
Professor Chailapakul employs in fabricating Srisa-Art, Dr. Janjira Panchompoo, Assoc. Prof. Dr.Yuehe Lin (Central China Normal
Acknowledgements Prof. Dr. Yuttanant Boonyongmaneerat, Dr.
new sensors, but she is also interested in University), Prof. Dr. Zhiwei Zhu (Peking
using biomolecules such as antigen, antibody Professor Chailapakul is grateful to every single Rattapol Rangkupan University)
and Peptide Nucleic Acid (PNA). Collaborations member of her remarkable research team and Srinakharinwirot University: Assoc. Prof. Dr. South Korea: Prof. Dr. Kwanwoo Shin (Sogang
with Professor Dr. Wanpen Chaicumpa and her collaborators. She believes that when we Weena Siangproh, Assist. Prof. Dr. Kriangsak University)
Professor Dr. Tirayut Vilaivan provide the work together, share openly, with love and good Songsrirote
opportunity to exploit these resources in intention that great things follow. She sends Austria: Prof. Dr. Kurt Kalcher (Karl-Franzens-
Thailand. Invaluable results are obtained her appreciation to these wonderful people Mahidol University: Prof. Dr. Wanpen Chaicumpa, Universitaet)
when using these biomolecules for fabricating and wishes them tremendous success. The Assoc. Prof. Dr. Prapin Wilairat, Assoc. Prof.
Dr. Duangjai Nacapricha, Assist. Prof. Dr. Spain: Prof. Dr. Arben Merkoci (Catalan Institute
the novel sensors. These new developments work could not be possible without financial
Amara Apilux of Nanoscience and Nanotechnology; ICN2)
make on-site detecting possible for routine support from The Thailand Research Fund,
assessment applications in clinical fields Chulalongkorn University, National Research Malaysia: Dr. Ninie S A Manan (University of
Chiang Mai University: Prof. Dr. Kate Grudpan,
Council of Thailand, National Science and Malaya)
Besides their focus on electrochemical Assoc. Prof. Dr. Jaroon Jakmunee
Technology Development Agency, and Office
sensors, the Chailapakul group also works on Indonesia: Assoc. Prof. Dr. Indra Noviandri
of the Higher Education Commission. She is Thammasat University: Assist. Prof. Dr. Pongsri
novel colorimetric sensors with disposable (Institute Technology Bangdung), Dr. Reni
greatly indebted to the love, support, and Tongtawee
platforms of paper-based devices for important Mulyani
understanding of her family, friends, and
analytes such as toxic heavy metals (i.e. Hg, Cr) King Mongkut’s University of Technology
colleagues.
Thonburi: Assist. Prof. Dr. Wijitra Dungchai
40 นักวิทยาศาสตร์ดีเด่น ประจำ�ปี 2561 2018 OUTSTANDING SCIENTIST AWARDS 41

การพัฒนาเซ็นเซอร์
ชนิดใหม่เพื่อการตรวจ
วัดทางเคมีไฟฟ้าและ
การประยุกต์ใช้
ศาสตราจารย์
ดร. อรวรรณ ชัยลภากุล ในระดั บ ประเทศและระดั บ นานาชาติ
ด้านต่าง ๆ อาทิเช่น การได้รับหน้าที่เป็น
ประธานคณะกรรมการจัดงานประชุม
ระดับนานาชาติ The 2nd Regional
Electrochemistry Meeting of
การตรวจวัดทางเคมีไฟฟ้าเป็นเทคนิคหนึง่ ของการวิเคราะห์ อุปกรณ์ไมโครฟลูอด ิ ก
ิ ส์ (Microfluidic device) หรือเรียก
South-East Asia (REMSEA 2010)
ซึง่ อาศัยหลักการเกิดปฏิกิรย
ิ ารีดอกซ์บนผิวหน้าขัว้ ไฟฟ้าใช้ อีกชือ
่ ว่าอุปกรณ์ปฏิบต ั ก
ิ ารบนชิพ (Lab-on-a-chip) และ
และเป็นประธานร่วมในงานประชุม The
งาน ขั้วไฟฟ้าใช้งานจึงเป็นองค์ประกอบสำ�คัญของเซลล์ ปัจจุบน ั กลุม่ วิจยั ของศาสตราจารย์ ดร. อรวรรณ ชัยลภากุล
16th International Conference on
เคมีไฟฟ้าเนื่องจากเป็นส่วนที่ติดตามปริมาณสารที่สนใจ เป็นผูบ้ กุ เบิกและพัฒนาการตรวจวัดรูปแบบใหม่ทเี่ รียกว่า
Flow Injection Analysis and Related
วิเคราะห์ ดังนั้นการวิจัยเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพทางการ อุปกรณ์ปฏิบต ั ก
ิ ารบนกระดาษ (Lab-on-paper) ทิศทาง
Techniques และเป็นกรรมการร่วมใน
ตรวจวัดจึงมีความสำ�คัญยิ่ง เพื่อให้เทคนิคการตรวจวัด การวิจัยมุ่งเน้นไปที่การนำ�อุปกรณ์ปฏิบัตก ิ ารบนกระดาษ
งานประชุม Pacifichem 2015 ภายใต้
ทางเคมีไฟฟ้านัน ้ มีประโยชน์สงู สุด เช่น ง่ายต่อการใช้งาน ไปประยุกต์ใช้ ณ จุดใกล้ผป ู้ ว่ ย ทางคลินก
ิ และการติดตาม
หัวข้อ Diamond electrochemistry
เป็นมิตรต่อสิง่ แวดล้อม พกพาได้ สามารถประดิษฐ์ได้งา่ ย ตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดล้อม
นอกจากนี้ ศาสตราจารย์ ดร. อรวรรณ
และยังคงไว้ซง่ึ สภาพไวในการตรวจวัด สามารถประยุกต์ใช้
ศาสตราจารย์ ดร. อรวรรณ ชัยลภากุล ได้ทำ�การออกแบบ ชัยลภากุล ยังเป็นสมาชิกคณะกรรมการ
งานได้หลากหลาย ด้วยเหตุนี้ ศาสตราจารย์ ดร. อรวรรณ
ระบบออนไลน์และระบบการวิเคราะห์ภาคสนาม สำ�หรับ บรรณาธิการ ผูต้ ด
ั สินผลงานของวารสาร
ชัยลภากุล จึงได้มุ่งมั่นทำ�การพัฒนาขั้วไฟฟ้าใช้งานชนิด
การวิเคราะห์สารระดับความเข้มข้นต่ำ� โดยเซ็นเซอร์และ งานวิจัยระดับนานาชาติชั้นนำ� และเป็น
ใหม่โดยใช้วัสดุที่ทันสมัย
ระบบการวิเคราะห์ทพ ี่ ฒ
ั นานีป
้ ระสบความสำ�เร็จสามารถ และสร้างความก้าวหน้าใหม่ในด้านการตรวจวัดทางเคมี ผู้พิจารณาทุนของหลายหน่วยงานทั้งระดับประเทศและ
ศาสตราจารย์ ดร. อรวรรณ ชัยลภากุล เป็นผู้ริเริ่มการนำ� นำ�ไปประยุกต์ใช้ในการวิเคราะห์สารสำ�คัญต่าง ๆ ได้อย่าง ไฟฟ้าอย่างต่อเนือ
่ ง ศาสตราจารย์ ดร. อรวรรณ ชัยลภากุล นานาชาติ
ขั้วไฟฟ้าเพชรเจือโบรอน (Boron-doped diamond, กว้างขวาง เป็นการพัฒนาวิธกี ารวิเคราะห์แบบใหม่ให้กา้ วไป ได้รบ
ั การยอมรับว่าเป็นนักวิจย
ั ดีเด่นด้านเคมีไฟฟ้า ตลอด
ศาสตราจารย์ ดร. อรวรรณ ชัยลภากุล มีผลงานวิจย ั ทัง้ หมด
BDD) มาใช้เป็นเซ็นเซอร์สำ�หรับการตรวจวัดสารประกอบ สูเ่ ทคโนโลยีการตรวจวัดอย่างอัตโนมัติ พกพาได้ ใช้แล้วทิง้ ระยะเวลา
168 เรื่อง ค่า H-index เท่ากับ 42 มีสิทธิบัตร จำ�นวน
อินทรียแ์ ละสารประกอบอนินทรีย์ นอกจากนี้ ศาสตราจารย์ สามารถลดเวลาและค่าใช้จ่ายของการวิเคราะห์ และ
ทีผ
่ า่ นมากลุม ่ วิจยั ของ ศาสตราจารย์ ดร. อรวรรณ ชัยลภากุล 3 ฉบับ และหนังสือทั้งหมด 3 บทความ ด้วยความมุ่งมั่น
ดร. อรวรรณ ชัยลภากุล ยังได้เพิ่มความสามารถของการ ลดของเสียที่เกิดจากการวิจัยอีกด้วย
ได้มส ี ว่ นอย่างมากต่อการสร้างความเข้าใจด้านพืน ้ ฐานและ อุตสาหะ รวมถึงความยินดีในการสร้างเครือข่ายงานวิจัย
ใช้งานเซ็นเซอร์เคมีไฟฟ้าโดยการพัฒนาควบคู่กับระบบ
จากทีก
่ ล่าวมาเห็นได้เด่นชัดว่างานวิจย
ั ของ ศาสตราจารย์ การประยุกต์ใช้ของเคมีไฟฟ้า การค้นพบจากงานวิจย ั นัน
้ พบ ทำ�ให้ศาสตราจารย์ ดร. อรวรรณ ชัยลภากุล เป็นที่รู้จัก
ของไหล (Flow-based system) ต่าง ๆ เช่น เทคนิคโฟลว์
ดร. อรวรรณ ชัยลภากุล ได้สร้างรากฐานที่มั่นคงสำ�หรับ ว่าสามารถแก้ไขข้อจำ�กัดของวิธวี เิ คราะห์ทใี่ ช้อยูใ่ นปัจจุบนั และได้เข้าเป็นสมาชิกของวงการเคมีวเิ คราะห์ทงั้ ในประเทศ
อินเจคชันอะนาลิซส ิ (Flow injection analysis) ซีเคว็น
การตรวจวัดทางเคมีไฟฟ้าเพือ ่ การวิเคราะห์ และกลุม
่ วิจย
ั ได้ และด้วยผลงานที่มีคุณภาพจึงทำ�ให้ ศาสตราจารย์ และต่างประเทศ ศาสตราจารย์ ดร. อรวรรณ ชัยลภากุล
เชียลอินเจคชันอะนาลิซสี (Sequential injection analysis)
ของศาสตราจารย์ ดร. อรวรรณ ชัยลภากุล ยังคงพัฒนา ดร. อรวรรณ ชัยลภากุล ได้มีบทบาทหน้าที่สำ�คัญทั้ง ได้ถูกรับเชิญไปนำ�เสนอผลงานมากกว่า 30 ครั้งทั่วโลก
ลิควิดโครมาโตกราฟี (Liquid chromatography) รวมถึง
42 นักวิทยาศาสตร์ดีเด่น ประจำ�ปี 2561 2018 OUTSTANDING SCIENTIST AWARDS 43

จากอดีตถึงปัจจุบน ั ศาสตราจารย์ ดร. อรวรรณ ชัยลภากุล หน้าขัว้ ไฟฟ้าด้วยวัสดุตา่ ง ๆ เช่น อนุภาคขนาดนาโนเมตร


ได้นำ�วัสดุ 3 ชนิดมาพัฒนาและ ประยุกต์ใช้สำ�หรับเซ็นเซอร์ ของโลหะ นำ�ไปสูน ่ วัตกรรมใหม่ของการวิเคราะห์ทางเคมี
ทางเคมีไฟฟ้าเพือ ่ พัฒนาความจำ�เพาะและความไวในการ ไฟฟ้า และเพื่อเพิ่มขีดความสามารถของการวิเคราะห์
ตรวจวัด ได้แก่ 1. การพัฒนาขัว้ ไฟฟ้าเพชรเจือโบรอน (BDD) ทางเคมีไฟฟ้าแบบทั่วไป นวัตกรรมใหม่ของเซ็นเซอร์
ซึง่ ถือว่าเป็นวัสดุใหม่ของศตวรรษที่ 20 ทีม่ ค
ี ณ
ุ สมบัตเิ ด่น ที่พัฒนาขึ้นจึงถูกนำ�มาใช้ร่วมกับเครื่องมือวิเคราะห์ขั้น
เหนือกว่าขั้วไฟฟ้าคาร์บอนทั่วไป 2. วัสดุนาโนคาร์บอน พืน ้ ฐานและทันสมัย ได้แก่ เทคนิคโฟลว์อน ิ เจคชันอะนาลิซส ิ
(Carbon nanomaterials) ได้แก่ ท่อนาโนคาร์บอน (Flow injection analysis) ซีเคว็นเชียลอินเจคชันอะ
(carbon nanotube) กราฟีน (graphene) และนาโน นาลิซีส (Sequential injection analysis) ไฮเพอร์
คอมโพสิต (Nanocomposites) 3. อนุภาคโลหะขนาด ฟอร์แมนส์ลิควิดโครมาโตกราฟี (High performance
นาโนเมตร เช่น อนุภาคทองขนาดนาโนเมตร อนุภาคเงิน liquid chromatography) รวมถึงอุปกรณ์ไมโครฟลูอด ิ กิ ส์
ขนาดนาโนเมตร และควอนตัมดอท โดยงานวิจัยดังกล่าว (Microfluidic device) การรวมเทคนิคการตรวจวัดทีม ่ ี
ทำ�ให้ได้แนวทางในการพัฒนาการเตรียมขั้วไฟฟ้าใช้งาน ความไวสูงกับเครื่องมือวิเคราะห์เหล่านี้ เป็นการช่วยเพิ่ม
และ/หรือการดัดแปรผิวหน้าขั้วไฟฟ้าใช้งานสำ�หรับการ ประสิทธิภาพของวิธีการวิเคราะห์และสามารถประยุกต์
วิเคราะห์ เพื่อพัฒนาความไวและความจำ�เพาะของการ ไปใช้กับงานที่หลากหลายได้มากขึ้น ในปัจจุบันกลุ่มวิจัย
ตรวจวัด ผลของงานวิจัยเหล่านี้นำ�ไปสู่แนวคิดใหม่ในการ ประสบความสำ�เร็จในการนำ�ขัว้ ไฟฟ้า BDD ชนิดผง (BDD
สร้างสรรค์วธิ ก ี ารวิเคราะห์ใหม่สำ�หรับงานวิจัยในอนาคต powder) มาใช้เพื่อแก้ไขข้อจำ�กัดทางสัณฐานวิทยาของ
โดยงานวิจัยสามารถจัดแบ่งตามชนิดของวัสดุที่ใช้ในการ ขัว้ ไฟฟ้า BDD แบบดัง้ เดิม ขัว้ ไฟฟ้ารูปแบบใหม่นส ี้ ามารถ
พัฒนาเซ็นเซอร์ดังนี้ นำ�มาใช้ร่วมกับรูปแบบการวิเคราะห์แบบใหม่ได้ เช่น
อุปกรณ์ปฏิบัติการบนกระดาษ (Lab-on-paper) และ
1. ขัว้ ไฟฟ้าเพชรเจือโบรอน (boron-doped diamond สามารถนำ�ไปประยุกต์ใช้ในการตรวจวัดสารต่าง ๆ เช่น
electrode) สารสื่อประสาท (Neurotransmitter) นํ้าตาลกลูโคส
(Glucose) และโลหะหนัก (Heavy metals) ทั้งยัง
การพัฒนาขั้วไฟฟ้า BDD ในประเทศไทยสำ�หรับการ
เป็นการขยายวิธก ี ารวิเคราะห์สารทางเคมีไฟฟ้าให้สามารถ
วิเคราะห์ทางเคมีไฟฟ้าได้รับการตีพิมพ์ในวารสารระดับ
ใช้งานได้ ณ จุดใกล้ผป ู้ ว่ ย หรือภาคสนามอีกด้วย กลุม ่ วิจย ั
ในช่วงระหว่างปี พ.ศ. 2557-2559 ศาสตราจารย์ ดร. นานาชาติเป็นครั้งแรกในปี พ.ศ 2543 โดยกลุ่มวิจัยของ
ได้ตีพิมพ์ผลงานวิจัยเกี่ยวกับการพัฒนาขั้วไฟฟ้า BDD ได้ รั บ ความสนใจที่ จ ะนำ�มาใช้ ส ร้ า งเซ็ น เซอร์ ท างเคมี
อรวรรณ ชัยลภากุล ได้รับรางวัลจากสำ�นักงานกองทุน ศาสตราจารย์ ดร. อรวรรณ ชัยลภากุล งานวิจัยนี้ประสบ
กว่า 30 ผลงาน ในวารสารระดับนานาชาติที่มี impact ไฟฟ้า มีงานวิจัยจำ�นวนมากได้รายงานถึงความสามารถ
สนับสนุนการวิจัย (สกว.) ในการรับทุนเมธีวิจัยอาวุโส ความสำ�เร็จในการนำ�ขั้วไฟฟ้า BDD มาใช้สำ�หรับการ
factor สูง ของท่อนาโนคาร์บอน ต่อการเพิ่มความสามารถในการ
ภายใต้โครงการวิจัยชื่อ องค์ความรู้ใหม่ทางเคมีวเิ คราะห์ วิเคราะห์หาปริมาณกรดอินทรีย์ โดยให้ความไวในการ
ตรวจวัดสูงกว่าขัว้ ไฟฟ้ากลาสสิคาร์บอน (Glassy carbon ถ่ายโอนอิเล็กตรอนในหลายปฏิกิริยา ในปี 2551 เป็น
เพือ่ นวัตกรรมทางการตรวจวัด (Novelty in Analytical 2. การพัฒนาวัสดุนาโนคาร์บอน
electrode) ที่ใช้อยู่ทั่วไป จากการค้นพบครั้งแรกนี้ นำ� ครัง้ แรกทีก่ ลุม
่ วิจยั ของศาสตราจารย์ ดร.อรวรรณ ชัยลภากุล
Chemistry for Innovation of Detection) ภายใต้
ไปสู่การพัฒนาอย่างต่อเนื่องในการนำ�ขั้วไฟฟ้า BDD มา กลุ่มวิจัยของศาสตราจารย์ ดร.อรวรรณ ชัยลภากุล ได้มี ได้รายงานการทำ�งานวิจย ั ทีใ่ ช้ทอ
่ นาโนคาร์บอน โดยทำ�การ
โครงการวิจัยนี้ ทีมวิจัยได้ตีพิมพ์ผลงานวิจัยเป็นจำ�นวน
ประยุกต์ใช้สำ�หรับการตรวจวัดสารประกอบทีม ่ ค
ี วามสำ�คัญ การนำ�วัสดุนาโนคาร์บอนหลากหลายชนิด มาใช้เตรียม ตรวจวัดสีผสมอาหารทีเ่ รียกว่าซูดานหลังจากผ่านการแยก
30 ผลงาน ในวารสารที่มี impact factor สูง โดยงาน
หลายชนิด เช่น สารทีม ่ ซ
ี ล
ั เฟอร์เป็นองค์ประกอบ (Sulfur เซ็นเซอร์ทางชีวภาพและทางเคมี อนุภาคคาร์บอนขนาด ด้วยระบบ HPLC ผลการทดลองแสดงถึงสภาพความไว
วิจัยทั้งหมดนี้นำ�ไปสู่ความก้าวหน้าเพื่อการประเมินและ
containing compounds) ซึง่ เป็นสารทีพ ่ บได้ทวั่ ไปใน นาโนเมตรมีคุณลักษณะเด่นคือ มีพื้นผิวมากและมีสมบัติ และความสามารถทำ�ซ้ำ�ได้ สามารถนำ�ไปใช้สำ�หรับงาน
การตรวจวัดสารตัวอย่างต่าง ๆ ทางคลินิก อาหาร และ
ตัวอย่างทางคลินิก อาหาร สิ่งแวดล้อม และการเกษตร เป็นตัวเร่งปฏิกิรย
ิ า งานวิจย
ั ทีเ่ กีย
่ วข้องกับการพัฒนาวัสดุ ประจำ�เพือ ่ การตรวจวัดสีซด ู านในเครือ ่ งดืม
่ และในปี 2543
สิ่งแวดล้อม การวิจัยได้สร้างสรรค์ระบบการวิเคราะห์
ขัว้ ไฟฟ้า BDD สามารถใช้สำ�หรับตรวจวัดสารในระดับน้อย นาโนคาร์บอนเพื่อการตรวจวัดทางเคมี ถูกจัดกลุ่มตาม ได้ทำ�การพัฒนาวิธก ี ารตรวจโลหะหนักทีม ่ ป
ี ริมาณน้อยใน
สารที่สามารถพกพาได้ซึ่งเหมาะสมสำ�หรับการใช้งาน
มากได้โดยตรง โดยขีดจำ�กัดของการตรวจวัดทีไ่ ด้ตำ�่ กว่าค่าที่ ชนิดของวัสดุคาร์บอนที่ใช้ ดังนี้ พืชสมุนไพรโดยใช้ท่อนาโนคาร์บอนดัดแปรบนขั้วไฟฟ้า
ณ ภาคสนาม และรูปแบบใหม่ของการตรวจคัดกรอง
ได้จากวิธท ี เี่ คยเผยแพร่มาแล้ว นอกจากนีก ้ ลุม
่ วิจยั ยังได้นำ� พิมพ์สกรีน จากแนวคิดและข้อดีของท่อนาโนคาร์บอน
การหาปริมาณของสารบ่งชี้ทางชีวภาพ ความเสี่ยงของ
ขัว้ ไฟฟ้า BDD มาประยุกต์ใช้สำ�หรับการวิเคราะห์หาปริมาณ 2.1. การประยุกต์ใช้ท่อนาโนคาร์บอน (Carbon วัสดุชนิดนี้ถูกนำ�มาพัฒนาใช้อย่างต่อเนื่องสำ�หรับเป็น
โรค และความปลอดภัยทางด้านสิ่งแวดล้อม จากความ
ยาปฏิชวี นะ สารในกลุม ่ บีตา-อะโกนิสต์ (β-agonists) สียอ้ ม nanotube (CNT)) เป็นเซ็นเซอร์ทางเคมีไฟฟ้า วิธีใหม่เพื่อการตรวจวัดแบบคัดกรองของสารต้านอนุมูล
โดดเด่นของผลลัพธ์ของโครงการ ทำ�ให้ศาสตราจารย์
(Dyes) สารพันธุกรรม (DNA) โปรตีน ไอโอไดด์ ซัลไฟต์ อิสระ ไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ และไฮโดรควิโนน ทำ�ให้
ดร. อรวรรณ ชัยลภากุล และกลุ่มวิจัยได้รับรางวัลผลงาน จากคุณสมบัตพ ิ เิ ศษของท่อนาโนคาร์บอน เช่น สมบัตท
ิ าง
และโลหะหนัก อีกทั้งยังได้พัฒนาขั้วไฟฟ้า BDD ให้มี ได้มาซึ่งวิธีการตรวจวัดที่มีความไวสูงมาก
วิจัยดีเด่นด้านวิชาการ ประจำ�ปี 2560 จากสำ�นักงาน ไฟฟ้า สมบัติทางเคมี และสมบัติเชิงกล ทำ�ให้วัสดุชนิดนี้
กองทุนสนับสนุนการวิจัย สภาพความไวและความจำ�เพาะสูงขึ้นโดยการดัดแปรผิว
44 นักวิทยาศาสตร์ดีเด่น ประจำ�ปี 2561 2018 OUTSTANDING SCIENTIST AWARDS 45

2.2 การประยุกต์ใช้กราฟีน (Graphene) เป็นเซ็นเซอร์


ทางเคมีไฟฟ้า

กราฟีนเป็นวัสดุทน ี่ ย
ิ มนำ�ไปประยุกต์ใช้สำ�หรับเทคนิคทาง
เคมีไฟฟ้า อันเนื่องมาจากมีค่าการนำ�ไฟฟ้าที่สูง สามารถ
เพิ่มการนำ�ส่งอิเล็กตรอน มีความคงตัวทั้งเชิงกลและเชิง
แสง มีค่าพื้นผิวจำ�เพาะสูงและสามารถเข้ากันได้ดีทาง
ชีวภาพ ในปี 2545 กลุ่มวิจัยศาสตราจารย์ ดร.อรวรรณ
ชัยลภากุล ได้ใช้ขวั้ ไฟฟ้าผงคาร์บอนทีด่ ดั แปรผิวหน้าด้วย
กราฟีนและเคลือบด้วยแผ่นฟิลม ์ บางบิสมัทเพือ่ การตรวจ
วัดโลหะหนักด้วยระบบอัตโนมัติ พบว่าสามารถเพิม ่ กระแส
ออกซิเดชันทางเคมีไฟฟ้าที่ได้จากการตรวจวัดอย่างมาก

จากการค้นพบนี้ กลุม ่ วิจยั ได้ทำ�การวิจยั เกีย่ วกับการประยุกต์


ใช้กราฟีนอย่างต่อเนื่อง โดยใช้กระบวนการเตรียมที่แตก
ต่างกัน เช่น อิเล็กโทรสปิน อิเล็กโทรสเปรย์ เทคนิคพิมพ์
สกรีน เพื่อให้ได้มาซึ่งเซ็นเซอร์ชนิดใหม่ๆ เพื่อการตรวจ
วัดสารที่มีความสำ�คัญ เซ็นเซอร์เหล่านี้ถูกนำ�มาใช้ร่วม
ทั้งในระบบการวิเคราะห์เดี่ยว (Batch analysis) และ
ระบบของไหล (Flow system) ตัวอย่างเช่น ระบบไมโคร
ชิฟ และอุปกรณ์ปฏิบต ั กิ ารบนกระดาษ จากสมรรถนะของ
ระบบที่พัฒนาขึ้น มีการนำ�ไปประยุกต์ใช้จริงกับตัวอย่าง
ทางเภสัชกรรม สิ่งแวดล้อม อาหารและเกษตรกรรม ผล 3. ขัว้ ไฟฟ้าทีด
่ ด
ั แปรผิวหน้าด้วยอนุภาคโลหะขนาดนาโนเมตร ในปี 2558 กลุ่มวิจัย ประสบความสำ�เร็จในการพัฒนา คุณสมบัติทางอิเล็กทรอนิกส์และมีพื้นที่ผิวมาก กลุ่มวิจัย
การทดลองที่ได้จากการใช้เซ็นเซอร์ที่เตรียมจาก (Metal nanoparticles modified electrodes) เทคนิคการตรวจวัดสารกำ�จัดวัชพืชที่มีการปนเปื้อนใน ของศาสตราจารย์ ดร. อรวรรณชัยลภากุล ได้นำ�อนุภาคเงิน
กราฟีนให้ผลทีส
่ อดคล้องกับวิธมี าตรฐาน มีความน่าเชือ่ ถือ อนุภาคโลหะขนาดนาโนเมตรมีคุณสมบัตเิ ด่นที่เหมาะสม ผลไม้ โดยใช้อนุภาคทองคำ�ขนาดนาโนเมตรเคลือบบน ขนาดนาโนไปดัดแปรบนผิวหน้าขัว้ ไฟฟ้าชนิดต่าง ๆ สำ�หรับ
แสดงถึงศักยภาพทีจ่ ะนำ�ไปใช้เป็นวิธท
ี างเลือกหรือวิธใี หม่ สำ�หรับการนำ�ไปใช้เตรียมเป็นเซ็นเซอร์ทางเคมีไฟฟ้า โดย ขัว้ ไฟฟ้าพิมพ์สกรีนคาร์บอน และเมือ ่ ใช้รว่ มกับเทคนิคอัล การตรวจวัดสารบ่งชี้ทางชีวภาพ ได้แก่ คอเลสเตอรอล
สำ�หรับการตรวจวัด สามารถนำ�ไปเคลือบบนผิวของขัว้ ไฟฟ้าโดยตรงด้วยเทคนิค ตราไฮเพอร์ฟอร์แมนส์ลค ิ วิดโครมาโตกราฟี (Ultra-High ทำ�ให้เพิ่มสภาพไวและความจำ�เพาะเจาะจงของเทคนิค
การเคลือบทางเคมีไฟฟ้า อนุภาคโลหะขนาดนาโนเมตรที่ Performance Liquid Chromatography coupled การตรวจวัด อีกทัง้ ยังมีความเหมาะสมกับการนำ�ไปตรวจ
2.3. การประยุกต์ใช้นาโนคอมโพสิต (Nanocomposites) กลุ่มวิจัยศาสตราจารย์ ดร.อรวรรณ ชัยลภากุล สนใจนำ� (UHPLC)) ได้การตรวจวัดทีส ่ ามารถแยกและตรวจวัดสาร วัดสารตัวอย่างที่มีปริมาณน้อยมากได้
เป็นเซ็นเซอร์ทางเคมีไฟฟ้า มาใช้ ได้แก่ อนุภาคทองคำ�ขนาดนาโนเมตร อนุภาคเงิน เหล่านี้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ต่อมาได้นำ�วิธีที่พัฒนาขึ้น
ไปประยุกต์กับการตรวจวัดทางเภสัชกรรมและทางคลินก ิ 3.3 ควอนตัมดอท (Quantum Dots)
นาโนคอมโพสิตหมายถึงวัสดุของแข็งที่มีหลายเฟส มี ขนาดนาโนเมตร ควอนตัมดอท อนุภาคเหล่านีม ้ ค
ี ณ
ุ สมบัติ
พิเศษสามารถนำ�มาใช้ตามวัตถุประสงค์ดังต่อไปนี้ อีกด้วย
ขนาดน้อยกว่า 100 นาโนเมตร องค์ประกอบของนาโน ควอนตัมดอทเป็นผลึกขนาดนาโนเมตรทีเ่ ป็นสารกึง่ ตัวนำ�
คอมโพสิตจะประกอบด้วยเมทริกซ์ ซึ่งเมทริกซ์ที่พบมาก ต่อมากลุม
่ วิจย
ั ยังได้พฒ
ั นาเทคนิคทีน
่ ำ�อนุภาคทองคำ�ขนาด มีคุณสมบัติพิเศษสามารถปรับเปลี่ยนการเรืองแสงด้วย
3.1. อนุภาคทองคำ�ขนาดนาโนเมตร (Gold nanoparticles)
ได้แก่ พอลิเมอร์ โลหะ และเซรามิกส์ นาโนเมตรมาใช้รว่ มกับอุปกรณ์ปฏิบต ั ก
ิ ารบนกระดาษ โดย แสง อันเนื่องมาจากผลกระทบของควอนตัมคอนไฟเม้น
อนุภาคทองคำ�ขนาดนาโนเมตรเป็นอนุภาคที่ได้รับความ ใช้ระบบควบคุมชนิดไร้สาย เพือ ่ สามารถนำ�ไปใช้นอกห้อง ท์ จากคุณสมบัตน ิ ี้ทำ�ให้ควอนตัมดอทมีศักยภาพที่จะนำ�
ในปี 2555 กลุ่มวิจัยของศาสตราจารย์ ดร. อรวรรณ ชัย นิย มมากที่สุดสำ�หรับ กาตรวจวัดทางเคมีแ ละชีวภาพ ปฏิบัติการสำ�หรับการตรวจวัดสาร ณ จุดใกล้ผู้ป่วย เป็นเซ็นเซอร์ทางเคมีหรือทางชีวภาพได้ ในปี 2553 กลุม ่
ลภากุล ได้ตีพม
ิ พ์ผลงานฉบับแรกที่ใช้นาโนคอมพอสิตซึ่ง คุณสมบัตพิ เิ ศษของอนุภาคทองคำ�ขนาดนาโนเมตร เช่น วิจัยได้ใช้ CdSe/ZnS ควอนตัมดอทร่วมกับระบบอิมมู
ประกอบด้วยกราฟีน พอลิไวนิลไพโรล และพอลิแอนิลีน เซอร์เฟสพลาสมอนเรโซแนนซ์ และมีขนาดที่ใกล้เคียงกัน 3.2. อนุภาคเงินขนาดนาโนเมตร (Silver nanoparticles) โนแอสเสย์เพือ่ การตรวจวัดโปรตีนทีเ่ ป็นตัวบ่งชีท
้ างชีวภาพ
ร่วมกับอุปกรณ์ปฏิบต ั ก
ิ ารบนกระดาษสำ�หรับการตรวจวัด สามารถจับกับโมเลกุลทางชีวภาพได้ดี เช่น อนุภาคทองคำ� ด้วยวิธกี ารทางเคมีไฟฟ้า จากการพัฒนาพบว่า เป็นวิธท ี ใี่ ช้
คลอเรสเตอรอล ผลการทดลองพบว่าสามารถเพิ่มสภาพ อนุภาคเงินขนาดนาโนเมตร ถูกนำ�มาประยุกต์ใช้อย่าง
ขนาดนาโนเมตรสามารถยึดติดกับหมูฟ ่ งั ก์ชน
ั ของเอมีนและ งานง่าย และราคาไม่แพง ก่อให้เกิดเทคนิคทางเลือกใหม่
ไวของการตรวจวิเคราะห์ได้ ทำ�ให้เป็นจุดเริ่มต้นของการ กว้างขวางสำ�หรับการสร้างเซ็นเซอร์ อันเนือ
่ งจากข้อดีของ
ไทออลของโมเลกุลทางชีวภาพ สำ�หรับการวิเคราะห์สารทางชีวภาพในอนาคต
พัฒนาและการนำ�นาโนคอมโพสิตมาใช้ทำ�เป็นเซ็นเซอร์
สำ�หรับการประยุกต์ใช้ตรวจวัดสารอื่น ๆ
46 นักวิทยาศาสตร์ดีเด่น ประจำ�ปี 2561 2018 OUTSTANDING SCIENTIST AWARDS 47

4. งานวิจัยอื่น ๆ
ศาสตราจารย์ ดร.อรวรรณ ชัยลภากุล ได้มีโอกาสทำ�วิจัย
ร่วมกับศาสตราจารย์ ดร.วันเพ็ญ ชัยคำ�ภาและศาสตราจารย์
ดร.ธีรยุทธ์ วิไลวัลย์ กลุม
่ วิจยั ได้รบ
ั สารชีวโมเลกุล (แอนติเจน
แอนติบอดี เพปไทด์นวิ คลีอก ิ แอซิด) ซึง่ เป็นทรัพยากรของ
ประเทศไทย ไม่ต้องสั่งซื้อจากต่างประเทศ มาใช้ร่วมกับ
เทคนิคทางเคมีไฟฟ้า ตรวจวัดสารบ่งชีโ้ รคต่างๆ เช่น โรค
ไทฟอยด์ และมะเร็งปากมดลูก เป็นผลงานที่มีคุณค่าและ
มีประโยชน์ สามารถนำ�มาเป็นแนวทางในการทำ�เซ็นเซอร์
สำ�หรับตรวจเชือ ้ โรคชนิดอืน ่ ๆ ได้ และมีความเป็นไปได้ที่
จะพัฒนาต่อยอดให้เป็นระบบที่สามารถใช้ตรวจวัดแบบ
งานประจำ�สำ�หรับการใช้งานทางคลินิก

นอกจากมุ่งเน้นงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับเเซ็นเซอร์ทางเคมี
ไฟฟ้าแล้ว กลุ่มของศาสตราจารย์ ดร.อรวรรณ ได้ทำ�วิจัย รายชื่อผู้ร่วมงานในต่างประเทศ
เกีย
่ วกับการตรวจวัดเชิงแสงวิธใี หม่รว่ มกับอุปกรณ์ปฏิบตั ิ สหรัฐอเมริกา: Professor Dr. Joseph Wang
การบนกระดาษทำ�การตรวจวัด โลหะหนักทีเ่ ป็นพิษ (ปรอท มหาวิทยาลัยแห่งรัฐแคลิฟอร์เนีย Professor Dr. Charles
โครเมียม) สารชีวโมเลกุลที่ใช้บ่งชี้โรคที่สำ�คัญ (วัณโรค S. Henry มหาวิทยาลัยแห่งรัฐโคโลราโด Colorado
มะเร็งปากมดลูก โรคเมอร์ส) การพัฒนาการตรวจวัด Professor Dr. Vincent T. Remcho มหาวิทยาลัยแห่ง
สารสำ�คัญเหล่านี้สามารถทำ�ได้นอกห้องปฏิบัตก ิ าร ราคา รัฐโอเรกอน Professor Dr. Purnendu K. Dasgupta
ไม่แพง และใช้ตรวจวัดแบบคัดกรองได้อย่างรวดเร็ว มหาวิทยาลัยแห่งรัฐเท็กซัส อาร์ลิงตัน
กิตติกรรมประกาศ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ: รองศาสตราจารย์ ดร.วีณา
เสียงเพราะ ผู้ศาสตราจารย์ ดร.เกรียงศักดิ์ ส่งศรีโรจน์ ญีป
่ น
ุ่ : Professor Dr. Arika Fujishima มหาวิทยาลัย
ศาสตราจารย์ ดร.อรวรรณ ชัยลภากุล ขอแสดงความขอบคุณ Tokyo University of Science Professor Dr.
อย่างสุดซึ้ง กับสมาชิกห้องปฏิบัติการ ทั้งรุ่นก่อน และรุ่น มหาวิทยาลัยมหิดล: ศาสตราจารย์ ดร.วันเพ็ญ ชัยคำ�ภา Yasuaki Einaga มหาวิทยาลัยเคโอ Professor Dr.
ปัจจุบนั ในความทุม ่ เท อุทศ ิ กำ�ลัง และสติปญ
ั ญา ในการมี รองศาสตราจารย์ ดร.ประพิณ วิไลรัตน์ รองศาสตราจารย์ Toshihiko Imato มหาวิทยาลัยคิวชู Professor Dr.
ส่วนร่วมในงานวิจยั เพือ ่ ความก้าวหน้าทางวิชาการดังทีก่ ล่าว ดร.ดวงใจ นาคะปรีชา ผูศ
้ าสตราจารย์ ดร.อมรา อภิลก
ั ษณ์ Shoji Motomizu มหาวิทยาลัยโอกายามา Professor
มาข้างต้น ขอขอบคุณผูร้ ว่ มงานวิจย ั (collaborators) ทุก Dr. Yuzuru Takamura สถาบัน JAIST Professor
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่: ศาสตราจารย์ ดร.เกตุ กรุดพันธ์
ท่าน สำ�หรับความร่วมมือ และมิตรภาพทีง่ ดงาม ทำ�ให้เกิด Dr. Takashi
รองศาสตราจารย์ ดร.จรูญ จักร์มุณี
ผลสัมฤทธิใ์ นงานวิจย ั เป็นอย่างดี ขอขอบพระคุณแหล่งทุน รายชื่อผู้ร่วมงานในประเทศไทย
วิจัย จากสำ�นักงานสนับสนุนการวิจัย (สกว) จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์: ศาสตราจารย์ ดร.ผ่องศรี
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย: ศาสตราจารย์ ดร.ศิรริ ต ั น์ ก๊กผล
มหาวิทยาลัย สำ�นักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช) ทองทวี
ศาสตราจารย์ ดร.ศิรริ ต ั น์ เร่งพิพฒ
ั น์ ศาสตราจารย์ ดร.ธีรยุทธ
สำ�นักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ วิไลวัลย์ ศาสตราจารย์ ดร.ธวัชชัย ตันฑุลานิ ศาสตราจารย์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุร:ี ผูศ้ าสตราจารย์
(สวทช) และสำ�นักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา (สกอ) ดร. สนอง เอกสิทธิ์ ศาสตราจารย์ ดร. มงคล สุขวัฒนาสิ ดร.วิจิตรา เดือนฉาย
ที่ให้การสนับสนุนเงินทุน และเชื่อมั่นในความทุ่มเท และ นิทธิ์ ศาสตราจารย์ ดร. พิชญ์ ศุภผล รองศาสตราจารย์
ความรับผิดชอบของ ศาสตราจารย์ ดร.อรวรรณ ชัยลภา ดร.นาตยา งามโรจนวณิชย์ รองศาสตราจารย์ ดร.ณรงค์ สำ�นักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ:
กุล ในการทำ�วิจัยเสมอมาตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ขอ ประไพรักษ์สท ิ ธิ์ รองศาสตราจารย์ ดร.สุชาดา จูอนุวฒ ั นกุล ศาสตราจารย์ ดร. มรกต ตันติเจริญ ดร. อดิสร เตือนตรานนท์
ขอบคุณสมาชิกในครอบครัว สำ�หรับการสนับสนุน ความ ผูศ
้ าสตราจารย์ ดร. นิสต ิ ตัณฑวิเชฐ ผูศ ้ าสตราจารย์ ดร.วนิดา มหาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฏ สวนสุ นั น ทา: ผู้ ศ าสตราจารย์
เข้าใจ และความรักที่อบอุ่น ซึ่งเป็นแรงผลักดันให้มีกำ�ลัง หลายวัฒนไพศาล ผูศ ้ าสตราจารย์ ดร.นันทิกา คงเจริญพร ดร.วนิดา วอนสวัสดิ์
ใจในการทำ�งานวิจย ั และสุดท้ายนีข้ อขอบคุณกัลยาณมิตร ดร.นาฏนัดดา รอดทองคำ� ดร.มนพิชา ศรีสะอาด ดร.เจนจิรา
เพื่อน และผู้ร่วมงานทุกท่านสำ�หรับการสนับสนุน และ ปานชมพู รองศาสตราจารย์ ดร.ยุทธนันท์ บุญยงมณีรัตน์
ความปรารถนาดีที่มีต่อกัน ดร. รัฐพล รังกุพันธุ์
48 นักวิทยาศาสตร์ดีเด่น ประจำ�ปี 2561 2018 OUTSTANDING SCIENTIST AWARDS 49

ASSISTANT
PROFESSOR
DR. JAURSUP
BOONMAK
ผู้ช่วยศาสตราจารย์
ดร.เจ้าทรัพย์ บุญมาก
บาเลนเซีย ประเทศสเปน ภายใต้ความดูแลของ Professor
นักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่ Dr. Eugenio Coronado โดยทำ�วิจัยทางด้านสมบัติสปิน

ประจำ�ปี พ.ศ. 2561 ครอสโอเวอร์ของสารเชิงซ้อน Fe(III) ดร. เจ้าทรัพย์ ได้ส�ำ เร็จ


การศึกษาในระดับปริญญาเอกเมือ ่ เดือนสิงหาคม พ.ศ. 2554
โดยมีผลงานวิจัยตีพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติจำ�นวน
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. เจ้าทรัพย์ บุญมาก เกิดเมื่อวันที่ 10 พฤษภาคม 4 เรื่องจากวิทยานิพนธ์ และอีก 2 เรื่องจากผลงานวิจัยนอก
พ.ศ. 2527 ที่จังหวัดอุดรธานี เป็นบุตรคนที่สอง ในจำ�นวน 2 คน ของ วิทยานิพนธ์ ซึ่งวิทยานิพนธ์ของ ดร. เจ้าทรัพย์ ได้รับรางวัล
นาวาอากาศตรีสมนึก และนางขวัญใจ บุญมาก สำ�เร็จการศึกษาในระดับ ต่าง ๆ เช่น Merck-CST Distinguished Dissertation
มัธยมศึกษาตอนปลายจากโรงเรียนอุดรพิทยานุกล ู จังหวัดอุดรธานี สำ�เร็จ Award จากสมาคมเคมีแห่งประเทศไทย ในพระอุปถัมภ์ของ
การศึกษาในระดับปริญญาตรีสาขาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัย ศาสตราจารย์ ดร. สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัย
ขอนแก่น ได้รบ ั ปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต (เกียรตินย ิ มอันดับหนึง่ ) สาขา ลักษณ์ อัครราชกุมารี เมื่อปี พ.ศ. 2555 และรางวัลผลงาน
เคมีในปี พ.ศ. 2549 ดร. เจ้าทรัพย์ มีความสนใจทางเคมีอนินทรีย์ด้าน วิจัยเด่น สกว. ประจำ�ปี พ.ศ. 2556 จากสำ�นักงานกองทุน
เคมีโคออร์ดเิ นชันเป็นพิเศษ จึงเข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาเอกสาขาเคมี สนับสนุนการวิจัย (สกว.)
(อนินทรีย)์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ซึง่ มีอาจารย์ทป ี่ รึกษา
หลังจากสำ�เร็จการศึกษาในปีเดียวกัน ดร. เจ้าทรัพย์ เข้ารับ
วิทยานิพนธ์คือ ศาสตราจารย์ ดร. สุจิตรา ยังมี ภายใต้ทุนผู้ช่วยวิจัยจาก
การบรรจุเป็นอาจารย์ประจำ�ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์
โครงการปริญญาเอกกาญจนาภิเษก (คปก.) รุ่นที่ 9 และศูนย์ความเป็น
มหาวิทยาลัยขอนแก่น และได้รบ ั การแต่งตัง้ ให้ด�ำ รงตำ�แหน่ง
เลิศด้านนวัตกรรมทางเคมี (PERCH-CIC) โดยมีหัวข้อวิทยานิพนธ์เรื่อง
ผู้ช่วยศาสตราจารย์สาขาเคมี ในปี พ.ศ. 2559 ดร. เจ้า
“ความหลากหลายทางโครงสร้าง การเปลี่ยนเฟสทางโครงสร้างเชิงพลวัติ
ทรัพย์ ได้รบ ั ทุนส่งเสริมนักวิจย ั รุน ่ ใหม่และทุนพัฒนาศักยภาพ
และสมบัติทางแม่เหล็กของโครงข่ายผสมระหว่างโมเลกุลอนินทรีย์และ
ในการทำ�งานวิจัยของอาจารย์รุ่นใหม่จาก สกว. ประจำ�ปี
โมเลกุลอินทรีย์” ในระหว่างการศึกษาในระดับปริญญาเอก ดร. เจ้าทรัพย์
พ.ศ. 2557 และ 2559 โดยมีศาสตราจารย์ ดร. สุจต ิ รา ยังมี
ได้มโี อกาสทำ�วิจย ั ในระยะสัน
้ ทีภ
่ าควิชาเคมีประยุกต์ มหาวิทยาลัยโอซาก้า
เป็ น นั ก วิ จั ย พี่ เ ลี้ ย ง และได้ รั บ ทุ น โครงการปริ ญ ญาเอก
ประเทศญีป ่ น
ุ่ ในโครงการ JSPS Exchange Program for East Asian
กาญจนาภิเษก รุ่นที่ 20 และทุนพัฒนานักวิจัยจาก สกว.
Young Researchers ประจำ�ปี พ.ศ. 2551 และ 2552 ภายใต้การ
ประจำ�ปีพ.ศ. 2561 รวมทั้งการสนับสนุนการทำ�วิจัยจาก
ดูแลของ Prof. Dr. Motohiro Nakano และ Professor Dr. Shu Seki
ศูนย์ความเป็นเลิศด้านนวัตกรรมทางเคมี และศูนย์วิจัย
โดยเน้นศึกษาวิจัยทางด้านสมบัติแม่เหล็กเชิงโมเลกุลด้วยเครื่อง SQUID
เคมีวัสดุ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
magnetometer และในช่วงต้นปี พ.ศ. 2554 ได้ทำ�วิจัยในระยะสั้น
โดยได้รับการสนับสนุนจากทุน คปก. ณ สถาบัน ICMol มหาวิทยาลัย
50 นักวิทยาศาสตร์ดีเด่น ประจำ�ปี 2561 2018 OUTSTANDING SCIENTIST AWARDS 51

ผลงานวิจย
ั ทีผ ั ของ ดร. เจ้าทรัพย์ เกีย
่ า่ นมาจนถึงปัจจุบน ่ วข้อง
กับการศึกษาโครงสร้างผลึกสำ�หรับโมเลกุลขนาดเล็กเพื่อ
ใช้อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างโครงสร้างและสมบัติหน้าที่
ของวัสดุ โดยมีผลงานวิจัยหลัก คือ การสังเคราะห์และศึกษา
โครงสร้างผลึกของวัสดุโคออร์ดิเนชันพอลิเมอร์และสาร
เชิงซ้อนชนิดใหม่ ทีแ่ สดงสมบัตกิ ารดูดซับโมเลกุลหรือไอออน
ขนาดเล็ก สมบัตแิ ม่เหล็กและตัวตรวจวัดเชิงแสง โดยเฉพาะ ปัจจุบัน ดร. เจ้าทรัพย์ มีผลงานตีพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติจำ�นวน 31 เรื่อง โดยเป็นผู้วิจัย
การศึกษาการเปลี่ยนแปลงทางโครงสร้างผลึกและสมบัติ หลัก (Corresponding author) จำ�นวน 9 เรื่อง ในวารสารที่มีชื่อเสียงในสาขาเคมีอนินทรีย์
ของวัสดุเมื่อถูกเหนี่ยวนำ�ด้วยปัจจัยต่าง ๆ เช่น แสงอัลตรา เช่น Dalton Transactions และ Crystal Growth & Design เป็นต้น รวมถึงทำ�หน้าทีเ่ ป็นผูป ้ ระเมิน
ไวโอเลต อุณหภูมิ ค่า pH หรือชนิดตัวทำ�ละลาย ทำ�ให้ บทความของวารสารที่เป็นที่รู้จักหลายฉบับ ในงานวิจัยทางด้านเคมีโคออร์ดิเนชัน เช่น Journal of the
ทราบถึงอันตรกิริยาต่าง ๆ ในระดับอะตอมภายในวัสดุที่ American Chemical Society, Chemical Engineering Journal, Dalton Transactions,
ส่งผลต่อสมบัติหน้าที่ ซึ่งอาจนำ�ไปสู่การค้นพบและการ Crystal Growth & Design และ CrystEngComm เป็นต้น นอกจากนี้ ดร. เจ้าทรัพย์ ยังได้รบ ั รางวัล
พัฒนาวัสดุชนิดใหม่เพื่อเป็นสารดูดซับ สารเร่งปฏิกิริยา จากหน่วยงานภายในและภายนอกประเทศ เช่น Pacifichem 2015 Early Career Chemist Award
และตั ว ตรวจวั ด สารเคมี ที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพสู ง ในอนาคต จากงานประชุมวิชาการ International Chemical Congress of Pacific Basin Societies ใน
นอกจากงานในหัวข้อวิจัยหลักแล้ว ดร. เจ้าทรัพย์ ยังมี ปี พ.ศ. 2558 และรางวัลคนดีศรีจำ�ปา (นักวิจัยหน้าใหม่) ประจำ�ปี พ.ศ. 2560 จากคณะวิทยาศาสตร์
มหาวิทยาลัยขอนแก่น ทั้งนี้ความสำ�เร็จของผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. เจ้าทรัพย์ บุญมาก เป็นผลมาจาก
ความร่ ว มมื อ กั บ คณาจารย์ ทั้ ง ในและนอกประเทศ
การสนับสนุนอย่างดีจากคณาจารย์และบุคลากรในสาขาวิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ในการศึกษาโครงสร้างผลึกสำ�หรับโมเลกุลต่าง ๆ ด้วย
ศูนย์ความเป็นเลิศด้านนวัตกรรมทางเคมี และศูนย์วิจัยเคมีวัสดุ มหาวิทยาลัยขอนแก่น โดยเฉพาะ
เทคนิ ค การเลี้ ย วเบนของรั ง สี เ อกซ์ ผ่ า นผลึ ก เดี่ ย ว เช่ น
ศาสตราจารย์ ดร. สุจติ รา ยังมี ทีม
่ อบโอกาสและการสนับสนุนเสมอมา ตลอดจนคณะผูบ ้ ริหารมหาวิทยาลัย
ช่ ว ยยื น ยั น โครงสร้ า งผลึ ก ของสารผลิ ต ภั ณ ฑ์ ธ รรมชาติ ขอนแก่นที่เล็งเห็นถึงความสำ�คัญของการทำ�วิจัยจัดซื้อเครื่องเอกซเรย์ดิฟแฟรคโตมิเตอร์สำ�หรับผลึก
และสารอินทรีย์สังเคราะห์ การศึกษาโครงสร้างผลึกสาร เดี่ยวใน ปี พ.ศ. 2557 และผลงานวิจัยทั้งหมดที่สำ�เร็จลุล่วงเกิดขึ้นจากความสร้างสรรค์ ความวิริยะ
อนิ น ทรี ย์ ช นิ ด ใหม่ รวมถึ ง ศึ ก ษาอั น ตรกิ ริ ย าระหว่ า ง อุตสาหะร่วมกันของทีมผู้ร่วมวิจัยและนักศึกษาทั้งในอดีตและปัจจุบัน และกำ�ลังใจที่สำ�คัญจากสมาชิก
โมเลกุลของผลึกร่วม ทำ�ให้เพิ่มความเข้าใจถึงกลไกการ ในครอบครัว
เกิดปฏิกิริยาและกลไกการตรวจวัดสารเคมีต่าง ๆ
52 นักวิทยาศาสตร์ดีเด่น ประจำ�ปี 2561 2018 OUTSTANDING SCIENTIST AWARDS 53

Asian Young Researchers in 2008 and 2009


to conduct a short-term research involving the
study of molecule-based magnetic properties

ASSISTANT by using SQUID magnetometer under the


supervision of Professor Dr. Motohiro Nakano
PROFESSOR and Professor Dr. Shu Seki at Department of
DR. JAURSUP Applied Chemistry, Osaka University, Japan.
In 2011 Dr. Jaursup conducted a short-term
BOONMAK research supported by RGJ-Ph.D. scholarship
with Professor Dr. Eugenio Coronado at
Instituto de Ciencia Molecular, Universitat
de Valencia, Spain. His work focused on the
spin-crossover study of Fe(III) complexes.
After that, he earned his doctoral degree in
Assistant Professor Dr. Jaursup Boonmak August 2011. He published 4 research articles
was born on May 10, 1984, in Udon Thani, from his doctoral dissertation and 2 additional
Thailand. He is the youngest son of Sqn. research papers. Dr. Jaursup received two
Ldr. Somnuk and Mrs. Khunjai Boonmak. Dr. national awards for his doctoral dissertation
Jaursup completed his high school education including Merck-CST Distinguished Dissertation
from Udonpittayanukoon School, Udon Thani Award in 2012 from The Chemical Society
in 2002. In 2006, he received his B.Sc. in of Thailand and TRF-Outstanding Research
Chemistry (First Class Honors) from Khon Award in 2013 from TRF.
Ph.D. grant in 2018 from TRF. His research
Kaen University. Dr. Jaursup was interested
After his graduation in 2011, Dr. Jaursup was interest is primarily related to the study of
in Coordination Chemistry, so he decided to
appointed as a lecturer at the Department small molecules X-ray crystallography for
follow his Ph.D. study in Chemistry (Inorganic
of Chemistry, Faculty of Science, Khon Kaen gaining insight into their structure-function
Chemistry) at Khon Kaen University under
University, and was later promoted to an relationships. The main focus of his research
the supervision of Professor Dr. Sujittra
Assistant Professor in Chemistry in 2016. work is the synthesis and study of crystal
Youngme. He received the scholarships from
He continuously conducted his research structures of new coordination polymers and
The Thailand Research Fund (TRF) through
works with the support of his research’s complexes for the applications in molecular
The Royal Golden Jubilee Ph.D. (RGJ-Ph.D.)
mentor, Professor Dr. Sujittra Youngme, adsorption, magnetism and optical sensor.
Program and the Center of Excellence for
and the funding supported by PERCH-CIC In particular, the study of their structural
Innovation in Chemistry (PERCH-CIC). His
and Materials Chemistry Research Center, transformation induced by external stimuli
doctoral dissertation was entitled “Structural
Khon Kaen University. He also received such as, UV radiation, temperature, pH, and
Diversity, Dynamic Structural Transformations
research grants for new scholars from TRF solvents provides the understanding of the
and Magnetic Properties of Inorganic-Organic
in 2014 and 2016. He received the Research influence of atomic and molecular interactions
Hybrid Frameworks”. During his Ph.D. study, he
Career Development grant and The RGJ- within the materials on their properties, which
joined the JSPS Exchange Program for East
54 นักวิทยาศาสตร์ดีเด่น ประจำ�ปี 2561 2018 OUTSTANDING SCIENTIST AWARDS 55

is significance for the discovery and development


of efficient materials for adsorption, catalysts and
molecular sensors. Apart from his primary research,
Dr. Jaursup collaborates with both international and
national researchers on utilizing the single-crystal
X-ray diffraction for structural elucidation of various
small molecules, such as natural products, synthetic
organic and inorganic compounds, and co-crystals,
in order to comprehend the mechanisms of their
chemical reactions and sensory properties.

Dr. Jaursup has published 31 articles in peer-


reviewed international journals, in which he works
as a corresponding author for 9 papers in well- could not be possible without the massive support from
known Inorganic Chemistry journals including Dalton all staffs and members at the Department of Chemistry,
Transactions and Crystal Growth & Design. Also, he Faculty of Science, Khon Kaen University, The Center
has been invited as a reviewer in many high impact of Excellence for Innovation in Chemistry (PERCH-CIC),
international journals in an area of Coordination Chemistry and Materials Chemistry Research Center, Khon Kaen
such as Journal of the American Chemical Society, University. In particular, the guidance and support from
Chemical Engineering Journal, Dalton Transactions, Professor Dr. Sujittra Youngme, the research vision
Crystal Growth & Design, and CrystEngComm. In from administrative boards at Khon Kaen University for
addition, Dr. Jaursup received the Pacifichem 2015 supplying a new single-crystal X-ray diffractometer in 2014,
Early Career Chemist Award by International Chemical the creativity and perseverance from all collaborators,
Congress of Pacific Basin Societies in 2015 and Young former and current students, and most importantly an
Researcher Award in 2017 by the Faculty of Science, encouragement from his family in all respects cooperate
Khon Kaen University. His research achievements and assist his research accomplishments.
56 นักวิทยาศาสตร์ดีเด่น ประจำ�ปี 2561 2018 OUTSTANDING SCIENTIST AWARDS 57

สนับสนุนงานวิจยั ระยะสัน
้ ผ่านโครงการ JASSO-JENESYS
Exchange Program for East Asian Postgraduate
Students ที่ ส ถาบั น Institute for Molecular
Science (IMS) ณ เมือง โอกาซากิ ประเทศญี่ปุ่น และ
หลังจากจบปริญญาเอกในปี พ.ศ. 2556 ดร. จุฬารัตน์ ได้
รับการประกาศให้เป็นผูไ้ ด้รบั รางวัลจากมูลนิธศิ าสตราจารย์
ดร. แถบ นีละนิธิ ประจำ�ปี 2557 โดยเป็นผูส้ อบได้คะแนนยอด
เยีย
่ มอันดับ 1 หลักสูตรวิทยาศาสตรดุษฎีบณ ั ฑิต สาขาเคมี

เมื่อสำ�เร็จการศึกษา ดร. จุฬารัตน์ ได้รับทุนสนับสนุน


นักวิจย ั หลังปริญญาเอกจาก Nagoya University ประเทศ
DR. CHULARAT ญี่ปุ่น โดยมี Professor Dr. Mizuki Tada เป็นนักวิจัย
WATTANAKIT ที่ปรึกษา และหลังจากนั้น ดร. จุฬารัตน์ ได้มีโอกาสได้
ร่วมงานกับฝ่ายวิจัยและพัฒนา (R&D) ของบริษัท เอสซีจี
ดร. จุฬารัตน์ วัฒนกิจ เคมิคอลส์ จำ�กัด ในกลุ่มวิจัยของ ดร. สุรชา อุดมศักดิ์
(ผูอ
้ �ำ นวยการวิจยั และพัฒนา หัวหน้ากลุม
่ ธุรกิจ-เทคโนโลยี)
และ ดร. ก้องเกียรติ สุริเย
นักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่ ใน ปี พ.ศ. 2558 ดร. จุฬารัตน์ ได้เข้ารับตำ�แหน่งเป็น
ประจำ�ปี พ.ศ. 2561 อาจารย์ประจำ�สำ�นักวิชาวิทยาการพลังงาน สถาบันวิทยสิรเิ มธี
ตำ�บลป่ายุบใน อำ�เภอวังจันทร์ จังหวัดระยอง ขณะปฏิบัติ
หน้าที่ ณ สำ�นักวิชาวิทยาการพลังงาน สถาบันวิทยสิริเมธี
ดร. จุฬารัตน์ วัฒนกิจ เกิดเมือ่ วันที่ 3 เมษายน พ.ศ. 2527 ทีก่ รุงเทพมหานคร ดร. จุฬารัตน์ ได้รบ
ั ทุนนักวิจยั หลังปริญญาเอกภายใต้โครงการ
เป็นบุตรคนเดียว ของนายธนพล และนางนุชนารถ วัฒนกิจ สำ�เร็จการศึกษา Junior Research Fellowship Program ประจำ�ปี
ระดับมัธยมศึกษาจากโรงเรียนเทพศิรินทร์ร่มเกล้า กรุงเทพมหานคร ใน พ.ศ. 2559 ได้รับการสนับสนุนจากสถานเอกอัครราชทูต
ปี พ.ศ. 2545 จากนั้นเข้าศึกษาระดับปริญญาตรี ณ ภาควิชาเคมี คณะ ฝรั่งเศสประจำ�ประเทศไทย เพื่อดำ�เนินการวิจัยเกี่ยวกับ
วิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ โดยได้รบ ั ทุนเรียนดีวทิ ยาศาสตร์ การเพิม่ ประสิทธิภาพการผลิตอิแนนทิโอเมอร์ทต ี่ อ
้ งการโดย
แห่งประเทศไทย ตามโครงการพัฒนากำ�ลังคนด้านวิทยาศาสตร์ สำ�เร็จ ใช้เทคนิคทางเคมีไฟฟ้าที่เฉพาะเจาะจง ณ เมืองบอร์กโดซ์
การศึกษาระดับปริญญาตรี สาขาเคมี (เกียรตินิยมอันดับ 1) ในปี พ.ศ.
2549 หลังจากนั้นได้ศึกษาต่อในระดับปริญญาเอกสาขาเคมีเชิงฟิสิกส์
ภายใต้โครงการปริญญาเอกร่วมระหว่างมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และ
University of Bordeaux ประเทศฝรั่งเศส ภายใต้การสนับสนุนจาก
โครงการปริญญาเอกกาญจนาภิเษก (คปก.) สำ�นักงานกองทุนสนับสนุน
การวิจัย (สกว.) และทุนความร่วมมือของสถานเอกอัครราชทูตฝรั่งเศส
ประจำ�ประเทศไทย โดยมี ศาสตราจารย์ ดร. จำ�รัส ลิ้มตระกูล และ
Professor Dr. Alexander Kuhn เป็นอาจารย์ทป ี่ รึกษา มีหวั ข้อวิทยา
นิพนธ์ในระดับปริญญาเอกเกี่ยวข้องกับการออกแบบตัวเร่งปฏิกิริยา
วิวิธพันธุ์เพื่อใช้เป็นตัวเร่งปฏิกิริยาทางเคมีและเคมีไฟฟ้า ตัวอย่างส่วน
หนึ่งของงานวิจัยดังกล่าวนี้ เกี่ยวข้องกับการศึกษาการออกแบบตัวเร่ง
ปฏิกิริยาเคมีไฟฟ้าของโลหะแพลทินัมที่มีความจำ�เพาะเจาะจงต่อการ
เลือกเกิดของสารอิแนนทิโอเมอร์ (Enantiomer) ที่ต้องการ ซึ่งงาน
ดังกล่าวได้รับการตีพิมพ์ในวารสารทางวิชาการระดับนานาชาติชั้นนำ�
เช่น Nature Communications (Nature Communications, 2014,
5:3325) นอกจากนีข้ ณะทีศ ่ กึ ษาระดับปริญญาเอก ดร. จุฬารัตน์ ยังได้รบ ั ทุน
58 นักวิทยาศาสตร์ดีเด่น ประจำ�ปี 2561 2018 OUTSTANDING SCIENTIST AWARDS 59

ประเทศฝรั่งเศส นอกจากนี้ ดร. จุฬารัตน์ วัฒนกิจ ยังได้


รับทุนสนับสนุนการวิจัยอย่างต่อเนื่อง เช่น ทุนวิจัยเริ่มต้น
(Start-up grant) ซึ่งได้รับการสนับสนุนจากสถาบัน
วิทยสิรเิ มธี ทุนพัฒนาศักยภาพในการทำ�งานวิจย ั ของอาจารย์
รุ่นใหม่ จากสำ�นักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)
ร่วมกับสำ�นักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.)
โดยมี ศาสตราจารย์ ดร. จำ�รัส ลิม ้ ตระกูล เป็นนักวิจย ั พีเ่ ลีย
้ ง
และได้รับโอกาสจาก Professor Dr. Alexander Kuhn
เชิญเข้าร่วมทีมวิจย ั ผ่านทุน International Project for
Scientific Cooperation (PICS) ได้รบ ั การสนับสนุนจาก
Centre national de la recherche scientifique
(CNRS) ประเทศฝรัง่ เศส อีกทัง้ ในปีนี้ ดร. จุฬารัตน์ วัฒนกิจ
ยังได้รบ
ั โอกาสจาก รองศาสตราจารย์ ดร. เมตตา เจริญพานิช
คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เชิญเข้า
ร่วมทีมวิจยั ผ่านโครงการ Research Network of NANOTEC
(RNN) โดยมี รองศาสตราจารย์ ดร. เมตตา เจริญพานิช เป็น
หัวหน้าโครงการวิจย ั นอกจากนี้ ดร. จุฬารัตน์ ยังได้มโี อกาส
ทำ�งานวิจัยภายใต้โครงการที่ได้รับการสนับสนุนจากบริษัท
อุตสาหกรรม เช่น บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จำ�กัด
(มหาชน) และบริษท ั ปตท. สำ�รวจและผลิตปิโตรเลียม จำ�กัด Fuel, Scientific Report, RSC Advances และ
Current Opinion in Electrochemistry เป็นต้น และ
งานวิจยั ปัจจุบน ั ที่ ดร. จุฬารัตน์ และคณะวิจยั (นิสต
ิ และนักวิจยั ดร. จุฬารัตน์ ได้รับรางวัลงานวิจัยจากหลายหน่วยงาน เช่น
หลังปริญญาเอก) ได้รว่ มกันพัฒนาเกีย ่ วข้องกับการออกแบบ PTT group RD&T achievement awards (Silver)
ตัวเร่งปฏิกิริยาวิวิธพันธุ์ประเภทซีโอไลต์ที่มีลักษณะเป็น และรางวัลการนำ�เสนอผลงานวิจัยดีเยี่ยม จาก The 3rd
สองมิตแิ ละตัวเร่งปฏิกิรย ิ าผสมของซีโอไลต์และสารประกอบ International Congress on Advanced Materials
อนินทรียอ ์ นื่ ๆ เช่น Metal organic framework (MOF)
เพื่อเพิ่มพื้นทีผ ่ วิ และเพิ่มความสามารถของตัวเร่งปฏิกิรย ิ า ดร. จุฬารัตน์ วัฒนกิ จ ขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มีส่วน
โดยตัวเร่งปฏิกิริยาดังกล่าวสามารถนำ�มาประยุกต์ใช้งาน สำ�คัญทำ�ให้เกิดผลงานวิจัยที่ดีและมีคุณค่า ซึ่งเป็นผลสืบ
ได้อย่างหลากหลาย เช่น สามารถนำ�ไปใช้ในอุตสาหกรรม เนื่องจากการทำ�งานหนัก มุ่งมั่น และทุ่มเทของสมาชิกห้อง
ปิโตรเคมีเพื่อเปลี่ยนสารประกอบที่มีมูลค่าตํ่าไปเป็นสารที่ ปฏิบัติการ Advanced Magic Porous Materials
มีความต้องการและมีมูลค่าสูงได้ นอกจากนี้ยังสามารถใช้ (AMPM) สถาบันวิทยสิริเมธี ทั้งในอดีตและปัจจุบัน รวม
ในกระบวนการผลิตสารเคมีที่มีคุณค่าจากสารชีวมวล เช่น ทัง้ ขอขอบคุณการสนับสนุนทางด้านงานวิจย ั คำ�แนะนำ� และ
(Electroreduction) ของสารประกอบอนุพันธ์ในนํ้ามัน
ใช้ในกระบวนการเปลี่ยนสารประกอบไบโอเอทานอลและ กำ�ลังใจที่ได้รับมาโดยตลอดจาก ศาสตราจารย์ ดร. จำ�รัส
ชีวภาพ (Bio-oil) เช่น อะซีโตฟีโนน (Acetophenone)
เมทานอล ไปเป็นสารประกอบเอทิลน ี และโพรพิลน ี เป็นต้น ลิ้มตระกูล Professor Dr. Alexander Kuhn และรอง
โดยให้ค่าการเลือกเกิดของสารผลิตภัณฑ์อิแนนทิโอเมอร์
ศาสตราจารย์ ดร. เมตตา เจริญพานิช และขอขอบคุณผู้
ของฟีนิลเอทานอล (Phenylethanol) ดังกล่าวได้สูงกว่า
นอกจากนี้งานวิจัยอีกแนวทางหนึ่งที่สนใจเกี่ยวข้องกับ ร่วมงานวิจย ั (Collaborator) โดยเฉพาะ Professor Dr.
90 เปอร์เซ็นต์
การพัฒนาตัวเร่งปฏิกิริยาเคมีไฟฟ้าเพื่อใช้ในกระบวนการ Emiel Hensen ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร. ธงไทย วิฑรู ย์ ดร.
ผลิตสารผลิตภัณฑ์อแ ิ นนทิโอเมอร์ที่มีความบริสุทธิ์สูง โดย ปัจจุบัน ดร. จุฬารัตน์ มีผลงานวิจัยตีพิมพ์ทั้งหมดจำ�นวน ธนา ไม้หอม ดร. สรียา บุรีแก้ว ดร. สมเกียรติ นกบิน ผู้ช่วย
ดร. จุฬารัตน์ และคณะวิจยั ได้ท�ำ การออกแบบตัวเร่งปฏิกิรยิ า 17 เรื่อง โดยได้รับการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับ ศาสตราจารย์ ดร. มนตรี สว่างพฤกษ์ และศาสตราจารย์ ดร.
เคมีไฟฟ้าชนิดไครัลแพลทินม ั ทีป ่ ระกอบไปด้วยรูพรุนขนาด นานาชาติทม ี่ ค
ี ณ
ุ ภาพสูง เช่น Nature Communications, พิมพ์ใจ ใจเย็น รวมทั้งคณาจารย์ นักวิจัย/นักวิทยาศาสตร์
กลาง (Mesopores) และพืน ้ ผิวของวัสดุดงั กล่าวสามารถ Chemical Communications และ ACS Applied และบุคลากรทุกฝ่ายจากสถาบันวิทยสิรเิ มธี และทีข่ าดไม่ได้
แสดงคุณสมบัติของไครัล กล่าวคือวัสดุดังกล่าวสามารถ materials & Interfaces นอกจากนี้ ดร. จุฬารัตน์ ได้ ขอขอบคุณกำ�ลังใจและการสนับสนุนจากครอบครัวที่คอย
ให้ค่าการเลือกเกิดสารผลิตภัณฑ์อิแนนทิโอเมอร์ที่มีความ รับเชิญให้เป็นผูท ้ รงคุณวุฒพ
ิ จิ ารณาบทความ (Reviewer) สนับสนุนและเป็นแรงผลักดันให้สามารถก้าวผ่านอุปสรรค
บริสุทธิ์สูงจากการใช้เป็นตัวเร่งปฏิกิริยารีดักชันเชิงไฟฟ้า ของวารสารต่างๆ และเขียนบทความวิจัย (Review) เช่น ต่างๆ มาได้โดยตลอด
60 นักวิทยาศาสตร์ดีเด่น ประจำ�ปี 2561 2018 OUTSTANDING SCIENTIST AWARDS 61

DR. CHULARAT
WATTANAKIT

Dr. Chularat Wattanakit was born on April 3, imprinted mesoporous platinum obtained by After that, she also had the opportunity to
1984 in Bangkok. She is the only child of Mr. the electrochemical reduction of platinum salts work in the research and development (R&D)
Thanapol and Mrs. Nutchanart Wattanakit. She in the presence of a mesopore template and section at SCG Chemicals Company Limited
completed her high school from Debsirinromklao chiral molecules. This elaborated designer in the group of Dr. Suracha Udomsak (R&D
School, Bangkok in 2002. Dr. Chularat received materials exhibited outstanding properties Director Business Group Head-Technology)
her bachelor’s degree in Chemistry (First Class with respect to the selective recognition of the and Dr. Kongkiat Suriye to gain insights
Honors) from the Faculty of Science, Kasetsart corresponding enantiomer, when using such into the development of catalysts for the
University in 2006. During that time, she got materials as electrodes. This work has been petrochemical industry.
a scholarship from the Human Resource published in a highly ranked journal (Nature
In 2015, Dr. Chularat was appointed as a
Development in Science Project (Science Communications, 2014, 5:3325). Besides,
Lecturer at the Department of Chemical and
Achievement Scholarship of Thailand, SAST). during her Ph.D. study, she also received a
Biomolecular Engineering, School of Energy
After that, she joined the doctoral program in short-term research scholarship from the
Science and Engineering, Vidyasirimedhi
the frame of a joint Ph.D. agreement between JASSO-JENESYS Exchange Program for East
Institute of Science and Technology (VISTEC),
Kasetsart University and the University of Asian Postgraduate Students to conduct a part purity using chirally imprinted mesoporous
Rayong, Thailand. In the meantime, she also
Bordeaux, France, supported by the Royal of her research at the Institute for Molecular metals. This work has been again published
received a Junior Research Fellowship from
Golden Jubilee (RGJ) Ph.D. Scholarship, Science (IMS), Okazaki, Japan. Finally, she with high impact (Nature Communications,
the French Embassy in Thailand for supporting
and the French Government’s scholarship obtained her Ph.D. degree in Physical Chemistry 2016, 7:12678 and Nature Communications,
her to start a research collaboration with the
contributing to the RGJ-Ph.D. program. During in 2013 with a Distinguished Graduate Award 2017, 8:2087).
research group of Professor Alexander Kuhn
her Ph.D. studies she focused on the design (Ph.D. level) from the Professor Dr. Tab Nilanidhi
at University of Bordeaux, France. During her Thanks to the French Embassy in Thailand,
of porous heterogeneous catalysts and their Foundation, Thailand.
stay in Bordeaux, she carried out studies she also had the opportunity to continue
applications for hydrocarbon transformation
After graduation, Dr. Chularat moved to Japan to develop an electrochemical technique her strong research collaboration with the
and chiral recognition under the supervision of
to work as a Postdoctoral Researcher with for the synthesis of chiral molecules from French laboratory by sharing Ph.D. students
Professor Dr. Jumras Limtrakul and Professor
Professor Mizuki Tada at the Research Center prochiral starting compounds in order to via the Franco-Thai Ph.D. scholarship program
Dr. Alexander Kuhn. A part of her Ph.D. thesis
for Materials Science, Nagoya University, Japan. obtain selectively enantiomers with very high supported by the French Embassy in Thailand
was dedicated to the development of chiral
62 นักวิทยาศาสตร์ดีเด่น ประจำ�ปี 2561 2018 OUTSTANDING SCIENTIST AWARDS 63

and Campus France. In addition, the research together with other inorganic materials opens up promising reaction schemes for
projects of Dr. Chularat have been financially (i.e. Metal Organic Frameworks, MOFs). the straightforward synthesis of high-added-
supported by several research organizations, Interestingly, the designed materials show value molecules.
in particular, VISTEC and The Thailand largely enhanced surface areas, resulting Up to now, Dr. Chularat has published seventeen
Research Fund (TRF) and Office of the Higher
in improved catalytic performances for articles in leading international journals,
Education Commission (OHEC) through a
many potential applications, for example, such as Nature Communications, Chemical
research grant for new researchers (with
the conversion of low-cost hydrocarbon Communications and ACS Applied materials
Professor Dr. Jumras Limtrakul as a mentor).
compounds into high-added-value chemicals & Interfaces. In addition, she has been invited
Furthermore, her research projects are
and the catalytic upgrading of bio-mass to be a reviewer and write research reviews Professor Dr. Jumras Limtrakul, Professor
currently supported by an International Program
derived compounds (bioethanol and in several journals, such as Fuel, Scientific Dr. Alexander Kuhn and Associate Professor
for Scientific Cooperation (PICS) sponsored
Report, RSC Advances and Current Opinion Dr. Metta Chareonpanich strongly supported
by the Centre National de la Recherche methanol) to useful chemicals (ethylene
in Electrochemistry. She also received and encouraged her research, resulting in a
Scientifique (CNRS) via the collaboration with and propylene).
prestigious research awards, including the continuous motivation for her career. Many
Prof. Alexander Kuhn, the Research Network
In addition, Dr. Chularat is also interested group RD&T achievement award (Silver) and other collaborations were also essential for
of NANOTEC (RNN) with Associate Professor
in the development of electrocatalysts the outstanding oral presentation award at the progress of her work, in particular with
Dr. Metta Chareonpanich, Faculty of Chemical
for the highly selective synthesis of chiral the 3rd International Congress on Advanced Professor Dr. Emiel Hensen, Assistant Professor
Engineering, Kasetsart University, as the
molecules from prochiral compounds. Materials (AM 2016), Thailand on the topic of Dr. Thongthai Witoon, Dr. Thana Maihom, Dr.
head of project, and by several collaborative
“Chiral recognition and asymmetric synthesis Sareeya Bureekaew, Dr. Somkiat Nokbin,
projects with companies, for example, PTT In this project, her team develops
at mesoporous chiral metal surfaces”. Assistant Professor Dr. Montree Sawangphruk,
Global Chemical Public Company Limited a new strategy for the synthesis of
and Professor Dr. Pimchai Chaiyen, as well as
(PTTGC) and PTT Exploration and Production chiral compounds, based on pulsed All this work would not have been possible
all faculty members, researchers/scientists
Public Company Limited (PTTEP). electrochemical conversion. With this without numerous people who helped in
and staff at VISTEC. Last but not least, when
approach the stereospecific conversion of the realization of the research work. This
Following Dr Chularat’s research interest, the going gets tough, encouragement and
a prochiral model molecule, for example includes all past and present members of
she and her colleagues (students and support from the parents are also crucial
her research group, Advanced Magic Porous
postdoctoral researchers) strongly focus on the electroreduction of acetophenone to and need to be strongly recognized.
Materials (AMPM) at VISTEC, working hard
the development of heterogeneous catalysts phenylethanol, results in an enantiomeric
and showing a sustaining positive attitude.
such as 2D zeolites and composites of zeolite excess of over 90%. This change of paradigm
64 นักวิทยาศาสตร์ดีเด่น ประจำ�ปี 2561 2018 OUTSTANDING SCIENTIST AWARDS 65

ใบอนุญาตจัดตั้ง
มูลนิธิส่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ในพระบรมราชูปถัมภ์
ใบอนุญาตจัดตั้ง
ประวัติ มูลนิธิส่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในพระบรมราชูปถัมภ์
มูลนิธิส่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ในพระบรมราชูปถัมภ์

ความเป็นมา
ในปีเฉลิมฉลองสมโภชกรุงรัตนโกสินทร์ฯ พ.ศ. 2525 นั้น สมาคมวิทยาศาสตร์แห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์
ได้จดั งานวันวิทยาศาสตร์แห่งชาติเป็นครัง้ แรกในวันที่ 18 สิงหาคม โดยในพิธเี ปิด องคมนตรีผแ ู้ ทนพระองค์ในพระบาท
สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเป็นผู้มอบ“รางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่น” ซึ่งได้รับความสนใจและเผยแพร่ข่าวในสื่อมวลชนอย่าง
กว้างขวาง รางวัลดังกล่าวจึงกลายเป็นสัญลักษณ์ของพิธเี ปิดงานวันวิทยาศาสตร์แห่งชาติตอ ่ เนือ่ งมาจนปัจจุบน
ั เพือ
่ ให้
มีองค์กรรับผิดชอบการให้รางวัลโดยเฉพาะ สมาคมฯ จึงระดมทุนเพื่อจัดตั้งมูลนิธส ิ ่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ซึ่งได้รับอนุมัติให้จดทะเบียนเป็นทางการเมื่อวันที่ 15 กรกฎาคม 2526 และเมื่อวันที่ 3 สิงหาคม 2528 ได้รับ
พระราชทานพระมหากรุณาธิคุณรับมูลนิธิฯ อยู่ในพระบรมราชูปถัมภ์ ต่อมากระทรวงการคลังได้ประกาศให้มูลนิธิฯ
เป็นองค์การสาธารณกุศลว่าด้วยการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่มเมื่อวันที่ 3 มิถุนายน 2545

กิจกรรม
นอกจากการให้รางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นในวันวิทยาศาสตร์แห่งชาติทุกปีแล้ว เพื่อพัฒนาฐานนักวิจัยรุ่นกลางให้
กว้างขึ้น มูลนิธิฯ จึงได้ตั้งรางวัลนักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่ แก่นักวิจัยอายุไม่เกิน 35 ปี ขึ้นในปี 2534 นอกจากนั้น
มูลนิธฯ
ิ ยังเห็นว่าเทคโนโลยีมค ี วามสำ�คัญคูก
่ บ
ั วิทยาศาสตร์พน
ื้ ฐาน จึงเพิม
่ การให้รางวัลนักเทคโนโลยีดเี ด่น และ รางวัล
นักเทคโนโลยีรุ่นใหม่ ในปี 2544 โดยมีการรับรางวัลในวันเทคโนโลยีแห่งชาติ (19 ตุลาคม) ของทุกปี

การสรรหาและรางวัล
มูลนิธฯ
ิ แต่งตัง้ คณะกรรมการรางวัลนักวิทยาศาสตร์ดเี ด่น และคณะกรรมการรางวัลนักเทคโนโลยีดเี ด่น เพือ ่ ดำ�เนินการ
สรรหาโดยอิสระโดยเปิดเผยเฉพาะชื่อประธานเท่านั้น ผู้ได้รับรางวัลจะได้รับโล่พระราชทาน (สาขาวิทยาศาสตร์) หรือ
พระบรมรูปเหรียญพระราชทาน (สาขาเทคโนโลยี) และเงินรางวัลตามที่กำ�หนดไว้สำ�หรับแต่ละระดับและสาขา โดย
จำ�นวนเงินได้ปรับเพิม
่ ขึน
้ เป็นลำ�ดับตามการเปลีย
่ นแปลงของค่าเงินและการสนับสนุนของผูบ ้ ริจาค ผูส
้ นับสนุนเงินรางวัล
นักวิทยาศาสตร์ดีเด่นและรางวัลนักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่ปัจจุบัน คือ เอสซีจี (SCG) สำ�นักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
(สกว.) สำ�นักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) และ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยี (สสวท.) และตั้งแต่ปี พ.ศ. 2558 เป็นต้นมา บริษัท ปตท. จำ�กัด (มหาชน) (ปตท.) ได้เริ่มให้การสนับสนุน
อีกองค์กรหนึ่ง ส่วนรางวัลนักเทคโนโลยีดีเด่นและรางวัลนักเทคโนโลยีรุ่นใหม่ มี สำ�นักงานคณะกรรมการนโยบาย
วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ (สวทน.) และ สวทช. เป็นผู้สนับสนุน

การเผยแพร่กิตติคุณและการขยายผล
มูลนิธฯ
ิ จัดทำ�หนังสือแสดงผลงานของผู้ได้รับรางวัลเพื่อแจกในวันแถลงข่าว วันพิธีเปิดงานวันวิทยาศาสตร์/เทคโนโลยี
แห่งชาติ รวมทัง้ งานแสดงปาฐกถาของผูไ้ ด้รบ
ั รางวัลดีเด่นในวันดังกล่าวด้วย อนึง่ ผูไ้ ด้รบ
ั รางวัลจะได้รบ
ั เชิญไปบรรยาย
ในการประชุมวิชาการวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (วทท.) การประชุมนักวิจัยรุ่นใหม่พบเมธีวจิ ัยอาวุโส สกว. รวมทั้ง
ตามสถานศึกษาต่างๆ ผู้ได้รับรางวัลหลายคนได้รับการเสนอให้ได้รับรางวัลระดับภูมภ ิ าค นอกจากนี้ส่วนใหญ่ของผู้ได้
รับรางวัลมักจะได้รับทุนวิจัยประเภทต่างๆ ของสกว. สวทช. และสำ�นักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) เพื่อผลิต
งานวิจัยที่มีคุณค่าให้ประเทศสืบต่อไป
66 นักวิทยาศาสตร์ดีเด่น ประจำ�ปี 2561 2018 OUTSTANDING SCIENTIST AWARDS 67
หนังสือให้อำนาจจัดตั้ง
หนังสือให้อำ�นาจจั
มูลนิธิส่งเสริดมตั
วิท้ง
ยาศาสตร์และเทคโนโลยีในพระบรมราชูปถัมภ์ หนังสือพระราชทานพระมหากรุ ณาให้
หนังสือพระราชทานพระมหากรุณาให้
มูลนิธิส่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในพระบรมราชูปถัมภ์ มูลนิธิส่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอยู่ในพระบรมราชูปถัมภ์
มูลนิธิส่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอยู่ในพระบรมราชูปถัมภ์
ด้านหน้า

ด้านหน้า

ด้านหลัง
ด้านหลัง


68 นักวิทยาศาสตร์ดีเด่น ประจำ�ปี 2561 2018 OUTSTANDING SCIENTIST AWARDS 69

มูลนิธิส่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอยู่ในพระบรมราชูปถัมภ์ รายงานผลการดำ�เนินงานประจำ�ปี พ.ศ.2560


เป็นองค์มูกลรหรื
นิธิสอ่งสถานสาธารณกุ
เสริมวิทยาศาสตร์ศแลละเทคโนโลยี อยู่ในพระบรมราชู
ลำ�ดับที่ 481 ปถัมภ์
ของประกาศกระทรวงการคลั งฯ มูลนิธิส่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในพระบรมราชูปถัมภ์
เป็นองค์กรหรือสถานสาธารณกุศล ลำดับที่ 481 ของประกาศกระทรวงการคลังฯ

การวางพานพุ่มถวายราชสักการะในวันวิทยาศาสตร์แห่งชาติ
ในวันวิทยาศาสตร์แห่งชาติ วันที่ 18 สิงหาคม 2560 รศ.ดร.กำ�จัด มงคลกุล กรรมการมูลนิธฯ
ิ ร่วมพิธถ
ี วายราชสักการะ
พระบรมราชานุสาวรีย์พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ณ กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ถนนพระราม
ที่หก กรุงเทพฯ

งานแถลงข่าวรางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่น และรางวัลนักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่ ประจำ�ปี พ.ศ.2560


มูลนิธิฯ ได้จัดงานแถลงข่าวรางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่น และรางวัลนักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่ ประจำ�ปี พ.ศ.2560 เมื่อวันที่
26 กรกฎาคม 2560 ณ โรงแรมเซ็นทารา แกรนด์ แอท เซ็นทรัลพลาซ่า ลาดพร้าว กรุงเทพฯ

รางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่น ประจำ�ปี 2560 ได้แก่


(1) ศาสตราจารย์พิเศษ ดร.เดวิด รูโฟโล คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

รางวัลนักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่ ประจำ�ปี 2560 ได้แก่


(1) รศ.ดร.เบญจพล เฉลิมสินสุวรรณ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
(2) ผศ.ดร.บูรภัทร์ อินทรีย์สังวร คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
(3) ผศ.ดร.วิบุญ ตั้งวโรดมนุกูล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
(4) ผศ.ดร.วโรดม เจริญสวรรค์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
70 นักวิทยาศาสตร์ดีเด่น ประจำ�ปี 2561 2018 OUTSTANDING SCIENTIST AWARDS 71

การเข้ารับพระราชทานรางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นและนักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่ ประจำ�ปี พ.ศ.2560


งานเลี้ยงแสดงความยินดีแก่นักวิทยาศาสตร์ดีเด่น และนักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่ ประจำ�ปี พ.ศ.2560 สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี พระราชทานโล่รางวัลแก่นักวิทยาศาสตร์ดีเด่นและนักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่
มูลนิธิฯร่วมกับสมาคมวิทยาศาสตร์ฯ ได้จัดงานเลี้ยงแสดงความยินดีแก่ผู้ได้รับรางวัล เมื่อวันที่ 18 สิงหาคม 2560 ณ โรงแรม ประจำ�ปี พ.ศ.2560 ในวันที่ 17 ตุลาคม 2560 ในการประชุมวิชาการวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 43
เซ็นทารา แกรนด์ แอท เซ็นทรัลพลาซ่า ลาดพร้าว กรุงเทพฯ โดยมี ดร.สุวท ิ ย์ เมษินทรีย์ รัฐมนตรีประจำ�สำ�นักนายกรัฐมนตรี เป็น (วทท. 43) ณ หอประชุมจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปทุมวัน กรุงเทพฯ
ประธานในพิธี
การบรรยายของนักวิทยาศาสตร์ดีเด่น ประจำ�ปี พ.ศ.2560
นักวิทยาศาสตร์ดเี ด่นให้การบรรยายเมือ
่ วันที่ 17 ตุลาคม 2560 ในการประชุมวิชาการวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย
ครั้งที่ 43 (วทท. 43) ณ หอประชุมจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปทุมวัน กรุงเทพฯ
72 นักวิทยาศาสตร์ดีเด่น ประจำ�ปี 2561 2018 OUTSTANDING SCIENTIST AWARDS 73

โครงการรางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่นและนักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่
การวางพานพุ่มถวายราชสักการะในวันเทคโนโลยีแห่งชาติ
ในวันเทคโนโลยีแห่งชาติ วันที่ 19 ตุลาคม 2560 ผศ.บัวรอง ลิ่วเฉลิมวงศ์ กรรมการมูลนิธฯ
ิ ร่วมพิธีถวายพานพุ่มและถวายราช
สดุดเี พือ
่ เทิดพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพ
ิ ลอดุลยเดช มหิตลาธิเบศรรามาธิบดี จักรีนฤบดินทร สยามมินทราธิ
ราช บรมนาถบพิตร ในฐานะทรงเป็น พระบิดาแห่งเทคโนโลยีของไทย เนื่องในวันเทคโนโลยีของไทย ประจำ�ปี 2560 ณ กระทรวง
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ถนนพระรามที่หก กรุงเทพฯ รางวัลนี้เกิดขึ้นจากความริเริ่มของกลุ่มนักวิทยาศาสตร์ที่ เกณฑ์การตัดสิน
มีความห่วงใยต่อสภาวการณ์ที่วิทยาศาสตร์พื้นฐาน อัน เกี่ยวกับผลงาน
ได้แก่ ฟิสิกส์ เคมี ชีววิทยา และสาขาวิชาที่คาบเกี่ยวกับ
สาขาวิชานี้ ไม่ได้รับความสนใจและการสนับสนุนเท่าที่ • เป็น ผลงานที่ แ สดงคุ ณ ลั ก ษณะของความคิ ด ริ เ ริ่ ม
ควรจากผู้บริหาร ประชาชนทั่วไป และเยาวชน ทั้งๆ ที่ ผลิ ต ความรู ้ใ หม่ เป็น ผลงานที่ เ ป็น ที่ ย อมรั บ ใน
วิทยาศาสตร์พื้นฐานเป็นเสมือนเสาหลักที่สำ�คัญต่อความ วงการวิทยาศาสตร์ ทั้งในประเทศและต่างประเทศ
เจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยี แต่ขณะนีเ้ ยาวชนไทยยังเลือก และพิสจู น์ได้แน่ชด
ั ว่าเป็นผลงานของบุคคลนัน ้ จริง
เรียนวิทยาศาสตร์พื้นฐานกันน้อย อาจเป็นเพราะเยาวชน
• เป็นงานที่มีศักยภาพซึ่งก่อให้เกิดการพัฒนาต่อเนื่อง
เหล่านี้มีความสนใจวิทยาศาสตร์พื้นฐานน้อย แต่มีความ
สมควรเป็นตัวอย่างอันดีแก่นักวิทยาศาสตร์ด้วยกัน
สนใจมากในวิทยาศาสตร์การแพทย์ หรือวิศวกรรมศาสตร์
งานแถลงข่าว/งานเลี้ยงแสดงความยินดีแก่นักเทคโนโลยีดีเด่น และนักเทคโนโลยีรุ่นใหม่ ประจำ�ปี พ.ศ.2560
หรือวิทยาศาสตร์ประยุกต์อื่นๆ ทั้งๆ ที่ประเทศไทยมีนัก เกี่ยวกับตัวบุคคล
วันที่ 19 ตุลาคม 2560 มูลนิธส
ิ ง่ เสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในพระบรมราชูปถัมภ์ ได้จด
ั งานประกาศผลรางวัลนักเทคโนโลยี วิทยาศาสตร์พน ื้ ฐานทีม่ คี วามสามารถสูงอยูจ่ �ำ นวนไม่นอ้ ย
ดีเด่น และนักเทคโนโลยีรุ่นใหม่ ประจำ�ปี 2560 ณ โรงแรม พลาซ่า แอทธินี รอยัล เมอริเดียน กรุงเทพฯ • มีบุคลิก การวางตัว อุปนิสัยเป็นที่น่านิยม
ซึ่งมีผลงานดีเด่นทัดเทียมต่างประเทศ และหากได้รับการ
รางวัลนักเทคโนโลยีดีเด่น ประจำ�ปี พ.ศ.2560 มี 1 รางวัล ได้แก่ สนับสนุนอย่างจริงจังจะสามารถส่งผลงานเหล่านีต ้ อ
่ ไปยัง • อุ ทิ ศ ตนเพื่ อ งานวิ ท ยาศาสตร์อ ย่า งต่อ เนื่ อ งด้ว ย
นักเทคโนโลยีหรือผูอ ้ ยูใ่ นสาขาวิทยาศาสตร์ประยุกต์เอาไป ความส�ำนึกในการสร้างวิทยาศาสตร์เพื่อส่วนรวม
(1) ศาสตราจารย์ ดร. วิบูลย์ แสงวีระพันธุ์ศิริ คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จากผลงาน “หุ่นยนต์เพื่อ
ใช้ประโยชน์ต่อไปได้ ฉะนั้นจึงได้เกิดความคิดที่จะรณรงค์ • ประพฤติตนเป็นที่น่าเคารพนับถือ มีลักษณะเป็น
ฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง” (Exoskeleton for function rehabilitation in stroke patients)
ให้คนไทยเกิดความตืน ่ ตัวและภูมใิ จในนักวิทยาศาสตร์ไทย ผู ้น�ำทางวิ ช าการ เหมาะสมที่ จ ะได้รั บ การยกย่อ ง
รางวัลนักเทคโนโลยีรุ่นใหม่ ประจำ�ปี พ.ศ.2560 มี 1 รางวัล ได้แก่
วัตถุประสงค์ของรางวัล ให้เป็นแบบอย่างนักวิทยาศาสตร์ที่ดีงาม
(1) ดร. วิรัลดา ภูตะคาม ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ สำ�นักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
แห่งชาติ จากผลงาน “การค้นหาและจีโนไทป์เครื่องหมายโมเลกุลสนิปแบบทั่วทั้งจีโนมด้วยเทคโนโลยี genotyping- • เพื่อเชิดชูเกียรตินักวิทยาศาสตร์สัญชาติไทย ที่มี ทัง้ นี้ งานวิทยาศาสตร์ทม ี่ งุ่ เน้นคือ ด้านวิทยาศาสตร์พน ื้ ฐาน
by-sequencing (GBS)” ผลงานดีเด่นและเพือ ่ เป็นก�ำลังใจให้กบ
ั นักวิทยาศาสตร์ และ/หรือแขนงซึ่งคาบเกี่ยวกันระหว่างสาขาต่างๆ ของ
รุ่นใหม่ที่มีศักยภาพสูงในการท�ำงานวิจัยที่มีคุณภาพ วิทยาศาสตร์พน ื้ ฐาน โดยมีผลงานทีก ่ ระทำ�ภายในประเทศ
มูลนิธิฯ ร่วมกับสมาคมวิทยาศาสตร์ฯ ได้จัดงานเลี้ยงแสดงความยินดีแก่ผู้ได้รับรางวัลในโอกาสเดียวกันนี้
เป็นส่วนใหญ่ในลักษณะต่อเนื่องกันเป็นเวลาไม่น้อยกว่า
• เพื่อเป็นตัวอย่างแก่นักวิทยาศาสตร์และเยาวชนให้
5 ปี เป็นผลงานทีก ่ อ
่ ให้เกิดผลกระทบต่อการพัฒนาวงการ
เจริญรอยตาม
วิทยาศาสตร์ และ/หรือการพัฒนาประเทศ เช่น ยกระดับ
ก. โครงการรางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่น การวิจย ั ยกระดับการศึกษาวิทยาศาสตร์ระดับสูง ก่อให้เกิด
ความงอกงามทางวิชาการ สร้างชือ ่ เสียงให้แก่ประเทศชาติ
ลักษณะรางวัล
รางวัลมีมูลค่ารางวัลละ 400,000 บาท และโล่พระ วิธีการสรรหา
ราชทาน ความแตกต่ า งของรางวั ล นี้ จ ากรางวั ล ทาง คณะกรรมการรางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่น เป็นผู้เชิญให้
การเข้ารับพระราชทานรางวัลนักเทคโนโลยีดีเด่น และนักเทคโนโลยีรุ่นใหม่ ประจำ�ปี พ.ศ.2560 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอื่นๆ ที่มีการมอบอยู่แล้ว ผู้ทรงคุณวุฒท ิ ม
ี่ ป
ี ระสบการณ์ด้านวิทยาศาสตร์เป็นผู้เสนอ
ในประเทศไทยคื อ ประการที่ ห นึ่ ง มี ก ารเสาะแสวง ชื่อ โดยเชิญจากนักวิทยาศาสตร์ที่มีผลงาน ผู้บริหารงาน
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี พระราชทานโล่รางวัลแก่นก
ั เทคโนโลยีดเี ด่น และนักเทคโนโลยีรน
ุ่ ใหม่ ประจำ�ปี
หานั ก วิ ท ยาศาสตร์ ดี เ ด่ น โดยไม่ มี ก ารสมั ค ร ประการ วิทยาศาสตร์ในมหาวิทยาลัย สถาบันวิจย ั และบริษท ั เอกชน
พ.ศ.2560 ในวันที่ 17 ตุลาคม 2560 ในการประชุมวิชาการวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 43 (วทท. 43)
ที่ ส อง บุ ค คลผู้ นี้ จ ะต้ อ งมี ผ ลงานทางวิ ท ยาศาสตร์ ทีม่ ก
ี ารวิจย
ั และพัฒนาวิทยาศาสตร์และนักวิจย ั ทีเ่ คยได้รบ

ณ หอประชุมจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปทุมวัน กรุงเทพฯ
พืน้ ฐานทีม
่ ค
ี วามสำ�คัญต่อเนือ ่ งมาเป็นเวลานาน มิใช่ผลงาน รางวัลต่างๆ และคณะกรรมการรางวัลนักวิทยาศาสตร์ดเี ด่น
ชิ้นเดียว และประการสุดท้ายมีการพิจารณาถึงคุณสมบัติ
ของตัวบุคคล ทั้งในฐานะที่เป็นนักวิทยาศาสตร์ และ เมือ่ ได้รายชือ ่ มาแล้ว คณะกรรมการรางวัลนักวิทยาศาสตร์
ในฐานะที่มีคุณธรรมจริยธรรมสูง อันจะเป็นตัวอย่างที่ดี ดี เ ด่ น ก็ สื บ เสาะหาผลงานอย่ า งละเอี ย ดสั ม ภาษณ์
ก่อให้เกิดศรัทธาในนักวิทยาศาสตร์ดว้ ยกันและต่อเยาวชน ผู้ ท รงคุ ณ วุ ฒิ ใ นวงการนั้ น ๆ พิ จ ารณาผลงานและ
ของชาติที่จะยืดถือปฏิบัติตาม บุคคลตามเกณฑ์ที่วางไว้ ในชั้นต้นจะเน้นการประเมิน
74 นักวิทยาศาสตร์ดีเด่น ประจำ�ปี 2561 2018 OUTSTANDING SCIENTIST AWARDS 75

รายนามนักวิทยาศาสตร์ดีเด่น
ผลงานวิจัยย้อนหลัง 5 ปี โดยพิจารณาปริมาณผลงาน ข. โครงการรางวัลนักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่
เปรียบเทียบกับนักวิทยาศาสตร์ในสาขาเดียวกัน พิจารณา
ลักษณะรางวัล ปี พ.ศ. ชื่อ สาขาวิชา สถาบัน
คุณภาพของผลงานในด้านของความคิดริเริ่ม การผลิต
Year Name Field Institution
ความรู้ใหม่ การเป็นที่ยอมรับในวงการวิทยาศาสตร์ทั้ง รางวัลมีมล ู ค่า รางวัลละ 100,000 บาท และโล่พระราชทาน
2525 ศาสตราจารย์ ดร. วิรุฬห์ สายคณิต ฟิสิกส์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ในประเทศและต่างประเทศ การเป็นผลงานที่มีศักยภาพ มีวตั ถุประสงค์เพือ ่ คัดเลือกบุคคลสัญชาติไทยทีม ่ อ
ี ายุไม่เกิน
ซึ่งก่อให้เกิดการพัฒนาต่อเนื่อง สมควรเป็นแบบอย่างอัน 35 ปี มีผลงานวิจย ั ในสาขาวิทยาศาสตร์พน ื้ ฐาน เช่น ฟิสก ิ ส์ 1982 Professor Dr. Virulh Sa-yakanit Physics Chulalongkorn University
ดีแก่นักวิทยาศาสตร์ พิจารณาคุณภาพของวารสารที่ตี เคมี ชีววิทยา คณิตศาสตร์ และสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง และ B.Sc. (Hons., Chulalongkorn),
Ph.D. (Gothenberg)
พิมพ์ผลงานว่าอยู่ในระดับใดของวารสารที่ตีพิมพ์ผลงาน ได้ตพ ี ม
ิ พ์ผลงานวิจย ั ทีม
่ ค ี ณ
ุ ภาพดีและเผยแพร่ในวารสารที่
ประเภทเดียวกัน โดยดู Impact factor และพิจารณา มีมาตรฐานจ�ำนวนไม่น้อยกว่า 3 เรือ ่ ง โดยผู้เสนอควรเป็น 2526 ศาสตราจารย์นายแพทย์ ประเวศ วะสี พันธุศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
Publication credit (ผลรวมของ impact factor ของ ผู้วิจัยหลัก และงานวิจัยเหล่านั้นท�ำในประเทศไทย ทั้งนี้ 1983 Professor Dr. Prawase Wasi Genetics Mahidol University
วารสารที่ผลงานได้รับการตีพม ิ พ์) ทั้งค่ารวมและค่าเฉลี่ย ต้องไม่ใช่ผลงานวิจย ั ทีเ่ ป็นส่วนหนึง่ ของวิทยานิพนธ์เพือ ่ รับ M.D. (Siriraj), Ph.D. (Colorado)
(Gross และ Net publication credits) ประกอบ ปริญญาระดับใดระดับหนึง่ และเป็นผู้ท�ำการวิจย ั และพัฒนา 2527 ศาสตราจารย์ ดร. ม.ร.ว.พุฒิพงศ์ วรวุฒิ ชีววิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ด้วย พิจารณาว่าเป็นผู้วิจัยหลัก (Major contributor) วิทยาศาสตร์อย่างจริงจัง มีคณ ุ ธรรมและมนุษยสัมพันธ์ทด ี่ ี 1984 Professor Dr. M.R. Puttiponge Varavudhi Biology Chulalongkorn University
มากน้อยเพียงใด ได้มีการผลิตผลงานออกมาอย่างต่อ B.Sc. (Chulalongkorn), Ph.D.
เนือ่ งหรือไม่ และผลงานดังกล่าวได้ผลิตขึน ้ ในประเทศมาก การเสนอชื่อรับรางวัล (Weizmann Institute)
น้อยเพียงใด สำ�หรับด้านตัวบุคคลนัน ้ พิจารณาบุคลิก การ สามารถกระท�ำได้ 2 แบบ คือ โดยการสมัครด้วยตนเอง ศาสตราจารย์ ดร. ยงยุทธ ยุทธวงศ์ ชีวเคมี มหาวิทยาลัยมหิดล
วางตัวและอุปนิสัยที่น่านิยม ความซื่อสัตย์ในวิชาชีพด้าน และคณะกรรมการรางวัลนักวิทยาศาสตร์ดเี ด่นเชิญให้ผ้ท
ู รง Professor Dr. Yongyuth Yuthavong Biochemistry Mahidol University
วิชาการ การอุทิศตนเพื่องานวิทยาศาสตร์โดยส่วนรวม คุณวุฒิที่มีประสบการณ์ด้านวิทยาศาสตร์เป็นผู้เสนอชื่อ B.Sc. (Hons., London), D.Phil. (Oxford)
และความเป็นผู้นำ�ทางด้านวิชาการ การพิจารณาขั้นตอน 2528 รองศาสตราจารย์ ดร. สกล พันธุ์ยิ้ม ชีวเคมี มหาวิทยาลัยมหิดล
ต่างๆ ข้างต้นกระทำ�เป็นความลับโดยไม่เปิดเผยให้แก่ผู้ที่ แนวทางการตัดสิน
1985 Associate Professor Dr. Sakol Panyim Biochemistry Mahidol University
จะได้รบ ั รางวัล จนคณะกรรมการฯ มีมติขน ั้ สุดท้ายให้เชิญ คณะกรรมการรางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่น น�ำรายชื่อผู้ที่ B.S. (Berkeley), Ph.D. (lowa)
นักวิทยาศาสตร์ผู้นั้นเป็นผู้ได้รับรางวัล สมัครและผู้ทไี่ ด้รบ
ั การเสนอชือ ่ เพือ
่ รับรางวัลนักวิทยาศาสตร์ 2529 รองศาสตราจารย์ ดร. ยอดหทัย เทพธรานนท์ เคมี มหาวิทยาลัยมหิดล
รุ่นใหม่มาตรวจสอบเบือ ้ งต้นว่าเป็นไปตามเกณฑ์อันได้แก่
ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1986 Associate Professor Chemistry Mahidol University
สัญชาติ อายุ และสาขาวิชา ตรวจสอบจ�ำนวนผลงานวิจัย Dr. Yodhathai Thebtaranonth
การสดุดเี กียรติคณ
ุ บุคคลและผลงาน จะเป็นสิง่ ทีโ่ น้มนำ�เยาวชน ที่ผู้สมัครหรือได้รับการเสนอชื่อเป็นผู้วิจัยหลัก ตรวจสอบ B.Sc. (Medical Science), Ph.D. (Sheffield)
ทีม
่ ค
ี วามสามารถให้มงุ่ ศึกษาและวิจยั ด้านวิทยาศาสตร์พน ื้ ว่าการวิจย ั เหล่านัน
้ ท�ำในประเทศไทย และไม่เป็นส่วนหนึง่ 2530 ศาสตราจารย์ ดร. สุทัศน์ ยกส้าน ฟิสิกส์ทฤษฎี มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
ฐาน อันเป็นรากฐานของวิทยาศาสตร์ประยุกต์และเทคโนโลยี ของวิทยานิพนธ์ พิจารณาคุณภาพของผลงานว่าตีพิมพ์
1987 Professor Dr. Suthat Yoksan Theoretical Srinakharinwirot University
ทั้งหลายในระยะยาว สังคมที่มุ่งยกย่องบุคคลที่มีผลงานดี ในวารสารที่มี Impact factor สูงมากน้อยเพียงใด เมื่อ
B.Sc. (Hons., London), Ph.D. (California) Physics
เด่นและคุณธรรมจะเป็นสังคมทีส ่ ามารถยกระดับคุณภาพ เปรียบเทียบกับวารสารทีต ่ พ
ี ม
ิ พ์ในสาขานัน ้ แล้วอยู่ในระดับ
ชีวิตและสังคมให้ดีขึ้น 2531 ศาสตราจารย์ ดร. สถิตย์ สิริสิงห จุลชีววิทยา มหาวิทยาลัยมหิดล
ใด มี Publication credit มากน้อยเพียงใด โดยพิจารณา
Gross publication credit และ Net publication 1988 Professor Dr. Stitaya Sirisinha Microbiology Mahidol University
B.S. (Hons., Jacksonville State),
credit ประกอบด้วย พิจารณาว่างานวิจย ั ทีท
่ �ำได้มก
ี ารตัง้
Ph.D. (Rochester)
โจทย์วจิ ยั อย่างหนักแน่นจริงจังเพียงใด ต้องใช้ความสามารถ
พิเศษหรือไม่ มีการพิจารณาด้านคุณธรรมและความซือ ่ สัตย์ 2532 ศาสตราจารย์ ดร. ถาวร วัชราภัย พฤกษศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ที่มีต่องานวิจัย รวมทั้งมนุษยสัมพันธ์ที่มีต่อผู้อื่น 1989 Professor Dr. Thavorn Vajrabhaya Botany Chulalongkorn University
B.S. (Cornell), Ph.D. (Cornell)
2533 รองศาสตราจารย์ สดศรี ไทยทอง ชีววิทยา (สัตววิทยา) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
1990 Associate Professor Sodsri Thaithong Biology Chulalongkorn University
B.Sc. (Hons., Chulalongkorn), M.Sc. (Mahidol) (Zoology)
ศาสตราจารย์ ดร. วิสุทธิ์ ใบไม้ ชีววิทยา มหาวิทยาลัยมหิดล
(พันธุศาสตร์)
Professor Dr. Visut Baimai B.Sc. (Hons., Biology Mahidol University
Queensland), Ph.D. (Queensland) (Genetics)
76 นักวิทยาศาสตร์ดีเด่น ประจำ�ปี 2561 2018 OUTSTANDING SCIENTIST AWARDS 77

ปี พ.ศ. ชื่อ สาขาวิชา สถาบัน ปี พ.ศ. ชื่อ สาขาวิชา สถาบัน


Year Name Field Institution Year Name Field Institution
2534 ศาสตราจารย์ ดร. ไพรัช ธัชยพงษ์ วิทยาศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า 2542 ศาสตราจารย์ ดร. วันเพ็ญ ชัยคำ�ภา วิทยาภูมิคุ้มกัน มหาวิทยาลัยมหิดล
คอมพิวเตอร์ เจ้าคุณทหารลาดกระบัง 1999 Professor Dr. Wanpen Chaicumpa Immunology Mahidol University
1991 Professor Dr. Pairash Thajchayapong Computer King Mongkut’s Institute of D.V.M. (Hons., Kasetsart), Ph.D. (Adelaide)
B.Sc. (Hons., London), Ph.D. (Cambridge) Science Technology Ladkrabang 2543 ศาสตราจารย์ ดร. จงรักษ์ ผลประเสริฐ วิศวกรรม สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย
2535 ศาสตราจารย์ ดร. อมเรศ ภูมิรัตน เทคโนโลยีชีวภาพ มหาวิทยาลัยมหิดล สิ่งแวดล้อม
1992 Professor Dr. Amaret Bhumiratana Biotechnology Mahidol University 2000 Professor Dr. Chongrak Polprasert Environmental Asian Institute of
B.Sc. (Hons., U.C. at Davis), Ph.D. B.Sc. (Chulalongkorn), Ph.D. (Washington) Engineering Technology
(Michigan State)
ศาสตราจารย์ ดร. สมชาติ โสภณรณฤทธิ์ เทคโนโลยีพลังงาน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี
2536 ศาสตราจารย์ ดร. ณัฐ ภมรประวัติ วิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล พระจอมเกล้าธนบุรี
การแพทย์
Professor Dr. Somchart Soponronnarit Energy King Mongkut’s University
1993 Professor Dr. Natth Bhamarapravati Medical Mahidol University
B.Eng. (Hons., Khon Kaen), Dr.-lng. (ENSAT) Technology of Technology Thonburi
M.D. (Siriraj), D.Sc. (Pennsylvania) Science
2544 รองศาสตราจารย์ ดร. เกตุ กรุดพันธ์ เคมีวิเคราะห์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
2537 ศาสตราจารย์นายแพทย์ วิศิษฏ์ สิตปรีชา วิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
การแพทย์ 2001 Associate Professor Dr. Kate Grudpan Analytical Chiang Mai University
1994 Professor Dr. Visith Sitprija Medical Chulalongkorn University B.S. (Chiang Mai), Ph.D. Chemistry
M.D. (Medical Science), Ph.D. (Colorado) Science (Liverpool John Moores)
ศาสตราจารย์นายแพทย์ อารี วัลยะเสวี วิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล 2545 ศาสตราจารย์ ดร. ม.ร.ว.ชิษณุสรร สวัสดิวัตน์ ชีวเคมี มหาวิทยาลัยมหิดล
การแพทย์ 2002 Professor Dr. M.R. Jisnuson Svasti Biochemistry Mahidol University
Professor Dr. Aree Valyasevi Medical Mahidol University B.A. (Hons., Cambridge), Ph.D. (Cambridge)
M.D. (Siriraj), D.Sc. (Pennsylvania) Science ศาสตราจารย์นายแพทย์ สุทัศน์ ฟู่เจริญ วิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
2538 ศาสตราจารย์ ดร. ประเสริฐ โศภน เซลล์ชีววิทยา มหาวิทยาลัยมหิดล การแพทย์
1995 Professor Dr. Prasert Sobhon Cell Biology Mahidol University Professor Dr. Suthat Fucharoen Medical Mahidol University
B.Sc. (Western Australia), Ph.D. (Wisconsin) M.D. (Chiang Mai) Science
2539 ศาสตราจารย์ ดร. วัลลภ สุระกำ�พลธร ฟิสิกส์เชิง สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า 2546 รองศาสตราจารย์ ดร. จำ�รัส ลิ้มตระกูล เคมี มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
คณิตศาสตร์ เจ้าคุณทหารลาดกระบัง 2003 Associate Professor Dr. Jumras Limtrakul Chemistry Kasetsart University
1996 Professor Dr. Wanlop Surakampontorn Mathematical King Mongkut’s Institute of B.Sc. (Khon Kaen), Ph.D. (Innsbruck)
B.Eng. (KMITL), Ph.D. (Kent at Canterbury) Physics Technology Ladkrabang
รองศาสตราจารย์ ดร. สุพจน์ หารหนองบัว เคมี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
2540 รองศาสตราจารย์ ดร. ประพนธ์ วิไลรัตน์ ชีวเคมี มหาวิทยาลัยมหิดล
Associate Professor Dr. Supot Hannongbua Chemistry Chulalongkorn University
1997 Associate Professor Dr. Prapon Wilairat Biochemistry Mahidol University B.Sc. (Khon Kaen), Ph.D. (Innsbruck)
B.Sc. (Hons., A.N.U.), Ph.D. (Oregon)
2547 ศาสตราจารย์นายแพทย์ ธีระวัฒน์ เหมะจุฑา วิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ศาสตราจารย์นายแพทย์ ยง ภู่วรวรรณ วิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย การแพทย์
การแพทย์
2004 Professor Dr. Thiravat Hemachudha Medical Chulalongkorn University
Professor Dr. Yong Poovorawan Medical Chulalongkorn University
M.D. (Chulalongkorn) Science
M.D. (Chulalongkorn) Science
2548 ศาสตราจารย์นายแพทย์ รัชตะ รัชตะนาวิน วิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
2541 รองศาสตราจารย์ ดร. อภิชาต สุขสำ�ราญ เคมีอินทรีย์ มหาวิทยาลัยรามคำ�แหง
การแพทย์
1998 Associate Professor Organic Ramkhamhaeng University
2005 Professor Dr. Rajata Rajatanavin Medical Mahidol University
Dr. Apichart Suksamrarn Chemistry
M.D. (Mahidol) Science
B.Sc. (Hons., Mahidol), Ph.D. (Cambridge)
ศาสตราจารย์นายแพทย์ บุญส่ง องค์พิพัฒนกุล วิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ศกรณ์ มงคลสุข เทคโนโลยีชีวภาพ มหาวิทยาลัยมหิดล
การแพทย์
Assistant Professor Dr. Skorn Mongkolsuk Biotechnology Mahidol University
Professor Dr. Boonsong Ongphiphadhanakul Medical Mahidol University
Biotechnology Mahidol University
M.D. (Hons., Mahidol) Science
B.Sc. (Hons., London), Ph.D. (Maryland)
78 นักวิทยาศาสตร์ดีเด่น ประจำ�ปี 2561 2018 OUTSTANDING SCIENTIST AWARDS 79

ปี พ.ศ. ชื่อ สาขาวิชา สถาบัน ปี พ.ศ. ชื่อ สาขาวิชา สถาบัน


Year Name Field Institution Year Name Field Institution
2549 ศาสตราจารย์ ดร. ปิยะสาร ประเสริฐธรรม วิศวกรรมเคมี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2555 ศาสตราจารย์ ดร. ปิยะรัตน์ โกวิทตรพงศ์ ประสาท มหาวิทยาลัยมหิดล
2006 Professor Dr. Piyasan Praserthdam Chemical Chulalongkorn University วิทยาศาสตร์
B.Eng. (Chulalongkorn), Dr.-lng. (Toulouse) Engineering 2012 Professor Dr. Piyarat Govitrapong Neuroscience Mahidol University
ศาสตราจารย์ ดร. สมชาย วงศ์วิเศษ วิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี B.Sc. (Mahidol), Ph.D. (Nebraska)
พระจอมเกล้าธนบุรี ศาสตราจารย์นายแพทย์ นิพนธ์ ฉัตรทิพากร สรีรวิทยา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
Professor Dr. Somchai Wongwises Mechanical King Mongkut’s University of ทางไฟฟ้าของหัวใจ
B.Eng. (KMITT), Dr.-lng. (Hannover) Engineering Technology Thonburi Professor Dr. Nipon Chattipakorn Cardiac Chiang Mai University
2550 ศาสตราจารย์ ดร. ยงค์วิมล เลณบุรี คณิตศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล M.D. (Chiang Mai), Ph.D., Electrophysiology
(Alabama at Birmingham)
2007 Professor Dr. Yongwimon Lenbury Mathematics Mahidol University
B.Sc. (Hons., A.N.U.), Ph.D. (Vanderbilt) 2556 ศาสตราจารย์ ดร. โสพิศ วงศ์คำ� ชีวเคมี มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ศาสตราจารย์ ดร. สมพงษ์ ธรรมพงษา คณิตศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2013 Professor Dr. Sopit Wongkham Biochemistry Khon Kaen University
B.Sc. (Hons., Mahidol), Ph.D. (Mahidol)
Professor Dr. Sompong Dhompongsa Mathematics Chiang Mai University
B.Sc. (Srinakharinwirot), รองศาสตราจารย์ ดร. บรรจบ ศรีภา พยาธิชีววิทยา มหาวิยาลัยขอนแก่น
Ph.D. (IIIinois at Urbana-Champaign) Assosiate Rrofessor Banchob Sripa Pathology Khon Kaen University
2551 ศาสตราจารย์ ดร. วัชระ กสิณฤกษ์ วิทยาภูมิคุ้มกัน มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ B.Sc. (Khon Kaen), Ph.D. (Queensland)
2008 Professor Dr. Watchara Kasinrerk Immunology Chiang Mai University 2557 ศาสตราจารย์ ดร. ธวัชชัย ตันฑุลานิ เคมี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
B.Sc. (Chiang Mai), Ph.D. (Boku) 2014 Professor Dr. Thawatchai Tuntulani Chemistry Chulalongkorn University
ศาสตราจารย์นายแพทย์ อภิวัฒน์ มุทิรางกูร วิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย B.Eng. (Chiang Mai), Ph.D. (Texas A&M)
การแพทย์ ศาสตราจารย์ ดร. ธีรยุทธ วิไลวัลย์ เคมี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Professor Dr. Apiwat Mutirangura Medical Chulalongkorn University Professor Dr. Tirayut Vilaivan Chemistry Chulalongkorn University
M.D. (Chiang Mai), Ph.D. (BCM, USA) Science B.Sc. (Hons., Chulalongkorn), D.Phil. (Oxford)
2552 ศาสตราจารย์ ดร. สายชล เกตุษา วิทยาการพืชสวน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 2558 ศาสตราจารย์ ดร. พิมพ์ใจ ใจเย็น ชีวเคมี มหาวิทยาลัยมหิดล
2009 Professor Dr. Saichol Ketsa Horticultural Kasetsart University 2015 Professor Dr. Pimchai Chaiyen Biochemistry Mahidol University
B.Sc. (Kasetsart), Ph.D. (Michigan State) Science B.Sc. (Hons., Prince of Songkla),
ศาสตราจารย์ ดร. อารันต์ พัฒโนทัย วิทยาศาสตร์เกษตร มหาวิทยาลัยขอนแก่น Ph. D. (Michigan)
Professor Dr. Aran Patanothai Agricultural Khon Kaen University 2559 ศาสตราจารย์นายแพทย์ วรศักดิ์ โชติเลอศักดิ์ เวชพันธุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
B.S. (Hons., Kasetsart), Ph.D. (Iowa State) Science 2015 Professor Dr. Vorasuk Shotelersuk Medical Chulalongkorn University
2553 ศาสตราจารย์นายแพทย์ ประเสริฐ เอื้อวรากุล ไวรัสวิทยา มหาวิทยาลัยมหิดล M.D. (Chulalongkorn) Genetics
2010 Professor Dr. Prasert Auewarakul Virology Mahidol University 2560 ศาสตราจารย์พิเศษ ดร. เดวิด รูฟโฟโล ฟิสิกส์ มหาวิทยาลัยมหิดล
M.D. (Mahidol), Ph.D. (Heidelberg) 2017 Professor Dr. David Ruffolo Physics Mahidol University
นายแพทย์ วิศิษฎ์ ทองบุญเกิด โปรตีโอมิกส์ มหาวิทยาลัยมหิดล B.S. (Cincinnati), Ph.D. (Chicago)
Dr. Visith Thongboonkerd Proteomics Mahidol University 2561 ศาสตราจารย์ ดร. อรวรรณ ชัยลภากุล เคมีวิเคราะห์​ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
M.D. (Chiang Mai) 2018 Professor Dr. Orawon Chailapakul Analytical Chulalongkorn University
2554 ศาสตราจารย์ ดร. สุทธวัฒน์ เบญจกุล วิทยาศาสตร์ และ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ B.Sc. (Mahidol), Ph.D. (New Mexico) Chemistry​
เทคโนโลยีอาหาร
2011 Professor Dr. Soottawat Benjakul Food Science Prince of Songkla
B.Sc. (Prince of Songkla), and Technology University
Ph.D. (Oregon State)
80 นักวิทยาศาสตร์ดีเด่น ประจำ�ปี 2561 2018 OUTSTANDING SCIENTIST AWARDS 81

รายนามนักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่
ปี พ.ศ. ชื่อ-สกุล สาขาวิชา สถาบัน
2545 1. ผศ. ดร. มงคล สุขวัฒนาสินิทธิ์ เคมีอินทรีย์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
2. รศ. ดร. ธนัญชัย ลีภักดิ์ปรีดา วิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ปี พ.ศ. ชื่อ-สกุล สาขาวิชา สถาบัน
3. ผศ. ดร. พิชญ์ ศุภผล วิศวกรรมพอลิเมอร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
2534 1. ผศ. ดร. ดุสิต เครืองาม วิศวกรรมไฟฟ้า จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 4. นพ. วรศักดิ์ โชติเลอศักดิ์ พันธุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
2. ดร. จรัญญา เงินประเสริฐศิริ พันธุวิศวกรรม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
2546 1. ดร. จรูญ จักร์มุณี เคมี มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
3. ผศ. ดร. วรชาติ สิรวราภรณ์ ชีววิทยาโมเลกุล มหาวิทยาลัยมหิดล
2. ดร. จิรันดร ยูวะนิยม ชีวเคมี มหาวิทยาลัยมหิดล
4. ผศ. ดร. ศกรณ์ มงคลสุข พันธุวิศวกรรม มหาวิทยาลัยมหิดล
3. ผศ. ดร. พลังพล คงเสรี เคมีอินทรีย์ มหาวิทยาลัยมหิดล
2535 1. ผศ. ดร. สุพจน์ หารหนองบัว เคมี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 4. ดร. วรรณพ วิเศษสงวน วิทยาศาสตร์อาหาร ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยี
2. ดร. สุพรรณ ฟู่เจริญ ชีวเคมี มหาวิทยาลัยขอนแก่น ชีวภาพแห่งชาติ, สวทช.
3. ผศ. ดร. จิระพันธ์ กรึงไกร ชีวเคมี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 5. ผศ. ดร. ศราวุฒิ จิตรภักดี ชีวเคมี มหาวิทยาลัยมหิดล
2536 1. ผศ. ดร. สุรศักดิ์ วงศ์รัตนชีวิน จุลชีววิทยา มหาวิทยาลัยขอนแก่น 6. รศ. ดร. สุทธิชัย อัสสะบำ�รุงรัตน์ วิศวกรรมเคมี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
2. ผศ. วันชัย มาลีวงษ์ ปาราสิตวิทยา มหาวิทยาลัยขอนแก่น 2547 1. ดร. จินตมัย สุวรรณประทีป เทคโนโลยีวัสดุการแพทย์ ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ,
2537 1. ดร. ชนันท์ อังศุธนสมบัติ ชีวเคมี มหาวิทยาลัยมหิดล สวทช.
2. ผศ. ดร. อัญชลี ทัศนาขจร ชีวเคมี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2. ดร. เทียนทอง ทองพันชั่ง เคมี มหาวิทยาลัยมหิดล
3. ดร. สุเจตน์ จันทรังษ์ อิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร 3. ผศ. ดร. พรศักดิ์ ศรีอมรศักดิ์ เทคโนโลยีเภสัชกรรม มหาวิทยาลัยศิลปากร
4. ผศ. ดร. มัลลิกา เจริญสุธาสินี ชีววิทยา มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
2538 1. ผศ. ดร. ศันสนีย์ ไชยโรจน์ ชีวเคมี มหาวิทยาลัยมหิดล
5. ดร. ศรัณย์ สัมฤทธิ์เดชขจร โฟโทนิกส์ ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และ
2. ดร. เกศรา ณ บางช้าง ชีวเคมี มหาวิทยาลัยมหิดล คอมพิวเตอร์แห่งชาติ, สวทช.
2539 1. ผศ. นพ. สิริฤกษ์ ทรงศิวิไล วิทยาภูมิคุ้มกัน มหาวิทยาลัยมหิดล 6. ผศ. ดร. สุพล อนันตา ฟิสิกส์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
2. ผศ. ดร. ประมวล ตั้งบริบูรณ์รัตน์ เคมี (พอลิเมอร์) มหาวิทยาลัยมหิดล
2548 1. ผศ. ดร. พิมพ์ใจ ใจเย็น เคมี มหาวิทยาลัยมหิดล
3. ผศ. ดร. รศนา วงษ์รัตนชีวิน จุลชีววิทยา มหาวิทยาลัยขอนแก่น
2. ผศ. ดร. ยุทธนา ตันติรุ่งโรจน์ชัย เคมี มหาวิทยาลัยมหิดล
4. นพ. อภิวัฒน์ มุทิรางกูร พันธุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
3. รศ. ดร. สุกิจ ลิมปิจำ�นงค์ ฟิสิกส์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
2540 1. ดร. ประสาท กิตตะคุปต์ ชีวเคมี ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยี 2549 1. ผศ. ดร. จูงใจ ปั้นประณต วิศวกรรมเคมี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ชีวภาพแห่งชาติ, สวทช. 2. รศ. ดร. ชนพ ช่วงโชติ พยาธิวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
2. ผศ. ดร. สุภา หารหนองบัว เคมี มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 3. ผศ. ดร. พวงรัตน์ ไพเราะ ฟิสิกส์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
2541 1. ผศ. ดร. ธวัชชัย ตันฑุลานิ เคมี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 4. นพ. วิศิษฎ์ ทองบุญเกิด อายุรศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
2542 5. ผศ. ดร. อภินภัส รุจิวัตร์ เคมี มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
1. ดร. เฉลิมพล เกิดมณี สรีรวิทยา (พืช) ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยี
ชีวภาพแห่งชาติ, สวทช. 2550 1. ผศ. ดร. เฉลิมชนม์ สถิระพจน์ วิศวกรรมสำ�รวจ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
2. ดร. สนอง เอกสิทธิ์ วิทยาศาสตร์พอลิเมอร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2. ผศ. ดร. นวดล เหล่าศิริพจน์ วิศวกรรมเคมี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี
และวิศวกรรม พระจอมเกล้าธนบุรี
2543 1. ผศ. ดร. ธีรยุทธ วิไลวัลย์ เคมีอินทรีย์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 3. ผศ. ดร. วินิช พรมอารักษ์ เคมี มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
2. ผศ. ดร. ทวีชัย อมรศักดิ์ชัย ฟิสิกส์พอลิเมอร์ มหาวิทยาลัยมหิดล 4. ผศ. ดร. สันติ แม้นศิริ ฟิสิกส์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
3. ผศ. ดร. ณรงค์ฤทธิ์ สมบัติสมภพ เทคโนโลยีพอลิเมอร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี 5. ผศ. ดร. อทิตยา ศิริภิญญานนท์ เคมี มหาวิทยาลัยมหิดล
พระจอมเกล้าธนบุรี 6. ดร. อานนท์ ชัยพานิช วัสดุศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
4. ดร. สมชาติ ฉันทศิริวรรณ วัสดุศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2551 1. ผศ. นพ. ดร. นรัตถพล เจริญพันธุ ์ สรีรวิทยา มหาวิทยาลัยมหิดล
5. ผศ. นพ. ประเสริฐ เอื้อวรากุล จุลชีววิทยา มหาวิทยาลัยมหิดล 2. ดร. นราธิป วิทยากร วัสดุศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า
6. ดร. ศิราวุธ กลิ่นบุหงา พันธุศาสตร์ ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยี เจ้าคุณทหารลาดกระบัง
ชีวภาพแห่งชาติ, สวทช. 3. ดร. บุรินทร์ กำ�จัดภัย ฟิสิกส์ มหาวิทยาลัยนเรศวร
2544 1. ผศ. ดร. ชาคริต สิริสิงห พอลิเมอร์ มหาวิทยาลัยมหิดล 4. ผศ. ดร. สาธิต แซ่จึง คณิตศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
2. ผศ. ดร. ธีรเกียรติ์ เกิดเจริญ ควอนตัมฟิสิกส์ มหาวิทยาลัยมหิดล 5. ผศ. ดร. อาทิวรรรณ โชติพฤกษ์ วิศวกรรมเคมี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
3. ผศ. ดร. รุ่งนภา ศรีชนะ เภสัชเคมี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
4. ผศ. ดร. สุทธวัฒน์ เบญจกุล เทคโนโลยีอาหาร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
82 นักวิทยาศาสตร์ดีเด่น ประจำ�ปี 2561 2018 OUTSTANDING SCIENTIST AWARDS 83

คณะกรรมการ
ปี พ.ศ. ชื่อ-สกุล สาขาวิชา สถาบัน มูลนิธิส่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในพระบรมราชูปถัมภ์
2552 1. ผศ. ดร. ธรรมนูญ ศรีทะวงศ์ วิศวกรรมเคมี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
2. ผศ. ดร. สุรัตน์ ละภูเขียว เคมี มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง
3. ผศ. ดร. อมรชัย อาภรณ์วิชานพ วิศวกรรมเคมี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
กรรมการ
2553
1. รศ. ดร. ศักรินทร์ ภูมิรัตน ประธานกรรมการ
1. ดร. เครือวัลย์ จันทร์แก้ว ธรณีวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
2. ดร. ชนากานต์ พรมอุทัย พืชไร่ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
2. ศ.ดร. ยงยุทธ ยุทธวงศ์ กรรมการ
3. ดร. บรรจง บุญชม เคมี สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า
3. รศ. ดร. กำ�จัด มงคลกุล กรรมการ
เจ้าคุณทหารลาดกระบัง วิทยาเขตชุมพร 4. ศ. ดร. วันเพ็ญ ชัยคำ�ภา กรรมการ
4. ดร. วีระวัฒน์ แช่มปรีดา ชีวเคมี ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยี 5. รศ. ดร. คุณหญิงสุมณฑา พรหมบุญ กรรมการ
ชีวภาพแห่งชาติ, สวทช. 6. ศ. นพ. วิจารณ์ พานิช กรรมการ
5. ผศ. ดร. สอาด ริยะจันทร์ พอลิเมอร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 7. ศ. ดร. ไพรัช ธัชยพงษ์ กรรมการ
6. ดร. อุรชา รักษ์ตานนท์ชัย นาโนเทคโนโลยี ศูนย์นาโนเทคโนโลยีแห่งชาติ, สวทช. 8. ศ. ดร. อภิชาต สุขสำ�ราญ กรรมการ
9. รศ. ดร. กำ�ธร ธีรคุปต์ กรรมการ
2554 1. ดร. ขจรศักดิ์ เฟื่องนวกิจ วิศวกรรมเคมี ศูนย์นาโนเทคโนโลยีแห่งชาติ, สวทช. 10. ผศ. บัวรอง ลิ่วเฉลิมวงศ์ กรรมการ
2. ผศ. ดร. ปิติ จันทร์วรโชติ เซลล์ชีววิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
11. ดร. กัญญวิมว์ กีรติกร กรรมการ
3. รศ. ดร. ยงยุทธ หล่าศิริถาวร ฟิสิกส์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
12. ศ. ดร. จำ�รัส ลิ้มตระกูล กรรมการและประธานกรรมการรางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่น
4. ดร. ยุทธนันท์ บุญยงมณีรัตน์ วัสดุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
13. นสพ. รุจเวทย์ ทหารแกล้ว กรรมการและประธานกรรมการรางวัลนักเทคโนโลยีดีเด่น
2555 1. ดร. วรวัฒน์ มีวาสนา ฟิสิกส์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี 14. รศ. ดร. ทิพาพร ลิมปเสนีย์ กรรมการและเหรัญญิก
2. ดร. สิทธิโชค ตั้งภัสรเรือง ชีววิทยาโมเลกุลของพืช ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยี 15. ศ. ดร. ยอดหทัย เทพธรานนท์ กรรมการและเลขานุการ
ชีวภาพแห่งชาติ, สวทช.
3. ผศ. ดร. สัมฤทธิ์ วัชรสินธุ์ เคมีอินทรีย์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
2556 1. ผศ. นพ. ดร. ฉัตรชัย เหมือนประสาท สรีรวิทยา มหาวิทยาลัยมหิดล
ที่ปรึกษา
2. ผศ. ดร. ดวงกมล เบ้าวัน คณิตศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล 1. นายกสมาคมวิทยาศาสตร์แห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์
3. ดร. ประสิทธิ์ ทองใบ ฟิสิกส์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 2. ผู้อำ�นวยการสำ�นักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
4. ผศ. ดร. วิทยา เงินแท้ เคมี มหาวิทยาลัยขอนแก่น 3. ผู้อำ�นวยการสำ�นักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
2557
4. เลขาธิการสำ�นักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรมแห่งชาติ
1. ผศ. ดร. ทรงยศ นาคอริยกุล วิศวกรรมไฟฟ้า มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
5. ผู้อำ�นวยการสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
2. ผศ. ดร. ธงไทย วิฑูรย์ วิศวกรรมเคมี มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
3. ดร. ปริญญา การดำ�ริห์ ฟิสิกส์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
6. ดร. กอปร กฤตยากีรณ
4. ดร. มนตรี สว่างพฤกษ์ วิศวกรรมเคมี มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
7. ดร. อาชว์ เตาลานนท์
8. คุณยุทธนา เจียมตระการ
2558 1. ผศ. ดร. นงลักษณ์ มีทอง ฟิสิกส์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
2. ดร. เพียงพักตร์ สุขรักษ์ ชีววิทยา มหาวิทยาลัยบูรพา
3. รศ. ดร. วุฒิชัย เอื้อวิทยาศุภร เคมี มหาวิทยาลัยมหิดล ผู้ช่วยกรรมการ
2559 1. ผศ. ดร. การุณ ทองประจุแก้ว วิทยาศาสตร์ชีวภาพ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 1. คุณวิมลพร ใบสนธิ์
2. ผศ. ดร. พนิดา สุรวัฒนาวงศ์ เคมี มหาวิทยาลัยมหิดล 2. คุณบำ�รุง ไตรมนตรี
3. ผศ. ดร. ศิริลตา ยศแผ่น เคมี มหาวิทยาลัยมหิดล
4. ผศ. ดร. อติพร แซ่อึ้ง ชีววิทยา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
2560 1. รศ. ดร. เบญจพล เฉลิมสินสุวรรณ เคมีเทคนิค จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
2. ผศ. ดร. บูรภัทร์ อินทรีย์สังวร เคมี มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
3. ผศ. ดร. วโรดม เจริญสวรรค์ ชีวเคมี มหาวิทยาลัยมหิดล
4. ผศ. ดร. วิบุญ ตั้งวโรดมนุกูล วิศวกรรมอุตสาหการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี
พระจอมเกล้าธนบุรี
2561 1. ผศ.ดร. เจ้าทรัพย์ บุญมาก เคมี มหาวิทยาลัยขอนแก่น
2. ดร.จุฬารัตน์ วัฒนกิจ เคมี สถาบันวิทยสิริเมธี
84 นักวิทยาศาสตร์ดีเด่น ประจำ�ปี 2561

ประธานคณะกรรมการมูลนิธิส่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในพระบรมราชูปถัมภ์
1. นายบุญเยี่ยม มีศุข 2526 - 2538
2. ศ. ดร. สิปปนนท์ เกตุทัต 2539 - 2549
3. ดร. กอปร กฤตยากีรณ 2549 - 2554
4. ศ. ดร. ยงยุทธ ยุทธวงศ์ 2554 – 2557
5. รศ. ดร. ศักรินทร์ ภูมิรัตน 2557 - ปัจจุบัน

ประธานคณะกรรมการรางวัลนักวิทยาศาสตร์ดีเด่น
1. ศ. ดร. สิปปนนท์ เกตุทัต 2525 - 2535
2. ดร. กอปร กฤตยากีรณ 2536 - 2538
3. ศ. ดร. ยงยุทธ ยุทธวงศ์ 2539 - 2542
4. ศ. นพ. วิจารณ์ พานิช 2543 - 2546
5. ศ. ดร. ยอดหทัย เทพธรานนท์ 2547 - 2553
6. ศ. ดร. อมเรศ ภูมิรัตน 2554 - 2557
7. ศ. ดร. จำ�รัส ลิ้มตระกูล 2558 - ปัจจุบัน

ประธานคณะกรรมการรางวัลนักเทคโนโลยีดีเด่น
1. ดร. วิโรจน์ ตันตราภรณ์ 2544 - 2548
2. ศ. นพ. สิริฤกษ์ ทรงศิวิไล 2549 - 2553
3. รศ. ดร. ศักรินทร์ ภูมิรัตน 2554 - 2557
4. นสพ. รุจเวทย์ ทหารแกล้ว 2558 - ปัจจุบัน

You might also like