Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 30

การเสนอหลักสูตรเพื่อการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา

สายงานการสอน ครั้งที่ ๑/๒๕๖๑

ชือ่ หลักสูตร

การจัดกิจกรรมการเรียนรู้สาหรับครู 4.0 : ภาษาไทยระดับมัธยมศึกษาตอนต้น


Learning Activity for Teachers 4.0: Thai Language
(Lower Secondary Education)

เสนอต่อ

สถาบันคุรุพัฒนา สานักงานเลขาธิการคุรุสภา

ภาควิชาการจัดการเรียนรู้
คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
รหัสหน่วยพัฒนา 1420101900109
Email Address : g5479sirawanja@kurupatana.ac.th
1

1. ชื่อหลักสูตร
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้สาหรับครู 4.0 : ภาษาไทยระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
Learning Activity for Teachers 4.0: Thai Language (Lower Secondary Education)

2. ระดับความลุ่มลึกของหลักสูตร
 ระดับพื้นฐาน (Basic level) จานวน 20 ชั่วโมง
3. ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
3.1 นางสาววัฒนพร จตุรานนท์ (ประธาน)
- International Masters in ASEAN Studies (ASEAN Studies)
University of Malaya พ ศ.2554 ประเทศมาเลเซีย
- กศ.บ. (การสอนภาษาอังกฤษ) มหาวิทยาลัยบูรพา พ.ศ. 2551
ปัจจุบัน อาจารย์ประจาภาควิชาการจัดการเรียนรู้ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
ติดต่อได้ที่ Line ID : @teacherbuu E-mail : g5479sirawanja@kurupatana.ac.th
โทร. 038-102065, 080-0962628 Website : http://teacher-edu.buu.ac.th
3.2 นางนริสา เจริญผล (กรรมการ)
- กศ.ม. (การบริหารการศึกษา) มหาวิทยาลัยบูรพา พ.ศ.2555
- ศศ.บ. (การจัดการทั่วไป) สถาบันราชภัฏราชนครินทร์ พ.ศ.2539
ปัจจุบัน นักวิชาการศึกษาชานาญการ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
ติดต่อได้ที่ Line ID : @teacherbuu E-mail : g5479sirawanja@kurupatana.ac.th
โทร. 038-102065 Website : http://teacher-edu.buu.ac.th
4. พื้นฐานและเงื่อนไขของครูที่จะรับการพัฒนาตามหลักสูตร
3.1 ผู้เข้ารับการพัฒนาต้องสาเร็จการศึกษาสาขาที่เกี่ยวข้องกับภาษาไทย หรือ มีประสบการณ์สอน
ภาษาไทย อย่างน้อย 1 ปี
3.2 ผู้เข้ารับการพัฒนาต้องสามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในชีวิตประจาวันได้ เช่น E-mail, Line,
Internet, Facebook
3.3 ผู้เข้ารับการพัฒนาต้องสามารถนาโทรศัพท์มือถือที่เชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตมาใช้ได้ตลอดการอบรม
3.4 ผู้เข้ารับการพัฒนาต้องเห็นความสาคัญของการพัฒนาตนเองให้เป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้
5. คาสาคัญ (Keyword)
4.1 การจัดกิจกรรมการเรียนรู้
4.2 ครู 4.0
4.3 ภาษาไทย
4.4 มัธยมศึกษาตอนต้น
4.5 การสอนในศตวรรษที่ 21
2

6. หลักการและที่มาของหลักสูตร
ภาษาไทยเป็ น เอกลั ก ษณ์ ของชาติ เป็ นสมบัติ ทางวัฒ นธรรมอัน ก่ อให้ เกิ ดความเป็ น เอกภาพและ
เสริมสร้างบุคลิกภาพของคนในชาติให้มีความเป็นไทย เป็นเครื่องมือในการติดต่อสื่อสารเพื่อสร้างความเข้าใจ
และความสั ม พั น ธ์ ที่ ดี ต่ อ กั น ท าให้ ส ามารถประกอบกิ จ ธุ ร ะ การงาน และด ารงชี วิ ต ร่ ว มกั น ใ นสั ง คม
ประชาธิปไตยได้อย่างสันติสุข และเป็น เครื่องมือในการแสวงหาความรู้ ประสบการณ์จากแหล่งข้อมูลสารสนเทศ
ต่างๆ เพื่อพัฒนาความรู้ พัฒนากระบวนการคิดวิเคราะห์ วิจารณ์ และสร้างสรรค์ให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงทาง
สังคม และความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี ตลอดจนนาไปใช้ในการพัฒนาอาชีพให้มีความมั่นคงทาง
เศรษฐกิจ นอกจากนี้ยังเป็นสื่อแสดงภูมิปัญญาของบรรพบุรุษด้านวัฒนธรรม ประเพณี และสุนทรียภาพ
เป็นสมบัติล้าค่าควรแก่การเรียนรู้ อนุรักษ์ และสืบสานให้คงอยู่คู่ชาติไทยตลอดไป
การสร้างสิ่งแวดล้อมการเรียนภาษาให้เร้าใจ มีกิจกรรมเคลื่อนไหว รวมถึงการใช้สื่อ ประกอบที่เป็น
ภาพและของจริง ตลอดจนจัดการเรียนรู้นอกชั้นเรียน จะเพิ่มบรรยากาศการเรียนรู้ สู่ผลลัพธ์ที่ดี อีกทั้งการใช้
สื่อ ICT จะช่วยอานวยความสะดวกในการสอน และเพิ่มประสิทธิภาพการเรียนรู้ สามารถนาสถานการณ์
เสมือนจริงเข้ามาประกอบในบทเรียนได้ และออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอน ได้อย่างหลากหลาย
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้ศึกษาปัญหาการจัดการเรียนการสอนของโรงเรียน
ทั่วประเทศ พบปัญหาด้านการเรียนรู้ของผู้เรียน และ ปัญหาด้านวิธีการจัดการเรียนการสอนของครู โดย
ปัญหาด้านการเรียนรู้ของนักเรียนที่พบปัญหามากที่สุดถึงน้อยที่สุดตามลาดับ คือ นักเรียนขาดแรงจูงใจ ขาด
ความกระตือรือร้นในการเรียน นักเรียนมาจากครอบครัวที่ขาดความพร้อม ขาดความเอาใจใส่ มีปัญหา
นักเรียนขาดทักษะการคิดวิเคราะห์ นักเรียนไม่กล้าแสดงความคิดเห็น นักเรียนมีพื้นฐานความรู้ที่แตกต่างกัน
นักเรียนมีปัญหาการอ่านเขียนและสื่อสารภาษาไทย และนักเรียนมีจานวนมากเกินไป ปัญหาด้านวิีการ ธิ
เรียนการสอนของครูที่พบปัญหามากที่สุดถึงน้อยที่สุดตามลาดับ คือ ครูขาดเทคนิควิธีการสอนที่ถูกต้อง
เหมาะสมทันสมัย ขาดครู ครูไม่ครบชั้น ครูมีภาระงานมากเกินไป ครูขาดทักษะด้าน IT และเทคโนโลยี และ
ขาดสื่ออุปกรณ์
จากปัญหาด้านครูผู้สอน จะเห็นได้ว่าปัญหาที่พบมากที่สุดคือ ครูขาดเทคนิควิธีการสอนที่ถูกต้อง
เหมาะสมทันสมัย ดังนั้นจึงควรพัฒนาครูสอนภาษาไทยระดับมัธยมศึกษาตอนต้นให้มีความรู้ ความเข้าใจ
สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ได้แก่ การอ่าน การเขียน การฟัง การดู และการพูด หลักการใช้ภาษาไทย
วรรณคดีและวรรณกรรม ให้ได้รับการพัฒนาเทคนิคการสอนที่หลากหลาย พร้อมทั้งมีการฝึกปฏิบัติให้ครูจัด
กิจกรรมการเรียนรู้ภาษาไทยที่ทันสมัย
นอกจากนี้ สถาบันคุรุพัฒนา สานักงานเลขาธิการคุรุสภา ได้สารวจความต้องการพัฒนาตนเองของ
ครูผู้สอน พบว่า ครูผู้สอนจานวนมากมีความต้องการพัฒนาตนเองในด้านวิธีสอน ถ่ายทอดความรู้เชิงเนื้อหา
กิจกรรม บริบท เป้าหมายการเรียนรู้ ความรู้พื้นฐาน การปรับพื้นฐาน และอุปสรรคการเรียนรู้ของผู้เรียน การ
ใช้เทคโนโลยีและสื่อนวัตกรรมการเพื่อการเรียนรู้การจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการ การจัดการเรียนการ
สอน STEM การบูรณาการข้ามศาสตร์ที่มากกว่าสองศาสตร์ และ การจัดการศึกษา 4.0
ภาควิชาการจัดการเรียนรู้ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา เห็นความสาคัญในการพัฒนาครู
สอนภาษาไทยระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ให้เป็นครูยุค 4.0 เพราะครูในยุค 1.0 ครู 2.0 หรือ ครู 3.0 เป็นครูที่
มุ่งมั่นทาให้นักเรียนเรียนรู้ เข้าใจ และสามารถนาความรู้ไปใช้ในการแก้ปัญหาและใช้ในชีวิตประจาวันได้
เท่านั้น แต่ในปัจจุบันเมื่อก้าวย่างเข้าสู่ศตวรรษที่ 21 ซึ่งเป็นยุคที่มนุษย์และปัญญาประดิษฐ์ร่วมกันพัฒนา
3

นวัตกรรมด้านต่างๆ ได้รวดเร็วเกินคาด ดังนั้น การพัฒนาครูสอนภาษาไทยระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ให้


สามารถจัดกิจกรรมการเรียนรู้สาหรับครู 4.0 ได้ ย่อมเป็นการส่งเสริมให้ผู้เรียนมีทักษะในศตวรรษที่ 21 ด้วย

7. วัตถุประสงค์หลักสูตร
ด้านความรู้ (Knowledge)
1. มีความรู้และทักษะในกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยอย่างบูรณาการ
2. อธิบายบทบาทครู 4.0 ได้
3. อธิบายหลักการสอนและกระบวนการจัดการเรียนรู้วิชาภาษาไทยระดับมัธยมศึกษาตอนต้นโดยใช้
เทคนิคการสอนในศตวรรษที่ 21 ได้
4. อธิบายหลักการใช้สื่อการเรียนรู้และเทคโนโลยีสารสนเทศในการกระตุ้นความใฝ่รู้แก่ผู้เรียนได้
ด้านทักษะปฏิบัติ (Skill)
5. สามารถออกแบบและจัดทาแผนการเรียนรู้วิชาภาษาไทยในระดับมัธยมศึกษาตอนต้นโดยใช้เทคนิค
การสอนในศตวรรษที่ 21 ได้
6. สามารถใช้สื่อการเรียนรู้และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้วิชาภาษาไทยได้
ด้านคุณลักษณะความเป็นครู (Attitude/Attribute)
7. สามารถพัฒนาและปรับปรุงตนเองเพื่อเป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ได้
8. มีวินัยและความรับผิดชอบในการร่วมกิจกรรม

8. ตัวชี้วัดความสาเร็จของการเรียนรู้ของครู
8.1 ผ่านการทดสอบความรู้ด้วยแบบทดสอบหลังอบรม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 ของคะแนน (K)
8.2 มีคะแนนการปฏิบัติกิจกรรมระหว่างอบรม การออกแบบ การเขียนแผน และการใช้สื่อไม่น้อย
กว่าร้อยละ 60 ของคะแนน (S)
8.3 มีเวลาเข้าร่วมการอบรมตามหลักสูตรไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 ของเวลาอบรม (A)

9. กรอบแนวคิดของหลักสูตร
หลักสูตรพัฒนาครู “การจัดกิจกรรมการเรียนรู้สาหรับครู 4.0 : ภาษาไทยระดับมัธยมศึกษาตอนต้น”
เป็นหลักสูตรฝึกอบรมแบบผสมผสาน (Blended Training) โดยมีการเข้ารับการพัฒนากับคณะวิทยากรแบบ
เผชิญหน้า(Face to Face) และนาเทคโนโลยีมาผสมผสานในการเรียนรู้ผ่านเทคโนโลยีด้วยตนเองตาม
ประเด็นที่หลักสูตรกาหนด ซึ่งสามารถลดระยะเวลาในการเข้าชั้นเรียน และค่าใช้จ่ายในการเดินทาง รวมทั้ง
ยังสามารถเรียนรู้ได้ทุกที่ที่เทคโนโลยีเข้าถึง มีวัตถุประสงค์หลักสูตรเพื่อพัฒนาครูภาษาไทยระดับมัธยมศึกษา
ตอนต้นอย่างรอบด้าน ทั้งด้านความรู้ (Knowledge) ด้านทักษะปฏิบัติ (Skill) และ ด้านคุณลักษณะความ
เป็นครู (Attitude/Attribute)
คุณสมบัติของผู้เข้ารับการพัฒนา คือ ต้องสาเร็จการศึกษาสาขาที่เกี่ยวข้องกับภาษาไทย หรือ มี
ประสบการณ์สอนภาษาไทย อย่างน้อย 1 ปี สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในชีวิตประจาวันได้ เช่น
E-mail, Line, Internet, Facebook สามารถนาโทรศัพท์มือถือที่เชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต (Smartphone)
มาใช้ได้ตลอดการอบรม และต้องเป็นผู้เห็นความสาคัญของการพัฒนาตนเองให้เป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้
4

การพัฒนาครูตามหลักสูตรระดับพื้นฐาน จานวน 20 ชั่วโมง เริ่มจากการเรียนรู้ผ่าน E-Learning


จานวน 6 ชั่วโมง เป็นการศึกษาและฝึกปฏิบัติการสมัครเป็นสมาชิกและขออีเมลสถาบันคุรุพัฒนา และศึกษา
บทบาทครูยุค 4.0 จากนั้นจึงเข้ารับการพัฒนา ณ หน่วยพัฒนา อีก 14 ชั่วโมง เกี่ยวกับสาระการเรียนรู้
บูรณาการภาษาไทยระดับมัธยมศึกษาตอนต้น การอ่าน การเขียน การฟัง การดู และการพูด การใช้ภาษาไทย
วรรณคดีและวรรณกรรม เทคนิคการสอนในศตวรรษที่ 21 การออกแบบและพัฒนาแผนการสอนสาหรับครู
4.0 การใช้สื่อและเทคโนโลยีสาหรับครู 4.0 ซึง่ มีกิจกรรมการบรรยาย การฝึกปฏิบัติ กิจกรรมการบูรณาการ
ในรูปแบบการจัดการเรียนการสอนที่บูรณาการการสอนเนื้อหาสาระเฉพาะและ การหลอมรวมเทคโนโลยี
สารสนเทศเข้ากับการสอนเนื้อหาสาระเฉพาะ (Technological Pedagogical Content Knowledge :
TPCK ) เพื่อนาผลการปฏิบัติสู่การพัฒนานักเรียน มีกิจกรรมการสร้างปฏิสัมพันธ์ระหว่างครูที่เข้ารับการ
พัฒนาและกับคณะวิทยากร
หลังการอบรมครูสอนภาษาไทยระดับมัธยมศึกษาตอนต้น 4.0 จะได้รับการพัฒนาให้เป็นบุคคลแห่ง
การเรียนรู้ผู้มีเทคนิคการสอนในศตวรรษที่ 21 ใช้สื่อการเรียนรู้และเทคโนโลยีสารสนเทศในการกระตุ้นความ
ใฝ่รู้ภาษาไทยและส่งเสริมให้ผู้เรียนมีทักษะภาษาไทยและมีทักษะในศตวรรษที่ 21 อีกทั้งมีกิจกรรมการติดตาม
สะท้อนคิดระหว่างครูที่เข้ารับการพัฒนาและคณะวิทยากรผ่าน google classroom เพื่อเชื่อมโยงความรู้สู่
การพัฒนาวิชาชีพด้วยกระบวนการชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) อย่างต่อเนื่อง กรอบแนวคิดของ
หลักสูตรแสดงดังภาพที่ 1
5

ภาพที่ 1 กรอบแนวคิดของหลักสูตร
6

10. สาระการพัฒนา
1) การสมัครเป็นสมาชิกและขออีเมลสถาบันคุรุพัฒนา
ความคิดรวบยอด
การสมัครเป็นสมาชิกและขออีเมลสถาบันคุรุพัฒนา ครูผู้สามารถใช้เป็นช่องทางและเครื่องมือในการ
ทางานร่วมกันภายใต้กรอบแนวคิดชุมชนการเรียนรู้วิชาชีพ และใช้เครื่องมือเพื่อการสร้างแฟ้มสะสมงานของ
ตนเองเป็นรายบุคคล อีกทั้งยังได้รับข้อมูลข่าวสารทางการศึกษาที่ทันสมัย ทันเหตุการณ์ ทันการเปลี่ยนแปลง
จากสถาบันคุรุพัฒนา
กระบวนการอบรม
กิจกรรมการบรรยายผ่าน E-Learning
กิจกรรมการฝึกปฏิบัติ TPCK
กิจกรรมการสร้างปฏิสัมพันธ์ระหว่างครูที่เข้ารับการพัฒนาและกับคณะวิทยากร
กิจกรรมการติดตาม สะท้อนคิดระหว่างครูที่เข้ารับการพัฒนาและคณะวิทยากร หลังการอบรม
การเชื่อมโยงความรู้สู่การพัฒนาวิชาชีพด้วยกระบวนการชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC)
2) บทบาทครูยุค 4.0
ความคิดรวบยอด
ครูยุค 4.0 คือ ครูที่สามารถการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับพฤติกรรมของผู้เรียนที่เปลี่ยนไป
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่เป็นเครื่องกระตุ้นการเรียนรู้ มุ่งเน้นให้ผู้เรียนสร้างสรรค์นวัตกรรมการ
เรียนรู้ที่จะทาให้นักเรียนได้รับทักษะที่จาเป็นสาหรับศตวรรษที่ 21 จึงเป็นยุคที่ต้องปรับกระบวนการของการ
เรียนการสอน การออกแบบการจัดการเรียนรู้พัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้ที่ผ่านเทคโนโลยี สร้างนวัตกรรม
กิจกรรมการเรียนรู้ที่มุ่งเน้นการริเริ่มสร้างสรรค์สื่อนวัตกรรมการเรียนรู้ที่เหมาะกับผู้เรียนอย่างต่อเนื่องเพื่อ
สร้างเสริมทักษะในศตวรรษที่ 21 สาหรับผู้เรียนให้สอดคล้องรองรับโมเดล Thailand 4.0
กระบวนการอบรม
กิจกรรมการบรรยายผ่าน E-Learning

3) สาระการเรียนรู้บูรณาการภาษาไทยระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
ความคิดรวบยอด
สาระการเรียนรู้บูรณาการภาษาไทย เป็นการบูรณาการการอ่าน การเขียน การฟัง การดู และการพูด
หลักการใช้ภาษาไทย วรรณคดีและวรรณกรรม ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
กระบวนการอบรม
กิจกรรมการบรรยาย
กิจกรรมการฝึกปฏิบัติ TPCK
การปฏิบัติสู่การพัฒนานักเรียนจริง
กิจกรรมการสร้างปฏิสัมพันธ์ระหว่างครูที่เข้ารับการพัฒนาและกับคณะวิทยากร
4) เทคนิคการสอนในศตวรรษที่ 21
ความคิดรวบยอด
เทคนิคการสอนในศตวรรษที่ 21 เป็นการจัดกิจกรรมการเรียนรู้สาหรับครู 4.0 กลุ่มสาระการเรียนรู้
ภาษาไทยระดับมัธยมศึกษาตอนต้น เพราะเป็นการพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนที่สอดคล้องกับพฤติกรรม
7

ของผู้เรียนที่เปลี่ยนไปการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่เป็นเครื่องกระตุ้นการเรียนรู้ มุ่งเน้นให้ผู้เรียน
สร้างสรรค์นวัตกรรมการเรียนรู้ที่จะทาให้นักเรียนได้รับทักษะที่จาเป็นสาหรับศตวรรษที่ 21 ซึ่งทักษะที่สาคัญ
ของผู้เรียน คือ 3R และ 8C มาประยุกต์ใช้ในการจัดกิจกรรมการการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับธรรมชาติของกลุ่ม
สาระการเรียนรู้ภาษาไทยในระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ซึ่งประกอบด้วย การอ่าน การเขียน การฟัง การดู และ
การพูด หลักการใช้ภาษาไทย วรรณคดีและวรรณกรรม มุง่ เน้นทักษะที่สาคัญคือความสามารถในการอ่าน
การเขียน การรคิดวิเคราะห์ แก้ปัญหา คิดสร้างสรรค์ เรียนรู้และการทางานร่วมกันเป็นทีม การสร้างนวัตกรรม
จากการเรียนรู้ การสื่อสาร และการรู้เท่าทันสื่อ สามารถใช้ภาษาที่เป็นภาษาสากลในการสื่อสารได้และใช้
ช่องทาง/เครื่องมือสื่อสารต่าง ๆ
กระบวนการอบรม
กิจกรรมการบรรยาย
กิจกรรมการบูรณาการและการหลอมรวม TPCK
กิจกรรมการสร้างปฏิสัมพันธ์ระหว่างครูที่เข้ารับการพัฒนาและกับคณะวิทยากร

5) การใช้สื่อเทคโนโลยีสาหรับครูภาษาไทย 4.0
ความคิดรวบยอด
การใช้สื่อเทคโนโลยีสาหรับครูในยุค 4.0 นั้นต้องมีการปรับบทบาทจากผู้สอนเป็นสาคัญ
เปลี่ยนเป็นโค้ชและต้องปรับกลยุทธ์การเรียนการสอน เปิดใจ ทาความรู้ความเข้าใจในการใช้สื่อเทคโนโลยี
รู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงของความรู้ที่มีอยู่รอบตัว โดยครูต้องใช้ศักยภาพของไอซีทีเพื่อการสร้างสรรค์
นวัตกรรมการเรียนการสอนโดยการออกแบบและพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้ การประเมินผลด้วยวิธีระบบที่มุ่ง
ให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในลักษณะเชิงรุก (Active Learning) ซึ่งการประยุกต์ใช้ประสิทธิภาพของสื่อเทคโนโลยี
สารสนเทศและการสื่อสารร่วมสมัยในการเสริมสร้างการเรียนรู้ร่วมกันอย่างมีความหมายสาหรับการกระตุ้นให้
ผู้เรียนเกิดการวางแผน การคิด และเชื่อมโยงกับสถานการณ์ปัจจุบันและสิ่งแวดล้อมรอบตัวโดยให้ผู้เรียนเกิด
กระบวนการคิดอย่างรอบด้าน นาไปสู่การพัฒนาผู้เรียนให้มีทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ได้อย่างสมบูรณ์
กระบวนการอบรม
กิจกรรมการบรรยาย
กิจกรรมการฝึกปฏิบัติ TPCK
กิจกรรมการบูรณาการและการหลอมรวม TPCK
การปฏิบัติสู่การพัฒนานักเรียนจริง
กิจกรรมการสร้างปฏิสัมพันธ์ระหว่างครูที่เข้ารับการพัฒนาและกับคณะวิทยากร

6) การฝึกปฏิบัติการออกแบบและจัดทาแผนการเรียนรู้วิชาภาษาไทยในระดับมัธยมศึกษาตอนต้นโดยใช้
เทคนิคการสอนในศตวรรษที่ 21 และ สื่อเทคโนโลยีสาหรับครู 4.0 (TPCK)
ความคิดรวบยอด
การฝึกปฏิบัติการออกแบบและจัดทาแผนการเรียนรู้เป็นการหลอมรวมความรู้และทักษะเพื่อครูสอน
วิชาภาษาไทยในระดับมัธยมศึกษาตอนต้นได้นาเทคนิคการสอนในศตวรรษที่ 21 และ สื่อเทคโนโลยีสาหรับครู
4.0 ไปใช้ในการจัดการเรียนรู้วิชาภาษาไทย
กระบวนการอบรม
8

กิจกรรมการบรรยาย
กิจกรรมการฝึกปฏิบัติ TPCK
กิจกรรมการบูรณาการและการหลอมรวม TPCK
การปฏิบัติสู่การพัฒนานักเรียนจริง
กิจกรรมการสร้างปฏิสัมพันธ์ระหว่างครูที่เข้ารับการพัฒนาและกับคณะวิทยากร
กิจกรรมการติดตาม สะท้อนคิดระหว่างครูที่เข้ารับการพัฒนาและคณะวิทยากร หลังการอบรม
การเชื่อมโยงความรู้สู่การพัฒนาวิชาชีพด้วยกระบวนการชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC)

สัมพันธ์กับประเด็นต่อไปนี้หรือไม่ หากสัมพันธ์ ทาเครื่องหมาย 


 (1) การสอนในศตวรรษที่ 21
 (2) การแก้ปัญหาผู้เรียน
 (3) จิตวิทยาการแนะแนว/จิตวิทยาการจัดการเรียนรู้
 (4) การจัดการชั้นเรียน
 (5) การวิจัยพัฒนาการเรียนการสอน/ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ
 (6) การพัฒนาหลักสูตร
 (7) สะเต็มศึกษา ( STEM Education )
 (8) การใช้สื่อและเทคโนโลยีในการจัดการเรียนรู้
 (9) การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
 (10) การออกแบบการเรียนรู้
 (11) อื่นๆ ที่เป็นศาสตร์ทางการศึกษาและการจัดการเรียนรู้
9

11. ตารางการจัดกิจกรรม

วันที่ เวลา จานวน เรื่อง/สาระการพัฒนา วิทยากร


ชั่วโมง
วันแรก 9.00-12.00 น. 3 - การสมัครเป็นสมาชิกและขอ ดร.สิราวรรณ จรัสรวีวัฒน์
ออนไลน์ อีเมลสถาบันคุรุพัฒนา อ.วัฒนพร จตุรานนท์
ล่วงหน้า 1 อ.เฉลิมเกียรติ ดีสม
สัปดาห์
13.00-16.00 3 - บทบาทครูยุค 4.0 ดร.สิราวรรณ จรัสรวีวัฒน์
น. อ.วัฒนพร จตุรานนท์
ออนไลน์ อ.เฉลิมเกียรติ ดีสม
ล่วงหน้า 1
สัปดาห์
วันที่สอง 8.00-15.00 น. 6 - สาระการเรียนรู้บูรณาการ ผศ.ดร.วิมลรัตน์ จตุรานนท์
ภาษาไทยระดับมัธยมศึกษา ผศ.ดร.ระพิน ชูชื่น
ตอนต้น ดร.ภาสกร พงษ์สิทธากร
15.00-17.00 2 - เทคนิคการสอนในศตวรรษที่ 21 ผศ.ดร.วิมลรัตน์ จตุรานนท์
น. ดร.ภาสกร พงษ์สิทธากร
ดร.สิราวรรณ จรัสรวีวัฒน์
ว่าที่ เรือตรี ดร.อุทิศ บารุงชีพ
อ.ตฤณ ก้านดอกไม้
วันที่สาม 9.00-12.00 น. 3 - การใช้สื่อเทคโนโลยีสาหรับครู ดร.สิราวรรณ จรัสรวีวัฒน์
ภาษาไทย 4.0 ว่าที่ เรือตรี ดร.อุทิศ บารุงชีพ
อ.ตฤณ ก้านดอกไม้
อ.วัฒนพร จตุรานนท์
อ.เฉลิมเกียรติ ดีสม
13.00-16.00 3 - การฝึกปฏิบัติการออกแบบและ ผศ.ดร.วิมลรัตน์ จตุรานนท์
น. จัดทาแผนการเรียนรู้วิชา ผศ.ดร.ระพิน ชูชื่น
ภาษาไทยในระดับมัธยมศึกษา ดร.ภาสกร พงษ์สิทธากร
ตอนต้นโดยใช้เทคนิคการสอนใน ดร.สิราวรรณ จรัสรวีวัฒน์
ศตวรรษที่ 21 และ สื่อเทคโนโลยี ว่าที่ เรือตรี ดร.อุทิศ บารุงชีพ
สาหรับครู 4.0 (TPCK) อ.ตฤณ ก้านดอกไม้
อ.วัฒนพร จตุรานนท์
อ.เฉลิมเกียรติ ดีสม
10

12. แผนการจัดกิจกรรม

วันที่ เวลา เรื่อง/สาระการพัฒนา วัตถุประสงค์หลักสูตร กระบวนการพัฒนา วิทยากร หมายเหตุ


วัน 9.00- การสมัครเป็นสมาชิกและขออีเมล 6. สามารถใช้สื่อการ กิจกรรมการบรรยายผ่าน E- ดร.สิราวรรณ จรัสรวีวัฒน์ รายละเอียด
แรก 12.00 สถาบันคุรุพัฒนา เรียนรู้และเทคโนโลยี Learning อ.วัฒนพร จตุรานนท์ ดัง
ออนไลน์ - ข้อดีของการมีอีเมลของสถาบันคุรุ สารสนเทศเพื่อการ กิจกรรมการฝึกปฏิบัติ อ.เฉลิมเกียรติ ดีสม แผนการจัด
ล่วงหน้า พัฒนา เรียนรู้วิชาภาษาไทยได้ TPCK กิจกรรมที่ 1
1 - วิธีการสมัครสมาชิก (S) กิจกรรมการสร้าง
สัปดาห์ - ขั้นตอนการขออีเมลของสถาบันคุรุ 7. สามารถพัฒนาและ ปฏิสัมพันธ์ระหว่างครูที่เข้า
พัฒนา ปรับปรุงตนเองเพื่อเป็น รับการพัฒนาและกับคณะ
- การยืนยันตัวตน บุคคลแห่งการเรียนรู้ได้ วิทยากร
- การใช้อีเมลกับ google (A) การเชื่อมโยงความรู้สู่การ
classroom 8. มีวินัยและความ พัฒนาวิชาชีพด้วย
รับผิดชอบในการร่วม กระบวนการชุมชนแห่งการ
กิจกรรม (A) เรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC)
13.00- บทบาทครูยุค 4.0 2. อธิบายบทบาทครู กิจกรรมการบรรยายผ่าน E- ดร.สิราวรรณ จรัสรวีวัฒน์ รายละเอียด
16.00 - การจัดการเรียนรู้ในยุค ไทยแลนด์ 4.0 ได้ (K) Learning อ.วัฒนพร จตุรานนท์ ดัง
ออนไลน์ 4.0 6. สามารถใช้สื่อการ อ.เฉลิมเกียรติ ดีสม แผนการจัด
ล่วงหน้า - ความรู้ ทักษะ และคุณลักษณะที่ เรียนรู้และเทคโนโลยี กิจกรรมที่ 2
1 สาคัญของครู 4.0 สารสนเทศเพื่อการ
สัปดาห์ เรียนรู้วิชาภาษาไทยได้
(S)
7. สามารถพัฒนาและ
ปรับปรุงตนเองเพื่อเป็น
11

วันที่ เวลา เรื่อง/สาระการพัฒนา วัตถุประสงค์หลักสูตร กระบวนการพัฒนา วิทยากร หมายเหตุ


บุคคลแห่งการเรียนรู้ได้
(A)
8. มีวินัยและความ
รับผิดชอบในการร่วม
กิจกรรม (A)
วันที่ 8.00- การเรียนรู้บูรณาการภาษาไทย 1. มีความรู้และทักษะใน กิจกรรมการบรรยาย ผศ.ดร.วิมลรัตน์ จตุรานนท์ รายละเอียด
สอง 15.00 - ทักษะการรับสาร การฟังการดู กลุ่มสาระการเรียนรู้ กิจกรรมการฝึกปฏิบัติ ผศ.ดร.ระพิน ชูชื่น ดัง
การอ่าน ภาษาไทยอย่างบูรณา TPCK ดร.ภาสกร พงษ์สิทธากร แผนการจัด
- ทักษะการส่งสาร การพูด การ การ (K) การปฏิบัติสู่การพัฒนา กิจกรรมที่ 3
เขียน นักเรียนจริง
- ทักษะการสื่อสารและการนาเสนอ กิจกรรมการสร้าง
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างครูที่เข้า
รับการพัฒนาและกับคณะ
วิทยากร
15.00- เทคนิคการสอนในศตวรรษที่ 21 3. อธิบายหลักการสอน กิจกรรมการบรรยาย ผศ.ดร.วิมลรัตน์ จตุรานนท์ รายละเอียด
17.00 - แนวคิดและการพัฒนาทักษะที่ และกระบวนการจัดการ กิจกรรมการบูรณาการและ ดร.ภาสกร พงษ์สิทธากร ดัง
สาคัญสาหรับผู้เรียนในศตวรรษที่ เรียนรู้วิชาภาษาไทย การหลอมรวม TPCK ดร.สิราวรรณ จรัสรวีวัฒน์ แผนการจัด
21 ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น กิจกรรมการสร้าง ว่าที่ เรือตรี ดร.อุทิศ บารุง กิจกรรมที่ 4
- 3R และ 8 C กับการพัฒนาทักษะ โดยใช้เทคนิคการสอนใน ปฏิสัมพันธ์ระหว่างครูที่เข้า ชีพ
ทางภาษาไทย ศตวรรษที่ 21 ได้ (K) รับการพัฒนาและกับคณะ อ.ตฤณ ก้านดอกไม้
- แนวทางประยุกต์ใช้ 3R และ 8 C วิทยากร
ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทาง
ภาษาไทย
12

วันที่ เวลา เรื่อง/สาระการพัฒนา วัตถุประสงค์หลักสูตร กระบวนการพัฒนา วิทยากร หมายเหตุ


วันที่ 9.00- การใช้สื่อเทคโนโลยีสาหรับครู 4. อธิบายหลักการใช้สื่อ กิจกรรมการบรรยาย ดร.สิราวรรณ จรัสรวีวัฒน์ รายละเอียด
สาม 12.00 ภาษาไทย 4.0 การเรียนรู้และเทคโนโลยี กิจกรรมการฝึกปฏิบัติ ว่าที่ เรือตรี ดร.อุทิศ บารุง ดัง
- สมรรถนะการใช้ไอซีทีของครู 4.0 สารสนเทศในการกระตุ้น TPCK ชีพ แผนการจัด
กับการสร้างสรรค์นวัตกรรมการ ความใฝ่รู้แก่ผู้เรียนได้ (K) กิจกรรมการบูรณาการและ อ.ตฤณ ก้านดอกไม้ กิจกรรมที่ 5
เรียนรู้ของผู้เรียนใน 6. สามารถใช้สื่อการ การหลอมรวม TPCK อ.วัฒนพร จตุรานนท์
ศตวรรษที่ 21 เรียนรู้และเทคโนโลยี การปฏิบัติสู่การพัฒนา อ.เฉลิมเกียรติ ดีสม
- การใช้ไอซีทีกับความจาเป็นในการ สารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ นักเรียนจริง
สร้างสรรค์นวัตกรรมการสอน วิชาภาษาไทยได้ (S) กิจกรรมการสร้าง
- ทักษะสาคัญด้านเทคโนโลยีที่ ปฏิสัมพันธ์ระหว่างครูที่เข้า
จาเป็นสาหรับผู้เรียนในศตวรรษที่ รับการพัฒนาและกับคณะ
21 วิทยากร
- นวัตกรรมการเรียนรู้เชิงรุก
(Active Learning) กับการใช้ไอซี
ที
- ความสัมพันธ์ระหว่างนวัตกรรม
การเรียนรู้เชิงรุกกับทักษะของ
ผู้เรียนในศตวรรษที่ 21
- สมรรถนะการใช้ไอซีทีของครู 4.0
กับการสร้างสรรค์นวัตกรรมการ
เรียนรู้ภาษาไทย
- การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีคลาวด์
คอมพิวติ้งกับการประยุกต์ใช้ใน
13

วันที่ เวลา เรื่อง/สาระการพัฒนา วัตถุประสงค์หลักสูตร กระบวนการพัฒนา วิทยากร หมายเหตุ


การจัดการเรียนรู้สาหรับครู
ภาษาไทย 4.0
- วิธีระบบกับการออกแบบ พัฒนา
และการประเมินผลการเรียนรู้กับ
การประยุกต์ใช้ในการจัดการ
เรียนรู้สาหรับครูภาษาไทย 4.0
- ยุทธวิธีการประเมินผล 360 องศา
กับการใช้สื่อและเทคโนโลยีดิจิทัล
เพื่อการเรียนรู้ร่วมสมัย
13.00- การฝึกปฏิบัติการออกแบบและจัดทา 5. สามารถออกแบบและ กิจกรรมการบรรยาย ผศ.ดร.วิมลรัตน์ จตุรานนท์ รายละเอียด
16.00 แผนการเรียนรู้วิชาภาษาไทยใน จัดทาแผนการเรียนรู้วิชา กิจกรรมการฝึกปฏิบัติ ผศ.ดร.ระพิน ชูชื่น ดัง
ระดับมัธยมศึกษาตอนต้นโดยใช้ ภาษาไทยในระดับ TPCK ดร.ภาสกร พงษ์สิทธากร แผนการจัด
เทคนิคการสอนในศตวรรษที่ 21 มัธยมศึกษาตอนต้นโดย กิจกรรมการบูรณาการและ ดร.สิราวรรณ จรัสรวีวัฒน์ กิจกรรมที่ 6
และ สื่อเทคโนโลยีสาหรับครู 4.0 ใช้เทคนิคการสอนใน การหลอมรวม TPCK ว่าที่ เรือตรี ดร.อุทิศ บารุง
(TPCK) ศตวรรษที่ 21 และ การปฏิบัติสู่การพัฒนา ชีพ
เลือกใช้สื่อเทคโนโลยีที่ นักเรียนจริง อ.ตฤณ ก้านดอกไม้
เหมาะสมได้ (S) กิจกรรมการสร้าง อ.วัฒนพร จตุรานนท์
7. สามารถพัฒนาและ ปฏิสัมพันธ์ระหว่างครูที่เข้า อ.เฉลิมเกียรติ ดีสม
ปรับปรุงตนเองเพื่อเป็น รับการพัฒนาและกับคณะ
บุคคลแห่งการเรียนรู้ได้ วิทยากร
(A) กิจกรรมการติดตาม
สะท้อนคิดระหว่างครูที่เข้า
รับการพัฒนาและคณะ
14

วันที่ เวลา เรื่อง/สาระการพัฒนา วัตถุประสงค์หลักสูตร กระบวนการพัฒนา วิทยากร หมายเหตุ


8. มีวินัยและความ วิทยากร หลังการอบรม
รับผิดชอบในการร่วม การเชื่อมโยงความรู้สู่การ
กิจกรรม (A) พัฒนาวิชาชีพด้วย
กระบวนการชุมชนแห่งการ
เรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC)
15

สาระการพัฒนา การสมัครเป็นสมาชิกและขออีเมลสถาบันคุรุพัฒนา
แผนการจัดกิจกรรมที่ 1
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้สาหรับครู 4.0 : ภาษาไทยระดับมัธยมศึกษา
ชื่อหลักสูตรพัฒนาครู
ตอนต้น
รหัสหน่วยพัฒนา ภาควิชาการจัดการเรียนรู้ เวลา
1420101900109 คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา 3 ชั่วโมง

ความคิดรวบยอด
การสมัครเป็นสมาชิกและขออีเมลสถาบันคุรุพัฒนา ครูผู้สามารถใช้เป็นช่องทางและเครื่องมือในการ
ทางานร่วมกันภายใต้กรอบแนวคิดชุมชนการเรียนรู้วิชาชีพ และใช้เครื่องมือเพื่อการสร้างแฟ้มสะสมงานของ
ตนเองเป็นรายบุคคล อีกทั้งยังได้รับข้อมูลข่าวสารทางการศึกษาที่ทันสมัย ทันเหตุการณ์ ทันการเปลี่ยนแปลง
จากสถาบันคุรุพัฒนาและเป็นแนวทางในการพัฒนาวิชาชีพครูในอนาคตได้

วัตถุประสงค์หลักสูตร
6. สามารถใช้สื่อการเรียนรู้และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้วิชาภาษาไทยได้ (S)
7. สามารถพัฒนาและปรับปรุงตนเองเพื่อเป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ได้ (A)
8. มีวินัยและความรับผิดชอบในการร่วมกิจกรรม (A)

วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม
- สามารถเรียนรู้ผ่าน E-Learning ได้
- สามารถปฏิบัติตามขั้นตอนการสมัครเป็นสมาชิกได้
- สามารถขออีเมลสถาบันคุรุพัฒนาได้
- มีวินัยและความรับผิดชอบในการร่วมกิจกรรมตามกาหนด
- มีเจตคติที่ดีต่อการแสวงหาความรู้ผ่านเทคโนโลยี

เรื่อง/สาระการพัฒนา
การสมัครเป็นสมาชิกและขออีเมลสถาบันคุรุพัฒนา
- ข้อดีของการมีอีเมลของสถาบันคุรุพัฒนา
- วิธีการสมัครสมาชิก
- ขั้นตอนการขออีเมลของสถาบันคุรุพัฒนา
- การยืนยันตัวตน
- google classroom
16

กิจกรรมการพัฒนา
1. ผู้เข้ารับการพัฒนาศึกษา E-learning เรื่อง การสมัครเป็นสมาชิกและขออีเมลสถาบันคุรุพัฒนา
จาก http://teacher-edu.buu.ac.th
2. ผู้เข้ารับการพัฒนาศึกษา ชมการสาธิตการสมัครเป็นสมาชิกและขออีเมลสถาบันคุรุพัฒนา ผ่าน
E-clip จาก http://teacher-edu.buu.ac.th
3. ผู้เข้ารับการพัฒนาดาเนินการสมัครเป็นสมาชิกสถาบันคุรุพัฒนา
4. ผู้เข้ารับการพัฒนาดาเนินการขออีเมลสถาบันคุรุพัฒนา
5. ผู้เข้ารับการพัฒนาดาเนินยืนยันตัวตนสาหรับการขออีเมลสถาบันคุรุพัฒนา
6. ผู้เข้ารับการพัฒนาแจ้งผลการขออีเมลสถาบันคุรุพัฒนาต่อวิทยากร
ที่ g5479sirawanja@kurupatana.ac.th เพื่อเข้าสู่ google classroom

สือ่
1. E-learning เรื่อง การสมัครเป็นสมาชิกและขออีเมลสถาบันคุรุพัฒนา
2. E-Clip สาธิตการสมัครเป็นสมาชิกและขออีเมลสถาบันคุรุพัฒนา

ห้องปฏิบัติการ/สิ่งอานวยความสะดวก
ออนไลน์ สะดวกทุกที่ทุกเวลา

การวัดและประเมินผล

รายการประเมิน วิธีการประเมิน เครื่องมือ เกณฑ์การประเมิน ความสอดคล้อง


(ผ่าน) กับวัตถุประสงค์
หลักสูตร
2) ด้านทักษะ (S) ประเมินภาระงาน แบบตรวจสอบ มีการปฏิบัติ ข้อ 6
การสมัครเป็น รายการ
สมาชิกและขอ
อีเมลสถาบันคุรุ
พัฒนา และการ
เข้าร่วม google
classroom
3) ด้านเจตคติ (A) สังเกตพฤติกรรม แบบสังเกต ผ่านเกณ์ระดับ 2 ข้อ 7 และ 8
พฤติกรรม ขึ้นไป
17

สาระการพัฒนา บทบาทครูยุค 4.0


แผนการจัดกิจกรรมที่ 2
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้สาหรับครู 4.0 : ภาษาไทยระดับมัธยมศึกษา
ชื่อหลักสูตรพัฒนาครู
ตอนต้น
รหัสหน่วยพัฒนา ภาควิชาการจัดการเรียนรู้ เวลา
1420101900109 คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา 3 ชั่วโมง

ความคิดรวบยอด
ครูยุค 4.0 คือ ครูที่สามารถการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับพฤติกรรมของผู้เรียนที่เปลี่ยนไป
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่เป็นเครื่องกระตุ้นการเรียนรู้ มุ่งเน้นให้ผู้เรียนสร้างสรรค์นวัตกรรมการ
เรียนรู้ที่จะทาให้นักเรียนได้รับทักษะที่จาเป็นสาหรับศตวรรษที่ 21 จึงเป็นยุคที่ต้องปรับกระบวนการของการ
เรียนการสอน การออกแบบการจัดการเรียนรู้พัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้ที่ผ่านเทคโนโลยี สร้างนวัตกรรม
กิจกรรมการเรียนรู้ที่มุ่งเน้นการริเริ่มสร้างสรรค์สื่อนวัตกรรมการเรียนรู้ที่เหมาะกับผู้เรียนอย่างต่อเนื่องเพื่อ
สร้างเสริมทักษะในศตวรรษที่ 21 สาหรับผู้เรียนให้สอดคล้องรองรับโมเดล Thailand 4.0

วัตถุประสงค์หลักสูตร
2. อธิบายบทบาทครู 4.0 ได้ (K)
6. สามารถใช้สื่อการเรียนรู้และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้วิชาภาษาไทยได้ (S)
7. สามารถพัฒนาและปรับปรุงตนเองเพื่อเป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ได้ (A)
8. มีวินัยและความรับผิดชอบในการร่วมกิจกรรม (A)

วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม
- อธิบายบทบาทครู 4.0 ได้
- สามารถเรียนรู้ผ่าน E-Learning ได้
- มีวินัยและความรับผิดชอบในการร่วมกิจกรรมตามกาหนด
- มีเจตคติที่ดีต่อการแสวงหาความรู้ผ่านเทคโนโลยี

เรื่อง/สาระการพัฒนา
บทบาทครู 4.0
- การจัดการเรียนรู้ในยุค ไทยแลนด์ 4.0
- ความรู้ ทักษะ และคุณลักษณะที่สาคัญของครู 4.0

กิจกรรมการพัฒนา
1. ผู้เข้ารับการพัฒนาศึกษา E-learning และ E-Clip เรื่อง บทบาทครู 4.0 การจัดการเรียนรู้ในยุค
ไทยแลนด์ 4.0 ความรู้ ทักษะ และคุณลักษณะที่สาคัญของครู 4.0
18

2. ผู้เข้ารับการพัฒนาสรุปและอภิปรายบทบาทครู 4.0 ผ่าน google classroom


สือ่
1. E-learning เรื่อง บทบาทครู 4.0
2. E-Clip เรื่อง บทบาทครู 4.0

ห้องปฏิบัติการ/สิ่งอานวยความสะดวก
ออนไลน์ สะดวกทุกที่ทุกเวลา

การวัดและประเมินผล

รายการประเมิน วิธีการประเมิน เครื่องมือ เกณฑ์การประเมิน ความสอดคล้อง


(ผ่าน) กับวัตถุประสงค์
หลักสูตร
1) ด้านความรู้ (K) ทดสอบหลังพัฒนา แบบทดสอบ ร้อยละ 60 ข้อ 2

2) ด้านทักษะ (S) ประเมินภาระงาน แบบตรวจสอบ มีการปฏิบัติ ข้อ 6


ผลการสรุปและ รายการ
อภิปราย
3) ด้านเจตคติ (A) สังเกตพฤติกรรม แบบสังเกต ผ่านเกณ์ระดับ 2 ข้อ 7 และ 8
พฤติกรรม ขึ้นไป
19

สาระการพัฒนา สาระการเรียนรู้บูรณาการภาษาไทยระดับมัธยมศึกษา
ตอนต้น
แผนการจัดกิจกรรมที่ 3
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้สาหรับครู 4.0 : ภาษาไทยระดับมัธยมศึกษา
ชื่อหลักสูตรพัฒนาครู
ตอนต้น
รหัสหน่วยพัฒนา ภาควิชาการจัดการเรียนรู้ เวลา
1420101900109 คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา 6 ชั่วโมง

ความคิดรวบยอด
สาระการเรียนรู้บูรณาการภาษาไทย เป็นการบูรณาการการอ่าน การเขียน การฟัง การดู และการพูด
หลักการใช้ภาษาไทย วรรณคดีและวรรณกรรม ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น

วัตถุประสงค์หลักสูตร
1. มีความรู้และทักษะในกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยอย่างบูรณาการ (K)

วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม
- มีทักษะการรับสาร การฟัง การดู การอ่าน
- มีทักษะการส่งสาร การพูด การเขียน
- มีทักษะการสื่อสารและการนาเสนอ

เรื่อง/สาระการพัฒนา
การเรียนรู้บูรณาการภาษาไทย
- ทักษะการรับสาร การฟังการดู การอ่าน
- ทักษะการส่งสาร การพูด การเขียน
- ทักษะการสื่อสารและการนาเสนอ

กิจกรรมการพัฒนา
1. แบ่งกลุ่มผู้เข้ารับการฝึกอบบรม กลุ่มละ 10 คน ปฏิบัติกิจกรรมตรวจสอบความรู้และทักษพื้นฐาน
ทางภาษา ด้านการฟังการดู การอ่าน การพูด การเขียน จากสื่อประสม
2. ผู้แทนแต่ละกลุ่มออกมานาเสนอ สะท้อนผลจากการปฏิบัติกิจกรรมตรวจสอบความรู้และทักษะ
พื้นฐานทางภาษา ด้านการฟังการดู การอ่าน การพูด การเขียน จากสื่อประสม
3. วิทยากรสรุปผล การจัดกิจกรรมความรู้และทักษะพื้นฐานทางภาษา ด้านการฟังการดู การอ่าน
การพูด การเขียน จากสื่อประสม
4. แบ่งกลุ่มผู้เข้ารับการฝึกอบรมกลุ่มละ 10 คน ชม YouTube เรื่อง ความเป็นไทย แล้วตอบ
คาถาม จากการฟังการดูการพูด และการเขียน ในใบงานการเรียนรู้แบบบูรณาการทักษะทาง
ภาษาไทย
20

5. วิทยากรสรุปผลการทากิจกรรมการเรียนรู้แบบบูรณาการทักษะทางภาษาไทยและบรรยายสรุป
เพิ่มเติม
สือ่
ใบกิจกรรม/ใบงาน
- ตรวจสอบความรู้และทักษะพื้นฐานทางภาษาไทย
- การเรียนรู้แบบบูรณาการทักษะทางภาษาไทย
- ฝึกปฏิบัติการออกแบบแผนการจัดการเรียนรู้
- สาระการเรียนรู้แบบบูรณาการทักษะทางภาษาไทย

ห้องปฏิบัติการ/สิ่งอานวยความสะดวก
1. เครื่องเขียน
2. กระดาษชาร์ต

การวัดและประเมินผล

รายการประเมิน วิธีการประเมิน เครื่องมือ เกณฑ์การประเมิน ความสอดคล้อง


(ผ่าน) กับวัตถุประสงค์
หลักสูตร
1) ด้านความรู้ (K) 1. ตรวจสอบ 1.แบบกิจกรรม 1.ปฏิบัติกิจกรรม ข้อ 1
ความรู้และทักษะ ประเมินทักษะทาง ได้ถูกต้องอย่าง
พื้นฐานทาง ภาษาไทย น้อยร้อยละ 60
ภาษาไทย 2. แบบทดสอบ 2.ทาแบบทดสอบ
2. ทดสอบความรู้ ความรู้ ได้ถูกต้องร้อยละ
หลังเสร็จสิ้นการ 60
อบรม 3.ใบกิจกรรม/ใบ 3.ปฏิบัติ กิจกรรม/
3. ปฏิบัติกิจกรรม งาน งาน ได้ถูกต้อง
ระหว่างฝึกอบรม อย่างน้อย ร้อยละ
60
21

สาระการพัฒนา เทคนิคการสอนในศตวรรษที่ 21
แผนการจัดกิจกรรมที่ 4
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้สาหรับครู 4.0 : ภาษาไทยระดับมัธยมศึกษา
ชื่อหลักสูตรพัฒนาครู
ตอนต้น
รหัสหน่วยพัฒนา ภาควิชาการจัดการเรียนรู้ เวลา
1420101900109 คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา 2 ชั่วโมง

ความคิดรวบยอด
เทคนิคการสอนในศตวรรษที่ 21 เป็นการจัดกิจกรรมการเรียนรู้สาหรับครู 4.0 กลุ่มสาระการเรียนรู้
ภาษาไทยระดับมัธยมศึกษาตอนต้น เพราะเป็นการพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนที่สอดคล้องกับพฤติกรรม
ของผู้เรียนที่เปลี่ยนไปการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่เป็นเครื่องกระตุ้นการเรียนรู้ มุ่งเน้นให้ผู้เรียน
สร้างสรรค์นวัตกรรมการเรียนรู้ที่จะทาให้นักเรียนได้รับทักษะที่จาเป็นสาหรับศตวรรษที่ 21 ซึ่งทักษะที่สาคัญ
ของผู้เรียน คือ 3R และ 8C มาประยุกต์ใช้ในการจัดกิจกรรมการการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับธรรมชาติของกลุ่ม
สาระการเรียนรู้ภาษาในระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ทั้งการฟังการดู การอ่าน การพูดและการเขียน มุ่งเน้น
ทักษะที่สาคัญคือความสามารถในการอ่านการเขียน การรคิดวิเคราะห์ แก้ปัญหา คิดสร้างสรรค์ เรียนรู้และ
การทางานร่วมกันเป็นทีม การสร้างนวัตกรรมจากการเรียนรู้ การสื่อสาร และการรู้เท่าทันสื่อ สามารถใช้ภาษา
ที่เป็นภาษาสากลในการสื่อสารได้และใช้ช่องทาง/เครื่องมือสื่อสารต่าง ๆ

วัตถุประสงค์หลักสูตร
3. อธิบายหลักการสอนและกระบวนการจัดการเรียนรู้วิชาภาษาไทยระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
โดยใช้เทคนิคการสอนในศตวรรษที่ 21 ได้ (K)

วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม
- อธิบายหลักการสอนภาษาไทยระดับมัธยมศึกษาตอนต้นได้
- อธิบายกระบวนการจัดการเรียนรู้วิชาภาษาไทยระดับมัธยมศึกษาตอนต้นได้
- อธิบายหลักการสอนและกระบวนการจัดการเรียนรู้วิชาภาษาไทยระดับมัธยมศึกษาตอนต้นโดยใช้
เทคนิคการสอนในศตวรรษที่ 21 ได้

เรื่อง/สาระการพัฒนา
เทคนิคการสอนในศตวรรษที่ 21
- แนวคิดและการพัฒนาทักษะที่สาคัญสาหรับผู้เรียนในศตวรรษที่ 21
- 3R และ 8 C กับการพัฒนาทักษะทางภาษาไทย
- แนวทางประยุกต์ใช้ 3R และ 8 C ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทางภาษาไทย
22

กิจกรรมการพัฒนา
1. ผู้เข้ารับการฝึกอบรมชม YouTube เรื่อง การจัดการศึกษาในศตวรรษที่ 21 แล้วร่วมกิจกรรม
อภิปรายซักถามกับวิทยากร สรุปแนวคิด วิธีการ เป้าประสงค์ของทักษะที่จาต่อผู้เรียนในศตวรรษ
ที่ 21
2. วิทยากร สาธิต การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่พัฒนาทักษะทางภาษาไทย แล้วให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรม
สะท้อนผลจากการเข้าร่วมกิจกรรมสาธิต
3. วิทยากร สรุปเทคนิคการสอนในศตวรรษที่ 21 โดยการประยุกต์ใช้ 3R8C เป็นพื้นฐานในการออกแบบ
กิจกรรมการจัดการเรียนรู้
สือ่
ใบความรู้ เรื่อง เทคนิคการสอนในศตวรรษที่ 21

ห้องปฏิบัติการ/สิ่งอานวยความสะดวก
- เครื่องเขียน
- กระดาษชาร์ต

การวัดและประเมินผล

รายการประเมิน วิธีการประเมิน เครื่องมือ เกณฑ์การประเมิน ความสอดคล้อง


(ผ่าน) กับวัตถุประสงค์
หลักสูตร
1) ด้านความรู้ (K) ทดสอบความรู้หลัง แบบทดสอบความรู้ ทาแบบทดสอบได้ ข้อ 3
เสร็จสิ้นการอบรม ถูกต้องร้อยละ 60
23

สาระการพัฒนา การใช้สื่อเทคโนโลยีสาหรับครูภาษาไทย 4.0


แผนการจัดกิจกรรมที่ 5
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้สาหรับครู 4.0 : ภาษาไทยระดับมัธยมศึกษา
ชื่อหลักสูตรพัฒนาครู
ตอนต้น
รหัสหน่วยพัฒนา ภาควิชาการจัดการเรียนรู้ เวลา
1420101900109 คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา 3 ชั่วโมง

ความคิดรวบยอด
การใช้สื่อเทคโนโลยีสาหรับครูภาษาไทยในยุค 4.0 นั้นต้องมีการปรับบทบาทจากผู้สอนเป็นสาคัญ
เปลี่ยนเป็นโค้ชและต้องปรับกลยุทธ์การเรียนการสอน เปิดใจ ทาความรู้ความเข้าใจในการใช้สื่อเทคโนโลยี
รู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงของความรู้ที่มีอยู่รอบตัว โดยครูต้องใช้ศักยภาพของไอซีทีเพื่อการสร้างสรรค์
นวัตกรรมการเรียนการสอนโดยการออกแบบและพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้ การประเมินผลด้วยวิธีระบบที่มุ่ง
ให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในลักษณะเชิงรุก (Active Learning) ซึ่งการประยุกต์ใช้ประสิทธิภาพของสื่อเทคโนโลยี
สารสนเทศและการสื่อสารร่วมสมัยในการเสริมสร้างการเรียนรู้ร่วมกันอย่างมีความหมายสาหรับการกระตุ้นให้
ผู้เรียนเกิดการวางแผน การคิด และเชื่อมโยงกับสถานการณ์ปัจจุบันและสิ่งแวดล้อมรอบตัวโดยให้ผู้เรียนเกิด
กระบวนการคิดอย่างรอบด้าน นาไปสู่การพัฒนาผู้เรียนให้มีทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ได้อย่างสมบูรณ์

วัตถุประสงค์หลักสูตร
4. อธิบายหลักการใช้สื่อการเรียนรู้และเทคโนโลยีสารสนเทศในการกระตุ้นความใฝ่รู้แก่ผู้เรียนได้ (K)
6. สามารถใช้สื่อการเรียนรู้และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้วิชาภาษาไทยได้ (S)

วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม
- อธิบายหลักการใช้สื่อการเรียนรู้และเทคโนโลยีสารสนเทศตามบทบาทของครู 4.0 ในการจัด
กิจกรรมการเรียนรู้วิชาภาษาไทยได้
- อธิบายหลักการใช้ศักยภาพของไอซีทีในการออกแบบ พัฒนาและประเมินผลสื่อเทคโนโลยีด้วยวิธี
ระบบได้
- สามารถนาหลักการใช้สื่อการเรียนรู้และเทคโนโลยีสารสนเทศมาประยุกต์ใช้ในการออกแบบ
พัฒนา และประเมินผลสื่อเทคโนโลยีด้วยวิธีระบบ
- สามารถใช้สื่อการเรียนรู้และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการกระตุ้นความใฝ่รู้แก่ผู้เรียนการเรียนรู้
วิชาภาษาไทยได้

เรื่อง/สาระการพัฒนา
- สมรรถนะการใช้ไอซีทีของครู 4.0 กับการสร้างสรรค์นวัตกรรมการเรียนรู้ของผู้เรียนใน
ศตวรรษที่ 21
- การใช้ไอซีทีกับความจาเป็นในการสร้างสรรค์นวัตกรรมการสอน
- ทักษะสาคัญด้านเทคโนโลยีที่จาเป็นสาหรับผู้เรียนในศตวรรษที่ 21
24

- นวัตกรรมการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) กับการใช้ไอซีที


- ความสัมพันธ์ระหว่างนวัตกรรมการเรียนรู้เชิงรุกกับทักษะของผู้เรียนในศตวรรษที่ 21
- สมรรถนะการใช้ไอซีทีของครู 4.0 กับการสร้างสรรค์นวัตกรรมการเรียนรู้ภาษาไทย
- การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีคลาวด์คอมพิวติ้งกับการประยุกต์ใช้ในการจัดการเรียนรู้สาหรับครู
ภาษาไทย 4.0
- วิธีระบบกับการออกแบบ พัฒนาและการประเมินผลการเรียนรู้กับการประยุกต์ใช้ในการจัดการ
เรียนรู้สาหรับครูภาษาไทย 4.0
- ยุทธวิธีการประเมินผล 360 องศากับการใช้สื่อและเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการเรียนรู้ร่วมสมัย

กิจกรรมการพัฒนา
กิจกรรมการพัฒนาใช้รูปแบบการฝึกอบรมในลักษณะการฝึกอบรมเชิงรุก (Active Training) โดย
ให้ครูที่เข้ารับการฝึกอบรมได้มีส่วนร่วมในกิจกรรมการฝึกอบรม โดยประกอบด้วยขั้นตอน ดังนี้
ขั้นตอนที่ 1 กิจกรรมเกมผ่านสมาร์ทโฟนการสร้างความคุ้นเคยแบบมีส่วนร่วมในการใช้สื่อ
เทคโนโลยีสาหรับครู 4.0 ด้วยเทคโนโลยีคลาวด์คอมพิวติ้ง (30 นาที)
ขั้นตอนที่ 2 กิจกรรมระดมสมองผ่านเทคโนโลยีคลาวด์คอมพิวติ้งการใช้ไอซีทีกับความจาเป็นใน
การสร้างสรรค์นวัตกรรมการสอน (30 นาที)
ขั้นตอนที่ 3 กิจกรรมสร้างสรรค์นวัตกรรมไอซีทีด้วยการลงมือปฏิบัติเขียนแผนการจัดการเรียนรู้
โดยประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการเรียนรู้ในการจัดการเรียนการสอน (30 นาที)
ขั้นตอนที่ 4 กิจกรรมการลงมือปฏิบัติออกแบบและพัฒนาบทเรียนออนไลน์และการประเมินผล
360 องศา ผ่านคลาวด์คอมพิวติ้ง (60 นาที)
ขั้นตอนที่ 5 กิจกรรมการนาเสนอผลความสาเร็จการใช้สื่อและเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการเรียนรู้
(30 นาที)
สือ่
1. สมาร์ทโฟน
2. Application Kahoot, Padlet, Collabrifly Map, Blogger, Google for Education
3. เครื่องคอมพิวเตอร์
4. บัตรตื่นรู้ไอซีที

ห้องปฏิบัติการ/สิ่งอานวยความสะดวก
1. สัญญาณเครือข่ายอินเทอร์เน็ตแบบไร้สาย (WiFi)
2. คู่มือการสร้างสรรค์นวัตกรรมและและเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการเรียนรู้
25

การวัดและประเมินผล
รายการประเมิน วิธีการประเมิน เครื่องมือ เกณฑ์การ ความสอดคล้อง
ประเมิน(ผ่าน) กับวัตถุประสงค์
หลักสูตร
1) ด้านความรู้ (K) การทดสอบ - แบบทดสอบ - คะแนน ข้อ 4
ออนไลน์ผ่าน แบบทดสอบ
Google Form ผ่านเกณฑ์ร้อย
ละ 60
2) ด้านทักษะ (S) ประเมินผลงาน - แบบประเมินผลงาน - ระดับคุณภาพ ข้อ 6
2 ผ่านเกณฑ์
26

สาระการพัฒนา การฝึกปฏิบัติการออกแบบและจัดทาแผนการเรียนรู้วิชา
ภาษาไทยในระดับมัธยมศึกษาตอนต้นโดยใช้เทคนิคการสอนในศตวรรษที่ 21
และ สื่อเทคโนโลยีสาหรับครู 4.0
แผนการจัดกิจกรรมที่ 6
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้สาหรับครู 4.0 : ภาษาไทยระดับมัธยมศึกษา
ชื่อหลักสูตรพัฒนาครู
ตอนต้น
รหัสหน่วยพัฒนา ภาควิชาการจัดการเรียนรู้ เวลา
1420101900109 คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา 3 ชั่วโมง

ความคิดรวบยอด
การฝึกปฏิบัติการออกแบบและจัดทาแผนการเรียนรู้เป็นการหลอมรวมความรู้และทักษะเพื่อครูสอน
วิชาภาษาไทยในระดับมัธยมศึกษาตอนต้นได้นาเทคนิคการสอนในศตวรรษที่ 21 และ สื่อเทคโนโลยีสาหรับครู
4.0 ไปใช้ในการจัดการเรียนรู้วิชาภาษาไทย

วัตถุประสงค์หลักสูตร
5. สามารถออกแบบและจัดทาแผนการเรียนรู้วิชาภาษาไทยในระดับมัธยมศึกษาตอนต้นโดยใช้
เทคนิคการสอนในศตวรรษที่ 21 และเลือกใช้สื่อเทคโนโลยีที่เหมาะสมได้ (S)
7. สามารถพัฒนาและปรับปรุงตนเองเพื่อเป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ได้ (A)
8. มีวินัยและความรับผิดชอบในการร่วมกิจกรรม (A)

วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม
- สามารถออกแบบและจัดทาแผนการเรียนรู้วิชาภาษาไทยในระดับมัธยมศึกษาตอนต้นโดยใช้
เทคนิคการสอนในศตวรรษที่ 21 ได้อย่างน้อย 1 แผน
- สามารถใช้สื่อการเรียนรู้และเทคโนโลยีสารสนเทศในการกระตุ้นความใฝ่รู้แก่ผู้เรียนได้

เรื่อง/สาระการพัฒนา
การฝึกปฏิบัติการออกแบบและจัดทาแผนการเรียนรู้วิชาภาษาไทยในระดับมัธยมศึกษาตอนต้นโดยใช้
เทคนิคการสอนในศตวรรษที่ 21 และ สื่อเทคโนโลยีสาหรับครู 4.0

กิจกรรมการพัฒนา
1. แบ่ งกลุ่ มผู้ เข้ารั บ การฝึ กอบรมกลุ่ มละ 10 คน ฝึ กปฏิบัติการออกแบบแผนการจัดการเรียนรู้
ตาม แนวทางประยุกต์ใช้ 3R และ 8 C ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทางภาษาโดยใช้สื่อเทคโนโลยี
ประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
2. ผู้เข้ารับการฝึกอบรมแต่ละกลุ่ม นาเสนอแผนและสาธิตการใช้แผนในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
ภาษาไทยแบบบูรณาการทักษะทางภาษา
27

3. คณะวิทยากร วิพากษ์ ให้ข้อเสนอแนะ และประเมินผลแผนการจัดการเรียนรู้ตาม แนวทาง


ประยุกต์ใช้ 3R และ 8 C ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทางภาษาโดยใช้สื่อเทคโนโลยีประกอบการ
จัดกิจกรรมการเรียนรู้วิชาภาษาไทยระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
สือ่
ใบงาน เรื่อง การออกแบบและจัดทาแผนการเรียนรู้วิชาภาษาไทยในระดับมัธยมศึกษาตอนต้น

ห้องปฏิบัติการ/สิ่งอานวยความสะดวก
- เครื่องเขียน
- กระดาษชาร์ต

การวัดและประเมินผล

รายการประเมิน วิธีการประเมิน เครื่องมือ เกณฑ์การประเมิน ความสอดคล้อง


(ผ่าน) กับวัตถุประสงค์
หลักสูตร
1) ด้านความรู้ (K) ทดสอบความรู้หลัง แบบทดสอบ ทาแบบทดสอบได้ ข้อ 1
เสร็จสิ้นการอบรม ความรู้ ถูกต้องร้อยละ 60

2) ด้านทักษะ (S) ปฏิบัติการ แบบประเมิน แผนการจัดการ ข้อ 2


ออกแบบแผนการ แผนการจัดการ เรียนรู้มีคุณภาพอยู่
จัดการเรียนรู้ เรียนรู้ ในระดับดี ขึ้นไป
ส่งเสริมทักษะใน
การเรียนรู้ ริเริ่ม
และสร้างสรรค์ของ
ผู้เรียน ผสมผสาน
กับสื่อเทคโนโลยี

13. กิจกรรมการติดตามหรือทางานร่วมกับครูหลังการพัฒนา
ระยะเวลา ประเด็น รูปแบบ/กิจกรรมการ ผู้เกี่ยวข้องในการให้ข้อมูลการ ตัวชี้วัดความสาเร็จ
การ ติดตาม ติดตามครู ในการติดตาม
ติดตาม
หลังอบรม การ สังเกตและสะท้อนผ่าน ครูที่ผ่านการอบรม หรือ ครูนาไปใช้จริงกับ
1-3 เดือน นาไปใช้ Google classroom สมาชิกใน google classroom ผู้เรียน
จริงกับ หรือห้องเรียนจริง ณ หรือผู้บริหารสถานศึกษา/
ผู้เรียน สถานศึกษา หัวหน้า/เพื่อนร่วมงาน
28

14. วิทยากร
วิทยากร จานวน 9 คน มีรายชื่อดังนี้
1. ผศ.ดร.วิมลรัตน์ จตุรานนท์
2. ผศ.ดร.ระพิน ชูชื่น
3. ดร.ภาสกร พงษ์สิทธากร
4. ดร.สิราวรรณ จรัสรวีวัฒน์
5. ว่าที่ เรือตรี ดร.อุทิศ บารุงชีพ
6. อ.ตฤณ ก้านดอกไม้
7. อ.วัฒนพร จตุรานนท์
8. อ.เฉลิมเกียรติ ดีสม
(ประวัติวิทยากรตามเอกสารแนบท้าย)
15. กาหนดจานวนครูที่จะเข้าร่วมพัฒนาต่อกลุ่ม
 หลักสูตรระดับพื้นฐาน จานวนไมเกิน 150 คนต่อกลุ่ม

16. วิธีการวัดและประเมินผลการพัฒนาของหลักสูตร

รายการประเมิน วิธีการประเมิน เครื่องมือ เกณฑ์การประเมิน ความสอดคล้อง


(ผ่าน) กับวัตถุประสงค์
หลักสูตร
1) ด้านความรู้ (K) ทดสอบความรู้หลัง แบบทดสอบ ทาแบบทดสอบได้ ข้อ 1, 2, 3, 4
เสร็จสิ้นการอบรม ความรู้ ถูกต้องร้อยละ 60
2) ด้านทักษะ (S) ประเมินภาระงาน แบบตรวจสอบ มีการปฎิบัติผ่าน ข้อ 5 และ 6
ประเมินผลงาน รายการ เกณ์ระดับ 2 ขึ้นไป
แบบประเมิน
3) ด้านเจตคติ (A) สังเกตพฤติกรรม แบบสังเกต ผ่านเกณ์ระดับ 2 ข้อ 7 และ 8
พฤติกรรม ขึ้นไป
4) ด้านความพึง สอบถามความพึง แบบสอบถาม 5 ค่าเฉลี่ย 3.50 ขึ้น
พอใจ พอใจ ระดับ ไป

17. หน่วยงานที่รับผิดชอบในการนาเสนอหลักสูตร
ภาควิชาการจัดการเรียนรู้ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
รหัสหน่วยพัฒนา 1420101900109
ติดต่อได้ที่ Line ID : @teacherbuu
E-mail : g5479sirawanja@kurupatana.ac.th
โทร. 038-102065, 080-0962628
Website : http://teacher-edu.buu.ac.th
29

ประวัติวิทยากร

1. ผศ.ดร.วิมลรัตน์ จตุรานนท์
2. ผศ.ดร.ระพิน ชูชื่น
3. ดร.ภาสกร พงษ์สิทธากร
4. ดร.สิราวรรณ จรัสรวีวัฒน์
5. ว่าที่ เรือตรี ดร.อุทิศ บารุงชีพ
6. อ.ตฤณ ก้านดอกไม้
7. อ.วัฒนพร จตุรานนท์
8. อ.เฉลิมเกียรติ ดีสม

You might also like