การถือศีลอด

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 3

คุตบะห์ยุมอัต (วันศุกร์) 1 ประจำเดือนมิถุนำยน 2557

การถือศีลอด
ُ‫الص َيا َُم عَ َل‬ ّ ِّ ‫ض‬ ُ َ ‫ َ ََُك فَ َر‬، ‫َي الْ َ َّبي َُّة‬ُّ ْ ‫ل ُأ َم ُّة خ‬ ُ َ َ‫ان ع‬ َُ َ‫ض َر َمض‬ ُ َ ‫لِل َ ّاَّل ُْي فَ َر‬
ُّ َ ّ ُ‫َالْ َح ْمد‬
‫اس َو َر ْ َْح ًُة‬ُ ّ َ‫ َو َأ ْن َز َُل ّف ْي ُّه ا ْلق ْرأ َُن هدً ى ّللن‬، ‫الس َم ّاوي َ ُّة‬ َ َ ‫َ َّج ْي ُع ّ ْا ُأل َم ُّم ا ْل َم ّاض َي ُّة ّ ُف‬
َ ّ ‫الَّشا ّئ ُع‬
‫ َو َأ ْشهَدُ َأ َُن‬، ‫ي‬ َُ ْ ‫ َو َأ ْشهَدُ َأ ُْن َُل ا َ َُل ا َُل للاُ َأ ْج َز َُل ا ْلخ‬، ‫ال ْلْس ََ ّميَ ُّة‬
َُ ْ ‫َي ّل َلطا ّئ ّع‬ ُ ْ ‫ل َم ُّة‬ ُُ ْ ‫ُّل‬
‫إ إ‬
ُ َ َ‫ َاللَه َُم َص ُِّّل َو َلْس ُِّّْل ع‬، ‫ي‬
‫ل‬ َُ ْ ‫ي َوا َمامُ الْم ْخ ّل ّص‬ َُ ْ ‫الصا ّئ ّم‬
َ ُ‫للا َأ ْفضَ ل‬ ُّ ُ‫َلْس ّ ِّيدَ َُن م إ َح َمدً ا َرلْس ْول‬
ُ‫ َوب َ ْعد‬، ‫الطا ّه ّرْي َُن‬ َ ‫ي‬ َ ‫ل أ ّ ُّل َو َأ ْ إ‬
َُ ْ ‫ْصا ّب ُّه ا َلط ّ ِّيُّب‬ ُ َ َ‫َلْس ّ ِّي ّدنَُ َو َح ّب ْي ّبنَا َو َش ّف ْي ّعنَا م َح َمدُ َوع‬
: ‫ال ّ ُف ا ْلقرأ ُّن ا ْل َمجّ ْي ُّد‬ ُ َ ‫ال للاُ تَ َع‬ َُ ‫للا َو َأ ّط ْيع ْوهُ فَ َقدُْ َق‬ َُ ‫ اتَقوا‬، ‫للا‬ ُّ ‫فَ َيا ّع َبا َُد‬
‫إ‬
. ‫ل َ ّاَّل ْي َُن ّم ُْن قَ ْب ّل ُْك ل َ َعل َ ُْك تَتَق ْو َُن‬ ُ َ َ‫ب ع‬ َُ ‫الص َيامُ َ ََُك ك ّت‬ ّ ِّ ُ‫ب عَلَ ْيك‬ َُ ‫ََي َأُّيه َُا َ ّاَّل ْي َُن أ َمن ْوا ك ّت‬
ท่านพี่น้องร่วมศรัทธาทีร่ กั
นักวิชาการกล่าวว่า การถือศีลอดมีสามลาดับด้วยกัน
๑. ‫ َص ْومُ الْ َع َوا ُّم‬การถือศีลอดของอะวาม
ُ ّ ‫ َص ْومُ الْخ ََو‬การถือศีลอดของคอววาศ
๒. ‫اص‬
ُ ّ ‫اص الْخ ََو‬
๓. ‫اص‬ ُ ّ ‫ َص ْومُ خ ََو‬การถือศีลอดของคอววาศุ้ลคอววาศ
การถือศีลอดของคนอะวาม ‫ َص ْومُ الْ َع َوا ُّم‬คือ เพียงแต่ยับยั้งกระเพาะหรือ
ท้องของเขาและอวัยวะเพศของเขาจากความต้องการของอารมณ์
การถือศีลอดของคนคอววาศ ‫اص‬ ُ ّ ‫ َص ْومُ ا ْلخ ََو‬คือ การรักษาอวัยวะต่างๆ
ของร่างกายให้พ้นจากการล่วงล้าสู่สิ่งที่มิชอบทางศาสนา ซึ่งดังกล่าวนี้จาเป็นต้อง
สารวมไปด้วย 5 ประการ
ْ َ ‫ك َما ي َذ هُم‬
๑. ‫َشعًا‬ ُّ َ ‫ض الْ َب‬
ُِّ ّ ‫ص َع ُْن‬ ُ ‫ ُغَ ه‬ละสายตาจากทุกสิ่งซึ่งเป็นที่ตาหนิ
ของศาสนา

ฝ่ำยวิชำกำรและเผยแผ่ศำสนำ สำนักงำนคณะกรรมกำรอิสลำมประจำกรุงเทพมหำนคร (24/2557)


คุตบะห์ยุมอัต (วันศุกร์) 2 ประจำเดือนมิถุนำยน 2557

๒. ‫وس‬ ُّ ْ ‫ان َع ُّن ا ْل ّغ ْي َب ُّة َو ْال َك ّذبُّ َوالنَ ّم ْي َم ُّة َوا ْل َي ّم‬
ُ ّ ‫ي ا ْلغم‬ ُّ ‫ ّح ْفظ الْ ّل َس‬รักษาลิ้น
หรือวาจาโดยไม่มีการนินทา การมุษา การยุแหย่ใส่ร้ายให้เกิดการขุ่นเคือง และการ
สาบานอันเป็นเท็จ
ซึ่งดังกล่าวมีรายงานจากท่านอะนัส จากท่านนบี ศ้อลฯ กล่าวว่า
ُ‫الص ْو َمُ ْال َك ّذ بُ َوا ْل ّغ ْي َب ُة َوا ْلنَ ّم ْي َم ُة َوا ْل َي ّم ْيُ ا ْلغم ْو ّس‬
َ ‫َ َْخ َسةُ َأ ْش َي َُاء َ َْتبّط‬
‫ رواه ادليلمي‬. ُ‫َوالنَ َظرُ بّشَ ه َْوة‬
ความว่า “ห้าประการซึ่งทาลายการถือศีลอด (นักวิชาการให้ทัศนะว่าคือ
ผลบุญของการถือศีลอด) พูดโกหก การนินทา การยุแหย่ใส่ร้าย การสาบานเท็จ
และการเพ่งมองด้วยอารมณ์ปรารถนา”
๓. ُ‫ك َم ْكر ْوه‬ ُ ‫ َك ه‬รักษาหูจากการรับฟังเรื่องราวที่น่า
ُِّ ّ ّ‫ف ا ُُألذ ُّن َع ُّن ْالْس ّت َما ُع‬
รังเกียจ
๔. ‫ف َ َّج ْي ُع ّ ا ْ َُألعْضَ ا ُّء َع ُّن الْ َماكَ ّرُّه‬
ُ ‫ َك ه‬ยับยั้งอวัยวะต่างๆมิให้ข้องแวะกับสิ่งที่
น่ารังเกียจ
ُّ ‫ت ْال ْف َط‬
๕. ‫ار‬ ُّ ‫ت ّ ُْف َو ْق‬ ‫ف الْ َب ْط ُّن َع ُّن ه‬
ُ ّ ‫الش ُب َا‬ ُ ‫ َك ه‬รักษากระเพาะให้ปลอดจาก
‫إ‬
อาหารที่ชุบฮัตในเวลาละศีลอด
เพราะไม่มีผลประโยชน์ใดเลยในการอดอาหาร หรืองดการกินการดื่ม ทั้งๆ ที่เดิมเป็น
ของหะล้าลด้วยการที่เขาละศีลอดด้วยของต้องห้าม ประดุจดังคนหนึ่งได้ก่อสร้าง
ปราสาทอันหรูหราแต่กับทาลายเมือง แล้วปราสาทจะคงอยู่ได้อย่างไร
ท่านนบี ศ้อลฯ กล่าวว่า
َ َ‫س َُل ّم ُْن ّص َيا ّم ُّه ا ُل‬
‫ احلديث رواه ادلاريم‬. َ‫الظ ْمُأ‬ ُ ّ ‫َُْك ّم ُْن َص‬
ُ َ ْ‫ائ لَي‬
‫إ‬
ความว่า “มีจานวนมากเท่าไรแล้วจากผู้ถือศีลอด เขาไม่ได้รับสิ่งใดจาก
การถือศีลอดของเขา นอกจากความกระหาย”
และท่านนบี ศ้อลฯ ยังกล่าวอีกว่า

ฝ่ำยวิชำกำรและเผยแผ่ศำสนำ สำนักงำนคณะกรรมกำรอิสลำมประจำกรุงเทพมหำนคร (24/2557)


คุตบะห์ยุมอัต (วันศุกร์) 3 ประจำเดือนมิถุนำยน 2557

‫ رواه ابن ماجه‬. ّ‫ن ّص َيا ّم ُّه ا ُلَ الْج ْو ُع‬ ُ ّ ‫ب َص‬
ُ َ ْ‫ائ لَي‬
ُْ ‫س َُل ّم‬ َُ ‫َور‬
‫إ‬
ความว่า “มีผู้ถือศีลอดจานวนมากที่เขาไม่ได้รับสิ่งใดจากการถือศีลอด
ของเขา นอกจากความหิวเท่านั้น”
ُُ َ ‫ َأ ُْن َُل ي َْس تَ ْك ّ َُث ّم َُن الْ َح ََلُّ َو ْقتَُ ْالفْ َط ُّار ّ َِب ْيثُ ي َ ْم‬โปรดอย่าให้การ
๕. ُ‫ل ب َ ْطنه‬
‫إ‬
ทานอาหารที่หะล้าลมากจนเกินไป ในเวลาละศีลอดโดยล้นกระเพาะ
ท่านนบี ศ้อลฯ ชี้แนะว่า
ُ‫لَكتُ يَق ْم َُن صلْ َبهُ فَا ْن‬
َ َ ‫َشا ّم ُْن ب َ ْطنُ ّ َِب َسبُّ ا ْب ُّن أ َد َُم َُأ‬ َُ َ ‫َما َم‬
َ َ ‫ل أ َد ّميُ ّوعَ ًُاء‬
‫إ‬
‫ رواه الرتمذي‬. ‫َّشا ّب ُّه َوثلثُ ّلنَ َف ّس ُّه‬
َ َ ‫ََك َُن َُل َم َحا َُل َُل فَثلثُ ّل َط َعا ّم ُّه َوثلثُ ّل‬
ความว่า “ไม่มีภาชนะใดที่มนุษย์บรรจุให้เต็มที่จะเลวร้ายยิ่งกว่าท้อง
ของเขา เมื่อเขาได้เติมเต็ม พอเพียงแล้วแก่ลู กของอาดัม กับอาหารการกินซึ่งทา
ให้เขายืนได้ ดังนั้นหากว่าไม่สามารถเลี่ยงได้แล้ว ก็ให้แบ่งเป็นสามส่วน ส่วนหนึ่ง
เพื่ออาหารหนัก ส่วนสองเพื่อเครื่องดื่ม ส่วนสามเพื่อลมหายใจของเขา”
ส่วนการถือศีลอดแบบ ‫اص‬ ُ ّ ‫ خ ََواصُ ا ْلخ ََو‬คอววาศุ้ลคอววาศ คือ การถือ
ศีลอดทั้งร่างกายและภายใน นั้นคือหัวใจของผู้ ถือศีลอดต้องถอดทิ้งสิ่ง ที่นามาซึ่ง
ความตกต่าและผลประโยชน์ของโลกดุนยา มีจิตผูกพันกับพระผู้ เป็นเจ้าในขณะเขา
ถือศีลอด
ท่านพี่น้องครับ ขอให้เราได้ถือศีลและอดไปในคราวเดียวกัน อย่าอดอย่าง
เดียวแต่ไม่ถือศีล หรือถือศีลอย่างเดียวแต่ไม่อด ซึ่งถ้ามันขาดไปอย่างหนึ่งอย่างใด
ย่อมไม่ใช่คาว่า อัศศิยาม ตามบัญญัติอิสลาม

ُ‫ َو ّل َسا ّئر ا ْلم ْس ّل ّم ْ َي‬، ‫للا ا ْل َع ّظ َُْي ّ ْلُ َو َل ُْك‬


َُ ُ‫َأ ق ْولُ َق ْو ّ ُْل هَ َذ ا َو َأ ْلْس َت ْغ ّفر‬
. ‫فَ ْالْس َت ْغ ّفر ْوهُ ان َهُ ه َُو الْغَف ْورُ َالر ّح ُْي‬
‫إ‬

ฝ่ำยวิชำกำรและเผยแผ่ศำสนำ สำนักงำนคณะกรรมกำรอิสลำมประจำกรุงเทพมหำนคร (24/2557)

You might also like