Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 245

Fluid Mechanics i

สารบัญ

บทที่ 1 หลักการพืน้ ฐาน และคุณสมบัตขิ องของไหล (Basic concept and Fluid property) 1-1
1.1 บทนํา 1-1
1.2 มิติ (Dimension) 1-1
1.3 หน่วย (Unit) 1-2
1.4 นิยามของของไหล 1-4
1.5 คุณสมบัตขิ องของไหล (Basic concept and Fluid property) 1-5
1.5.1 ความหนาแน่น (Density) 1-5
1.5.2 นํ้าหนักจําเพาะ (Specific weight) 1-5
1.5.3 ความถ่วงจําเพาะ (Specific gravity) 1-5
1.5.4 ปริมาตรจําเพาะ (Specific volume) 1-6
1.5.5 ความหนืด (Viscosity) 1-6
1.5.6 ความสามารถในการบีบอัดตัวของของไหล (Compressibility) 1-13
1.5.7 แรงตึงผิว (Surface tension) 1-14

บทที่ 2 ของไหลสถิต (Fluid static) 2-1


2.1 ความดัน (Pressure) 2-1
2.1.1 ความดันทีจ่ ุดใดๆ ในของไหล (Pressure at a point in fluid) 2-2
2.1.2 การเปลีย่ นแปลงความดันในของไหลสถิต (Variation of pressure in static fluid) 2-3
2.1.3 การวัดความดัน (Measurement of Pressure) 2-6
2.1.4 หน่วยของความดัน (Pressure Units) 2-6
2.1.5 อุปกรณ์วดั ความดัน (Pressure gauge) 2-8
2.2 แรงดันของของไหลบนพืน้ ทีผ่ วิ เรียบ (Pressure Force on a Plane Surface) 2-11
2.3 แรงดันของของไหลบนพืน้ ผิวโค้ง (Pressure Force on a Curved Surface) 2-18
2.4 แรงลอยตัว (Buoyancy Force) 2-27
2.4.1 เสถียรภาพการลอยตัวของวัตถุในของไหล 2-30
(Stability of Floating and Submerged Bodies)
2.5 การเปลีย่ นแปลงความดันของของไหลในภาชนะทีเ่ คลื่อนที่ 2-36
(Variation of fluid pressure in moving container)
2.5.1 ความดันของของไหลในภาชนะทีเ่ คลื่อนทีด่ ว้ ยความเร่งเชิงเส้น 2-36
(Fluid pressure in Linear moving container)
2.5.2 ความดันของของไหลในภาชนะทีเ่ คลื่อนทีด่ ว้ ยความเร็วเชิงมุม 2-42
(Fluid pressure in angular moving container)

ธัญดร ออกวะลา Contents


ii Fluid Mechanics

บทที่ 3 ทฤษฎีการไหลเบือ้ งต้น (Basic of flow theorem) 3-1


3.1 การจําแนกประเภทของการไหล (Flow classification) 3-2
3.2 การวิเคราะห์การไหลด้วยวิธปี ริมาตรควบคุม (Flow analysis with Control Volume method) 3-5
3.3 ทฤษฎีการเคลื่อนย้ายของเรย์โนด์ (Reynolds Transport Theorem) 3-7
3.4 สมการกฎการอนุรกั ษ์มวล (Mass Conservation) 3-11

บทที่ 4 สมการพลังงาน (Energy equation) 4-1


4.1 สมการพลังงานของ Euler (Euler’s Energy equation) 4-1
4.2 สมการ Bernoulli (Bernoulli’s equation) 4-3
4.3 สมการพลังงาน (Energy equation) 4-12
4.3.1 การสูญเสียเฮดของการไหลในท่อ (Head loss) 4-12
4.3.2 เครือ่ งสูบ (Pump) 4-21
4.3.3 กังหัน (Turbine) 4-24

บทที่ 5 สมการโมเมนตัม (Momentum equation) 5-1


5.1 สมการโมเมนตัมเชิงเส้น (Linearly Monentum Equation) 5-2
5.3 สมการโมเมนตัมกับปริมาตรควบคุมแบบเคลื่อนที่ 5-14
(Momentum equation for moving control volume)

บทที่ 6 การไหลภายในท่อ (Flow in Pressure Conduit) 6-1


6.1 พฤติกรรมของการไหลในท่อ (Behavior of flow in pipe) 6-2
6.2 การไหลบริเวณปากทางเข้าของท่อ (Entrance Flow Development) 6-3
6.3 การสูญเสียพลังงานหลัก (Friction head loss or Major loss) 6-5
6.3.1 ค่าสัมประสิทธิ ์ความเสียดทานของการไหลแบบราบเรียบ 6-7
(Friction factor for larminar flow)
6.3.2 ค่าสัมประสิทธิ ์ความเสียดทานของการไหลแบบปนป ั ่ ว่ นในท่อผนังเรียบ 6-9
(Friction factor for turbulent flow in smooth pipe)
6.3.3 ค่าสัมประสิทธิ ์ความเสียดทานของการไหลแบบปนป ั ่ ว่ นในท่อผนังหยาบ 6-12
(Friction factor for turbulent flow in rough pipe)
6.4 การสูญเสียพลังงานรอง (Minor loss) 6-14

Contents ธัญดร ออกวะลา


Fluid Mechanics iii

บทที่ 7 การไหลในทางนํ้าเปิด (Open channel fFlow) 7-1


7.1 ประเภทของทางนํ้าเปิด (Type of channel) 7-1
7.2 การจําแนกประเภทการไหลในทางนํ้าเปิด (Open channel flow classification) 7-2
7.2.1 การจําแนกประเภทการไหลในทางนํ้าเปิดโดยพิจารณาจากรูปแบบของการไหล 7-2
(Classified by flow pattern)
7.2.2 การจําแนกประเภทตามสภาวะของการไหล(Classified by stage of flow) 7-5
7.3 สมการพืน้ ฐานของการไหลในทางนํ้าเปิด (Basic equation of open channel flow) 7-6
7.3.1 สมการต่อเนื่อง (Continuity Equation) 7-7
7.3.2 สมการพลังงาน (Energy Equation) 7-8
7.3.3 สมการโมเมนตัม (Momentum Equation) 7-9
7.4 การวิเคราะห์การไหลแบบสมํ่าเสมอไม่แปรเปลีย่ นตามเวลา (Steady Uniform Flow) 7-10
7.5 พลังงานจําเพาะกับการไหลแปรเปลีย่ นแบบฉับพลันแต่ไม่แปรเปลีย่ นตามเวลา 7-15
(Specific energy and steady rapidly varied flow)
7.6 โมเมนตัมฟงั ก์ชนั กับการไหลแปรเปลีย่ นแบบฉับพลันแต่ไม่แปรเปลีย่ นตามเวลา 7-2
(Momentum function and steady rapidly varied flow)

บทที่ 8 การวิเคราะห์มติ ิ และความคล้ายคลึงทางชลศาสตร์ (Dimension analysis and Similarity) 8-1


8.1 การวิเคราะห์มติ ิ (Dimension analysis) 8-1
8.1.1 มิติ และหน่วย (Dimension and Unit) 8-2
8.1.2 การวิเคราะห์มติ โิ ดยวิธี บักกิง้ แฮมพาย 8-4
(Dimension analysis by Buckingham Pi Theorem)
8.2 ความคล้ายคลึง (Similarity) 8-13
8.2.1 การวิเคราะห์ความคล้ายคลึง (Similarity analysis) 8-13
8.2.2 ตัวแปรไร้มติ ทิ ส่ี าํ คัญต่อการวิเคราะห์ความคล้ายคลึง 8-15
(Dimensionless term in Similarity analysis)
8.2.3 การจัดประเภทของกรณีศกึ ษา (Case study of similarity analysis) 8-18

แบบฝึกหัด (Exercise) E-1


แบบฝึกหัดบทที่ 1 E-1
แบบฝึกหัดบทที่ 2 E-3
แบบฝึกหัดบทที่ 3 E-11
แบบฝึกหัดบทที่ 4 E-13
แบบฝึกหัดบทที่ 5 E-15
แบบฝึกหัดบทที่ 6 E-17
แบบฝึกหัดบทที่ 7 E-20
แบบฝึกหัดบทที่ 8 E-21

เอกสารอ้างอิง R-1
ภาคผนวก A-1

ธัญดร ออกวะลา Contents


iv Fluid Mechanics

Contents ธัญดร ออกวะลา


Fluid Mechanics 1-1

บทที่ 1
หลักการพืน้ ฐาน และคุณสมบัติของของไหล

1.1 บทนํา
วิชากลศาสตร์ของไหล (Fluid mechanics) เป็ นการศึกษาเกีย่ วกับพฤติกรรมของของไหลทีส่ ภาวะต่างๆ แรง
ทีข่ องไหลกระทําต่อสิง่ แวดล้อม รวมถึงอิทธิผลของสิง่ ต่างๆ ทีม่ ผี ลต่อของไหลทัง้ ทีอ่ ยูน่ ิ่งและเคลื่อนที่ ซึง่ การศึกษา
พฤติกรรมของของไหลทีอ่ ยูน่ ิ่งเรียกว่า สถิตย์ศาสตร์ของของไหล (Fluid Statics) และพฤติกรรมของของไหลทีก่ าํ ลัง
เคลื่อนทีเ่ รียกว่า พลศาสตร์ของของไหล (Fluid Dynamics)

ในการศึกษาวิชากลศาสตร์ของของไหลจําเป็ นต้องอาศัยความรูค้ วามเข้าใจ หลักการ และคุณสมบัตพิ น้ื ฐานที่


เกีย่ วข้องกับของไหล ไม่วา่ จะอยูใ่ นสถานะของเหลว หรือก๊าซ ซึง่ หลักการ และคุณสมบัตพิ น้ื ฐานทีส่ าํ คัญต่อการ
วิเคราะห์ปญั หาด้านกลศาสตร์ของไหล มีดงั นี้

1.2 มิ ติ (Dimensions)
มิติ หมายถึง คุณสมบัตทิ างกายภาพของสสาร ซึง่ สามารถระบุได้ในเชิงปริมาณ เช่น ความยาว นํ้าหนัก มวล
แรง ฯลฯ เป็ นต้น ซึง่ สามารถแบ่งได้เป็ น 2 ประเภทคือ

1.2.1 มิตปิ ฐมภูม ิ หรือ มิตพิ น้ื ฐาน (Primary Dimensions or Basic Dimensions)
มิตปิ ฐมภูม ิ หมายถึง มิตขิ องตัวแปรพืน้ ฐานทีไ่ ม่สามารถแยกเป็ นมิตอิ ่นื ได้อกี และไม่ขน้ึ อยูก่ บั มิตอิ ่นื ๆ
ซึง่ เป็ นค่าทีบ่ อกถึงปริมาณทีท่ ส่ี สารแสดงออกมาโดยตรง ในวิชากลศาสตร์ของของไหลจะใช้มติ พิ น้ื ฐาน 4 ตัว ดังนี้
- มวล (Mass) สัญลักษณ์ทใ่ี ช้คอื M
- ความยาว (Length) สัญลักษณ์ทใ่ี ช้คอื L
- เวลา (Time) สัญลักษณ์ทใ่ี ช้คอื T
- อุณหภูม ิ (Temperature) สัญลักษณ์ทใ่ี ช้คอื 

1.2.2 มิตทิ ุตยิ ภูม ิ (Secondary Dimensions)


มิตทิ ุตยิ ภูม ิ เป็ นมิตทิ เ่ี กิดจากการรวมกันของมิตปิ ฐมภูม ิ ซึง่ ตัวแปรจะแสดงค่ามิตติ ามทีถ่ กู กําหนดขึน้
จาก นิยาม หรือทฤษฎี เช่น ปริมาตร เกิดจาก ความกว้าง (L)  ความยาว (L)  ความสูง (L) ดังนัน้ ปริมาตร จึง
มีมติ เิ ป็ น L3 หรือ ความเร็ว คือ ระยะทางทีเ่ ปลีย่ นไป (L) ต่อหนึ่งหน่วยเวลา (T) ดังนัน้ ความเร็ว จึงมีมติ เิ ป็ น L/T
เป็ นต้น ตัวอย่างมิตทิ ุตยิ ภูมแิ สดงดังตารางที่ 1.2

ตัวอย่างที่ 1.1 จงหามิตขิ อง แรง (F)


วิธที าํ จากกฏการเคลื่อนทีข่ อง นิวตัน F = ma
m (มวล) มีมติ เิ ป็ น M a (ความเร่ง) มีมติ เิ ป็ น LT-2
ดังนัน้ F (แรง) จึงมีมติ เิ ป็ น MLT-2 Ans

จากตัวอย่างที่ 1 จะเห็นได้วา่ แรง (F) เป็ นมิตทิ ุตยิ ภูม ิ แต่ในบางครัง้ เราอาจวิเคราห์โดยกําหนดให้แรง
เป็ นมิตปิ ฐมภูมกิ ไ็ ด้

ธัญดร ออกวะลา Fluid Property


1-2 Fluid Mechanics

ตัวอย่างที่ 1.2 จงหามิตขิ อง ความเร็วรอบ และความเร็วเชิงมุม


วิธที าํ - ความเร็วรอบ คือจํานวนรอบของการหมุนต่อหนึ่งหน่วยเวลา
จํานวนรอบ ไม่มมี ติ ิ มิตขิ องเวลาคือ T ดังนัน้ มิตขิ องความเร็วรอบ (N) คือ T-1 Ans
- ความเร็วเชิงมุม คือมุมทีเ่ ปลีย่ นแปลงไปต่อหนึ่งหน่วยเวลา
มุมทีเ่ ปลีย่ นแปลง ไม่มมี ติ ิ มิตขิ องเวลาคือ T ดังนัน้ มิตขิ องความเร็วเชิงมุม () คือ T-1 Ans

จากตัวอย่างที่ 1.2 จะเห็นได้วา่ ความเร็วรอบ และความเร็วเชิงมุม มีมติ เิ ท่ากัน ซึง่ หมายความว่าตัวแปร


ทีม่ มี ติ เิ ดียวกันอาจมีความหมายไม่เหมือนกันก็ได้

1.3 หน่ วย (Unit)


หน่วย หมายถึง ลักษณะนามทีใ่ ช้ระบุถงึ ปริมาณของมิตทิ แ่ี สดงออกมา ซึง่ ทัวโลกได้มกี ารกําหนดระบบหน่วย
ในการวัดขึน้ มาหลายระบบ แต่ระบบหน่วยสากลทีน่ ิยมใช้มากทีส่ ดุ ในปจั จุบนั มี 2 ระบบ คือ
- System International Unit หรือทีเ่ รียกว่า “ระบบ SI” ตัวย่อ SI
- British Gravitational System หรือทีเ่ รียกว่า “ระบบอังกฤษ” ตัวย่อ BG
ในเอกสารการฉบับนี้จะใช้ระบบ SI เป็ นหลัก ซึง่ หน่วยของมิตปิ ฐมภูม ิ และทุตยิ ภูม ิ แสดงดังตารางที่ 1.1 และ
ตารางที่ 1.2 ตามลําดับ

ตารางที่ 1.1 หน่วยของมิตปิ ฐมภูมขิ องระบบ SI และ BG

ตารางที่ 1.2 ตังอย่างหน่วย ของมิตทิ ุตยิ ภูม ิ

Fluid Property ธัญดร ออกวะลา


Fluid Mechanics 1-3

ตัวอย่างที่ 1.3 จงหาหน่วยของ แรง


วิธที าํ จากกฎของ Newton F = ma
แรงในทีน่ ้ีมหี น่วยเป็ น N (Newton)
m (มวล) มีมติ เิ ป็ น M มีหน่วยเป็ น kg
-2
a (ความเร่ง) มีมติ เิ ป็ น LT มีหน่วยเป็ น m/s2
F (แรง) มีมติ เิ ป็ น MLT-2 มีหน่วยเป็ น kg m/s2
1 N = 1 kg m/s2 Ans

Prefixes
Prefixes คือ คํานําหน้าทีน่ ํามาใส่ไว้ดา้ นหน้าของหน่วย เพือ่ หลีกเลีย่ งความไม่สะดวกในการใช้งานตัวเลขทีม่ ี
ขนาดใหญ่มากๆ หรือเล็กมากๆ เช่น
2.5 กิ โลเมตร (km) เท่ากับ 2103 หรือ 2,000 เมตร (m) ซึง่ กิโล หรือสัญลักษณ์ k มีคา่ เท่ากับ 103
1.5 มิ นลิ เมตร (mm) เท่ากับ 1.510-3 หรือ 0.0015 เมตร (m) ซึง่ มินลิ หรือสัญลักษณ์ m (ตัวหน้า) มีคา่
เท่ากับ 10-3

ตารางที่ 1.3 ชื่อ สัญลักษณ์ และค่า ของ Prefixes

ธัญดร ออกวะลา Fluid Property


1-4 Fluid Mechanics

1.4 นิ ยามของของไหล

ของไหล (Fluid) หมายถึง สสารทีส่ ามารถเปลีย่ นรูปร่างได้อย่างต่อเนื่อง เมื่อถูกกระทําด้วยแรงเค้นเฉือน ซึง่


นันหมายความว่
่ า เมือ่ ใดทีม่ แี รงเค้นเฉือนมากระทํา ของไหลจะเกิดการขยับตัว และเปลีย่ นรูปร่างไป เช่นเมือ่ เทของไหล
ลงในภาชนะ ของไหลจะเปลีย่ นแปลงรูปร่างอย่างต่อเนืองไปชัวขณะหนึ ่ ่ง เป็ นเพราะรูปร่างของของไหลในขณะนัน้ ไม่
สอดคล้องกับรูปร่างของภาชนะ จึงทําให้เกิดแรงเค้นเฉือนขึน้ ภายในของเหลว กระบวนการปรับตัวนี้จะดําเนินต่อเนื่อง
ไปจนกระทังแรงเค้
่ นเฉือนหายไป ซึง่ ก็คอื สภาวะทีข่ องไหลมีรปู ร่างเหมือนกับภาชนะ บริเวณผิวสัมผัสระหว่างของไหล
กับภาชนะจะมีแต่แรงเค้นตัง้ ฉากเท่านัน้ หรือกล่าวอีกนัยหนึ่งคือ ในขณะทีข่ องไหลเคลื่อนทีจ่ ะต้องมีแรงเค้นเฉือน
เกิดขึน้ ในทางตรงกันข้าม หากของไหลไม่มกี ารเคลื่อนที่ ทีส่ ภาวะนัน้ จะไม่มแี รงเค้นเฉือนกระทําอยูเ่ ลย

ของไหลสามารถคงรูปอยู่ได้ในสองสถานะ

ของเหลว (Liquid) - มีรปู ร่างไม่แน่นอน เปลีย่ นแปลงได้ตามภาชนะทีบ่ รรจุ แต่จะมีขอบเขตแบ่งระหว่างตัว


มันเองกับของไหลอื่นอย่างชัดเจน เรียกว่า “ผิวอิสระ” (Free surface) ตัวอย่างเช่น ถ้านําของเหลวทีบ่ รรจุอยูใ่ นภาชนะ
แล้วตัง้ ไว้บนโลก ของเหลวชนิดนัน้ จะมีผวิ อิสระทีแ่ บ่งระหว่างตัวมันเองกับอากาศ และผิวอิสระนัน้ จะวางตัวในแนวราบ
เสมอ นอกจากนี้ของเหลวยังมีคุณสมบัตทิ ย่ี ากต่อการบีบอัด เนื่องจากระยะห่างระหว่างโมเลกุลค่อนข่างน้อย (มากกว่า
ของแข็ง แต่น้อยกว่า ก๊าซ)

ก๊าซ (Gas) – มีรปู ร่างไม่แน่นอน เปลีย่ นแปลงได้ตามภาชนะทีบ่ รรจุ โดยมีลกั ษณะแพร่กระจายไปทัวภาชนะ



ไม่มผี วิ อิสระ และถูกบีบอัดได้งา่ ยกว่าของเหลว เนื่องจากมีระยะห่างระหว่างโมเลกุลมากกว่าของเหลว

รูปที่ 1.1 ความแตกต่างระหว่างของเหลวกับก๊าซ

Fluid Property ธัญดร ออกวะลา


Fluid Mechanics 1-5

1.5 คุณสมบัติของของไหล

การศึกษาวิชากลศาสตร์ของของไหล จะต้องทราบคุณสมบัตพิ น้ื ฐานบางประการของของไหล เพือ่ นําไปใช้เป็ น


ตัวแปรต่างๆ ในการคํานวณ หรือวิเคราะห์ปญั หาทางด้านกลศาสตร์

1.5.1 ความหนาแน่ น (Density or Mass Density)

ความหนาแน่น หมายถึง มวลของของไหล (mass) ในหนึ่งหน่วยปริมาตร (Volume) สัญลักษณ์ทใ่ี ช้แทน


คือ “  ” (อ่านว่า โร – rho)

Mass m
ρ  : หน่วยของความหนาแน่นคือ กก./ลบ.ม. (kg/m3)
Volume 

ความหนาแน่นของของไหลจะไม่คงที่ โดยจะเปลีย่ นแปลงไปตามอุณหภูมแิ ละความดัน เช่นทีอ่ ุณหภูม ิ


O
4 C ความดัน 1 บรรยากาศ นํ้าในสถานะของเหลวจะมีความหนาแน่นเท่ากับ 1,000 กก./ลบ.ม. (W) ซึง่ เป็ น
สภาวะทีน่ ้ํามีความหนาแน่นมากทีส่ ดุ เมือ่ เทียบกับทีอ่ ุณหภูม ิ และความดันอื่นๆ

1.5.2 นํ้าหนักจําเพาะ (Specific Weight)

นํ้าหนักจําเพาะ หมายถึง นํ้าหนักเนื่องจากแรงโน้มถ่วงของของไหล (Weight) ในหนึ่งหน่วยปริมาตร


(Volume) สัญลักษณ์ทใ่ี ช้แทนคือ “  ” (อ่านว่า แกมม่า – gamma)

Weight mg
γ   g : หน่วยของนํ้าหนักจําเพาะคือ นิวตัน/ลบ.ม. (N/m3)
Volume 

เช่นเดียวกับความหนาแน่น นํ้าหนักจําเพาะของของไหลจะไม่คงที่ โดยจะเปลีย่ นแปลงไปตามอุณหภูมแิ ละ


ความดัน เช่นทีอ่ ุณหภูมิ 4OC ความดัน 1 บรรยากาศ นํ้าในสถานะของเหลวบนโลกจะมีน้ําหนักจําเพาะเท่ากับ
9,810 นิวตัน/ลบ.ม. (W) ซึง่ เป็ นสภาวะทีน่ ้ํามีน้ําหนักจําเพาะมากทีส่ ดุ เมือ่ เทียบกับทีอ่ ุณหภูมิ และความดันอื่นๆ

1.5.3 ความถ่วงจําเพาะ (Specific Gravity)

ความถ่วงจําเพาะ หมายถึง อัตราส่วนระหว่างแรงดึงดูดทีส่ นามแรงโน้มถ่วง กระทํากับของเหลวชนิดนัน้


เทียบกับนํ้าอุณหภูมิ 4 OC ความดัน 1 บรรยากาศ ทีม่ ปี ริมาตรเท่ากัน สัญลักษณ์ทใ่ี ช้แทนคือ “ S ” หรือ “ SG ”

W γ ρg ρ
SG     : ความถ่วงจําเพาะไม่มหี น่วย
Ww γ w ρ w g ρ w

ดังนัน้ ค่าความถ่วงจําเพาะของนํ้าทีอ่ ุณหภูม ิ 4OC ความดัน 1 บรรยากาศ จึงมีคา่ เท่ากับ 1

ธัญดร ออกวะลา Fluid Property


1-6 Fluid Mechanics

1.5.4 ปริ มาตรจําเพาะ (Specific Volume)

ปริมาตรจําเพาะ หมายถึง ปริมาตรของของไหล (Volume) ต่อหนึ่งหน่วยมวล (mass) สัญลักษณ์ทใ่ี ช้แทน


คือ “  ”

Volume  1
   : หน่วยของปริมาตรจําเพาะคือ ลบ.ม./กก. (m3/kg)
Mass M ρ

1.5.5 ความหนื ด (Viscosity)

เนื่องจาก ของไหล คือสสารทีส่ ามารถเปลีย่ นรูปร่างได้อย่างต่อเนื่อง (Deformation) หากพิจารณาของไหล


เป็ นก้อนอนุภาค เมือ่ ถูกกระทําด้วยแรงเค้นเฉือน (shear stress) อนุ ภาคของไหลแต่ละชนิด จะมีความสามรถใน
การต้านทานการเปลีย่ นแปลงรูปร่างต่างกัน ซึง่ เป็ นผลมาจากแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุ ภาค และการแลกเปลีย่ น
โมเมนตัมระหว่างอนุ ภาคของของไหลนัน้ ความสามารถในการต้านทานการเปลีย่ นรูปร่างอันเนื อ่ งมาจาก
แรงเค้นเฉื อนนี้ เราเรียกว่า “ความหนื ด” (Viscosity)

ในการเคลื่อนทีข่ องของไหล แรงเค้นเฉือนจะเกิดขึน้ จากแรงเสียดทาน (Friction) ระหว่างอนุ ภาคของของ


ไหลด้วยกันเอง เมือ่ พิจารณาก้อนอนุภาคของของไหล ดังรูปที่ 1.2 จะเห็นได้วา่ แรงเค้นเฉือนทีเ่ กิดขึน้ จะแปรผัน
กับ “แรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุ ภาค” (Cohesion Force)

รูปที่ 1.2 การเปลีย่ นรูปร่างของของไหลอันเนื่องมาจากแรงเค้นเฉือน

จากรูปที่ 1.2 เมือ่ พิจารณาอนุ ภาคของของไหลทีม่ คี วามเร็วด้านล่าง (AD) เท่ากับ V ด้านบน (BC) มี
ความเร็วเท่ากับ V+v ดังนัน้ ความเร็วผิวด้านบนและด้านล่างแตกต่างกันเท่ากับ v ที่ เวลา t = 0 รูปร่างของ
อนุ ภาคจะมีลกั ษณะดังรูป ABCD และเมือ่ เวลาเปลีย่ นไป t = t อนุ ภาคจะมีรปู ร่างเปลีย่ นแปลงไปเป็ นรูป
A’B’C’D’
δa
พิจารณาทีม่ มุ  tan δ 
δy
δa
แต่เนื่องจากมุม  มีขนาดเล็กมาก ดังนัน้   tan δ  δβ 
δy
และเนื่องจากระยะทาง = ความเร็วเวลา จะได้ δa  δv δt  จึงทําให้

Fluid Property ธัญดร ออกวะลา


Fluid Mechanics 1-7

δv δt  δβ δv
δβ    --------- (1.1)
δy δt δy
δβ
เรียกว่า Rate of shear strain (อัตราการเปลีย่ นแปลงความเครียดเฉือนเทียบกับเวลา) ซึง่ จะมีคา่
δt
แปรผันโดยตรงกับ Shear stress (ความเค้นเฉือน) ซึง่ จะได้วา่

δβ δv
τ หรือ τ --------- (1.2)
δt δy

จากความสัมพันธ์ขา้ งต้นสามารถสรุปได้วา่ Shear stress ทีเ่ กิดขึน้ สามารถคํานวณได้จาก


 dv 
τ  μ  --------- (1.3)
 dy 

สมการที่ 1.3 เป็ นสมการสําหรับหาความเค้นเฉือนของของไหล ทีม่ พี ฤติกรรมเป็ นไปตามกฎของนิวตัน


หรือเรียกสมการนี้วา่ สมการความหนืดของนิวตัน (Newton’s equation of viscosity) โดยที่  (อ่านว่า mu) คือ
ค่าสัมประสิทธิ ์ ความหนืดไดนามิกส์ (Dynamic Viscosity) หรือ ความหนืดสัมบูรณ์ (Absolute Viscosity) ซึง่ มีมติ ิ
เป็ น FL-2T และมีหน่วยคือ N s / m2 หรือ lb sec / ft2

จากสมการความหนืดของนิวตันจะเห็นได้วา่ ถ้าอุณหภูมคิ งทีค่ วามสัมพันธ์ระหว่างแรงเค้นเฉือน กับ dv/dy


จะมีลกั ษณะเป็ นเส้นตรงทีม่ คี วามชันเท่ากับ  ด้วยเหตุน้ีเราจึงสามารถสรุปได้วา่ สําหรับของไหลมีคา่ ความหนืด
สูง จะต้องใช้แรงเค้นเฉือนมากเพือ่ ทีจ่ ะทําให้เกิดการเปลีย่ นแปลงรูปร่าง

รูปที่ 1.3 ความสัมพันธ์ระหว่าง  กับ (dv/dy) สําหรับของไหลนิวโทเนียน

ค่าความหนืดสัมบูรณ์ เป็ นคุณสมบัตเิ ฉพาะตัวของของไหล โดยจะแปรเปลีย่ นไปตามอุณหภูม ิ กล่าวคือ


ของไหลทีม่ สี ถานะเป็ นของเหลว เมือ่ อุณหภูมสิ งู ขึน้ ความหนืดสัมบูรณ์จะลดลง เป็ นเพราะเมือ่ อุณหภูมสิ งู ขึน้ แรง
ยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคของของเหลวจะลดลง ส่วนของไหลในสถานะก๊าซ อนุ ภาคมีการเคลื่อนไหวมากขึน้ เมื่อ
อุณหภูมสิ งู ขึน้ จึงทําให้โอกาสในการชนกันของอนุ ภาคมีมากขึน้ ซึง่ เป็ นสาเหตุให้คา่ ความหนืดสูงขึน้

ธัญดร ออกวะลา Fluid Property


1-8 Fluid Mechanics

รูปที่ 1.4 ความหนืดสัมบูรณ์ (Absolute Viscosity) ของของไหลทีอ่ ุณหภูมติ ่างๆ

ในบางครัง้ ค่าความหนืดอาจแสดงในรูปของอัตราส่วนระหว่าง ความหนืดสัมบูรณ์ ต่อ ความหนาแน่น ซึง่


เรียกว่า ความหนืดคิเนมาติก (Kinematic Viscosity) โดยมีสญ ั ลักษณ์ทใ่ี ช้แทนคือ  (อ่านว่า “นิว”)

 --------- (1.4)

ความหนืดคิเนมาติก มีมติ เิ ป็ น L2/T และมีหน่วยคือ m2/s หรือ ft2/sec

Fluid Property ธัญดร ออกวะลา


Fluid Mechanics 1-9

รูปที่ 1.5 ความหนืดคิเนมาติก (Kinematic Viscosity) ของของไหลทีอ่ ุณหภูมติ ่างๆ

ธัญดร ออกวะลา Fluid Property


1-10 Fluid Mechanics

สําหรับของไหลทีม่ พี ฤติกรรมเป็ นไปตามสมการความหนืดของนิวตัน หรือของไหลทีม่ คี วามหนืดคงทีเ่ มือ่


ไม่วา่ dv/dy จะเปลีย่ นแปลงเท่าไรนัน้ เราจะเรียกของไหลชนิดนัน้ ว่า ของไหลนิวโทเนียน (Newtonian fluid)

ส่วนของไหลทีม่ พี ฤติกรรมไม่เป็ นไปตามสมการความหนืดของนิวตัน หรือของไหลทีม่ คี วามหนืดไม่คงที่


เมือ่ dv/dy เปลีย่ นแปลงไปนัน้ เราจะเรียกของไหลชนิดนัน้ ว่า ของไหลนอนนิวโทเนียน (Non-Newtonian fluid)
ซึง่ สามารแบ่งได้เป็ น 3 ประเภทดังนี้
1) ของไหลประเภทไดลาแทน (Dilatant fluid) ความหนืดจะเพิม่ ขึน้ เมือ่ แรงเค้นเฉือนเพิม่ ขึน้
2) ของไหลประเภทสูโดพลาสติก (Pseudoplastic fulid) ความหนืดจะลดลง เมือ่ แรงเค้นเฉือนเพิม่ ขึน้
3) ของไหลประเภทพลาสติก (Plastic fluid) พฤติกรรมจะเหมือนของแข็งในระยะเริม่ ต้น แต่เมื่อถูกแรง
เค้นเฉือนกระทําจนถึงจุดคราก (yield) คุณสมบัตจิ ะเปลีย่ นเป็ นของไหลแบบ Newtonian

รูปที่ 1.6 ความสัมพันธ์ระหว่าง  กับ (dv/dy) สําหรับของไหลประเภทต่างๆ

Fluid Property ธัญดร ออกวะลา


Fluid Mechanics 1-11

ตัวอย่างที่ 1.4 จากรูปแผ่น plate เคลื่อนทีอ่ ยูใ่ นรางทีบ่ รรจุของไหลทีม่ คี า่ ความหนืด เท่ากับ  จงหาขนาดของ
แรงฉุด (F) ทีท่ าํ ให้ plate เคลื่อนทีด่ ว้ ยความเร็วเท่ากับ v (สมมติให้การกระจายความเร็วเป็ นเส้นตรง)

วิธที าํ พิจารณาการกระจายตัวของความเร็วเป็ นเส้นตรง ได้ดงั นี้


dv Δv  v  0  v
จากรูปจะได้   
dy Δy  a  0  a
 dv  v
τ  μ    τ  μ 
 dy  a
จาก F =  A โดยที่ A = พืน้ ทีร่ บั  (ข้อนี้ม ี 2 ด้าน)
A = 2 (2b × b) = 4b2
4vb 2
F  μ  4b 
 v 2
จาก F = t A F  Ans
 a  a

ตัวอย่างที่ 1.5 จากรูปเป็ นลักษณะของการไหลในทางนํ้า


เปิ ด มีการกระจายตัวของความเร็วเป็ นรูป parabola
ความเร็วสูงสุดทีผ่ วิ นํ้าวัดได้ 6 m/s ความลึกของนํ้าเท่ากับ
3 m จงหาความเค้นเฉือนทีเ่ กิดขึน้ บริเวณท้องนํ้า

วิธที าํ รูปทัวไปของสมการ
่ Parabola คือ
2
(v-k) = C(y-h) ; เมือ่ (h,k) คือจุดยอดของ parabola
จากรูปจุดยอดของ parabola อยูท่ ผ่ี วิ นํ้า y = 0 ; v = 6
 h=0m k = 6 m/s
แทนค่าได้ (v-6) = C(y-0)2
พิจารณาทีท่ อ้ งนํ้า y = 3 ; v = 0
แทนค่าจะได้ (0-6) = C(3)2  C = -(6/9) = -(2/3)
จะได้สมการการกระจายตัวของความเร็วทีค่ วามลึกต่างๆ ดังนี้ v  6  32 y 2
dv dv
   43 y ทีท่ อ้ งนํ้า y=3    43  3   4 s 1
dy dy
จาก  =  = (9×10 m /s)×(1000 kg/m ) = 0.009 kg/s m (หรือ N s/m2)
-5 2 3

 dv 
จาก τ  μ  = (0.009 Ns/m2)(4 s-1) = 0.036 N/m2 Ans
 dy 

ธัญดร ออกวะลา Fluid Property


1-12 Fluid Mechanics

ตัวอย่างที่ 1.6 ระบบเพลามีขนาด และทิศทางการเคลื่อนทีด่ งั รูป ถ้ากระบอกเพลาเคลื่อนทีด่ ว้ ยความเร็ว 1 ม./


วินาที และเพลาเคลื่อนทีด่ ว้ ยความเร็ว 2 ม./วินาที จงหาแรงทีก่ ระทํากับเพลา (สมมติให้การกระจายตัวของ
ความเร็วมีลกั ษณะเป็ นเส้นตรง)

dv V
วิธที าํ พิจารณาจาก  
dv b

     SG W  8  10
4
 0.91,000  0.72 kg  Ns 
 หรือ 2 
s m  m 
V  3 kN
     0.72   4.32 2
b  0.0005  m
F  A   DL    4.32    0.05    0.20  = 135.7 N Ans

Fluid Property ธัญดร ออกวะลา


Fluid Mechanics 1-13

1.5.6 ความสามารถในการบีบอัดตัวของของไหล (Compressibility)

ในสภาพความเป็ นจริงสสารทุกชนิดจะมีความยืดหยุน่ นันหมายความว่


่ าสสารสามารถขยายตัวหรืหดตัว
ภายใต้สภาวะทีแ่ ตกต่างกัน ซึง่ ในของไหล เมือ่ ถูกบีบอัด (มีการเปลีย่ นแปลงความดัน) ปริมาตรของของไหลจะ
เปลีย่ นแปลงไป ส่งผลให้ความหน้าแน่นเปลีย่ นแปลงตามไปด้วย ความสามารถในการเปลีย่ นแปลงปริมาตรนี้ถกู
เรียกว่า Compressibility ซึง่ เป็ นคุณสมบัตเิ ฉพาะตัวของของไหลแต่ละชนิด โดยจะเปรียบได้กบั ค่าความยืดหยุน่
ในของแข็ง (Modulus) แต่ในของเหลวนัน้ ค่าความยืดหยุน่ (ความสามารถในการบีบอัดตัว) จะอยูใ่ นรูปของค่า
“Bulk Modulus” (k) โดยหาได้จาก
 dp 
k    --------- (1.5)
 d 
 
เมือ่ dp = การเปลีย่ นแปลงความดัน
d = การเปลีย่ นแปลงปริมาตร
 = ปริมาตร

ในวิชากลศาสตร์ของของไหล หากพิจารณาความสามารถในการบิบอัดตัวของของไหล เราจะสามารถ


จําแนกของไหลออกเป็ น 2 ประเภทคือ

- ของไหลทีบ่ บี อัดตัวไม่ได้ หรือบีบอัดตัวได้น้อยมาก (Incompressible fluid) เมือ่ มีการ


เปลีย่ นแปลงของความดัน ความหนาแน่นของของไหลประเภทนี้จะมีการเปลีย่ นแปลงน้อยมาก
จนสามารถละทิง้ ได้ ของไหลประเภทนี้สว่ นใหญ่อยูใ่ นสถานะ ของเหลว

- ของไหลทีบ่ บี อัดตัวได้ (Compressible fluid) คือของไหลทีม่ คี วามหนาแน่นไม่คงทีเ่ มือ่ ความดัน


เปลีย่ นแปลงไป ของไหลประเภทนี้สว่ นใหญ่อยูใ่ นสถานะ ก๊าซ

รูปที่ 1.7 ความแตกต่างระหว่าง Incompressible fluid กับ Compressible fluid

ธัญดร ออกวะลา Fluid Property


1-14 Fluid Mechanics

1.5.7 แรงตึงผิ ว (Surface tension)

แรงตึงผิว คือแรงทีเ่ กิดจากการปรับสภาพสมดุลของแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุ ภาคของของเหลวทีอ่ ยู่


บริเวณผิว หรือแรงทีเ่ กิดขึน้ บริเวณขอบของผิวอิสระของของเหลวกับวัตถุทอ่ี ยูต่ ดิ กัน ซึง่ จะเกิดกับของไหลทีอ่ ยูใ่ น
สถานะของเหลวเท่านัน้
Fs  σL w --------- (1.5)
เมือ่ Fs = แรงตึงผิว (N)
 = ควานตึงผิว หรือ หน่วยแรงตึงผิว (N/m)
= (แรงตึงผิวต่อความยาวขอบผิวอิสระ)
Lw = ความยาวเส้นขอบผิวอิสระ (m)

รูปที่ 1.8 ตัวอย่างปรากฏการณ์ทเ่ี กีย่ วข้องกับแรงตึงผิว

เหตุใด ฐานของหยดนํ้ากับหยดปรอทที่อยู่บนพืน้ จึงแตกต่างกัน

รูปที่ 1.9 ลักษณะรูปร่างของหยดปรอท และนํ้า ทีอ่ ยูบ่ นพืน้

เพือ่ ให้เข้าใจถึงเหตุผล จึงจําเป็ นต้องกล่าวถึงแรงอีก 2 ชนิดคือ


แรงยึดติด (A) คือแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุ ภาคของไหล กับผนังภาชนะ
แรงเชื่อมแน่น (C) คือแรงยืดเหนี่ยวระหว่างอนุ ภาคของของไหลด้วยกันเอง
โดยผิวของไหลจะตัง้ ฉากกับทิศทางของผลรวมของแรงทัง้ 2 เสมอ
พิจารณาอนุภาคทีข่ อบของผิวอิสระหากแรงเชื่อมแน่นมีคา่ น้อย แรงยึดติดมาก แรงรวมจึงมีทศิ ทางเฉเข้า
หาภาชนะดังรูป 1.10 (ก) ส่งผลให้มมุ สัมผัส () จึงมีคา่ น้อย เช่นเดียวกับหยดนํ้า แรงเชื่อมแน่นมีคา่ น้อย ใน
ขณะเดียวกันแรงยึดติดมีคา่ มาก ฐานของหยดจึงมีลกั ษณะแผ่กระจายออกเมือ่ สัมผัสกับพืน้ ผิววัตถุ

Fluid Property ธัญดร ออกวะลา


Fluid Mechanics 1-15

รูปที่ 1.10 ลักษณะการเกิดแรงบริเวณขอบของผิวอิสระ


 
ในทางตรงกันข้าม หากแรงเชื่อมแน่นมีคา่ มาก แรงยึดติดน้อย ผลรวมของแรงทัง้ สองจะมีทศิ ทางเฉเข้าหา
ของไหลดังรูป 1.10 (ข) จึงส่งผลให้มมุ สัมผัส () จะมีคา่ มาก เช่นเดียวกับหยดปรอท ซึง่ มีคา่ แรงเชื่อมแน่นสูงมาก
รูปร่างของหยดจึงมีลกั ษญะจับตัวเป็ นเม็ดได้ดกี ว่านํ้า

เหตุใด ขนาดหยดของของไหลจึงเล็กกว่าฟองของของไหลนัน้ เสมอ

รูปที่ 1.11 ลักษณะของแรงทีเ่ กิดแรงบริเวณขอบของหยด และฟอง

กําหนดให้ P คือความดันภายใน หยด หรือ ฟอง


Pa คือความดันภายนอก หยด หรือ ฟอง
r คือรัศมีของ หยด หรือ ฟอง
พิจารณาผลรวมของแรงทีเ่ กิดขึน้ กับหยดของไหล ดังรูปที่ 1.11 (ก) จะได้วา่
Fs    
= P r 2  Pa r 2
 2r  = P  Pa r 2 
2
r  --------- (1.6)
P  Pa 
พิจารณาผลรวมของแรงทีเ่ กิดขึน้ กับฟองของไหล ดังรูปที่ 1.11 (ข) ถ้าให้ความหนาของผิวฟองมีคา่ น้อย
มาก รัศมีภายในประมาณกับรัศมีภายนอก หรือเท่ากับ r จะได้วา่
Fs    
= P r 2  Pa r 2
2 2 r  = P  Pa r 2 
4
r  --------- (1.7)
P  Pa 
จากสมการที่ 1.6 และ 1.7 จะเห็นได้วา่ ถ้าผลต่างของความดันภายในกับภายนอกมีคา่ เท่ากัน รัศมีของ
ฟองจะมากกว่าหยดถึง 4 เท่า หรืสามารถสรุปได้วา่ ขนาดของฟองของของไหลจะใหญ่กว่าหยดของของไหลเสมอ

ธัญดร ออกวะลา Fluid Property


1-16 Fluid Mechanics

Capillarity เป็ นปรากฏการณ์ทางธรรมชาติทข่ี องไหลในบริเวณทีส่ มั ผัสกับวัตถุจะยกตัวสูงขึน้ หรือลดตํ่าลง


ซึง่ เป็ นผลมาจากอิทธิพลของแรงตึงผิว ปรากฏการณ์น้ีจะเกิดขึน้ บริเวณช่องว่างแคบๆ เช่นหลอดขนาดเล็กๆ หรือ
ช่องว่างระหว่างเม็ดดิน เป็ นต้น

รูปที่ 1.12 ปรากฏการณ์ Capillarity

2cos 
กรณีของหลอดกลม h --------- (1.8)
r
เมือ่ r = เส้นผ่าศูนย์กลางหลอด และ  = มุมสัมผัสระหว่างผนังกับผิวอิสระของของเหลว

ตารางที่ 1.4 คุณสมบัตขิ องนํ้าทีอ่ ุณหภูมติ ่างๆ

Fluid Property ธัญดร ออกวะลา


Fluid Mechanics 2-1

บทที่ 2
ของไหลสถิ ต

ของไหลสถิต (Fluid Statics) คือของไหลทีอ่ ยูน่ ิ่ง ไม่มกี ารไหล และไม่มกี ารเคลื่อนทีร่ ะหว่างชัน้ ของของไหล
ซึง่ นันหมายความว่
่ าจะไม่เกิดผลเนื่องจากแรงเค้นเฉือนระหว่างอนุภาคของของไหล ดังนัน้ อนุภาคของของไหลจึงได้รบั
ผลกระทบจากความดัน และแรงโน้มถ่วงของโลกเท่านัน้

ในบทนี้จะเป็ นการศึกษาถึงพฤติกรรมพืน้ ฐานของความดันในของไหลสถิต เช่น แรงดันของของไหลทีก่ ระทํา


กับโครงสร้างต่างๆ แรงทีก่ ระทํากับวัตถุทล่ี อยอยูใ่ นของไหล หรือ แรงดันของของไหลทีก่ ระทํากับผนังภาชนะในกรณีท่ี
ภาชนะมีการเคลื่อนที่ เป็ นต้น ซึง่ จะเป็ นประโยชน์ต่อการวิเคราะห์ปญั หาด้านวิศวกรรมต่างๆ ต่อไป

2.1 ความดัน (Pressure)

ความดัน หมายถึง แรงทีก่ ระทําในหนึ่งหน่วยพืน้ ที่ (มิตคิ อื FL-2 หรือ ML-1T-2) ดังนัน้ ถ้า dF คือแรงทีก่ ระทํา
บนพืน้ ทีเ่ ล็กๆ dA บนพืน้ ที่ A ความดันจะมีคา่ เป็ น

dF
P --------- (2.1)
dA

แต่ถา้ ความดันทีก่ ระทํามีคา่ สมํ่าเสมอเท่ากันทัง้ พืน้ ที่ A ความดันจะมีคา่ เป็ น

F
P --------- (2.2)
A

หน่วยของความดันในระบบ SI คือ นิวตัน/ตารางเมตร (N/m2)

รูปที่ 2.1 ลักษณะของความดันทีก่ ระทําบนพืน้ ที่

ธัญดร ออกวะลา Fluid Static


2-2 Fluid Mechanics

2.1.1 ความดันที่จดุ ใดๆ ในของไหล (Pressure at a point in fluid)

หากพิจารณาก้อนของไหลรูปลิม่ สามเหลีย่ มขนาดเล็กมากในของไหลทีอ่ ยูน่ ิ่งไม่มกี ารเคลื่อนที่ และไม่มกี าร


ไหล ดังแสดงในรูปที่ 2.2

รูปที่ 2.2 แรงต่างๆ ทีก่ ระทํากับก้อนของไหลของไหล

จากสมการการเคลื่อนทีข่ อง นิวตัน  F  ma พิจารณาเฉพาะในทิศทางตามแนวแกน Y จะได้วา่


Py  dxdz   Pdxdlsin  =  1 2 dxdydz a y
หากพิจารณาจากก้อนวัตถุ dlsin   dz ดังนัน้
Py  dxdz   P dxdz  =  1 2 dxdydz a y
Py  P =  1 2 dy a y
เนื่องจากลิม่ มีขนาดเล็กมาก จึงทําให้ dy มีคา่ เข้าใกล้ 0 ส่งผลให้  1 2 dy a y  0 ในทีส่ ดุ จะได้
Py  P --------- (2.3)
ในทํานองเดียวกัน หากพิจารณาเฉพาะในทิศทางตามแนวแกน Z จะได้วา่
Pz  dxdy   Pdxdlcos     1 2 dxdydz  =  1 2 dxdydz a z
หากพิจารณาจากก้อนวัตถุ dlcos   dy ดังนัน้
Pz  dxdy   P dxdy     1 2 dxdydz  =  1 2 dxdydz a z
Pz  P =  1 2 dz a z    1 2 dz 

เนื่องจากลิม่ มีขนาดเล็กมาก จึงทําให้ dy มีคา่ เข้าใกล้ 0 ส่งผลให้  1 2 dz a z  0 ในทีส่ ดุ จะได้


Pz  P --------- (2.4)

จากสมการที่ 2.3 และ 2.4 สามารสรุปได้วา่ “ในของไหลทีอ่ ยู่ในสภาพหยุดนิ ่งไม่มีการไหล ทีจ่ ดุ ใดๆ
ความดันของของไหลจะมีขนาดเท่ากันในทุกทิ ศทาง” ซึง่ หลักการนี้เรียกว่า กฎของปาสคาล (Pascal’s law) ความ
ดันนี้เรียกว่า “Static Pressure”

Fluid Static ธัญดร ออกวะลา


Fluid Mechanics 2-3

2.1.2 การเปลี่ยนแปลงความดันในของไหลสถิ ต (Variation of pressure in static fluid)

พิจารณาก้อนอนุ ภาคของไหลทรงลูกบาศก์ทม่ี ขี นาดเล็กมากดังรูป 2.3 กําหนดให้ความดันทีจ่ ุดศูนย์ถ่วงมีคา่


เท่ากับ P และเนื่องจากไม่มกี ารไหล ดังนัน้ แรงทีเ่ กีย่ วของจึงมีเพียงแรงทีเ่ กิดจากความดัน และแรงโน้มถ่วงเท่านัน้

รูปที่ 2.3 แรงดันทีก่ ระทําบนระนาบต่างๆ ของของไหล

หากพิจารณาเฉพาะแกน Y ผลรวมของแรงภายนอกจะเท่ากับ
 p δy   p δy 
δFy   p  δxδz   p  δxδz
 y 2   y 2 
p
δFy   δxδyδz  --------- (2.5)
y

ในลักษณะเดียวกับแกน Y หากพิจารณากับแกน X จะ ได้


p
δFx   δxδyδz  --------- (2.6)
x
p
δFz   δxδyδz  --------- (2.7)
z

จากสมการที่ 2.5 2.6 และ 2.7 เมือ่ พิจารณาผลรวมแรงภายนอกในรูปเวกเตอร์ จะได้วา่


   
δ Fs  δFx i  δFy j  δFz k
  p  p  p  
δ Fs   i  j  k δxδyδz  --------- (2.8)
 x y z 

พิจารณาการเปลีย่ นแปลงความดันในรูปเวกเตอร์ จะได้วา่


 p  p  p  
 p   i  j  k  --------- (2.9)
 x y z 

จากสมการที่ 2.8 และ 2.9 ดังนัน้ ผลรวมของแรงภายนอกทัง้ 3 แกนจะมีคา่ เท่ากับ



δ Fs   p δxδyδz  --------- (2.10)

ธัญดร ออกวะลา Fluid Static


2-4 Fluid Mechanics

พิจารณานํ้าหนักของก้อนนํ้าในรูปเวกเตอร์ จะได้
 
- δw k   γδxδyδz k --------- (2.11)


จากสมการการเคลื่อนทีข่ อง นิวตัน  F  ma

δ Fs  w k  xyz a --------- (2.12)

แทนค่าสมการ 2.10 และ 2.11 ในสมการที่ 2.12



  p δxδyδz   γδxδyδz k  ρδxδyδz a


  p  γ k  ρa --------- (2.13)

สมการที่ 2.13 เรียกว่า “สมการการแปรผันความดันของของไหลทีเ่ คลื่อนทีด่ ว้ ยความเร่ง ในกรณีทไ่ี ม่เกิดแรง


เค้นเฉือนภายในของไหล” ในกรณีทม่ี คี วามเร่งแต่ไม่มคี วามเค้นเฉือนคือ ของไหลมีความเร่งแต่ไม่มกี ารไหล
ตัวอย่างเช่น ของไหลทีอ่ ยูใ่ นภาชนะทีเ่ คลื่อนทีด่ ว้ ยความเร่ง เป็ นต้น

ในกรณีของไหลไม่มกี ารเคลื่อนทีแ่ ละไม่มกี ารไหล (ภาชนะไม่เคลื่อนที)่ ความเร่งจะเท่ากับ 0 สมการ 2.13 จะ


เปลีย่ นเป็ น

  p  γ k = 0
 p  p  p   
  i  j  k   k = 0 --------- (2.14)
 x y z 
พิจารณาเฉพาะแกน X จะได้
 p i   0 --------- (2.15)
 
 x 
พิจารณาเฉพาะแกน Y จะได้
 p  
 j0 --------- (2.16)
 y 

จากสมการที่ 2.15 และ 2.16 จะเห็นได้วา่ อัตราการเปลีย่ นแปลงของความดันเมือ่ เทียบกับระยะทางตามแกน


X และ Y จะเท่ากับ 0 ซึง่ นันหมายความว่
่ า ไม่มกี ารเปลีย่ นแปลงความดันในแนวระดับ หรือสามารถกล่าวอีกนัยหนึ่งว่า
“ในของไหลทีร่ ะดับเดียวกันจะมีความดันเท่ากัน”

Fluid Static ธัญดร ออกวะลา


Fluid Mechanics 2-5

หากพิจารณาในแนวแกน Z จะได้
 p k    γ k
 
 z 
dP
  --------- (2.17)
dz
จากสมการที่ 2.17 จะเห็นได้วา่ อัตราการเปลีย่ นแปลงของความดันเมือ่ เทียบกับระยะทางตามแกน Z จะไม่
า มีการเปลีย่ นแปลงความดันในแนวดิง่ หรือสามารถกว่าวอีกนัยหนึ่งว่า “ในของไหลที ่
เท่ากับ 0 ซึง่ นันหมายความว่

ระดับต่างกันความดันจะไม่เท่ากัน”

รูปที่ 2.4 ความแตกต่างของความดันระหว่างจุดสองจุด

การหาความแตกต่างของความดันระหว่างจุดสองจุดทําได้โดย
จากสมการที่ 2.17 dP   dz
P2 z2
 dP =    dz
P1 z1
P2-P1 = -(z2-z1)

P   z --------- (2.18)

จากสมการที่ 2.18 แสดงว่าในของไหลความดันจะเพิม่ สูงขึน้ เมือ่ z เป็ น ลบ หรือค่าระดับตํ่าลง ในทาง


ตรงกันข้าม ความดันจะลดตํ่าลงเมือ่ z เป็ น บวก หรือ ค่าระดับเพิม่ ขึน้ จากผลทีไ่ ด้สามารถอธิบายปรากฏการณ์ทพ่ี บ
เห็นในชีวติ ประจําวันได้ตวั อย่างเช่น เมือ่ เราเดินทางขึน้ ทีส่ งู ความดันภายนอกร่างกายจะลดตํ่าลง อากาศภายในแก้วหู
ซึง่ มีความดันมากกว่าจะดันแก้วหูออกด้านนอกทําให้เรารูส้ กึ หูอ่อื หรือ เมือ่ เราว่ายนํ้าแล้วดําลงไปในนํ้าความดัน
ภายนอกร่างกายจะเพิม่ ขึน้ แก้วหูจะถูกดันเข้าภายใน เนื่องจากอากาศภายในแก้วหูมคี วามดันตํ่ากว่า ทําให้เรารูส้ กึ หูอ่อื
เช่นกัน ด้วยเหตุน้ีเอง ในงานด้านวิศวกรรม จึงมีความจําเป็ นอย่างยิง่ ทีจ่ ะต้องเข้าใจถึงพฤติกรรมของความดัน และแรง
ต่างๆ ทีจ่ ะเกิดขึน้ เนื่องจากความดัน

ธัญดร ออกวะลา Fluid Static


2-6 Fluid Mechanics

2.1.3 การวัดความดัน (Measurement of Pressure)

การวัดความดันของของไหล มีมาตรฐานทีใ่ ช้กนั ทัวไปอยู


่ ่ 2 มาตรฐานคือ
- ความดันสัมบูรณ์ (Absolute pressure) คือความดันทีเ่ ปรียบเทียบกับ ความดันศูนย์สมั บูรณ์ (absolute
zero pressure) หรือความดันทีเ่ ปรียบเทียบกับทีส่ ญ
ู ญากาศ ดังนัน้ ความดันสัมบูรณ์จงึ มีคา่ เป็ นบวกเสมอ
- ความดันเกจ หรือความดันมาตร (Gauge Pressure) คือความดันทีเ่ ปรียบเทียบกับ ความดันบรรยากาศ
ณ จุดใดจุดหนึ่ง ซึง่ โดยทัวไปจะเปรี
่ ยบเทียบกันความดันบรรยากาศที่ ระดับนํ้าทะเลปานกลาง (mean
sea level : MSL) หรือกําหนดให้ความดันบรรยากาศทีร่ ะดับนํ้าทะเลปานกลาง มีคา่ เท่ากับ 0

รูปที่ 2.5 ความสัมพันธ์ระหว่างระดับความสูง กับความดันสัมบูรณ์ และความดันเกจ

2.1.4 หน่ วยของความดัน (Pressure Units)

เนื่องจากความดันคือแรงต่อหนึ่งหน่วยพืน้ ที่ ดังนัน้ หน่วยของความดันจึงอยูใ่ นรูป หน่วยของแรง ต่อ หน่วย


ของพืน้ ที่ เช่น ในระบบ SI ความดันจะมีหน่วยเป็ น นิวตันต่อตารางเมตร (N/m2) นอกจากนี้ความดันยังสามารถระบุได้
ในอีกหลายลักษณะดังนี้
- ระบบ SI หน่วยของความดันคือ
ปาสคาล (Pa) ซึง่ มีคา่ เท่ากับ นิวตันต่อตารางเมตร (N/m2)
เมตรของนํ้า หรือมิลลิเมตรปรอท (m of water ; mm.Hg)
บาร์ (bar) ซึง่ มีคา่ เท่ากับ 105 นิวตันต่อตารางเมตร (105 N/m2)
- ระบบ BG หน่วยของความดันคือ
ปอนด์ / ตารางนิ้ว (psi = lb / in2)
ฟุตของนํ้า หรือ นิ้วของปรอท (ft of water ; in.Hg)
* ส่วนหน่วย atm มาจากคําว่า หน่วยความดันบรรยากาศมาตรฐาน (Standard atmospheric pressure) คือ
หน่วยทีม่ ชี ว่ งกว้างเท่ากับค่าเฉลีย่ ของความดันบรรยากาศทีร่ ะดับนํ้าทะเลปานกลาง ดังนัน้ ทีร่ ะดับนํ้าทะเลปานกลางจึง
มีความดันเท่ากับ 1 atm (1.013105 N/m2)
1 atm = 1.013105 N / m2 (Pa) = 14.7 lb / in2 (psi)
= 1.013 bar (1bar = 105Pa)
= 760 mm.Hg = 29.9 in. Hg
= 10.33 m of Water = 33.9 ft of Water

Fluid Static ธัญดร ออกวะลา


Fluid Mechanics 2-7

ตัวอย่างที่ 2.1 จากรูป ถังทรงกระบอกใบหนึ่งบรรจุขอเหลว 2 ชนิดอยูภ่ ายใน จงหา


- ความดันเกจทีก่ น้ ถัง และทีค่ วามลึก 0.5 ม.
- ความดันสัมบูรณ์ทก่ี น้ ถัง และทีค่ วามลึก 0.5 ม.
กําหนดให้ความดันอากาศ Pa = 1 atm

วิธที าํ พิจารณาจากรูป P1 = P2+w(h1-h2)


P2 = Pa+oil(h2-0)
Pa = 1 atm = 1.013 105 N/m2
 P2 = (1.013 105) +(0.85w)(0.3-0)
= 103801.6 N/m2
P1 = 103801.6 +w(0.4)
ความดันสัมบูรณ์ทก่ี น้ ถัง P1 = 107725.6 N/m2 Ans
P3 = P2+w(h3-h2) = 103801.6+w(0.2)
ความดันสัมบูรณ์ทค่ี วามลึก 0.5 m P3 = 105763.6 N/m2 Ans
ความดันเกจทีก่ น้ ถัง = 107725.6-101300
= 6425.6 N/m2 Ans
ความดันเกจทีค่ วามลึก 0.5 ม. = 105763.6-101300
= 4463.6 N/m2 Ans

ธัญดร ออกวะลา Fluid Static


2-8 Fluid Mechanics

2.1.5 อุปกรณ์วดั ความดัน (Pressure gauge)

2.1.5.1 บารอมิเตอร์ (Barometer)


บารอมิเตอร์ เป็ นอุปกรณ์วดั ความดัน “บรรยากาศ” ซึง่ อาศัยหลักการของการเปลีย่ นแปลงความ
ดันของของไหล มีหลักการทํางานดังรูปที่ 2.6 โดยบรรจุของไหลในหลอดปลายปิ ดด้านหนึ่งด้านและควํ่าปลาย
ด้านทีเ่ ปิ ดลงในของเหลว (ส่วนใหญ่มกั จะใช้ของเหลวทีม่ คี วามหนาแน่นสูง เช่น ปรอท) จากนนัน้ จะเกิดโพลง
สูญญากาศขึน้ ด้านบนของปลายด้านปิ ด ซึง่ ความดันตํ่ามากจนเกือบเป็ นศูนย์ จึงทําให้ของไหลบริเวณนัน้
กลายเป็ นไอเพื่อเพิม่ ความดัน (ความดันไอ) ให้กบั ช่องว่างดังกล่าวจนกระทังความดั ่ นภายในหลอดสมดุลกับ
ความดันอากาศภายนอก เนื่องจากในช่วงเริม่ ต้นของปรากฏการณ์ โพลงสูญญากาศไม่มอี ะไรอยูเ่ ลย จึงทําให้
ค่าทีว่ ดั ได้นนั ้ คือความดันสัมบูรณ์ (absolute pressure)

รูปที่ 2.6 บารอมิเตอร์อย่างง่าย

จากรูป Pair = Pv+ปรอท h


2
แต่เนื่องจากปรอทมี Pv = 0.000023 lb/in ซึง่ ถือว่าน้อยมาก ดังนัน้
Pair = ปรอท h --------- (2.19)
บางครัง้ อาจบอกค่าความดันอยูใ่ นรูปของความสูงของปรอท (มิลลิเมตรปรอท : mm.Hg) นัน่
หมายความว่า จะต้องนําค่าความสูงทีร่ ะบุไปคูณกับนํ้าหนักจําเพาะของปรอทจึงจะได้คา่ ความดัน

2.1.5.2 มาโนมิเตอร์ (Manometer)

มาโนมิเตอร์ เป็ นอุปกรณ์วดั ความดัน ทีอ่ าศัยหลักการของการความแตกต่างระหว่างความดัน


ของของไหลในภาชนะกับอากาศภายนอกภาชนะเช่นเดียวกับ barometer แต่จะแตกต่างกันตรงทีค่ วมดันทีว่ ดั
ได้จะเป็ นความดันเกจ (gauge pressure)

เนื่องจากมานอร์มเิ ตอร์ มีหลายแบบ ในทีน่ ้ีจะยกตัวอย่างเพียง 3 แบบคือ

รูปที่ 2.7 ปิโซมิเตอร์ มาโนมิเตอร์รปู ตัว U และมาโนมิเตอร์แบบเอียง

Fluid Static ธัญดร ออกวะลา


Fluid Mechanics 2-9

- ปิโซมิเตอร์ (Piezometer) เป็ นอุปกรณ์วดั ความดัน ทีม่ หี ลักการง่ายทีส่ ดุ คือ นําท่อทีม่ ปี ลายเปิ ดสูอ่ ากาศ
ไปติดตัง้ ณ จุดทีต่ อ้ งการวัดความดัน ดังรูปที่ 2.7 (ก)

ความดันเกจทีจ่ ุด A มีคา่ เท่ากับ PA = h --------- (2.20)


ความดันสัมบูรณ์ทจ่ี ุด A มีคา่ เท่ากับ PA = Pair+h --------- (2.21)

- มาโนมิเตอร์รปู ตัว U (U-tube Manometer) ด้วยหลักการของ Piezometer หากจุดทีต่ อ้ งการวัดความดัน


มีคา่ ความดันสูง และความหนาแน่นของของเหลวตํ่า จะทําให้คา่ ความสูง (h) ทีอ่ ่านได้ทค่ี า่ สูงมาก ซึง่ นัน่
หมายความว่า หลอดวัดความดันทีใ่ ช้จะต้องมีความยาวมากขึน้ ตามไปด้วย ข้อจํากัดดังกล่าวสามารถ
แก้ไขได้โดย ดัดแปลงท่อวัดความดันให้เป็ นรูปตัว U และใส่ของเหลวทีม่ คี ่าความหนาแน่นสูงกว่าไว้ใน
หลอด ของเหลวดังกล่าวเรียกว่า Gage Fluid (เช่น ปรอท) ซึง่ จะทําให้คา่ h ทีอ่ ่านได้ไม่สงู มากนัก
ตัวอย่างดังรูปที่ 2.7 (ข)

ความดันเกจทีจ่ ุด A มีคา่ เท่ากับ PA = 2h2-1h1 --------- (2.22)

ความดันสัมบูรณ์ทจ่ี ุด A มีคา่ เท่ากับ PA = Pair+2h2-1h1 --------- (2.23)

- มาโนมิเตอร์แบบเอียง (Incline Tube Manometer) เป็ น manometer ทีด่ ดั แปลงให้สามารถอ่านค่าความ


ดันได้ละเอียดมากขึน้ โดยการเอียงหลอดวัดความดัน ตัวอย่างดังรูปที่ 2.7 (ค)

ความดันเกจทีจ่ ุด A มีคา่ เท่ากับ PA = 2(L sin)-1h1 --------- (2.24)

ความดันสัมบูรณ์ทจ่ี ุด A มีคา่ เท่ากับ PA = Pair+2(L sin)-1h1 --------- (2.25)

2.1.5.3 มาตรวัดบูดอง (Bourdon gauge) เป็ นมาตรวัดความดันเกจ ทีม่ สี ว่ นประกอบสําคัญคือ ท่อโลหะ


กลวงหน้าตัดรูปวงรี ดัดโค้งเป็ นรูปส่วนหนึ่งของวงกลม ปลายด้านหนึ่งปิ ดปล่อยเป็ นอิสระ และ
เชื่อมต่อกับกลไกบังคับเข็มทีห่ น้าปดั ส่วนปลายอีกด้านตรึงแน่น และเชื่อมต่อกับจุดทีต่ อ้ งการวัด
ความดัน เมือ่ ความดันเพิม่ ท่อวงรีจะพยายามเบ่งตัวทําให้ปลายอิสระเคลื่อนทีท่ าํ ให้เข็มทีห่ น้าปดั
ขยับไปยังตําแหน่งทีบ่ อกค่าของความดัน

รูปที่ 2.8 การทํางานของมาตรวัดบูดอง

ธัญดร ออกวะลา Fluid Static


2-10 Fluid Mechanics

ตัวอย่างที่ 2.2 จากรูป จงหาความดันทีจ่ ุด B เมือ่ ความดันทีจ่ ุด A มีคา่ เท่ากับ 25 mm-Hg (ระยะมีหน่วยเป็ น m)

วิ ธีทาํ 1 mm-Hg = (110-3 m.)SGHgw = 0.00113.69810 = 133.4 Pa

พิจารณาความดันทีจ่ ุด A

PA = 25 mm.Hg = 25133.4 = 3335.4 Pa = 3.34 kPa

หาความดันทีจ่ ุด B

PB = PA + (0.15) w + (0.30) HG - (0.45) Oil

= 3335.4 + (0.15) (9810) + (0.30) (13.69810) - (0.45) (0.809810)

= 41.31103 Pa = 41.31 kPa Ans

ตัวอย่างที่ 2.3 หลอดรูปตัว U บรรจุของเหลว 3 ชนิด คือ นํ้า


นํ้ามัน และของเหลวชนิดหนึ่งทีไ่ ม่รจู้ กั (Unknown fluid) ระดับ
ของของเหลวทัง้ สามชนิดมีลกั ษณะดังรูป จงหาความหนาแน่นของ
ของเหลวดังกล่าว

วิธที าํ 0.045W + 0.015 – 0.035 – 0.015W – 0.005Oil = 0

(0.045-0.015)W – 0.005(0.8)W + (0.015-0.035)  = 0

(0.03-0.004) W = 0.02

 = 1.3W

 = (/g) = (1.3W)/g

= 1.3W = 1.3(1,000) = 1,300 kg/m3 Ans

Fluid Static ธัญดร ออกวะลา


Fluid Mechanics 2-11

2.2 แรงดันของของไหลบนพืน้ ที่ผิวเรียบ (Pressure Force on a Plane Surface)


ในหัวข้อทีผ่ า่ นมาเราได้กล่าวถึงความดันของของไหลสถิต (Static Pressure) ซึง่ เป็ นหน่วยแรงต่อหนึ่งหน่ วย
พืน้ ที่ ดังนัน้ หากมีพน้ื ทีห่ รือพืน้ ทีม่ ารองรับความดันดังกล่าว จะเกิดหน่วยแรงกระจายตัวทัวทั
่ งพื
่ น้ ที่ และจากกฎทีว่ า่
ความดันทีจ่ ุดใดๆ จะมีขนาดเท่ากันทุกทิศทาง หากพิจารณาอนุภาคของนํ้าทีต่ ดิ กับพืน้ ทีร่ บั ความดันดังรูปที่ 2.9 จะเห็น
ได้วา่ ความดันในทุกทิศทางจะหักล้างกันหมด ยกเว้นในทิศทีต่ งั ้ ฉากพืน้ ที่ ซึง่ ด้านหนึ่งอนุภาคของของไหลติดกับ
อนุ ภาคของของไหลข้างเคียงทําไห้ความดันยังคงมีอยู่ ส่วนอีกด้านติดกับพืน้ ทีซ่ ง่ึ จะไม่มคี วามดันในทิศตรงกันข้ามมา
หักล้าง ด้วยเหตุน้ีจงึ ทําให้ความดันทีก่ ระทํากับพื้นทีจ่ ะมีทิศทางตัง้ ฉากและพุ่งเข้าหาพื้นทีร่ บั แรงเสมอ

รูปที่ 2.9 ความดันทีก่ ระทํากับอนุ ภาคของไหลทีต่ ดิ กับพืน้ ผิวรับแรง

ั ่ ง้ พืน้ ทีจ่ ะเรียกว่า แรงดัน


เมือ่ ความดันกระทํากับพืน้ ทีผ่ วิ เรียบ ผลรวมของหน่วยแรงทีก่ ระจายตัวอยูท่ วทั
(Pressure Force : FR) ซึง่ จะมีทิศทางตัง้ ฉากและพุ่งเข้าหาพื้นทีร่ บั แรงตามทิศทางของความดัน และตําแหน่งที่
แรงดันกระทํานัน้ จะอยูท่ ่ี จุดศูนย์กลางความดัน (Center of Pressure : CP)

จากรูปที่ 2.10 พิจารณาแรงทีก่ ระทํากับระนาบผิวเรียบ ทีม่ ขี นาดพืน้ ทีเ่ ท่ากับ A ทํามุม  กับผิวนํ้า เมือ่ X คือ
ระยะในแนวราบ ส่วน Y คือระยะทีว่ ดั จากผิ วนํ้าตามแนวทีข่ นานกับระนาบของพื้นทีร่ บั แรง และ h คือความลึก
หรือระยะในแนงดิ ง่

รูปที่ 2.10 แรงดันของของไหลทีก่ ระทํากับระนาบผิวเรียบ

ธัญดร ออกวะลา Fluid Static


2-12 Fluid Mechanics

กําหนดให้ จุด C คือจุดศูนย์ถ่วงของระนาบ (Centroid of Surface)


จุด CP คือจุดศูนย์กลางของความดัน (Center of Pressure) หรือตําแหน่งของแรงกระทํา
yC คือตําแหน่งของจุดศูนย์ถ่วงของพืน้ ที่ โดยวัดตามแนวแกน Y
yP คือตําแหน่งของจุดศูนย์กลางความดัน โดยวัดตามแนวแกน Y
hC คือความลึกของจุดศูนย์ถ่วงของพืน้ ที่ (วัดในแนวดิง่ )
hP คือความลึกของจุดศูนย์กลางความดัน (วัดในแนวดิง่ )

พิจารณาแรงทีก่ ระทํากับพืน้ ทีเ่ ล็กๆ บนพืน้ ทีร่ บั แรง dF  γ  h  dA


แรงกระทําทัง้ หมดจึงมีคา่ เท่ากับ FR   dF   γ  h  dA
A
จากรูป h = y sin FR   γ  y  sinθ  dA
A
FR  γsinθ  ydA
A
แต่เนื่องจาก  ydA  y c A (โมเมนต์ของพืน้ ทีร่ อบแกน X)
A
 แรงดันของของไหลบนพื้นทีจ่ ะมีค่าเท่ากับ
FR  γy c A  sinθ 

จากรูป hc = yc sin FR  γhc A --------- (2.26)

การหาตําเหน่งทีแ่ รงดันกระทํา โดยพิจารณาจากผิวนํ้าไปตามแนวแกน Y (yR)


พิจารณาโมเมนต์ทจ่ี ุด O ของแรงรอบแกน X
FR y P =  ydF
A
=  y  γ  h  dA
A
2
=  γ  y  sinθ  dA
A
2
 γ  y  sinθ  dA
A
yP =
FR
2
 γ  y  sinθ  dA
A
=
γ  A  y c  sinθ
2
 y dA
A
yP = --------- (2.27)
Ay c
แต่เนื่องจาก  y 2 dA  I x (โมเมนต์ความเฉื่อย) ด้งนัน้ จะได้วา่
A
IX
yP = --------- (2.28)
Ay c

Fluid Static ธัญดร ออกวะลา


Fluid Mechanics 2-13

พิจารณาการหาโมเมนต์ความเฉื่อยรอบแกน X (IX) ในกรณีทแ่ี กนอ้างอิงไม่ผา่ นจุดศูนย์ถ่วงของพ้นที่


IX = I XC  Ay 2c --------- (2.29)
เมือ่ IXC คือโมเมนต์ความเฉื่อยรอบแกน X ทีผ่ า่ นจุดศูนย์ถ่วงของพืน้ ที่
แรงดันทีก่ ระทํากับพื้นทีจ่ ะอยู่ห่างจากแกน X เท่ากับ
I  Ay 2c
yP = xc
Ay c
I
y P  y c  xc --------- (2.30)
Ay c

รูปที่ 2.11 พิกดั โมเมนต์ความเฉื่อยของพืน้ ทีร่ อบแกนต่างๆ

การหาตําเหน่งทีแ่ รงดันกระทํา โดยพิจารณาจากระยะห่างจากแกน Y


พิจารณาโมเมนต์ทจ่ี ุด O ของแรงรอบแกน Y
FR x P =  xdF
A
=  x  γ  h  dA
A
=  γ  xy  sinθ  dA
A
 γ  xy  sinθ  dA
A
xP =
FR
 γ  xy  sinθ  dA
A
=
γ  A  y c  sinθ
 xydA
A
xP = --------- (2.31)
Ay c
แต่เนื่องจาก  xydA  I xy (โมเมนต์ความเฉื่อย XY) และเมือ่ พิจารณาการหาโมเมนต์ความเฉื่อยรอบ
A
แกน XY (IXY) ในกรณีทแ่ี กนอ้างอิงไม่ผา่ นจุดศูนย์ถ่วงของพืน้ ที่ Ixy  Ixyc  Ax c y c
I  Ax c y c
xP = xyc
Ay c

ธัญดร ออกวะลา Fluid Static


2-14 Fluid Mechanics

Ixyc
แรงดันจะอยูห่ า่ งจากแกน Y เท่ากับ xP   xc --------- (2.32)
Ax c
(ในกรณีทพ่ี น้ื ทีร่ บั แรงเป็ นรูปทรงสมมาตรตามแนวแกน Y : Ixyc = 0)

ในกรณีทค่ี วามดันกระจายตัวสมํ่าเสมอเท่ากันทัง้ พืน้ ที่ เข่นความดันในภาชนะทีบ่ รรจุก๊าซ ความดันในแต่ละจุด


จะแตกต่างกันไม่มากจนถือว่าไม่มคี วามแตกต่าง หรือในกรณีทพ่ี น้ื ทีร่ บั แรงจมในของเหลว และแรงวางตัวในแนวราบ
ความดันจะกระจายตัวเท่ากันทัง้ พืน้ ที่ ดังรูปที่ 2.12

รูปที่ 2.11 ลักษณะของความดันทีก่ ระจายตัวสมํ่าเสมอบนพืน้ ผิวรับแรง

เมือ่ พิจารณาจากสมการที่ 2.2 ถ้าความดันกระจายตัวสมํ่าเสมอ จะได้วา่


FR  PA --------- (2.33)

รูปที่ 2.13 ตํ่าแหน่งของแรงพืน้ ทีผ่ วิ เรียบในกรณีความดันกระจายตัวสมํ่าเสมอ

การหาตําเหน่งทีแ่ รงดันกระทํา
พิจารณาโมเมนต์ทจ่ี ุด O ของแรงรอบแกน X
FR y P =  ydF
A
=  yPdA
A
เนื่องจาก P คงที่ และ FR=PA ดังนัน้ จะได้วา่
P  ydA
A
yP =
PA

Fluid Static ธัญดร ออกวะลา


Fluid Mechanics 2-15

 ydA
yP  A
--------- (2.34)
A
 ydA
A
จากสมการที่ 2.34 จะเห็นได้วา่ เทอมของ ก็คอื ระยะจากแกน X ถึงจุดศูนย์ถ่วงของพืน้ ที่ ดังนัน้
A
yP  y c --------- (2.35)
ในทํานองเดียวกันพิจารณาโมเมนต์ทจ่ี ุด O ของแรงรอบ Y
FR x P =  xdF
A
P  xdA
A
xP =
PA
 xdA
xP  A --------- (2.36)
A
 xdA
A
จากสมการที่ 2.36 จะเห็นได้วา่ เทอมของ ก็คอื ระยะจากแกน y ถึงจุดศูนย์ถ่วงของพืน้ ที่ ดังนัน้
A
xP  x c --------- (2.37)

ซึง่ จากสมการ 2.35 และ 2.37 สามารถสรุปได้วา่ “ตําแหน่ งของแรงดันในกรณี ทีค่ วามดันกระจายตัว
สมําเสมอจะอยู
่ ่ทีจ่ ดุ ศูนย์ถ่วงของพื้นทีร่ บั แรง”

ธัญดร ออกวะลา Fluid Static


2-16 Fluid Mechanics

ตัวอย่างที่ 2.4 ประตูน้ําขนาด 1.2 m  1.8 m ถูกติดตัง้ ในลักษณะดังรูป โดยปลายด้านหนึ่งยึดติดกับบานพับ ส่วน


ปลายอีกด้านหนึ่งถูกดึงด้วยแรง F เพือ่ ไม่ให้น้ําไหลออก จงหาขนาดของแรง P (ไม่คดิ นํ้าหนักของบานประตู)

วิธที าํ จาก FR = hCA


hC = 3.9 sin 60O = 3.38 m
A = 1.2  1.8 = 2.16 m2
FR = W(3.38)(2.16)
= 98103.38 2.16
= 71,621 N = 71,621 kN
Ixc bd3 1.2  1.8 3
จาก yP   yc ; I xc    0.583 m 4
Ay c 12 12
0.583
yP   3.9  3.97 m
2.16  3.9
MHinge = 0
0.97FR = (1.8F)
F = (0.97FR)/1.8
= (0.9771621)/1.8
= 38,596 N Ans

Fluid Static ธัญดร ออกวะลา


Fluid Mechanics 2-17

ตัวอย่างที่ 2.5 ประตูน้ํารูปวงกลมขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 1.0 m


มีมวล 1,500 kg มีการติดตัง้ ในลักษณะดังรูป จงหาความลึกของชัน้
นํ้ามันสูงสุด (h) ทีท่ าํ ให้ประตูน้ําเปิ ดออกพอดี เมือ่ ความถ่วงจําเพาะ
ของนํ้ามันเท่ากับ 0.9

วิธที าํ พิจารณาจากการกระจายตัวของความดันบนพืน้ ทีร่ บั แรง


แล้วแยกการคํานวณออกเป็ นสองส่วนในลักษณะดังรูป
แรงดัน F = F1+F2

แรง F1 เกิดจากความดันทีก่ ระจายตัวสมํ่าเสมอ P = Oilh ดังนัน้ F1 จึงมีคา่ เท่ากับ



F1   OilhA   0.9   12 h W  0.7069h W ---- (1)
4 
ตําแหน่งทีแ่ รง F1 กระทํา อยูท่ จ่ี ุดศูนย์ถ่วงของพืน้ ทีร่ บั แรง
D 1.0
 y P1    0.5 m ---- (2)
2 2
แรง F2 เป็ นแรงทีเ่ กิดจากความดันของนํ้า ดังนัน้ F2 หาได้จาก
0.6 
F2   W hC 2 A     1.0 2   W  0.2356 w ---- (3)
 2  4 
1.0 3
( hC 2  y C 2 sin      0.3 m )
2 5
ตําแหน่งทีแ่ รง F2 กระทํา อยูท่ จ่ี ุดศูนย์กลางความดัน
I
y P 2  y C 2  XC 2
y C2 A
1.0 D 4 1.0 4 
เนื่องจาก y C2   0.5 m และ I XC 2    0.0491 m 4
2 64 64
 0.0491
y P 2   0.5    0.625m ---- (4)
 2 

 0.5  1.0   
4 
เมือ่ พิจารณาความสมดุลของประดูในขณะทีป่ ระตูกาํ ลังเปิดออกพอดี
 MO  0  F1y P1  F2 y P 2  aW  0
0.7069h W  0.5  0.2356 W  0.625 =  0.4 1,500  9.81
0.353h + 0.147 = 0.6 ---- (5)
แก้สมการที่ (5) จะได้ h = 1.283 Ans

ธัญดร ออกวะลา Fluid Static


2-18 Fluid Mechanics

2.3 แรงดันของของไหลบนพืน้ ผิวโค้ง (Pressure Force on a Curved Surface)

เนื่องจากความดันจะมีทศิ ตัง้ ฉากกับพืน้ ทีเ่ สมอ ซึง่ ในกรณีทพ่ี น้ื ทีร่ บั แรงมีพน้ื ผิวโค้ง ทิศทางของความดันจะมี
การเปลีย่ นแปลงอย่างต่อเนือ่ งไปตามพื้นผิวทีโ่ ค้งไปมา ดังตัวอย่างในรูปที่ 2.14 ด้วยเหตุน้ีทาํ ให้การวิเคราะห์คา่ ของ
แรงดันโดยตรงนัน้ จึงทําได้ยาก

รูปที่ 2.14 ลักษณะทิศทางของความดันทีเ่ กิดขึน้ บนพืน้ ผิวโค้ง

หลักในการวิเคราะห์แรงดันทีก่ ระทํากับพืน้ ทีผ่ วิ โค้งนัน้ สามารถทําให้งา่ ยขึน้ ได้โดย พิ จารณาแรงทีก่ ระทํา


กับก้อนของไหลทีโ่ อบล้อมด้วยพื้นผิวโค้งนัน้ และจะต้องแยกพิ จารณาเป็ น แรงในแนวราบ (FH) กับแรงใน
แนวดิ ง่ (FV) ดังตัวอย่างในรูปที่ 2.15

รูปที่ 2.15 แรงทีก่ ระทํากับก้อนของไหลทีถ่ กู โอบล้อมด้วยพืน้ ผิวโค้ง AB

จากรูปที่ 2.15 ก้อนของไหล abc ถูกโอบล้อมด้วยส่วนโค้ง abfd ดังรูป 2.15 (ก) เนื่องจากก้อนของไหล จมอยู่
ในของไหล ดังนัน้ จะเกิดแรง F1 กระทําบนระนาบ aced แรง F2 กระทําบนระนาบ bcef และแรงดึงดูดของโลกกระทําที่
จุดศูนย์ถ่วงของก้อนของไหล ดังรูปที่ 2.15 (ค) หากพิจารณาความสมดุลของก้อนของไหลจะได้วา่
ผลรวมของแรงในแนวราบต้องเท่ากับ 0  FX  0

Fx = F1

เมือ่ Fx คือแรงทีพ่ น้ื ผิวโค้งกระทํากับก้อนของไหลในแนวราบ และ F1 คือแรงดันทีก่ ระทําบนพืน้ ทีผ่ วิ เรียบด้าน


acde ดังนัน้ แรงทีข่ องไหลกระทํากับพืน้ ผิวโค้งนัน้ คือแรงปฏิกริ ยิ าของแรง Fx ซึง่ หมายความว่า แรงดันในแนวราบ (FH)
ทีข่ องไหลกระทํากับพื้นผิวโค้งก็คือ แรงดันบนพื้นทีผ่ ิ วเรียบของภาพฉายบนระนาบ yz (F1) หรือพืน้ ทีด่ า้ น aced
ในรูปที่ 2.15 (ข) และ รูปที่ 2.16

Fluid Static ธัญดร ออกวะลา


Fluid Mechanics 2-19

รูปที่ 2.16 ระนาบรับแรงในแนวราบของก้อนของไหลทีถ่ กู โอบล้อมด้วยพืน้ ผิวโค้ง

ในทํานองเดียวกัน ผลรวมของแรงในแนวดิง่ ต้องเท่ากับ 0  FY  0

Fy = F2 + W

เมือ่ Fy คือแรงทีพ่ น้ื ผิวโค้งกระทํากับก้อนของไหลในแนวดิง่ W นํ้าหนักของก้อนของไหลทีถ่ กู ปิ ดล้อมด้วย


พืน้ ผิวโค้ง และ F1 คือแรงดันทีก่ ระทําบนพืน้ ทีผ่ วิ เรียบด้าน bcef ดังนัน้ แรงทีข่ องไหลกระทํากับพืน้ ผิวโค้งนัน้ คือแรง
ปฏิกริ ยิ าของแรง Fy ซึง่ หมายความว่า แรงดันในแนวดิ ง่ (FV) ทีข่ องไหลกระทํากับพื้นผิวโค้งคือผลรวมของแรงดัน
บนพื้นทีผ่ ิวเรียบของภาพฉายบนระนาบ xy (F2) หรือพืน้ ทีด่ า้ น bcef กับนํ้าหนักของก้อนของไหลทีถ่ กู ปิ ดล้อม
ด้วยพื้นผิ วโค้ว (W) ดังรูปที่ 2.15 (ค) และ รูปที่ 2.17

รูปที่ 2.17 ระนาบรับแรงในแนวดิง่ ของก้อนของไหลทีถ่ กู โอบล้อมด้วยพืน้ ผิวโค้ง

ธัญดร ออกวะลา Fluid Static


2-20 Fluid Mechanics

ตัวอย่างที่ 2.6 ประตูน้ําโค้งบานหนึ่ง กว้าง 4 ม. มีรศั มีความโค้ง 2 ม. วางตัวในลักษณะดังรูป จงหาขนาด และ


ตําแหน่งของแรงในแนวราบ และแนวดิง่ ขนาด และทิศทางของแรงลัพธ์ ทีน่ ้ํากระทํากับประตูน้ํา

วิธที าํ พิจารณาแรงทีก่ ระทํากับก้อนของไหล ABC ดังรูป

ก้อนของไหลอยูใ่ นสภาวะสมดุล ดังนัน้


  FX  0 FX = F1
F1 คือแรงดันทีท่ าํ กับพืน้ ทีส่ เ่ี หลีย่ มผิวเรียบด้าน AC ดังนัน้ F1   W hC A AC
2
A AC  2  4  8 m 2 : hC  2.5     3.5 m
2
F1 =  W  3.5  8  = 28 W
FX = 28 W  
แรงแนวราบทีข่ องไหลกระทํากับประตูน้ํา (FH) คือแรงปฏิกริ ยิ าของ FX
FH = 28 W   = 274.68 kN Ans
I
ตําแหน่งของแรงในแนวราบจาก y P   yc
A AC y c
 2
y C  hC  2.5     3.5 m : A AC  2  4  8 m : I XC 
4  23 
2 12
 4  23 
 
12
yP      3.5   3.60 m จากผิวนํ้า Ans
 8  3.5 

  FY  0 FY = F2 + W
F2 คือแรงดันทีก่ ระทํากับพืน้ ทีส่ เ่ี หลีย่ มผิวเรียบ BC ดังนัน้ F2  PBC A BC
PBC   2.5   W : A BC  2  4  8 m 2
F2  2.5  W  8   20 W 

Fluid Static ธัญดร ออกวะลา


Fluid Mechanics 2-21

ตําแหน่งทีแ่ รง F2 กระทําอยูท่ จ่ี ุดศูนย์ถ่วงของพืน้ ที่ BC


2
 x 2   1 m จากจุด C
2
W คือนํ้าหนักของนํ้ารูป ¼ ทรงกระบอก
W =  1 2 2  4  

4
 W = 4  W 


ตําแหน่งทีแ่ รง W กระทําอยูท่ จ่ี ุดศูนย์ถ่วงของก้อนนํ้า ABC
4 2  8
 x3    0.85 m จากจุด C
3 3

ดังนัน้ Fy  = 20 W   4  W   =  20  4   W
เนื่องจากแรงในแนวดิง่ ทีข่ องไหลกระทํากับพืน้ ผิวโค้ง (FV) คือแรงปฏิกริ ยิ าของ Fy ดังนัน้
FV   20  4   W   = 319.48 kN Ans
การหาตําแหน่งของแรง FV วิเคราะห์ได้จาก โมเมนต์ทเ่ี กิดจาแรง FV จะต้อง
เท่ากับโมเมนต์ทเ่ี กิดจาก F2 และ W รวมกัน
FV  x  = F2 1  W 0.85
20 W 1  4  W  0.85
x =
 20  4   W
x = 0.94 m จากจุด C Ans

ขนาดของแรงลัพธ์หาได้จาก
F = FH2  FV2
= 28 W 2  20 W  4 W 2
= 421.33 kN Ans
ทิศทางของแรงรวมหาได้จาก
FV  20  4   W
tan  = =
FH 28 W
 = 49.31O Ans

ธัญดร ออกวะลา Fluid Static


2-22 Fluid Mechanics

ตัวอย่างที่ 2.7 ประตูน้ําโค้งบานหนึ่ง กว้าง 4 ม. มีรศั มีความโค้ง 2 ม.


วางตัวในลักษณะดังรูป จงหาขนาด และตําแหน่งของแรงในแนวราบ และแนวดิง่
ขนาด และทิศทางของแรง ทีน่ ้ํากระทํากับประตูน้ํา

วิธที าํ พิจารณาแรงทีก่ ระทํากับก้อนของไหล ABC ดังรูป


ก้อนของไหลอยูใ่ นสภาวะสมดุล ดังนัน้
  FX  0 FX = F1
F1 คือแรงดันทีท่ าํ กับพืน้ ทีส่ เ่ี หลีย่ มผิวเรียบด้าน AC ดังนัน้ F1   W hC A AC
2
A AC  2  4  8 m 2 : hC  2.5     3.5 m
2
F1 =  W  3.5  8  = 28 W
FX = 28 W  
แรงแนวราบทีข่ องไหลกระทํากับประตูน้ํา (FH) คือแรงปฏิกริ ยิ าของ FX
FH = 28 W   = 274.68 kN Ans
I
ตําแหน่งของแรงในแนวราบจาก y P   yc
A AC y c
 2
y C  hC  2.5     3.5 m : A AC  2  4  8 m : I XC 
4  23 
2 12
 4  23 
 
12
yP      3.5   3.60 m จากผิวนํ้า Ans
 8  3.5 

  FY  0 FY  = F2  - W 


F2 คือแรงดันทีก่ ระทํากับพืน้ ทีส่ เ่ี หลีย่ มผิวเรียบ BC ดังนัน้ F2  PBC A BC
PBC   4.5   W : A BC  2  4  8 m 2
F2  4.5  W  8   36 W 
ตําแหน่งทีแ่ รง F2 กระทําอยูท่ จ่ี ุดศูนย์ถ่วงของพืน้ ที่ BC
2
 x 2   1 m จากจุด C
2

W คือนํ้าหนักของก้อนของไหล ABC ซึง่ ในการคํานวณโดยตรงทํา


ได้ยาก แต่ถา้ พิจารณาจากรูปจะเห็นได้วา่

Fluid Static ธัญดร ออกวะลา


Fluid Mechanics 2-23

W4 คือนํ้าหนักของก้อนนํ้า ADBC
W4 =  2  2  4W = 16 W 
ตําแหน่งทีแ่ รง W4 กระทําอยูท่ จ่ี ุดศูนย์ถ่วงของก้อนนํ้า ADBC
2
x4   1 m จากจุด B
2
W5 คือนํ้าหนักของก้อนนํ้า ADB
W5 =  1 2 2  4  

4
 W = 4 W 


ตําแหน่งทีแ่ รง W5 กระทําอยูท่ จ่ี ุดศูนย์ถ่วงของก้อนนํ้า ADB
4 2  8
x5    0.85 m จากจุด B
3 3
  
ดังนัน้ Fy  = 36 W   16 W   4 W     =  20  4   W
เนื่องจากแรงในแนวดิง่ ทีข่ องไหลกระทํากับพืน้ ผิวโค้ง (FV) คือแรงปฏิกรยาของ Fy ดังนัน้

FV   20  4   W  = 319.48 kN Ans
การหาตําแหน่งของแรง FV วิเคราะห์ได้จาก โมเมนต์ทเ่ี กิดจาแรง FV
จะต้องเท่ากับโมเมนต์ทเ่ี กิดจาก F2 W4 และ W5 รวมกัน
FV  x  = F2 1 W 4 1  W5  0.85
 20  4   W  x  = 36 W 1  16 W 1  4  W  0.85
36  16  4  0.85
X =
20  4 
= 0.942 m จากจุด B Ans

ขนาดของแรงลัพธ์หาได้จาก
F = FH2  FV2
F = 28 W 2  20 W  4 W 2
= 421.33 kN Ans
ทิศทางของแรงรวมหาได้จาก
FV  20  4   W
tan  = =
FH 28 W
 = 49.31O Ans

ธัญดร ออกวะลา Fluid Static


2-24 Fluid Mechanics

ตัวอย่างที่ 2.8 ประตูน้ําโค้ง AB กว้าง 4 ม. มีรศั มีความโค้ง 2 ม.


วางตัวในลักษณะดังรูป จงหาขนาด และทิศทางของแรง F ทีเ่ กิดขึน้ กับ
จุดรองรับ B โดยไม่คดิ นํ้าหนักของประตู

วิธที าํ พิจารณาความดันและแรงทีก่ ระทํากับก้อนของไหล ABC


แรงทีก่ ระทํากับประตูในแนวราบเกิดจากแรงดัน F1
F1 =  W hC A
hC  2.5  1  3.5 m ; A  2  4  8 m 2
F1 =  W  3.5  8 
= 28 W  
I
ตําแหน่งที่ F1 กระทําคือ y P   yc
A AC y c
23  4
y C  hC  3.5 m ; I   2.667 m 4
12
 2.667 
yP   3.5  3.60 m จากผิวนํ้า
 8  3.5 
หรือ F1 กระทําตํ่ากว่าจุด A เท่ากับ 1.1 m
แรงทีก่ ระทํากับประตูในแนวดิง่ เกิดจาก F2 – W
F2 คือแรงดันนํ้าทีก่ ระทํากับพืน้ ผิวเรียบ BC ดังนัน้ F2  PBC A
F2 = 4.5  W  8  
= 36 W 
ตําแหน่งที่ F2 กระทําอยูท่ จ่ี ุดศูนย์ถ่วงของพืน้ ที่ BC : x2 = 1.0 m จากจุด C
W คือนํ้าหนักของก้อนนํ้า ABC
W =  W   22  4 
1
4 

= 4 W 
4 2 
ตําแหน่งที่ W กระทําอยูท่ จ่ี ุดศูนย์ถ่วงของก้อนนํ้า ABC : x3 =  0.85 m จากจุด C
3
เนื่องจากประตูอยูใ่ นสภาวะสมดุดดังนัน้ ผลรวมของโมเมนต์รอบจุด A จะต้องเท่ากับ 0
1.1F1  1.0 F2 =  0.85 W   2.0 F
1.128 W   1.0 36 W  =  0.854 W    2.0 F
56.12  W
F =
2
F = 275.26 kN Ans

Fluid Static ธัญดร ออกวะลา


Fluid Mechanics 2-25

ตัวอย่างที่ 2.9 ประตูน้ําโค้ง AOB กว้าง 5 ม. มีรศั มีความโค้ง 2 ม.


ติดตัง้ ในลักษณะดังรูป ในขณะทีท่ ป่ี ระตูปิดกัน้ นํ้าลึก 3 เมตร และนํ้ามัน
ลึก 1 เมตร จงหาขนาดทีน่ ้อยทีส่ ดุ และทิศทางของแรง F ทีท่ าํ ให้ประตู
เปิดออกพอดี โดยไม่คดิ นํ้าหนักของประตู (ความถ่วงจําเพาะของนํ้ามัน
มีคา่ เท่ากับ 0.75)

วิธที าํ พิจารณาความดันและแรงทีก่ ระทํากับก้อนของไหล ABC

ผลรวมของแรงทีข่ องไหลกระทํากับประตูในแนวราบเกิดจาก
F1 + F2
F1 คือแรงทีเ่ กิดจากความดันของนํ้ามันด้านบนทํากับพืน้ ผิว
เรียบ AC ดังนัน้
F1  PO A
 1  O  2  5 
 1 0.75 W 10  7.5  W  
ตําแหน่งของแรง F1 จะอยูท่ จ่ี ุดศูนย์ถ่วงของพืน้ ที่ AC
y 1  1  0.5  1  2.5 m จากผิวนํ้ามัน
หรือเท่ากับว่า F1 จะอยูส่ งู กว่าจุด O เท่ากับ 1.0 m
F2 คือแรงทีเ่ กิดจากความดันของนํ้ากระทํากับพืน้ ผิวเรียบ AC ดังนัน้ F2   W hC A
hC  1  0.5  1.5 m ; A   2  5   10 m 2
F2 =  W 1.5 10  15 W  
I
ตําแหน่งของแรง F2 อยูท่ ่ี y2  yC 
A AC y C

y C  hC  1.5 m ; I 
23  5
 3.333 m 4
12
3.333
y2 = 1.5   1.722 m จากผิวของนํ้า
101.5 
หรือเท่ากับว่า F2 จะอยูส่ งู กว่าจุด O เท่ากับ 2.5 - 1.72 = 0.78 m
ผลรวมของแรงทีข่ องไหลกระทํากับประตูในแนวดิ่ งเกิดจาก
F4+W
F4 คือแรงทีเ่ กิดจากความดันของนํ้ากับนํ้ามันทีก่ ระทํากับพืน้ ผิวเรียบ BC ดังนัน้ F4  PBC A
F4 = 0.5 W  1 O  2  5
= 0.5 W  0.75 W 10
= 12.5  W 

ธัญดร ออกวะลา Fluid Static


2-26 Fluid Mechanics

ตําแหน่งของแรง F4 อยูท่ จ่ี ุดศูนย์ถ่วงของพืน้ ที่ BC ดังนัน้ F4 อยูห่ า่ งจาจุด O เท่ากับ x 4  1.0 m
W คือนํ้าหนักของก้อนของไหล ABC ซึง่ ในการคํานวณโดยตรง
ทําได้ยาก แต่ถา้ พิจารณาจากรูปจะเห็นได้วา่

W5 คือนํ้าหนักของนํ้าก้อน AOBC
W5 =  W  2  2  5
= 
20 W 
ตําแหน่งของ W5 อยูท่ ศ่ี นู ย์ของก้อนนํ้า AOBC
ดังนัน้ W5 กระทําห่างจากจุด O เท่ากับ x 5  1.0 m
W6 คือนํ้าหนักของนํ้าก้อน ABC
 W   2 2  5  = 5 W 
1
W6 =
4 
ตําแหน่งของ W6 อยูท่ ศ่ี นู ย์ของก้อนนํ้า ABC ดังนัน้ W5 กระทําห่างจากจุด O เท่ากับ
4 2 
x6   0.85 m
3
ในขณะทีป่ ระตูกาํ ลังเปิ ดออกพอดี ผลรวมของโมเมนต์รอบ
จุด O จะต้องเท่ากับ 0
1F1   0.78F2   0.85 W6 = 1 W5  1F4   2 F
17.5   0.7815   0.855 W = 120  112.5  W   2 F
 32.55  W   32.5   W =  2 F
0.05 
F =   W  0.025 W
 2 
 แรง F มีขนาดเท่ากับ 245.25 N ทิศทาง   Ans

Fluid Static ธัญดร ออกวะลา


Fluid Mechanics 2-27

2.4 แรงลอยตัว (Buoyancy Force)

หากพิจารณาแรงดันทีเ่ กิดขึน้ กับวัตถุ ABCD ทีจ่ มอยูใ่ นของไหลดังรูปที่ 2.18 ในกรณีทไ่ี ม่มกี ารไหล หรือวัตถุ
ไม่มกี ารเคลื่อนที่ ถ้ากําหนดให้แรงในแนวราบทีก่ ระทํากับพืน้ ผิวด้าน DAB เท่ากับ F1 และแรงในแนวราบทีก่ ระทํากับ
พืน้ ผิวด้าน DCB เท่ากับ F2 จะเห็นได้วา่ F1 คือแรงดันบนพืน้ ผิวเรียบ HE และ F2 คือแรงดันบนพืน้ ผิวเรียบ FG ซึง่ มี
ค่าเท่ากันแต่มที ศิ ตรงกันข้าม จึงทําให้แรงทัง้ สองหักล้างกันหมด

รูปที่ 2.18 แรงดันของของไหลทีก่ ระทํากับวัตถุใดๆ

หากพิจารณาแรงในแนวดิง่ ผลจาการที่ ด้านล่าง ABC อยูล่ กึ กว่าด้านบน CDA จึงทําให้ความดันบนพืน้ ผิว


ด้านล่าง ABC มีคา่ สูงกว่าด้านบน CDA ดังนัน้ แรงทีเ่ กิดกับด้านล่าง ABC จะสูงกว่าด้านบน CDA เสมอ ผลจากความ
แตกต่างระหว่างแรงดันด้านล่างกับแรงดันด้านบนทีเ่ กิดขึ้นกับวัตถุน้ี จะทําให้เกิดแรงลัพธ์ทมี ่ ที ศิ ทางชี้ขน้ึ ด้านบนเสมอ
ทีเ่ รียกว่า “แรงลอยตัว” (FB)

พิจารณาวัตถุไม่มมี วลก้อนหนึ่ง จมอยูใ่ นของไหล ดังรูปที่ 2.19 โดยที่ Fb คือแรงทีก่ ดให้วตั ถุจมในของไหล
และ W คือนํ้าหนักของของไหลทีอ่ ยูภ่ ายในกรอบ ABCD เมือ่ กําหนดให้กรอบ ABCD คือกรอบสมมุตริ ปู สีเ่ หลีย่ มมุม
ฉากทีล่ อ้ มรอบก้อนวัตุ

รูปที่ 2.19 แรงต่างๆ ทีก่ ระทํากับวัตถุไม่มมี วลทีจ่ มอยูใ่ นของไหล

จากทีก่ ล่าวมาแล้ว แรงทีเ่ กิดในแนวราบจะหักล้างกันหมด ในทีน่ ้ีจงึ พิจารณาเฉพาะแรงในแนวดิง่ เท่านัน้


จากรูปที่ 2.19 จะเห็นได้วา่ พืน้ ทีด่ า้ น AB เท่ากับ DC กําหนดให้เท่ากับ A
แรงทีเ่ กิดบนพืน้ ผิวด้าน AB F1 = h1A
แรงทีเ่ กิดบนพืน้ ผิวด้าน DC F2 = h2 A

ธัญดร ออกวะลา Fluid Static


2-28 Fluid Mechanics

เมือ่ วัตถุอยูใ่ นสภาวะสมดุลจะได้วา่


Fb = F2  F1  W
= h 2 A  h1A  W
Fb = h2  h1 A  W --------- (2.38)
จากรูปที่ 2.19 จะเห็นได้วา่ h2  h1 A คือปริมาตรของกรอบ หรือกําหนดให้เท่ากับ Box
Box = h2  h1 A --------- (2.39)
จาก W คือนํ้าหนักของของไหลทีอ่ ยูภ่ ายในกรอบ
ถ้ากําหนดให้  คือปริมาตรของวัตถุสว่ นทีจ่ ม ดังนัน้
W = Box   --------- (2.40)
นําสมการที่ 2.39 และ 2.40 ไปแทนใน 2.38 จะได้วา่
Fb = Box   Box  
หรือ Fb =  --------- (2.41)

ซึง่ เมือ่ พิจารณาจาก Fb คือแรงทีก่ ดให้วตั ถุจม ดังนัน้ แรงปฏิกริ ยิ าทีพ่ ยายามดันให้วตั ถุลอยขึน้ ก็คอื แรงทีม่ ี
ขนาดเท่ากับ Fb แต่มที ศิ ทางตรงกันข้าม แรงปฏิกริ ยิ าทีว่ า่ นี่กค็ อื “แรงลอยตัว”

FB    --------- (2.42)

ดังนัน้ จากทีก่ ล่าวมาทัง้ หมดจึงสามารถสรุปได้วา่ “แรงลอยตัว จะเกิ ดขึ้นเมือ่ มีส่วนใดส่วนหนึ ง่ ของวัตถุ


จมอยู่ในของไหล ซึง่ แรงลอยตัวนี้ จะมีทิศทางพุ่งขึ้นด้านบนเสมอ และจะมีขนาดเท่ากับนํ้าหนักของของไหลที ่
มีปริ มาตรเท่ากับวัตถุส่วนทีจ่ ม”

Fluid Static ธัญดร ออกวะลา


Fluid Mechanics 2-29

ตัวอย่างที่ 2.10 จงหาค่าความถ่วงจําเพาะของวัตถุทจ่ี มในของไหลในลักษณะดังรูป

วิธที าํ เนื่องจากวัตถุลอยอยูใ่ นสภาวะสมดุล ดังนัน้  Fy  0


W = FB Oil  FB W
วัตถุ  วัตถุ = Oil  Oil  W  W
= Oil  0.8  W  W
 วัตถุ Oil  0.8  W 
=
W วัตถุ
 0.3  0.35  0.20 0.8    0.3  0.35  0.15 
SGวัตถุ =
 0.3  0.35  0.35
SGวัตถุ = 0.886 Ans

ตัวอย่างที่ 2.11 แท่งวัตถุขนาด 1.01.00.5 m3 มีน้ําหนัก 20 kN วางแนบสนิทกับพืน้ ทีก่ น้ ถังนํ้าใบหนึ่ง จงหาแรง


ทีน่ ้อยทีส่ ดุ ทีท่ าํ ให้วตั ถุสามารถลอยขึน้ จากพืน้ ได้ และแรงทีใ่ ช้ในการยกวัตถุขน้ึ สูผ่ วิ นํ้า

วิธที าํ ในกรณีทว่ี ตั ถุจมแนบอยูก่ บั พืน้ T = F1 + W


F1 คือแรงดันทีก่ ระทําด้านบนของวัตถุ
F1 = PA = 2 W 1 1
= 2 W
 T = 2 W   20  103 
= 39.62 kN Ans
ในกรณียกวัตถุทล่ี อย ขึน้ สูผ่ วิ นํ้า T = W - FB
FB = 1  1  0.5   W
= 0.5  W
 T = 20  103   0.5 W 
= 15.095 kN Ans

ธัญดร ออกวะลา Fluid Static


2-30 Fluid Mechanics

2.4.1 เสถียรภาพการลอยตัวของวัตถุในของไหล (Stability of Floating and Submerged Bodies)

เสถียรภาพการลอยตัวสามารถแบ่งออกได้เป็ น 3 แบบคือ
- Stable Equilibrium หมายถึง สภาพทีว่ ตั ถุลอยตัวในของเหลวอย่างสมดุล และเมือ่ มีแรงกระทํา
สภาพการลอยตัวจะเปลีย่ นไป แต่เมือ่ นําแรงกระทํานัน้ ออก จะสามารถกลับคืนสูส่ ภาพเดิมได้
- Neutral Equilibrium หมายถึงสภาพวัตถุทล่ี อยตัวในสภาวะทีม่ เี สถียรภาพพอดี หรือเกือบจะไม่ม ี
เสถียรภาพ
- Unstable Equilibrium หมายถึง สภาพทีว่ ตั ถุลอยตัวในของเหลวอย่างสมดุล เมือ่ มีแรงมากระทําสภาพ
การลอยตัวจะเปลีย่ นไป แต่เมือ่ นําแรงออกจะไม่สามารถกลับสูส่ ภาพเดิมได้

2.4.1.1 เสถียรภายของวัตถุทจ่ี มในของไหล (Stability of Submerged Bodies)

พิจารณาจากรูปที่ 2.20(ก) หากวัตถุมจี ุดศูนย์กลางแรงลอยตัว (C) อยูเ่ หนือจุดศูนย์ถ่วง (G) เมือ่ วัตถุ
เอียงไปจากแนวเดิม จะเกิดโมเมนต์ตา้ น ทําให้วตั ถุสามารถกลับสูส่ ภาพเดิมได้ หรือกล่าวได้วา่ วัตถุนนั ้ มี
เสถียรภาพของการลอยตัว (Stable)

รูปที่ 2.20 เสถียรภายของวัตถุทจ่ี มในของไหล

ในทางตรงกันข้าม หากวัตถุมจี ุดศูนย์ถ่วง (G) อยูเ่ หนือจุดศูนย์กลางแรงลอยตัว (C) เมือ่ วัตถุเอียงไป


จากแนวเดิม จะเกิดโมเมนต์เสริมให้วตั ถุพลิกได้งา่ ยขึน้ และไม่สามารถกลับคืนสูส่ ภาพเดิมได้ หรือกล่าวได้วา่
วัตถุนนั ้ ไม่มเี สถียรภาพของการลอยตัว (Unstable) ดังรูปที่ 2.20(ข)

2.4.1.2 เสถียรภายของวัตถุทจ่ี มในของไหลเพียงบางส่วน (Stability of Floating Bodies)

สําหรับวัตถุลอยอยูบ่ ริเวณผิวอิสระของของไหล หรือวัตถุทจ่ี มเพียงบางส่วน เสถียรภาพของการ


ลอยตัวของวัตถุนนั ้ จะขึน้ อยูก่ บั ความสูงของจุด “เมตาเซนเตอร์” (Metacenter) หรือเรียกว่า ความสูงเมตาเซน
ตริก (Metacentric Height)

ถ้ากําหนดให้ จุด G คือจุดศูนย์ถ่วงของวัตถุ


จุด C คือจุดศูนย์กลางของแรงลอยตัว

Fluid Static ธัญดร ออกวะลา


Fluid Mechanics 2-31

จุดเมตาเซนเตอร์ (Metacenter) คือจุดตัดของเส้นในแนวดิง่ ทีล่ ากผ่านจุดศูนย์ถ่วงของวัตถุ ก่อนที่


วัตถุจะเอียงตัว กับเส้นแนวดิง่ ทีล่ ากผ่านจุดศูนย์กลางแรงลอยตัวหลังจากวัตถุเอียงตัวไปแล้ว หรือจุด M ในรูปที่
2.21 (ข) ซึง่ จะเห็นได้วา่ เมือ่ วัตถุเกิดการเอียงตัว ถ้าจุดเมตาเซนเตอร์ อยูส่ งู กว่าจุดศูนย์ถ่วงของวัตถุ นํ้าหนัก
ของวัตถุ และแรงลอยตัวจะทําให้เกิดโมเมนต์ของแรงคูค่ วบในทิศทีส่ วนทางกับการเอียง จึงทําให้วตั ถุนนั ้ มี
เสถียรภาพ ดังรูปที่ 2.21(ก) ในทางตรงกันข้าม หากจุดเมตาเซนเตอร์ อยูต่ ่าํ กว่าจุดศูนย์ถ่วงของวัตถุ นํ้าหนัก
ของวัตถุ และแรงลอยตัวจะทําให้เกิดโมเมนต์ของแรงคูค่ วบในทิศทางเดียวกับการเอียง ซึง่ ช่วยทําให้วตั ถุเกิด
การพลิก วัตถุจะไม่มเี สถียรภาพ ดังรูปที่ 2.21(ข)

รูปที่ 2.21 เสถียรภาพของวัตถุทจ่ี มเพียงบางส่วน

รูปที่ 2.22 เสถียรภาพของวัตถุทจ่ี มเพียงบางส่วน

ความสูงเมตาเซนตริก (Metacentric Height) หมายถึง ระยะทีว่ ดั จากจุดศูนย์ถ่วงของวัตถุไปยังจุด


เมตาเซนเตอร์ ซึง่ ถ้าพิจารณาจากรูป 2.22(ข) ความสูงเมตาเซนเตอร์คอื ระยะ GM

ธัญดร ออกวะลา Fluid Static


2-32 Fluid Mechanics

การหาค่าความสูงเมตาเซนตริก (GM) ทําได้โดย

รูปที่ 2.23 ตัวแปรต่างๆ ทีเ่ กิดขึน้ เมือ่ วัตถุทล่ี อยในของไหลเกิดการเอียงตัว

จากวัตถุทจ่ี มในของไหลเพียงบางส่วนดังรูปที่ 2.23 หากวัตถุเกิดการเอียงไปเป็ นมุมเล็กๆ ()


ตําแหน่งของแรงลอยตัวจะเปลีย่ นจากจุด C เป็ น C’ และเมือ่ พิจารณาเฉพาะแรงลอยตัว จะได้วา่
โมเมนต์ของแรงลอยตัวรูป A’B’FE = โมเมนต์ของแรงลอยตัวรูป ABFE
+ โมเมนต์ของแรงลอยตัวรูป B’BO
- โมเมนต์ของแรงลอยตัวรูป A’AO
A 'B'FE   x =  ABFE   x1  B'BO   x 2  A ' AO   x 3
เมือ่ x คือระยะจากแกน Y ถึงจุดศูนย์ถ่วงของปริมาตร A 'B'FE
x1 คือระยะจากแกน Y ถึงจุดศูนย์ถ่วงของปริมาตร ABFE
x 2 คือระยะจากแกน Y ถึงจุดศูนย์ถ่วงของปริมาตร B'BO
x 3 คือระยะจากแกน Y ถึงจุดศูนย์ถ่วงของปริมาตร A ' AO
เนื่องจากจุดศูนย์ถ่วงของปริมาตร ABFE อยูบ่ นแกน Y ดังนัน้ x1  0
 A 'B'FE   x = B'BO   x 2  A ' AO   x 3
A 'B'FE   x =  x  d     x   d --------- (2.43)
B ' BO  A ' AO
จากรูป 2.23(ก) d = x  tan   dA --------- (2.44)
แทนค่าสมการที่ 2.44 ใน 2.43 จะได้
A 'B'FE   x =  x  x  tan   dA     x   x  tan   dA
B ' BO  A ' AO
 
A 'B'FE   x = tan   x 2 dA   x 2 dA  --------- (2.45)
 B'BO
  A ' AO 
2 2 2
เมือ่ พิจาณาจาก  x dA   x dA หรือเท่ากับ  x dA ซึง่ ก็คอื โมเมนต์ความเฉื่อยรอบแกนทีว่ ตั ถุ
B ' BO  A ' AO  A ' AOB' B
บิดตัว (ในทีน่ ่ีคอื แกน z) ของพืน้ ที่ GHIJ ในรูปที่ 2.23 (ข) ดังนัน้ สมการที่ 2.43 จึงสามารถเขียนใหม่ได้วา่
A 'B'FE   x = tanIZ  --------- (2.46)

Fluid Static ธัญดร ออกวะลา


Fluid Mechanics 2-33

จากรูปที่ 2.23(ก) A 'B'FE คือปริ มาตรของวัตถุส่วนที่จม กําหนดให้แทนด้วยสัญลักษณ์  ดังนัน้ จะได้วา่


 x = tanIZ 
x IZ
= --------- (2.47)
tan  
x
หากพิจารณาจากรูปที่ 2.23(ก) คือระยะห่างระหว่าง จุดศูนย์กลางแรงลอยตัว (C) กับ จุด
tan 
เมตาเซนเตอร์ (M) ซึง่ เราจะเรียกระยะนี้วา่ รัศมีเมตาเซนตริก (Metacentric Radius) สัญลักษณ์คอื CM
I
 CM  Z --------- (2.48)

ถ้า CG คือระยะห่างระหว่างจุดศูนย์กลางแรงลอยตัว (C) กับจุดศูนย์ถ่วงของวัตถุ (G) วัตถุจะมี
เสถียรภาพได้กต็ ่อเมือ่ จุดเมตาเซนเตอร์ (M) จะอยูส่ งู กว่าจุดศูนย์ถ่วงของวัตถุ ซึง่ ระยะ CM ต้องมากกว่า CG
หรือสามารถสรุปเป็ นสมการได้ดงั นี้
GM  CM  CG --------- (2.49)
เมือ่ GM มีค่าเป็ นบวก (+) วัตถุจะมีเสถียรภาพ แต่ในทางตรงกันข้าม ถ้า GM มีค่าเป็ นลบ (-)
วัตถุจะไม่มีเสถียรภาพ

ธัญดร ออกวะลา Fluid Static


2-34 Fluid Mechanics

ตัวอย่างที่ 2.12 ท่อนไม้ขนาด กว้าง 30 ซม. ยาว 60 ซม. และสูง 30 ซม. นํ้าหนัก 318 N จงตรวจสอบเสถียรภาพ
ของท่อนไม้ เมื่อลอยอยูใ่ นนํ้า

วิธที าํ วัตถุอยูใ่ นสภาวะสมดุล ดังนัน้ ผลรวมของแรงในแนวดิง่ จะเท่ากับ 0 ดังนัน้ จะได้วา่


W = FB
=  W
318 =  0.3  0.6  d  W
318
d = = 0.18 m
 0.3  0.6   W
0.3
จุดศูนย์ถ่วงของวัตถุ (G) อยูส่ งู  0.15 m
2
0.18
จุดศูนย์กลางแรงลอยตัว (C) อยูส่ งู  0.09 m
2
ดังนัน้ CG = 0.15 – 0.09 = 0.06 m
ปริมาตรส่วนทีจ่ ม  =  0.3  0.6  0.18 = 0.0324 m3
เนื่องจากวัตถุสามารถเอียงได้ทงั ้ รอบแกน Y และแกน X ดังนัน้ จึงต้องตรวจสอบทัง้ สองแกน
I
จาก CM  จะเห็นได้วา่ CM จะขึน้ อยูก่ บั I ดังนัน้ การทีว่ ตั ุพลิก จะเกิดขึน้ รอบแกนทีม่ คี า่ I น้อยกว่า

IX 
0.3  0.63 
 0.0054 m 4
IY 
0.33  0.6 
 0.00135 m 4
12 12
0 . 00135
แสดงว่าวัตถุจะเริม่ พลิกรอบแกน Y ก่อน  CM   0 . 4167 m
0 . 0324
จาก GM  CM  CG  0.042  0.09  0.048
GM ทีไ่ ด้มคี า่ เป็ น ลบ (-) ดังนัน้ วัตถุจงึ ไม่มเี สถียรภาพ Ans

Fluid Static ธัญดร ออกวะลา


Fluid Mechanics 2-35

ตัวอย่างที่ 2.13 Platform สร้างจากท่อนไม้ขนาด 0.250.30 ม. ยาว 10 ม. ดังรูปลอยอยูใ่ นนํ้า จงตรวจสอบ


เสถียรภาพการลอยตัวของ Platform โดยไม่คดิ นํ้าหนังของแผ่นพืน้ และท่อนไม้มคี วามหนาแน่น 600 กก./ลบ.ม.

วิธที าํ วัตถุอยูใ่ นสภาวะสมดุล ดังนัน้ ผลรวมของแรงในแนวดิง่ จะเท่ากับ 0 ดังนัน้ จะได้วา่


W = FB ----(1)
W = g  2 0.3  0.25  10
=  600 g  2 0.75
= 8.829 kN
FB = 2 0.3  10  d  W = 6d W
แทนค่าใน (1) 8.829  103 = 6d W
8.829  103
d = = 0.15 m
6 W
0.25
จุดศูนย์ถ่วงของวัตถุ (G) อยูส่ งู  0.125 m
2
0.15
จุดศูนย์กลางแรงลอยตัว (C) อยูส่ งู  0.075 m
2
ดังนัน้ CG = 0.125 – 0.075 = 0.05 m
เนื่องจากวัตถุสามารถเอียงได้ทงั ้ รอบแกน Y และแกน X ดังนัน้ จึงต้องตรวจสอบทัง้ สองแกน

IX 
0.3  103 
 2  50 m 4
12
IY 
1.2  10 0.6 3  10
3
  1.26 m 4
12 12
ดังนัน้ วัตถุจะพลิกรอบแกน Y ก่อน
I 1.26
CM  Y   1.4 m
 2 0.3  0.15  10
จาก GM  CM  CG  1.4  0.05  1.35
GM ทีไ่ ด้มคี า่ เป็ น ลบ (+) ดังนัน้ วัตถุจงึ มีเสถียรภาพ Ans

ธัญดร ออกวะลา Fluid Static


2-36 Fluid Mechanics

2.5 การเปลี่ยนแปลงความดันของของไหลในภาชนะที่เคลื่อนที่
(Variation of fluid pressure in moving container)

ของไหลทีเ่ คลื่อนทีไ่ ปพร้อมกับภาชนะทีก่ าํ ลังเคลื่อนทีด่ ว้ ยความเร่ง อนุ ภาคของของไหลจะเคลื่อนทีไ่ ป


พร้อมกัน ซึง่ ไม่เกิดลักษณะสัมพัทธ์ (dv) ระหว่างอนุ ภาค จึงทําให้ไม่เกิดผลเนื่องจากแรงเค้นเฉือน ดังนัน้ การศึกษาถึง
การเปลีย่ นแปลงความดันยังคงใช้หลักการของ สมการการแปรผันความดันของของไหลทีเ่ คลื่อนทีด่ ว้ ยความเร่ง ในกรณี
ทีไ่ ม่เกิดแรงเค้นเฉือนภายในของไหล (สมการที่ 2.13)

จากสการที่ 2.13  p  γ k = ρa
เมือ่ นํามาแยกพิจารณาในเทอมของแกน X Y และ Z จะได้วา่
P
=  ρa x --------- (2.50)
x
P
=  ρa y --------- (2.51)
y
P
=  ρg  a z  --------- (2.52)
z
จากสมการ 2.50 2.51 และ 2.52 จะเห็นได้วา่ ค่าของความดันจะมีการเปลีย่ นแปลงไปตามระยะในแนวแกน
X Y และ Z และหากพิจารณาทีผ่ วิ อิสระของของไหลซึง่ มีคา่ ของความดันเท่ากันทุกจุด ดังนัน้ เมือ่ ภาชนะเคลื่อนทีด่ ว้ ย
ความเร่ง ผิวอิสระจะเอียงทํามุมกับแนวระดับ ดังรูปที่ 2.24

รูปที่ 2.24 ผิวอิสระของของไหลในภาชนะทีเ่ คลื่อนทีด่ ว้ ยความเร่ง

2.5.1 ความดันของของไหลในภาชนะที่เคลื่อนที่ด้วยความเร่งเชิ งเส้น


(Fluid pressure in Linear moving container)

รูปที่ 2.25 ของไหลในภาชนะทีเ่ คลื่อนทีด่ ว้ ยความเร่งเชิงเส้น

Fluid Static ธัญดร ออกวะลา


Fluid Mechanics 2-37

พิจารณาเฉพาะระนาบ Y กับ Z จากรูปที่ 2.25 ภาชนะเปิ ดฝาบรรจุของไหลเคลื่อนทีด่ ว้ ยความเร่ง a การ


เปลีย่ นแปลงของความดันตามแนวเส้นทางระหว่างจุด 2 จุด ทีอ่ ยูใ่ กล้กนั มาก บนระนาบ yz ซึง่ มีคา่ พิกดั เป็ น ( y ,
z ) กับ ( y+dy , z+dz ) ดังรูปที่ 2.24 จะสามารถเขียนเป็ นสมการการเปลีย่ นแปลงความดัน ได้ดงั นี้
P P
dP = dy  dz --------- (2.53)
y z

รูปที่ 2.26 การเปลีย่ นแปลงความดันตามแนวเส้นทางระหว่างจุด 2 จุด บนระนาบ yz

แทนสมการที่ 2.51 และ 2.52 ในสมการที่ 2.53 จะได้

dP  ρa y dy  ρa z  g dz --------- (2.54)

สมการที่ 2.54 คือ สมการการเปลีย่ นแปลงความดันของของไหลทีอ่ ยู่ในภาชนะทีเ่ คลือ่ นทีด่ ้วย


ความเร่งเชิ งเส้น

หากพิจารณาตามแนวเส้นทางที่มีความดันคงที่ เช่นบนผิ วอิ สระ ผลต่างของความดันจะมีคา่ เท่ากับ 0


ดังนัน้ แทนค่า dP = 0 ในสมการที่ 2.54 จะได้

0 =  ρa y dy  ρa z  g dz
จัดรูปสมการใหม่จะได้วา่
dz ay
 --------- (2.55)
dy g  a z 

ดังนัน้ สมการที่ 2.55 ก็คอื สมการของค่าความลาดชันของแนวเส้นทางในของไหลทีม่ ีค่าความดัน


คงที ่ หรือค่าความลาดชันของผิวอิ สระของของไหลในภาชนะทีเ่ คลือ่ นทีด่ ้วยความเร่ง ซึง่ จะเห็นได้วา่ แนว
เส้นทีม่ คี า่ ความดันคงที่ จะขนานกับผิวอิสระของของไหลเสมอ ดังรูปที่ 2.27

รูปที่ 2.27 แนวเส้นทีม่ คี า่ ความดันคงที่

ธัญดร ออกวะลา Fluid Static


2-38 Fluid Mechanics

ในกรณีทไ่ี ม่มคี วามเร่ง (a=0) พิจารณาจากสมการที่ 2.55 จะเห็นได้วา่ ค่าของความชันของแนวเส้นทีม่ ี


ความดันคงที่ จะมีคา่ เท่ากับ 0 หรึอวางตัวในแนวระดับ ซึง่ นันหมายความว่
่ า ทีร่ ะดับเดียวกันค่าของความดันจะ
เท่ากัน ดังทีเ่ คยกล่าวมาแล้วในหัวข้อ 2.1.2 และในทํานองเดียวกัน ถ้าไม่มคี วามเร่ง ค่า ay และ az ในสมการที่
2.54 จะเท่ากับ 0 ซึง่ ทําให้สมการ 2.52 ลดรูปเป็ น

dP  ρg dz    dz

ซึง่ สมการีไ่ ด้ คือสมการที่ 2.17 ในหัวข้อ 2.1.2

Fluid Static ธัญดร ออกวะลา


Fluid Mechanics 2-39

ตัวอย่างที่ 2.14 ถังนํ้ารูปสีเ่ หลีย่ มผืนผ้าใบหนึ่ง สูง 1.20 ม. กว้าง 0.45


ม. ยาว 1.45 ม. จงหา
- ขนาดของความเร่งในแนวราบ ทีท่ าํ ให้ระดับผิวนํ้าเสมอขอบ
ถังพอดี โดยไม่ลน้ ออก
- ความดันทีก่ น้ ถังทัง้ สองด้าน
- ถ้าความเร่งในแนวราบเท่ากับ 3 m/s2 จงหาปริมาตรของที่
เหลืออยูใ่ นถัง
dz ay
วิธที าํ จากสมการ 2.53 
dy g  a z 
ไม่มคี วามเร่งในแกน z :  a z  0
dz a
  y ---- (1)
dy g
การทีน่ ้ําจะล้นออกได้ ผิวนํ้าต้องมีลกั ษณะดังรูป
dz  0.15  0.15 
ความลาดชันของผิวนํ้าจึงเท่ากับ  
dy 1.45 
 0.15  0.15  a
แทนค่าใน (1)  =  y
1.45  g
 0.15  0.15 
ay = g
1.45 
ay = 2.030 m/s2 Ans

จาสมการ 2.54 dP  ρa y dy  ρa z  g dz


ทําการอินทิเกรดจะได้ P   ρ a y y  ρ gz  C ---- (2)
จากสมการ (2) จะเห็นได้วา่ มีตวั แปรทีไ่ ม่ทราบค่าถึง 4 ตัว คือ P y z และ C ซึง่ สามารถแก้ปญั หาได้โดย
กําหนดแกนอ้างอิงทีจ่ ุด E (การกําหนดแกนอ้างอิง กําหนดทีใ่ ดก็ได้) หากพิจารณาตําแหน่งที่
ทราบความดัน เช่นทีจ่ ุด D ค่าของความดันเท่ากับ 0 ดังนัน้ เราจึงสามารถหาค่า C ได้

ทีจ่ ุด D : y = -0.725 ; z = +0.15 ; P = 0 แทนค่าในสมการ (2)


0 =  ρ 2.03  - 0.725   ρg  0.15   C
 C = 0
หาความดันทีก่ น้ ถังทัง้ สองด้านโดย
ทีจ่ ุด A : y = -0.725 ; z = -1.05 แทนค่าในสมการ (2)
PA =  ρ 2.03  - 0.725   ρg - 1.05   0
= +11.77 kPa Ans
ทีจ่ ุด B : y = +0.725 ; z = -1.05 แทนค่าในสมการ (2)
PB =  ρ 2.03   0.725   ρg - 1.05   0
= +8.83 kPa Ans

ธัญดร ออกวะลา Fluid Static


2-40 Fluid Mechanics

ความเร่งในแนวราบเท่ากับ 3 ความชันผิวนํ้าจะมีคา่ เท่ากับ


dz  3
  0.306
dy g
ผิวนํ้าจะวางตัวตามแนว DC ดังนัน้ จุด D จะขยับสูงขึน้
dz
z  y    0.306   0.725   0.222 m
dy
ซึง่ จะเห็นได้วา่ นํ้าจะล้นออกจนผิวนํ้าลดระดับมาอยูท่ แ่ี นวเส้นตรง D’C’ ซึง่ นํ้าส่วนทีเ่ หลือจะมี
ปริมาตรเท่ากับ ปริมาตรของรูป ABF’G’
จากรูป ระยะ d หาได้จาก d  z  b  0.222  0.15  0.072 m
ปริมาตรของของนํ้าทีเ่ หลืออยู่  = 1.45    0.45   1.05  0.072 
= 0.638 m3 Ans

ตัวอย่างที่ 2.15 ถังนํ้ารูปสีเ่ หลีย่ มคางหมูใบหนึ่ง มีรปู ร่างและ


ลักษณะดังรูป เคลื่อนที่ ลงจาพืน้ เอียงด้วยความเร่ง a จงหา
- ขนาดของความเร่ง ทีท่ าํ ให้ผวิ นํ้าเสมอขอบถังพอดี
- ความดันทีม่ ากทีส่ ดุ เกิดขึน้ ทีจ่ ุดใด แลมีคา่ เท่าไร
dz ay
วิธที าํ จากสมการ 2.55 
dy g  a z 
การทีน่ ้ําจะล้นออกได้ ผิวนํ้าต้องมีลกั ษณะดังรูป

ความลาดชันของผิวนํ้าจึงเท่ากับ
dz  0. 5  0. 5  1
 
dy  2. 0  2
4
ความเร่งในแนวราบ a y   acos    a
5
3
ความเร่งในแนวดิง่ a z   asin    a
5

 4 a
 
 5 
1
แทนค่าในสมการจะได้วา่  =
2 g 3 a
 
 5 
แก้สมการจะได้ a = 11  g
5 = 4.459 m/s2 Ans

จาสมการ 2.54 dP  ρa y dy  ρa z  g dz


ทําการอินทิเกรดจะได้ P  ρa y y  ρa z  g z  C
กําหนดแกนอ้างอิงทีจ่ ุด D พิจารณาทีจ่ ุด E ค่าของความดันเท่ากับ 0 ดังนัน้ เราจึงสามารถหาค่า C ได้โดย

Fluid Static ธัญดร ออกวะลา


Fluid Mechanics 2-41

ทีจ่ ุด E : y = +1.0 ; z = 0 ; P = 0 แทนค่าในสมการ (2)


0 =  ρ  45  115 g   1.0   ρ g  35  115 g  0   C
 C = 11   w
4

ความดันสูงสุดน่าจะเกิดขึน้ ทีจ่ ุด A หรือ B

ทีจ่ ุด A : y = 0 ; z = -1.5 แทนค่าในสมการ


PA =  ρ  45  115 g  0   ρ g  35  115 g  - 1.5    114   w 
= 16   = +14.269 kPa
11 w

ทีจ่ ุด B : y = +2.0 ; z = -3.0 แทนค่าในสมการ


PB =  ρ  45  115 g   2   ρ g  35  115 g  - 3    114   w 
= 20   = +17.836 kPa
11 w

 ความดันสูงสุดเกิดขึน้ ทีจ่ ุด B มีคา่ เท่ากับ 17.836 kPa Ans

ธัญดร ออกวะลา Fluid Static


2-42 Fluid Mechanics

2.5.2 ของไหลในภาชนะที่เคลื่อนที่ด้วยความเร็วเชิ งมุม (Fluid pressure in angular moving container)

ในกรณีทข่ี องไหลบรรจุหอยูใ่ นภาชนะทีห่ มุนรอบแกนใดๆ ด้วยอัตราเร็วเชิงมุมคงที่ เมือ่ กําหนดให้แกน z คือ


แกนหมุน หากพิจารณาอนุ ภาคใดอนุภาคหนึ่งของของไหลทีก่ าํ ลังเคลื่อนทีร่ อบแกน z จะเกิดความเร่งสูศ่ นู ย์กลาง
กระทํากับอนุภาคนัน้ ซึง่ มีทศิ พุง่ เข้าหาแกนหมุน ลักษณะดังรูปที่ 2.28(ก)

รูปที่ 2.28 ของไหลในภาชนะทีห่ มุนด้วยความเร็วเชิงมุมคงที่

เพือ่ ความสะดวก ในการวิเคราะห์ในการวิเคราะห์เราจะใช้ระบบพิกดั เชิงขัว้ (Polar Coordinate) ซึง่ ประกอบด้วย


r คือรัศมีจาแกนหมุน  คือมุมของแนวรัศมีเมือ่ เทียบกับแนวอ้างอิง และ Z ระยะในแนวดิง่ ดังนัน้ สมการการ
เปลีย่ นแปลงความดัน (สมการที่ 2.53) จึงเปลีย่ นรูปเป็ น

p p p
dP = dr  dθ  dz --------- (2.56)
r θ z

จากฎการเคลื่อนทีข่ องนิวตัน หากพิจารณาแรงต่างๆ ทีก่ ระทํากับอนุ ภาคของไหล ดังรูปที่ 5.24(ข) จะได้วา่

 p  p  dr dzrdθ    p  p  dr dzrdθ   ρr  dr  dθ  dz a


 Fr  ma r      r
 r 2   r 2 
p
 ρar  ρ- rω2   ρrω2 --------- (2.57)
r

 p dθ   p dθ 
 F  ma    p   drdz   p   drdz  ρr  dr  dθ  dz aθ
 θ 2   θ 2 
p
 ρraθ
θ
แต่เนื่องจากไม่มคี วามเร่งเชิงมุม a θ  0
p
 0 --------- (2.58)
θ

Fluid Static ธัญดร ออกวะลา


Fluid Mechanics 2-43

 Fz  ma z 
 p  p  dz dr rdθ    p  p  dz dr rdθ   γr  dr  dθ  dz   ρr  dr  dθ  dz a
    r
 z 2   z 2 
p
 ρg  a z  --------- (2.59)
z

นําสมการที่ 2.57 2.58 และ 2.59 ไปแทนในสมการที่ 2.56 จะได้

dp  ρrω2 dr  ρg  a z dz --------- (2.60)

สมการที่ 2.60 คือ สมการการเปลีย่ นแปลงความดันของของไหลในภาชนะทีห่ มุนรอบแกนด้วยความเร็ว


เชิ งมุมคงที ่

หากพิจารณาตามแนวเส้นทางที่มีความดันคงที่ เช่นบนผิ วอิ สระ ผลต่างของความดันจะมีคา่ เท่ากับ 0 ดังนัน้


แทนค่า dP = 0 ในสมการที่ 2.60 จะได้

0  ρrω 2 dr  ρg  a z dz


จัดรูปใหม่จะได้
dz r2
 --------- (2.61)
dr g  a z

ดังนัน้ สมการที่ 2.61 ก็คอื สมการของค่าความลาดชันของแนวเส้นทางในของไหลทีม่ ีค่าความดันคงที ่


หรือค่าความลาดชันของผิวอิ สระของของไหลในภาชนะทีห่ มุนรอบแกนด้วยความเร็วเชิ งมุมคงที ่

จากสมการที่ 2.61 นํามาจัดรูปใหม่ดงั นี้


r 2
dz  dr --------- (2.62)
g  az
หากทําการอินทิเกรด สมการที่ 2.60 จะได้
2 2
z r C --------- (2.63)
2g  a z 

สมการที่ 2.63 ก็คอื สมการความสูงของผิ วนํ้ารอบแกนหมุน ซึง่ เมือ่ พิจารณาจากสมการ หากภาชนะหมุน


ด้วยอัตราเร็วเชิงมุมคงที่ และมีความเร่งในแนวดิง่ คงที่ ผิวนํ้าจะมีรปู ร่างเป็ นรูปทรงพาราโบลอยด์ห (Paraboloid) โดย
จะมีจุดตํ่าสุดอยูท่ แ่ี กนหมุน และมีจุดสูงสุดอยูท่ ข่ี อบของภาชนะ ดังรูปที่ 2.27

ธัญดร ออกวะลา Fluid Static


2-44 Fluid Mechanics

รูปที่ 2.27 รูปทรงของผิวอิสระของของไหลในภาชนะทีห่ มุนด้วยความเร็วเชิงมุมคงที่

เมือ่ พิจารณาทีแ่ กนหมุน รัศมีมคี า่ เท่ากับ 0 จึงทําให้ z = C หรือนันหมายความว่


่ า ค่า C คือความลึกของนํ้าที่
แกนหมุน โดยวัดจากผิวนํ้าถึงแกน r

Fluid Static ธัญดร ออกวะลา


Fluid Mechanics 2-45

ตัวอย่างที่ 2.16 ถังทรงกระบอกดังรูป หมุนด้วยความเร็วรอบคงทีร่ อบ


แกน z และเคลื่อนทีข่ น้ึ ในแนวดิง่ ด้วยความเร่ง 0.4 m/s2 จงหา
- ความเร็วเชิงมุมสูงสุด ทีท่ าํ ให้น้ําไม่ลน้ ออกจากถัง และหาค่าความ
ดันทีม่ ากทีส่ ดุ ทีข่ องไหลกระทํากับก้นถ้ง
- ความเร็วเชิงมุม ทีท่ าํ ให้ผวิ อิสระสัมผัสก้นถังพอดี และหาปริมาณ
นํ้าทีล่ น้ ออกจากถัง

วิธที าํ พิจารณากรณีทน่ี ้ําล้นพอดี ดังนัน้ ผิวอิสระจะมีลกั ษณะดังรูป


กําหนดแกนอ้างอิงไว้ทจ่ี ุดตํ่าสุดของผิวนํ้า (จุด O) พิกดั ขอบถังบริเวณทีน่ ้ําล้น (จุด A) คือ
r = 0.6 m z = 1.0 m
1 2 2
จากสมการที่ 2.63  z  r C
2 g  az
จากรูป ค่า C = 0 m.
แทนค่าพิกดั ต่างๆ ลงในสมการ จะได้
1 2
1.0    0.6  2   0     7.53 rad / s Ans
2 g  4
ต้องการหาค่าความดัน ทําได้โดยการอินทิเกรดสมการที่ 2.58
dP = ρrω2 dr  ρg  a z dz
1 2 2
P = ρr ω  ρg  a z z  C1
2
ค่า C1 สามารถหาได้โดยการแทนค่าพิกดั ของจุดทีเ่ ราทราบค่าของความดัน คือทีผ่ วิ นํ้า เช่นทีจ่ ุด O
ทีจ่ ุด O : r = 0 ; z = 0 ; P = 0  C1 = 0
พิจารณาทีจ่ ุด D r = 0 ; z = -0.5
1
PD = ρ 0  2  7.53  2  ρ g  4  - 0.5   0
2
= 6.905 kPa
พิจารณาทีจ่ ุด B r = +0.6 ; z = -0.5
1
PB = ρ 0.6  2  7.53  2  ρ g  4  - 0.5   0
2
= 17.11 kPa
 ความดันทีม่ ากทีส่ ดุ เกิดขึน้ ทีข่ อบของก้นถัง และมีคา่ เท่ากับ 17.11 kPa Ans
พิจารณากรณีทผ่ี วิ นํ้าสัมผัสก้นถังจะมีลกั ษณะดังรูป
กําหนดแกนอ้างอิงไว้ทจ่ี ุดตํ่าสุดของผิวนํ้า (จุด O) พิกดั ขอบถังบริเวณ
ทีน่ ้ําล้น (จุด A) คือ r = 0.6 m z = 1.5 m
2
 2
จากสมการที่ 2.61  z  r C
g  az
จากรูป ค่า C = 0 m.

ธัญดร ออกวะลา Fluid Static


2-46 Fluid Mechanics

แทนค่าพิกดั ต่างๆ ลงในสมการ จะได้


1 2
1.5    0.6  2   0     10.73 rad / s Ans
2 g  4

*** เนื่องจากปริมาตรของรูปทรงพาราโบลอยด์ จะมีคา่ เท่ากับปริมาตรของทรงกระบอกทีม่ เี ส้นผ่าศูนย์กลาง


เท่ากัน แต่มคี วามสูงเพียงครึง่ หนึ่งของรูปทรงพาราโบลอยด์

หาปริมาตรของนํ้าทีเ่ หลืออยูไ่ ด้จาก ปริมาตรนํ้าทีเ่ หลือ = ปริมาตรภาชนะ – ปริมาตรพาราโบลอยด์


  1.2 2 1.5      1.2 2  1.5 
ปริมาตรนํ้าทีเ่ หลือ =
 4   4  
 2 
3
= 0.848 m
 ปริมาตรนํ้าทีล่ น้ ออกจากถัง = ปริมาตรนํ้าเดิม – ปริมาตรนํ้าทีเ่ หลือ
=   1.2 2 1.0    0.848
 4 
3
= 0.283 m Ans

Fluid Static ธัญดร ออกวะลา


Fluid Mechanics 3-1

บทที่ 3
ทฤษฎีการไหลเบือ้ งต้น

เนื้อหาในบทนี้ จะเป็ นการศึกษาเกีย่ วกับพฤติกรรมของความเร็ว ความเร่ง และการเคลื่อนทีข่ องของไหล โดย


จะไม่พจิ ารณาแรงใดๆ ทีก่ ระทํากับของไหล หรือทีเ่ ราเรียกว่า Kinematics of Fluid Flow

ก่อนทีจ่ ะเข้าเนื้อหาในบทนี้และบทต่อๆไป จําเป็ นต้องเข้าคําศัพท์เฉพาะทีอ่ ธิบายถึงวิธใี นการพิจารณาการ


เคลื่อนทีข่ องอนุ ภาคของของไหลเสียก่อน
- Streamline หมายถึงเส้นทางการเคลื่อนทีเ่ ฉลีย่ ขณะใดขณะหนึ่งของของกลุม่ อนุภาคของไหลที่
เคลื่อนทีต่ ่อเนื่องกันในสนามการไหล ซึง่ เส้น streamline นี้จะสัมผัสกับทิศทางของความเร็วเฉลีย่ ของอนุ ภาค
ของของไหลเสมอ
- Streakline หมายถึงภาพของกลุม่ อนุ ภาคของไหลทีก่ าํ ลังเคลื่อนทีใ่ นสนามการไหล เช่น เมือ่ ฉีดสีลง
ในสนามการไหล เราจะเห็นภาพของเส้นสีทเ่ี คลื่อนทีไ่ ปในสนามการไหล หรือภาพของควันทีล่ อยในอากาศ
- Pathline หมายถึงแนวเส้นทางการเคลื่อนทีข่ องอนุ ภาคของไหลเพียงอนุภาพเดียวในหนึ่งช่วงเวลา

ในสนามการไหลทีไ่ ม่ซบั ซ้อนเช่น การไหลแบบราบเรียบ (จะกล่าวถึงรายละเอียดในหัวข้อต่อไป) อนุ ภาคของ


ไหลจะเคลื่อนทีอ่ ย่างเป็ นระเบียบไปตาม streamline ซึง่ ทําให้แนวเส้น streamline streakline และ pathline คือเส้น
เดียวกัน (ดังรูปที่ 3.5) ส่วนในสนามการไหลทีม่ คี วามซับซ้อน เช่น การไหลผ่านหัวฉีดทีส่ า่ ยไปมาด้วยความถีค่ งที่ ดัง
รูปที่ 3.1 หากพิจารณาการเปรียบเทียบกับหัวฉีดทีจ่ ุดใดจุดหนึ่ง การเคลื่อนทีข่ องอนุ ภาคของของไหล (Pathline) จะมี
ลักษณะพุง่ กระจายออกเนื่องจากมีองค์ประกอบของความเร็วในแนวแกน x ซึง่ เป็ นผลมาจากการส่ายของหัวฉีด แต่ภาพ
ทีป่ รากฏให้เห็นนัน้ คือกลุม่ อนุ ภาคทีเ่ คลื่อนทีต่ ่อกันเป็ นสายหรือทีเ่ รียกว่า streakline ดังรูปที่ 3.1(ข) และเมือ่ พิจารณา
การเคลื่อนทีข่ องของไหลทัง้ หมดในสนามการไหลจะเห็นได้วา่ แนวเส้นทีส่ มั ผัสกับอนุภาคของความเร็วของของไหล
หรือทีเ่ รียกว่า streamline จะมีลกั ษณะดังรูปที่ 3.1 (ค)

รูปที่ 3.1 ตัวอย่าง streamline streakline และ pathline ของการไหลผ่านหัวฉีดทีมกี ารส่าย

ธัญดร ออกวะลา Flow Theorem


3-2 Fluid Mechanics

3.1 การจําแนกประเภทของการไหล (Flow classification)

เนื่องจากคุณสมบัตหิ ลายประการของของไหลสามารถเปลีย่ นแปลงได้ตามสภาพแวดล้อม (เช่นอุณหภูม ิ ความ


ดัน เป็ นต้น) และเวลา ในสภาพปญั หาหนึ่งๆ ถึงแม้การไหลจะเกิดขึน้ ทีต่ าํ แหน่งเดียวกัน แต่พฤติกรรมของการไหลอาจ
ไม่เหมือนกัน ดังนัน้ การวิเคราะห์จงึ จําเป็ นต้องคํานึงถึงสมมุตฐิ านทีส่ อดคล้องกับสภาพปญั หานัน้ ๆ จากพฤติกรรมการ
ไหลทีแ่ ตกต่างกันนี้ เราสามารถแบ่งประเภทของการไหลโดยพิจารณาได้จากหลายหลักเกณฑ์ แต่บทนี้จะกล่าวถึงการ
แบ่งประเภทการไหลโดยพิจารณาใน 5 หลักเกณฑ์ดงั นี้

3.1.1 ของไหลจริง และของไหลจินตนาการ (Real Fluid and Ideal Fluid)

ในสนามการไหลของของไหลจริ ง (Real Fluid) จะมีผลกระทบจากความหนืด ซึง่ จะทําให้เกิดแรงเค้นเฉือน


ขึน้ ระหว่างอนุภาคของของไหลเมือ่ อนุภาคของไหลมีความเร็วแตกต่างกัน ส่วนของไหลจิ นตนาการ (Ideal Fluid)
เป็ นการไหลทีส่ มมุตใิ ห้ของไหลไม่มผี ลกระทบเนื่องจากความหนืด (การไหลทีไ่ ม่เกิดขึน้ จริง) ดังนัน้ ในสนามการ
ไหลจะไม่เกิดแรงเค้นเฉือนระหว่างอนุภาคของของไหล และความเร็วของอนุ ภาคของไหลจะเท่ากัน

รูปที่ 3.2 (ก) ของไหลจินตนาการ (ข) ของไหลจริง

เพือ่ ให้งา่ ยต่อการวิเคราะห์ โดยส่วนมากเมือ่ กล่าวถึงการไหล จะหมายถึงการไหลจินตนาการ ทีไ่ ม่ม ี


ผลกระทบเนื่องจากความหนืด และความเร็วคงทีใ่ นบริเวณทีพ่ จิ ารณา

3.1.2 พิจารณาจากคุณสมบัตใิ นการบีบอัดของของไหล (Compressibility)

หากของไหลอัดตัวได้ (Compressible Fluid) เคลื่อนทีใ่ นสนามการไหลเมือ่ ความดันเปลีย่ นแปลงไป


ปริมาตรของของไหลจะเกิดการเปลีย่ นแปลง การวิเคราะห์อตั ราการไหลจึงมีความซับซ้อนมากขึน้ ดังรูปที่ 3.3(ก)
ในทางตรงกันข้าม หากของไหลอัดตัวไม่ได้ (Incompressible Fluid) เคลื่อนทีใ่ นสนามการไหล ของไหลจะมี
ปริมาตรคงที่ ไม่เปลีย่ นแปลงไปตามขนาดของความดัน ในการวิเคราะห์อตั ราการไหลจะมีความซับซ้อนน้อยลง ดัง
รูปที่ 3.3 (ข) โดยส่วนมากของไหลมีสถานะเป็ นของเหลว จะถือว่าของไหลนัน้ เป็ น ของไหลที่อดตัวไม่ได้

รูปที่ 3.3 ของไหลทีอ่ ดั ตัวได้ และไม่ได้ ภายในสนามการไหลทีม่ กี ารเปลีย่ นแปลงความดัน

Flow Theorem ธัญดร ออกวะลา


Fluid Mechanics 3-3

3.1.3 พิจารณาจากการเปรียบเทียบกับเวลา

เมือ่ พิจารณาทีจ่ ุดใดจุดหนึ่งในสนามการไหล หากในช่วงเวลาทีว่ เิ คราะห์ ค่าของตัวแปรต่างๆ ทีเ่ กีย่ วข้อง


ไม่มกี ารเปลีย่ นแปลง จะถือว่า การไหลนัน้ ไม่แปรเปลี่ยนตามเวลา หรือทีเ่ ราเรียกว่า Steady Flow ในทาง
ตรงกันข้าม หากในช่วงเวลาทีว่ เิ คราะห์ ค่าของตัวแปรต่างๆ ทีเ่ กีย่ วข้อง มีการเปลีย่ นแปลงอย่างเห็นได้ชดั จะถือ
ว่า การไหลนัน้ แปรเปลี่ยนตามเวลา หรือทีเ่ ราเรียกว่า Unsteady Flow

รูปที่ 3.4 การไหลแบบ Steady flow และ Unsteady flow

3.1.4 พิจารณาจากเส้นทางการเคลื่อนทีข่ องอนุ ภาคของไหล

หากพิจารณาจากเส้นทางการเคลื่อนตัวของอนุ ภาคของไหลในสนามการไหล เราสามารถแบ่งประเภทการ


ไหลได้เป็ น 2 ลักษณะคือ

- การไหลแบบราบเรียบ (Laminar Flow) อนุภาคของของไหลจะเคลื่อนทีอ่ ย่างเป็ นระเบียบ ไปตาม


เส้นทางทีแ่ น่นอน (เคลื่อนทีไ่ ปตาม StreamLine) สภาพการไหลไม่มคี วามปนป ั ่ ว่ น การไหลประเภทนี้
มักจะเกิดกับการไหลของของไหลทีม่ คี วามหนืดสูง หรือการไหลทีม่ คี วามเร็วตํ่ามากๆ (รูปที่ 3.5 ก)

- การไหลแบบปนป ั ่ ว่ น (Turbulent Flow) อนุภาคของของไหลเคลื่อนทีอ่ ย่างไม่เป็ นระเบียบ อนุ ภาคของ


ของไหลมีเส้นทางการเคลื่อนทีไ่ ม่แน่นอน สภาพการไหลในสนามการไหลมีความปนป ั ่ ว่ น การไหล
ประเภทนี้มกั เกิดกับของไหลทีม่ คี วามหนืดตํ่า หรือการไหลทีม่ คี วามเร็วสูง (รูปที่ 3.5 ข)

ั ่ ว่ น
รูปที่ 3.5 การไหลแบบราบเรียบ และการไหลแบบปนป

ธัญดร ออกวะลา Flow Theorem


3-4 Fluid Mechanics

3.1.5 พิจารณาจากลักษณะการเคลื่อนตัวของอนุ ภาคของไหล

หากพิจารณาจากลักษณะของการเคลื่อนตัวของอนุภาคของของไหล สามารถแบ่งได้ 2 ลักษณะคือ


- การไหลแบบหมุน (Rotational Flow) คือการไหลทีอ่ นุ ภาคของของไหลเคลื่อนทีไ่ ปพร้อมกับการหมุน
- การไหลแบบไม่หมุน (Irrotational Flow) คือการไหลทีอ่ นุภาคของของไหลเคลื่อนทีไ่ ปแต่ไม่มกี ารหมุน
โดยส่วนมากในการวิเคราะห์ปญั หาเกีย่ วกับการไหลจะสมมุตใิ ห้การไหลเป็ นแบบ Irrotational Flow

รูปที่ 3.6 การไหลแบบหมุน และการไหลแบบไม่หมุน

Flow Theorem ธัญดร ออกวะลา


Fluid Mechanics 3-5

3.2 การวิ เคราะห์การไหลด้วยวิ ธีปริ มาตรควบคุม (Flow analysis with Control Volume method)

การศึกษาถึงพฤติกรรมการเคลื่อนทีข่ องของไหล หรือทีเ่ ราเรียกว่าการไหลนัน้ เราสามารถวิเคราะห์ได้ใน 3


ลักษณะคือ

- วิเคราะห์การไหลโดยพิจารณาความเร็ว และความเร่งของของไหลในทุกตําแหน่งในสนามการไหล ซึง่ เป็ น


วิธที จ่ี ะต้องอาศัยหลักการเกีย่ วกับสมการเชิงอนุพนั ธ์ หรือเรียกว่า วิธอี นุพนั ธ์ (Differential Approach)
- วิเคราะห์โดยการพิจารณาถึงสภาพความสมดุลของปริมาณการไหลเข้า ปริมาณการไหลออก และปริมาณที่
อยูภ่ ายในขอบเขตทีก่ าํ หนด (Finite Region)
- วิเคราะห์โดยอาศัยหลักการวิเคราะห์มติ ปิ ระกอบกับการสร้างแบบจําลอง (Dimensional Analysis and
Modeling)

จากทัง้ สามหลักการทีก่ ล่าวมา วิธอี นุพนั ธ์ เป็ นวิธที ม่ี คี วามยุง่ ยากซับซ้อนในการวิเคราะห์ เพือ่ ให้ได้คาํ ตอบ
บางครัง้ อาจต้องใช้เครือ่ งมือช่วยในกาคํานวณเช่น โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ส่วนการวิเคราะห์มติ กิ บั แบบจําลองนัน้ จะ
กล่าวถึงอย่างละเอียดในบทต่อไป ดังนัน้ ในบทนี้จะขอกล่าวถึงเฉพาะการวิเคราะห์โดยการกําหนดขอบเขตของการไหล
หรือทีเ่ รียกว่า “วิ ธีปริ มาตรควบคุม” (Control Volume Approach)

ในการวิเคราะห์พฤติกรรมของของไหลทีเ่ คลื่อนทีห่ รือไหลไปนัน้ เป็ นการยากทีจ่ ะพิจารณาของไหลแบบก้อน


อนุ ภาค เพราะของไหลมีการเปลีย่ นรูปร่างอยูต่ ลอดเวลา จึงต้องอาศัยการกําหนดของเขตในบริเวณทีม่ กี ารไหลขึน้ มา
เพือ่ ทําการศึกษาพฤติกรรมของของไหล ในขณะทีไ่ หลเข้าออกจากขอบเขตดังกล่าว

ก่อนทีจ่ ะกล่าวถึงการวิเคราะห์ดว้ ยวิธปี ริมาตรควบคุม จะต้องเข้าใจถึงศัพท์ทางเทคนิคทีเ่ กีย่ วข้องกับการ


วิเคราะห์ดว้ ยเสียก่อน

- ระบบ (System) หมายถึง กลุม่ ของอนุภาคของไหลทีเ่ ลือกทําการศึกษา มีรปู พรรณสันฐานทีเ่ ฉพาะเจาะจง


และ สามารถเคลื่อนทีไ่ ปตําแหน่งใดก็ได้
- สิง่ แวดล้อม (Surrounding) หมายถึงสิง่ ต่างๆ ทีล่ อ้ มรอบอยูภ่ ายนอกระบบ
- ปริมาตรควบคุม (Control Volume) หมายถึง ปริมาตรทีถ่ กู กําหนดขึน้ เพือ่ ใช้ในการศึกษาพฤติกรรมของ
การไหลเข้า และไหลออก ในบริเวณทีท่ าํ การศึกษา
- ผิวของปริมาตรควบคุม (Control Surface) หมายถึง พืน้ ทีผ่ วิ ของขอบเขตทีล่ อ้ มรอบปริมาตรควบคุม

การกําหนดขอบเขตของปริมาตรควบคุม

การกําหนดขอบเขตของปริมาตรควบคุม สามารถทําได้หลายลักษณะ ขึน้ อยูก่ บั สภาพปญั หา และระบบทีท่ าํ


การวิเคราะห์ ในการกําหนดขอบเขตนัน้ จะต้องมีตาํ แหน่งของของการไหลเข้าออกทีช่ ดั เจน และจะต้องตอบคําถาม
ทีก่ าํ ลังวิเคราะห์นนั ้ ได้ ตัวอย่างเช่น ปญั หาเกีย่ วกับการไหลในท่อ เราจะกําหนดขอบเขตปริมาตรควบคุมแบบอยูน่ ิ่ง
กับที่ ไม่มกี ารเปลีย่ นแปลงรูปร่าง (Fix Control Volume) เพือ่ ศึกษาถึงพฤติกรรมของระบบทีไ่ หลผ่านท่อ ดังรูปที่
3.7 (ก) หากปญั หาเกีย่ วข้องกับวัตถุทเ่ี คลื่อนทีใ่ นของไหล เราจะกําหนดขอบเขตปริมาตรควบคุมแบบเคลื่อนที่ ไม่
มีการเปลีย่ นรูปร่าง (Moving Control Volume) เพือ่ ศึกษาถึงพฤติกรรมของระบบรอบวัตถุในขณะทีว่ ตั ถุเคลื่อนที่

ธัญดร ออกวะลา Flow Theorem


3-6 Fluid Mechanics

ผ่านระบบนัน้ ดังรูปที่ 3.7 (ข) หรือถ้าหากต้องการศึกษาเกีย่ วกับของไหลทีอ่ ยูใ่ นภาชนะทีส่ ามารถเปลีย่ นรูปร่างได้
เราจะกําหนดขอบเขตปริมาตรควบคุมแบบเปลีย่ นรูปร่างได้ (Deforming Control Volume) เพื่อศึกษา
ความสัมพันธ์ระหว่างรูปร่างของภาชนะ กับการไหลเข้าและออกของระบบ ดังรูปที่ 3.7 (ค)

รูปที่ 3.7 การกําหนดขอบเขตของปริมาตรควบคุม

Flow Theorem ธัญดร ออกวะลา


Fluid Mechanics 3-7

3.3 ทฤษฎีการเคลื่อนย้ายของเรย์โนด์ (Reynolds Transport Theorem)

ทฤษฎีการเคลื่อนย้ายของเรย์โนด์ เป็ นทฤษฎีพน้ื ฐานทีใ่ ช้อธิบายพฤติกรรมการเคลื่อนตัวของของไหล ทีม่ ี


การเปลีย่ นแปลงคุณสมบัตใิ ดๆ อย่างต่อเนื่อง ซึง่ บางครัง้ ทฤษฎีการเคลื่อนย้ายของเรย์โนด์น้ีถกู เรียกว่า สมการ
การของการอนุ รกั ษ์ทวไป
ั ่ (General Conservation Equation)

3.3.1 ทฤษฎีการเคลื่อนย้ายของเรย์โนด์ กับปริมาตรควบคุมทีถ่ กู จํากัดทิศทางการไหลเข้าและออก

รูปที่ 3.8 การเคลื่อนทีข่ องระบบผ่านปริมาตรควบคุมทีม่ กี ารไหลทิศทางเดียว

พิจารณาการเคลื่อนตัวของระบบผ่านปริมาตรควบคุม โดยสมมุตใิ ห้การไหลมีเพียงทิศทางเดียว และไม่ม ี


การไหลทางด้านข้างดังรูปที่ 3.8

กําหนดให้
พืน้ ทีส่ เี ทาคือ ระบบทีก่ าํ ลังพิจารณา และแนวเส้นประคือ ขอบเขตของปริมาตรควบคุม
B = ปริมาณทางฟิสกิ ส์ใดๆ ในระบบทีเ่ คลื่อนตัวผ่านปริมาตรควบคุม
จากรูปที่ 3.7 (ก) เมือ่ เวลา t = t ปริมาณใดๆ ทีม่ อี ยูใ่ นระบบ BSYS(t) จะเท่ากับปริมาณใดๆ ทีอ่ ยูใ่ นปริมาตร
ควบคุม BCV(t)
BSYS(t) = BCV(t) --------- (3.1)
แต่เมือ่ เวลาผ่านไป t หากพิจารณาความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณในระบบ กับปริมาณในปริมาตรควบคุม
และสิง่ แวดล้อม จะได้วา่
B sys  t  δt  = B CV  t  δt   BI  t  δt   BII  t  δt  --------- (3.2)

โดยที่ BI  t  δt  คือปริมาณทีไ่ หลเข้ามาในปริมาตรควบคุม และ BII  t  δt  คือปริมาณทีไ่ หลออกจาก


ปริมาตรควบคุม เมือ่ เวลาผ่านไป t

พิจารณาอัตราการเปลี่ยนแปลงของปริ มาณ B ในระบบเมื่อเทียบกับเวลา จะได้วา่


δB sys B sys  t  δt   B sys  t 
= --------- (3.3)
δt δt

ธัญดร ออกวะลา Flow Theorem


3-8 Fluid Mechanics

แทนค่าสมการที่ 3.1 และ 3.2 ในสมการที่ 3.3


δB sys B CV  t  δt   BI  t  δt   BII  t  δt   B CV  t 
=
δt δt
δB sys B CV  t  δt   B CV  t  BI  t  δt  BII  t  δt 
=   --------- (3.4)
δt δt δt δt
δB DB
หากพิจารณา t มีคา่ น้อยมากจนเกือบเป็ น 0 จะทําให้ sys เปลีย่ นรูปเป็ น sys
δt Dt
B  t  δt   BCV  t  BCV
และจากเทอม CV ซึง่ ก็คอื หรือ อัตราการเปลี่ยนแปลงของปริ มาณใน
δt t
ปริ มาตรควบคุมต่อเวลา
ดังนัน้ สมการที่ 3.4 จึงสามารถเขียนใหม่ได้เป็ น
DB sys B CV BI  t  δt  BII  t  δt 
=   --------- (3.5)
Dt t δt δt
B  t  δt 
ความหมายของเทอม I ก็คอื อัตราการไหลเข้าของปริ มาณผ่านผิวปริ มาตรควบคุม
δt
BI  t  δt 
กําหนดให้ เขียนแทนด้วย B In
δt
B  t  δt 
และความหมายของเทอม II ก็คอื อัตราการไหลออกของปริ มาณผ่านผิวปริ มาตรควบคุม
δt
BII  t  δt 
กําหนดให้ เขียนแทนด้วย B Out
δt
แทนค่าสัญลักษณ์ในสมการที่ 3.5 จะได้
DB sys BCV
=  B In  B Out --------- (3.6)
Dt t

และถ้าหากมีทางเข้าออกหลายทาง สมการที่ 3.6 จะเขียนใหม่ได้เป็ น

DB sys BCV
   B In   B Out --------- (3.7)
Dt t

ซึง่ เราจะเรียกสมการที่ 3.7 ว่า สมการการเคลือ่ นย้ายของเรย์โนด์ (Raynolds Transport Theorem)


หากกําหนดให้ QIn/Out = อัตราการไหล (เข้า-ออก)  In / Out 
 t 
b = อัตราส่วนของปริมาณใดๆ ต่อหนึ่งหน่วยมวลของของไหลใดๆ
(ของไหลทีผ่ า่ นปริมาตรควบคุม ไม่จาํ เป็ นต้องเป็ นระบบ)
B
 b =
m

Flow Theorem ธัญดร ออกวะลา


Fluid Mechanics 3-9

หากพิจารณาที่ อัตราการไหลเข้าของปริมาณผ่านผิวปริมาตรควบคุม ( B In )
mb b 
B In  In In  In In In  In  In bIn
t t  t 
B In = InQInbIn --------- (3.8)
ในทํานองเดียวกันหากพิจารณาที่ อัตราการไหลออกของปริมาณผ่านผิวปริมาตรควบคุม ( B Out )
m b   b 
B Out  Out Out  Out Out Out  Out  Out b Out
t t  t 
B Out = Out Q Outb Out --------- (3.9)
สมการที่ 3.7 อาจอยูใ่ นรูป
DB sys BCV
   InQInbIn    Out Q Outb Out  --------- (3.10)
Dt t
3.3.2 ทฤษฎีการเคลื่อนย้ายของเรย์โนด์ กับใช้ปริมาตรควบคุมทีม่ กี ารไหลเข้าออก อย่างอิสระ

รูปที่ 3.9 การเคลื่อนทีข่ องระบบผ่านปริมาตรควบคุมทีม่ กี ารไหลเข้าออก อย่างอิสระ

เมือ่ พิจารณาจากรูปที่ 3.9


ปริมาณในระบบมีคา่ เท่ากับ B sys   b dm   ρb d
sys sys
ดังนัน้ อัตราการเปลีย่ นแปลของปริมาณเทียบกับเวลาในระบบมีคา่ เท่ากับ
DB sys d  
   ρb d  --------- (3.11)
Dt dt  sys 
ปริมาณในปริมาตรควบคุมมีคา่ เท่ากับ B CV   b dm   ρb d
CV CV
ดังนัน้ อัตราการเปลีย่ นแปลของปริมาณเทียบกับเวลาในปริมาตรควบคุมมีคา่ เท่ากับ
dBCV d  
   ρb d  --------- (3.12)
dt dt  CV 

ธัญดร ออกวะลา Flow Theorem


3-10 Fluid Mechanics

จากรูปที่ 3.9 (ข) เมือ่ เวลาเปลีย่ นเป็ น t+dt พิจารณาปริมาณทีไ่ หลออก (II)
กําหนดให้ความเร็วในแนวตัง้ ฉากกับผิวควบคุม
vn  v  n --------- (3.13)
เมือ่ v = ความเร็วของระบบทีผ่ วิ ของปริมาตรควบคุม
n = เวกเตอร์ตงั ้ ฉากหนึ่งหน่วยทีผ่ วิ ของปริมาตรควบคุม
จากรูปที่ 3.9 (ข) ปริมาณการไหลออกบนพืน้ ทีเ่ ล็กๆ เท่ากับ
δBOut  ρbv ndA δt --------- (3.14)

อัตราการไหลออกของปริมาณบนพืน้ ทีเ่ ล็กๆ มีคา่ เท่ากับ


δB
δB Out  Out  ρbvndA --------- (3.15)
δt
ดังนัน้ อัตราการไหลออกของปริมาณทัง้ หมอจึงมีคา่ เท่ากับ
B Out   ρbvndA --------- (3.16)
CS Out
ถ้าพิจารณาปริมาณการไหลเข้าบนพืน้ ทีเ่ ล็กๆ จะเท่ากับ
δBIn  ρbv n dA δt --------- (3.17)
การทีม่ เี ครือ่ งหมายเป็ นลบ เนื่องมาจากทิศของการไหลสวนทางกับ เวกเตอร์ตงั ้ ฉากหนึ่งหน่วยทีผ่ วิ ของ
ปริมาตรควบคุม ดังนัน้ จึงส่งผลให้ v  n  v n
อัตราการไหลเข้าของปริมาณบนพืน้ ทีเ่ ล็กๆ มีคา่ เท่ากับ
δB
δB In  In  ρbv n dA --------- (3.18)
δt
ดังนัน้ อัตราการไหลเข้าของปริมาณทัง้ หมดจึงมีคา่ เท่ากับ
B In    ρbv n dA --------- (3.19)
CSIn
จากสมการการเคลื่อนย้ายของเรย์โนด์ (สมการที่ 3.7) อัตราการเปลีย่ นแปลงของปริมาณในระบบเทียบกับ
เวลาจะมีคา่ เท่ากับ
 B CV
DB CV
=  B Out  B In  ]
Dt t
B CV  
=    ρbv n dA   ρbv n dA 
t  CS Out CSIn 
 จะได้สมการการเคลื่อนย้ายของเรย์โนด์ ในรูป
DB sys B CV
   ρbv n dA --------- (3.20)
Dt t CS

d d
 ρb d   ρb d   ρbv n dA --------- (3.21)
dt sys dt CV CS

Flow Theorem ธัญดร ออกวะลา


Fluid Mechanics 3-11

3.4 สมการกฎการอนุรกั ษ์มวล (Mass Conservation)

หากพิจารณาจากรูปแบบอย่างง่าย โดยให้ปริมาณทีพ่ จิ ารณาคือมวล จากสมการที่ 3.7 จะได้วา่


DMsys MCV
   M In   M Out --------- (3.22)
Dt t
DM
แต่เนื่องจากมวลไม่มวี นั สูญสลาย ซึง่ นันหมายความว่
่ า sys  0 ดังนัน้
Dt
MCV
0 =   M In   M Out
t
MCV
  M In   M Out --------- (3.23)
t

สมการที่ 3.23 คือ สมการกฎการอนุรกั ษ์มวล (Mass Conservation) หรือเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า สมการ


ความต่อเนื อ่ ง (Continuity Equation)

ถ้าพิจารณาในรูปสมการทัวไป่ จากสมการที่ 3.21 อัตราส่วนของปริมาณใดๆ ต่อหนึ่งหน่วยมวลของของ


m d
ไหล b   1 และเนื่องจากมวลของระบบจะคงทีเ่ สมอ จึงทําให้  ρb d  0 ดังนัน้ จะได้วา่
m dt sys
d
 ρb d   ρbv n dA  0 --------- (3.24)
dt CV CS
สมการที่ 3.24 คือ รูปทัวไปของสมการกฎการอนุ
่ รกั ษ์มวล (Mass Conservation)

จากสมการที่ 3.20 หากปริมาณทีพ่ จิ ารณาคือปริมาตร ดังนัน้ b  หรือเท่ากับ ปริมาตรจําเพาะของของ
m
ไหล () จะได้
Dsys CV
   ρv n dA --------- (3.22)
Dt t CS
เนื่องจาก ρ  1 ดังนัน้ จะได้
Dsys CV
   v n dA --------- (3.23)
Dt t CS
แต่ถา้ สมมุตฐิ านของการไหล เป็ นการไหลของของไหลทีอ่ ดั ตัวไม่ได้ (Incompressible Fluid) ปริมาตร
Dsys
ของระบบจะคงที่ ทําให้ 0
Dt
 CV
   v n dA --------- (3.24)
t CS
พิจารณาเทอม  v n dA   v n dA   v n dA แทนค่าในสมการที่ 3.24
CS CS Out CSIn

CV  
=    v ndA   v ndA 
t  CS Out CSIn 

ธัญดร ออกวะลา Flow Theorem


3-12 Fluid Mechanics

CV
=  v n dA   v ndA
t CSIn CS Out
เนื่องจาก  v ndA   Q ดังนัน้
CS
CV
  QIn   Q Out --------- (3.25)
t

ถ้าปริ มาตรควบคุมเป็ นแบบคงตัวปริ มาตรคงที ่ (Fix Control Volume) และถ้าหากการไหลเป็ นการ


ไหลแบบคงที ่ (Steady Flow) ซึง่ หมายถึงการไหลทีค่ ุณสมบัตขิ องของไหลทีต่ าํ แหน่งใดๆ ไม่แปรเปลีย่ นตาม
CV
เวลา ซึง่ ทําให้  0 ดังนัน้ จะได้วา่
t
 QIn   Q Out --------- (3.26)

Flow Theorem ธัญดร ออกวะลา


Fluid Mechanics 3-13

ตัวอย่างที่ 3.1 นํ้าและแอลกอฮอล ไหลมาผสมกันในท่อรูปตัว


Y ลักษณะดังรูป เมือ่ อัตราการไหลของนํ้าและแอลกอฮอล
เท่ากับ 0.1 cms และ 0.3 cms ตามลําดับ จงหาความหนาแน่น
ของของเหลวทีท่ างออก (SGAlcohol = 0.8)

วิธที าํ พิจารณาจากสมการการเคลื่อนย้ายของเรย์โนด์
DB sys BCV
   B In   B Out
Dt t
พิจารณาปริมาตรควบคุมแบบ Fix Control Volume ดังรูป
กําหนดให้ระบบคือ ของไหลทัง้ หมดทีไ่ หลผ่านท่อ และ
ปริมาณทีพ่ จิ ารณาคือมวล จะได้วา่
MCV
  M In   M Out
t
เนื่องจากอัตราการไหลเข้าออกคงที่ และปริมาตรภายในท่อ
ส่วนทีอ่ ยูใ่ นปริมาตรควบคุมไม้เปลีย่ นแปลง ดังนัน้
MCV
0
t
พิจารณาการไหลเข้าทัง้ สองทาง
 M In =  w Q w   AlcoholQ Alcohol
=  0.1w   0.3  0.8 w
พิจารณาการไหลออก
 M Out = Mix Q Mix
แทนค่าทัง้ หมดในสมการ จะได้
0   0.1 w   0.3  0.8  wl  Mix Q Mix ----- (1)
เนื่องจากระบบเป็ นของเหลวอัดตัวได้น้อยมาก ประกอบกับปริมาตรควบคุมเป็ นแบบคงตัว ไม่มกี าร
เปลีย่ นแปลงปริมาตร และการไหลไม่แปรเปลีย่ นตามเวลา
  Q In   Q Out  Q w  Q Alcohol = Q mix
(0.1) + (0.3) = Q mix
Q mix = 0.4 cms
แทนค่าใน (1) 0 =  0.1 w   0.3  0.8  wl  Mix  0.4 

Mix =  0.1   0.3  0.8  


  w
 0.4 
=  0.85  w = 850 kg/m3 Ans

ธัญดร ออกวะลา Flow Theorem


3-14 Fluid Mechanics

ตัวอย่างที่ 3.2 สปริงเกอร์ฉีดนํ้าด้วยอัตรา 1 l/s ดังรูป


ทีป่ ลายทางออกของสปริงเกอร์ มีเส้นผ่าศูนย์กลาง 6 mm
รัศมี 100 mm จงหาความเร็วของนํ้าในอากาศ (V) ในขณะ
ทีส่ ปริงเกอร์หมุนด้วยความเร็วรอบ () 600 rpm

วิธที าํ พิจารณาจากสมการการเคลื่อนย้ายของเรย์โนด์
DB sys BCV
   B In   B Out
Dt t

พิจารณาปริมาตรควบคุมแบบ Moving Control Volume ดังรูป


กําหนดให้ระบบคือ ของไหลทัง้ หมดทีไ่ หลผ่านท่อ และปริมาณทีพ่ จิ ารณาคือมวล จะได้วา่
MCV
  M In   M Out ----- (1)
t
เนื่องจากอัตราการไหลเข้าออกคงที่ และปริมาตรของส่วนทีอ่ ยูใ่ นปริมาตรควบคุมไม้เปลีย่ นแปลง ดังนัน้
MCV
0
t
พิจารณาการไหลเข้า  M In = w Q in =  0.001w
พิจารณาการไหลออก  M Out = 2w Q Out 

เนื่องจาก QOut = A Out W =   0.006 2 W
4 
เมือ่ W คือความเร็วของนํ้าทีไ่ หลออกจากสปริงเกอร์ เมือ่ เทียบกับปลายสปริงเกอร์

ดังนัน้  M Out = 2  w   0.006 2 W 
 4  
แทนค่าทัง้ หมดในสมการ (1) จะได้
  
0 =  0.001w - 2  w   0.006 2 W 
 4  
0.001
W =  = 17.68 m/s
2
2  0.006 
4   
จากรูปเมือ่ พิจารณาความเร็วในรูปเวกเตอร์ จะเห็นได้วา่ V WU
2 600 
U = R =   0.1 = 2 m/s
 60 
ดังนัน้ ความเร็วของนํ้าในอากาศจึงเท่ากับ

V = (-17.68) + (+2) = -11.40 m/s Ans

Flow Theorem ธัญดร ออกวะลา


Fluid Mechanics 3-15

ตัวอย่างที่ 3.3 เข็มฉีดยาอันหนึ่ง แป้นกด (Plunger) มีขนาด


พืน้ ที่ 500 ตร.มม. ถ้าต้องการฉีดยาให้น้ํายาไหลออกในอัตรา
300 cc/min จงหาความเร็วในการกดแป้น โดยสมมติให้มกี าร
รัวไหลของตั
่ วยารอบแป้นกดเท่ากับ 0.1 เท่าของอัตราทีไ่ หล
ออกทางปลายเข็ม

DB sys BCV
วิธที าํ พิจารณาจากสมการการเคลื่อนย้ายของเรย์โนด์    B In   B Out
Dt t
พิจารณาปริมาตรควบคุมแบบ Deforming Control Volume ดังรูป

กําหนดให้ระบบคือ ของไหล และปริมาณทีพ่ จิ ารณาคือมวล จะได้วา่


MCV
  M In   M Out ----- (1)
t
เนื่องจากไม่อตั ราการไหลเข้า ดังนัน้  M In  0
พิจารณาการไหลออก  M Out = Q   0.1Q 
เมือ่ แทนค่าในสมการที่ (1) จะได้
MCV
= 0  Q   0.1Q  
t
MCV
= - 1.1Q ----- (2)
t
MCV dCV d AL 
พิจารณาเทอม = =
t dt dt
MCV dL
= A ----- (3)
t dt
dS dL
จะเห็นได้วา่ ความเร็วในการกด V = =  ----- (4)
dt dt
แทนค่า (3) และ (4) ใน (2) A  V  =  1.1Q
1.1Q
V =
A
 10 6 
1.1 300  
 60 
=
500  10 6

V = 0.011 m/s Ans

ธัญดร ออกวะลา Flow Theorem


3-16 Fluid Mechanics

ตัวอย่างที่ 3.4 โรงบําบัดนํ้าเสียแห่งหนึ่งต้องการบําบัดนํ้าผ่านอ่างตกตะกอน โดยนํ้าเสียทีต่ อ้ งการบําบัดทีจ่ ะไหลเข้า


สูอ่ ่างตกตะกอน มีปริมาณ 500 ลิตร/วินาที ค่าความถ่วงจําเพาะ 1.0015 หลังจากผ่านการตกตะกอนนํ้าเสียมีคา่ ความ
ถ่วงจําเพาะเท่ากับ 1.0012 ซึง่ จะไหลออกผ่านฝายนํ้าล้นทีท่ างออก เนื่องจากระดับนํ้าภายในอ่างค่อนข้างคงทีจ่ งึ
ประมาณได้วา่ อัตราการไหลออกจากอ่างค่อนข้างคงที่ จากการตรวจวัดตะกอนทีก่ น้ อ่าง ค่าความถ่วงจําเพาะมีคา่
เท่ากับ 1.6552 จะต้องใช้เวลานานเท่าไรกว่าทีต่ ะกอนจะเต็มอ่างพอดี (ปริมาณตะกอนถึงระดับสูงสุด)

DB sys BCV
วิธที าํ พิจารณาจากสมการการเคลื่อนย้ายของเรย์โนด์    B In   B Out
Dt t
พิจารณาปริมาตรควบคุมแบบ Fix Control Volume ดังรูป
กําหนดให้ระบบคือ ของไหล และปริมาณทีพ่ จิ ารณาคือมวล จะได้วา่
MCV
  M In   M Out ----- (1)
t

พิจารณาการไหลเข้า  In
M = inQ in
= 1.0015W 1.0  ----- (2)

พิจารณาการไหลออก  Out
M =  out Q out
= 1.0012W 1.0  ----- (3)
เมือ่ พิจารณาที่ t = 0 มวลใน Control Volume คือมวลของนํ้าส่วนที่ 1 และ 2 แต่เมือ่ เวลาผ่านไป t = t มวลทีอ่ ยูใ่ น
Control volume คือ มวลของนํ้าส่วนที่ 1 กับ มวลของตะกอนทีเ่ ข้ามาแทนทีส่ ว่ นที่ 2
ดังนัน้ ในช่วงเวลาดังกล่าวมีมวลแตกต่างกันเท่ากับ
M CV = m1  mตะกอน   m1  m 2 
= mตะกอน  m 2 = ตะกอน ตะกอน   2  2
= ตะกอน  2  =  3600  3 1.6552  1.00121000
 M CV = 7,063,200 kg = 7,063.2 ton
เมือ่ พิจารณาอัตราการเปลีย่ นแปลงของมวลใน Control volume ต่อหนึ่งหน่วยเวลา จะได้
MCV MCV 7,063.2  103
= = ----- (4)
t t t
7,063.2  103
นํา (2) (3) และ (4) แทนใน (1) = 1.0015  1.0012W
t
7,063.2
 t = = 47,088,000 วินาที = 545 วัน Ans
1.0015  1.0012

Flow Theorem ธัญดร ออกวะลา


Fluid Mechanics 4-1

บทที่ 4
สมการพลังงาน

หากพิจารณาอนุภาคของของไหลทีก่ าํ ลังเคลื่อนทีใ่ นสนามของการไหล ความดัน ความเร็วของอนุภาค รวมถึง


แรงต่างๆ ทีเ่ กิดขึน้ จะมีการเปลีย่ นแปลงอย่างต่อเนื่อง ไปตามตําแหน่ง และเวลาทีเ่ ปลีย่ นแปลงไป เพือ่ หา
ความสัมพันธ์ของตัวแปรต่างๆ เราสามารถวิเคราะห์โดยอาศัยหลักการจากสมการพืน้ ฐานทีเ่ กีย่ วข้อง 3 สมการคือ
สมการความต่อเนื่อง สมการพลังงาน และสมการโมเมนตัม การวิเคราะห์ดว้ ยสมการโมเมนตัมนัน้ จะกล่าวถึงในบท
ต่อไป ส่วนในบทนี้จะเป็ นการวิเคราะห์ สมการพลังงานของอนุ ภาคของไหลอัดตัวไม่ได้ (Incompressible Fluid) ที่
เคลื่อนทีไ่ ปตาม Streamline ภายใต้การไหลแบบ Steady flow

สมการพลังงานของการไหลขัน้ ต้นนัน้ เกิดจากแนวคิดของ Leonhard Euler โดยพิจาณาตัวแปรต่างๆ ไปตาม


แนวเส้นทางของการไหล (streamline) ซึง่ ต่อมา Bernouli ได้นําสมการของ Euler มาวิเคราะห์ต่อจนได้เป็ นสมการ
พลังงานทีใ่ ช้กนั อย่างแพร่หลายจนถึงปจั จุบนั

4.1 สมการพลังงานของ Euler (Euler’s Energy equation)

พิจารณาอนุ ภาคของไหลรูปทรงกระบอกทีก่ าํ ลังเคลื่อนทีไ่ ปตาม streamline ดังรูปที่ 4.1

รูปที่ 4.1 การเคลื่อนทีข่ องอนุ ภาคของไหลตามแนวเส้นทางการไหล

ของไหลเคลื่อนทีไ่ ปตาม streamline ด้วยความเร่ง as ทํามุม  กับแนวระดับ พิจารณาแรงภายนอกทีก่ ระทํา


กับของไหลประกอบด้วย
- แรงดัน เนื่องจากความดันทีผ่ วิ ของทรงกระบอกมีทศิ ทางหักล้างกันหมด ดังนัน้ แรงดันจึงเหลือเพียง แรงที่
P
กระทํากับปลายด้านหนึ่งมีคา่ เท่ากับ P dA  ส่วนอีกด้านเท่ากับ  P  ds  dA 
 s 
- นํ้าหนักของก้อนอนุภาค dW   d   dA  ds 

จากฎการเคลื่อนทีข่ อ้ ที่ 2 ของนิวตัน



 F  ma

ธัญดร ออกวะลา Energy Equation


4-2 Fluid Mechanics

เมือ่ พิจารณาทิศทางตามแนวเส้นทางการไหล จะได้วา่


P
P dA    P  ds  dA   dW sin   mas --------- (4.1)
 s 

dV
เนื่องจากความเร่ง a s  และ V  f  s, t  ดังนัน้ จะได้
dt
a  V  ds  V  dt  V  V  V --------- (4.2)
s s dt t dt s t

V V dV
แต่เนื่องจากสภาพการไหลไม่เปลีย่ นแปลงตามเวลา (Steady flow) จึงทําให้  0 และ 
t s ds
สมการที่ 4.2 จึงสามารถเขียนใหม่ได้วา่
a  V  dV --------- (4.3)
s
ds

มวลของอนุภาคของไหลมีคา่ เท่ากับ
m   d   dA  ds  --------- (4.4)

แทนค่าสมการ 4.3 และ 4.4 ในสมการที่ 4.1 จะได้


P dV
P dA    P  ds  dA    dA  ds  sin    dA  ds  V  
 s   ds 
P
P   P  ds    ds     ds  V  
dz dV
 s   ds   ds 

P dP
ทีส่ ภาพการไหลแบบ Steady flow ความดันไม่แปรเปลีย่ นตามเวลา จึงทําให้  ดังนัน้
s ds
dP dz dV
P   P  ds    ds     ds  V  
 ds   ds   ds 

จัดรูปสมการใหม่จะได้
dP V  dV
dz   0 --------- (4.5)
 g

ซึง่ ต่อมาสมการที่ 4.5 นี้ถกู เรียกว่า สมการพลังงานของ Leonhard Euler

Energy Equation ธัญดร ออกวะลา


Fluid Mechanics 4-3

4.2 สมการ Bernoulli (Bernoulli’s equation)

Bernoulli ได้นําสมการพลังงานของ Leonhard Euler มาทําการอินทิเกรต


dP  V  dV 
 dz        0
  g 
จากผลของการอินทิเกรต จะได้
P V2
z  C --------- (4.6)
 2g

P1 V12 P2 V22
หรือ z1    z 2   --------- (4.7)
 2g  2g

ซึง่ ต่อมาสมการที่ 4.7 นี้ถกู เรียกว่า สมการพลังงานของ Bernoulli หรือ สมการ Bernoulli

ความหมายของสมการ Bernoulli คือ หากไม่มผี ลของพลังงานจากภายนอก และการสูญเสียพลังงานจาก


ภายในระบบ ความสัมพันธ์ของตัวแปรของของไหลทีเ่ ดินทางไปตาม streamline ผ่านจุดที่ 1 และ 2 จะเป็ นไปตาม
สมการที่ 4.7

รูปที่ 4.2 ความสัมพันธ์ของตัวแปรเทอมต่างๆ ในสมการ Bernoulli

จากสมการที่ 4.6 และ 4.7 จะเห็นได้วา่ มิตขิ องตัวแปรแต่ละเทอมในสมการคือความยาว (L) ซึง่ เป็ นมิติ
เดียวกันกับมิตขิ องพลังงานต่อหนึ่ งหน่ วยนํ้าหนักของของไหล กล่าวคือ
P  FL
2
 
  MLT 2 L2    2
V 2  LT 1 
  L 
z: L   :    L  :
  ML 2 T  2   ML 2 T  2  2g  LT  2 
Energy FL
มิตขิ องพลังงานต่อหนึ่งหน่วยนํ้าหนัก = :  L 
Weight F

ดังนัน้ สมการของ Bernoulli ไม่ใช้สมการความสัมพันธ์ของพลังงาน แต่เป็ นสมการความสัมพันธ์ของพลังงาน


ต่อหนึ่งหน่วยนํ้าหนักของของไหล

ธัญดร ออกวะลา Energy Equation


4-4 Fluid Mechanics

ด้วยเหตุน้ีเราจึงไม่เรียกเทอมต่างๆ ว่าพลังงานต่อหนึ่งหน่วยนํ้าหนักแต่จะเรียกว่า เฮดพลังงาน (Energy


Head) หรือเรียกสัน้ ๆ ว่า เฮด (Head) ซึง่ ในแต่ละเทอมก็จะมีช่อื เรียกเฉพาะตามคํานิยามดังนี้
Z คือ เฮดของพลังงานศักดิ ์ ซึง่ ก็คอื ความสูงจากระดับอ้างอิงถึงแนวเส้นทางการไหล หรือเรียกว่า
เฮดระดับ (Potential head or Elevation head)
P
คือ เฮดของพลังงานอันเนื่องมาจากความดันสถิต หรือเรียกว่า เฮดความดัน (Pressure head)

V2
คือ เฮดของพลังงานจล หรือเรียกว่า เฮดความเร็ว (Velocity head)
2g

เมือ่ พิจารณาภายใต้เงือ่ นไข การไหลแบบคงที (Steady flow) แรงทีเ่ กีย่ วข้องมีเพียงแรงโน้ มถ่วง กับ แรงอัน
เนื่ องมาจากความดัน ของไหลเป็ นของไหลในจิ นตนาการ (Ideal Fluid) และอัดตัวไม่ได้ (Incompressible fluid)
เมือ่ อนุภาคของไหลเคลื่อนทีไ่ ปตาม streamline โดยไม่มผี ลจากพลังงานภายนอก และการสูญเสียพลังงาน ผลรวมของ
เฮดทีจ่ ุดใดจุดหนึ่ง จะเท่ากับผลรวมของเฮดอีกจุดหนึ่งเสมอ ดังนัน้ เฮดพลังงานรวมจะคงทีต่ ลอดความยาวของ
streamline ดังรูปที่ 4.2 โดยเส้นทีบ่ อกถึงระดับของเฮดพลังงานรวมนัน้ เราจะเรียกว่า เส้นระดับพลังงาน (Energy
Grade Line ; E.G.L.) และเส้นทีบ่ อกถึงระดับผลรวมของเฮดระดับ กับเฮดความดัน จะเรียกว่า ระดับชลศาสตร์
(Hydraulic Grade Lime ; H.G.L.)
(ผลรวมของเฮดระดับ กับเฮดความดันเรียกว่า เฮดสถิต ; Static head หรือ Piezomatic head)

Energy Equation ธัญดร ออกวะลา


Fluid Mechanics 4-5

ตัวอย่างที่ 4.1 จากรูป ถังนํ้าสูง 1.0 ม. มีใส่น้ําสูง 0.7 ม. มีรรู ะบายนํ้าอยู่


ที่ ความสูง 0.2 ม. จากก้นถัง และมีเส้นผ่าศูนย์กลาง 10 ซม. ถ้าถังมี
ขนาดใหญ่มาก (อัตราการไหลเปลีย่ นแปลงน้อยมากในขณะทีท่ าํ การวัด)
ถ้าการสูญเสียพลังงานเกิดขึน้ น้อยมาก จงหาขนาดของอัตราการไหลของ
นํ้าผ่านรูระบาย

วิธที าํ พิจารณาจากสมการ Bernoulli ของนํ้าทีเ่ ดินทางจาก A ไป C จะได้วา่


2 2
PA VA PC VC
zA   = zC  
 2g  2g
กําหนดให้ระดับทีก่ น้ ถัง คือระดับอ้างอิง (Datum) และความดันอากาศเท่ากับ 0
ทีจ่ ุด A : zA = +0.7 m ; PA = 0 ; VA = 0
ทีจ่ ุด C : zC = +0.2 m ; PC = 0
VC2
แทนค่าใน (1) 0.7  0  0 = 0.2  0 
2g
VC = 3.13 m/s
 Q  A C VC  
4 0.10 2  3.13  0.012 m 3 / s  12.29 l / s Ans

ตัวอย่างที่ 4.2 จากรูป หัวฉีดฉีดนํ้าจากจุด A ออกสูอ่ ากาศทีป่ ลาย B


โดย ทีจ่ ุด A มีเส้นผ่าศูนย์กลาง 10 ซม. และมีความดันทีม่ าตรวัดอ่านได้
เท่ากับ 68.67 kPa ส่วนทีจ่ ุด B มีเส้นผ่าศูนย์กลาง 7.5 ซม. จงหา
ความเร็ว และอัตราการไหลของนํ้าทีป่ ลายทางออก (จุด B) กําหนดให้
การสูญเสียพลังงานมีคา่ น้อยมาก

วิธที าํ พิจารณาจากสมการ Bernoulli ของนํ้าทีเ่ ดินทางจาก A ไป B จะได้วา่


2 2
PA VA PB VB
zA   = zB   ----- (1)
 2g  2g
กําหนดให้ระดับทีก่ ง่ึ กลางท่อ คือระดับอ้างอิง (Datum) และความดันอากาศเท่ากับ 0
ทีจ่ ุด A : zA = 0 ; PA = 68.67 x 103 Pa ทีจ่ ุด B : zB = 0 ; PB = 0
2
3
68.67  10 VA VB2
แทนค่าใน (1) 0   = 00
 2g 2g
2g 6.957  0  = VB2  VA2 ----- (2)
2
AB  DB   0.075  2
เจาก Q  A A VA  A B VB  VA  VB    VB    VB  0.5625 VB แทน
AA D
 A  0. 10 
= VB  0.5625VB 2
2
ค่าใน (2) 2g 6.957 
VB = 14.13 m/s
 Q  A B VB  
4 0.0752 14.13  0.06242 m 3 / s  62.42 l / s Ans

ธัญดร ออกวะลา Energy Equation


4-6 Fluid Mechanics

ตัวอย่างที่ 4.3 ท่อ AG มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางช่วง A-B 15 ซม. และช่วง C-G 10 ซม. มาตรวัดความดันทีจ่ ุด A
อ่านค่าได้ 39.24 kPa นํ้าไหลจาก G ไป A ด้วยอัตรา 78.3 l/s ถ้าการสูญเสียพลังงานระหว่างการไหลเกิดขึน้ น้อยมาก
จงพล็อตกราฟเส้นระดับพลังงาน และระดับชลศาสตร์ทจ่ี ุดต่างๆ

วิธที าํ เนื่องจาก Q  A BA VBA  A GC VGC


0.0783 0.0783
VGC   2  9.97 m s ; VBA   2  4.43 m s
4  0. 1 4  0. 15
2 2
PA VA 4.43
  E.G.L. A  z A    3.5  4   8.50 m
 2g 2g
P
 H.G.L. A  z A  A  3.5  4.0  7.5 m

พิจารณาสมการพลังงานจาก G ไป A
2 2
PG VG P V
zG   = zA  A  A
 2g  2g
PG 9.97 2 39.24  10 3 4.43 2
6.5   = 3.5  
 2g  2g
PG
= -3.06 m

P VG2 9.97 2
  E.G.L. G  z G  G   6.5    3.06    8.5 m
 2g 2g
P
 H.G.L. G  z G  G  6.5    3.06   3.44 m

พิจารณาสมการพลังงานจาก F ไป A
PF VF2 PA VA2
zF   = zA  
 2g  2g
3 2
PF 9.97 2 39.24  10 4.43
6.5   = 3.5  
 2g  2g
PF
= -3.06 m

Energy Equation ธัญดร ออกวะลา


Fluid Mechanics 4-7

PF VF2 9.97 2
  E.G.L. F  z F    6.5    3.06    8.5 m
 2g 2g
P
 H.G.L. F  z F  F  6.5    3.06   3.44 m

พิจารณาสมการพลังงานจาก E ไป A
PE VE2 PA VA2
zE   = zA  
 2g  2g
3 2
PE 9.97 2 39.24  10 4.43
5.0   = 3.5  
 2g  2g
PE
= -1.56 m

P VE2 9.97 2
  E.G.L. E  z E  E   5.0    1.56    8.5 m
 2g 2g
P
 H.G.L. E  z E  E  5.0    1.56   3.44 m

พิจารณาสมการพลังงานจาก D ไป A
PD VD2 PA VA2
zD   = zA  
 2g  2g
PD 9.97 2 39.24  10 3 4.43 2
3.5   = 3.5  
 2g  2g
PD
= -0.06 m

2 2
P VD 9.97
  E.G.L. D  z D  D   3.5    0.06    8.5 m
 2g 2g
P
 H.G.L. D  z D  D  3.5    0.06   3.44 m

พิจารณาสมการพลังงานจาก C ไป A
2 2
PC VC P V
zC   = zA  A  A
 2g  2g
3 2
PC 9.97 2 39.24  10 4.43
3.5   = 3.5  
 2g  2g
PG
= -0.06 m

ธัญดร ออกวะลา Energy Equation


4-8 Fluid Mechanics

PC VC2 9.97 2
  E.G.L. C  z C    3.5    0.06    8.5 m
 2g 2g
P
 H.G.L. C  z C  C  3.5    0.06   3.44 m

พิจารณาสมการพลังงานจาก B ไป A
PB VB2 PA VA2
zB   = zA  
 2g  2g
3 2
PB 4.43 2 39.24  10 4.43
3.5   = 3.5  
 2g  2g
PB
= 4.0 m

PB VB2 4.43 2
  E.G.L. B  z B    3.5  4   8.50 m
 2g 2g
P
 H.G.L. B  z B  B  3.5  4.0  7.5 m

สามารถพล็อตกราฟ E.G.L. และ H.G.L. ได้ดงั นี้

Energy Equation ธัญดร ออกวะลา


Fluid Mechanics 4-9

การประยุกต์สมการ Bernoulli กับอุปกรณ์วดั การไหล


- Venturi meter
Venturi meter คืออุปกรณ์ทม่ี ลี กั ษณะเป็ นท่อลดขนาด ใช้สาํ หรับการวัดอัตราการไหล หรือความเร็วของ
การไหล โดยอาศัยหลักการของการเปลีย่ นแปลงความเร็ว และความดันบริเวณคอคอด

รูปที่ 4.3 อุปกรณ์วดั การหลแบบ Venturi

จากรูปที่ 4.3 ระดับของเหลวทีอ่ ยูใ่ น Piezometer (H1 , H2) คือค่าของ Static head
พิจารณาสมการ Bernoulli ระหว่างจุด 1-2
2 2
P1 V1 P2 V2
z1    z 2  
 2g  2g
เมือ่ H1 , H2 คือ static head ของจุดที่ 1 และ 2 จะได้วา่
2 2
V V
H1  1  H2  2
2g 2g
2gH2  H1   V2  V1
2 2

D12
เนื่องจาก A1V1  A 2 V2  V2  2 V1
D2
ความเร็ว และอัตราการไหลของของไหลในท่อคือ
2 gH
V  V1  4 --------- (4.8)
 D1 
   1
 D2 
แต่เนื่องจากค่าของความเร็วทีไ่ ด้จากสมการ 4.8 จะไม่ตรงกับความเป็ นจริง ดังนัน้ จะต้องมีการปรับแก้
ด้วยค่าสัมประสิทธิ ์ความเร็ว (CV)
2gH
Vทีแ่ ท้จริง  C V 4  C W 2gH --------- (4.9)
 D1 
   1
 D2 
CV
เมือ่ CW คือค่าสัมประสิทธิ ์ของมาตรวัดแบบเวนจูร ี ซึง่ มีคา่ เท่ากับ 4
 D1 
   1
 D2 

ธัญดร ออกวะลา Energy Equation


4-10 Fluid Mechanics

- Pitot tube
Pitot tube คืออุปกรณ์อย่างง่ายทีใ่ ช้สาํ หรับการวัดความเร็วของการไหล มีลกั ษณะเป็ นท่อขนาดเล็ก ทีห่ นั
ปลายทางเข้าไปทางต้นนํ้า ลักษณะดังรูปที่ 4.4

รูปที่ 4.4 อุปกรณ์วดั การไหลแบบ pitot tube

จากรูปที่ 4.4 Pitot tube จะกีดขวางการไหลของพลังงานจลน์ ดังนัน้ ระดับของเหลวใน Pitot


tube จึงเป็ นค่าของผลรวมระหว่าง Static head กับ Velocity head ซึง่ ก็คอื ระดับของพลังงานรวม (Total
Energy Head)
พิจารณาสมการ Bernoulli ระหว่างจุด 1-2
P1 V12 P2 V22
z1    z 2  
 2g  2g
เมือ่ H1 , H2 คือ static head ของจุดที่ 1 และ 2 จะได้วา่
V2
H1  1  H2  0
2g
ความเร็วของของไหลในท่อคือ
V  V1  2g H --------- (4.10)
แต่เนื่องจากค่าของความเร็วทีไ่ ด้จากสมการ 4.10 จะไม่ตรงกับความเป็ นจริง ดังนัน้ จะต้องมีการปรับแก้
ด้วยค่าสัมประสิทธิ ์ความเร็วของท่อปิโตด (CP)
 Vทีแ่ ท้จริง  C P 2g H  --------- (4.11)

รูปที่ 4.5 ตัวอย่างอุปกรณ์วดั ความเร็วของไหลทีอ่ าศัยหลักการของท่อปิ โตด

Energy Equation ธัญดร ออกวะลา


Fluid Mechanics 4-11

ตัวอย่างที่ 4.4 จากรูป คือมาตรวัดอัตราการไหลของนํ้า


แบบ Venturi วางตัวในแนวราบ ทีห่ น้าตัดที่ 1 และ 2 มี
ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางเท่ากับ D และ 0.5D ตามลําดับ ถ้า
ในหลอดมานอร์มเิ ตอร์วดั ความดันสถิต สามรถอ่านค่า
ความความแตกต่างของระดับนํ้าได้เท่ากับ h จงหาอัตรา
การไหลของนํ้าทีผ่ า่ นมาตรวัด โดยสมมุตใิ ห้การสูญเสีย
พลังงานเกิดขึน้ น้อยมาก การไหลไม่แปรเปลีย่ นตามเวลา
และของไหลเป็ น Ideal Fluid

วิธที าํ พิจารณาจากสมการ Bernoulli ของนํ้าทีเ่ ดินทางจากหน้าตัดที่ 1 ไปหน้าตัดที่ 2 จะได้วา่


P1 V12 P2 V22
z1    z 2  
 2g  2g
เนื่องจากมาตรวัดวางตัวในแนวราบดังนัน้ z1 = z2
2 2
P1  P2 V2  V1
  ------- (1)
 2g
พิจารณาความดันสถิต P1   W h1 
P2   W h2 
 P1  P2   W h1  h2    W  h ------- (2)
จากสมการความต่อเนื่องจะได้วา่ Q1 = Q2
2
A1  D1   D 2
 A1V1  A 2 V2  V2   
V1    V1    V1  4 V1 ------- (3)
A2  D2   0.5D 
แทนค่า (2) และ (3) ใน (1)
 W  h

4 V1 2  V1
2
 15 V12  2g h
W 2g
2g h
V1  ------- (4)
15
 2g h
Q  A1V1   D 2  Ans
4  15

ธัญดร ออกวะลา Energy Equation


4-12 Fluid Mechanics

4.3 สมการพลังงาน (Energy Equation)

เนื่องจากสมการ Bernoulli เป็ นสมการความสัมพันธ์ของเฮดภายใต้สมมุตฐิ านทีไ่ ม่มกี ารสูญเสียพลังงาน หรือ


การแลกเปลีย่ นพลังงานระหว่างระบบกับสิง่ แวดล้อม แต่ในการไหลจริง ของไหลอาจมีการสูญเสียพลังงานให้กบั
ตัวกลางระหว่างการเดินทาง (การสูญเสียหลัก) เช่นการไหลในท่อ ของไหลจะมีการสูญเสียพลังงานให้กบั ผนังท่ออัน
เนื่องมาจากแรงเสียดทาน หรือของไหลอาจเกิดการสูญเสียพลังงานจากการเปลีย่ นแปลงความเร็วอย่างกะทันหัน (การ
สูญเสียรอง) เช่นการไหลในท่อบริเวณวาล์ว และข้องอต่างๆ หรือของไหลอาจเคลื่อนทีผ่ า่ นอุปกรณ์ทส่ี ามารถเพิม่
พลังงานให้กบั ระบบหรือดึงพลังงานออกจากระบบ (Pump and Turbine) ดังนัน้ ในหัวข้อนี้จะเป็ นการประยุกต์สมการ
พลังงานของ Bernoulli กับการไหลในสถานการณ์ต่างๆ ดังทีก่ ล่าวมา

4.3.1 การสูญเสียเฮดของการไหลในท่อ (Head loss)

การสูญเสียเฮดสามารถจําแนกได้เป็ น 2 ประเภทดังนี้

- การสูญเสียหลัก (Major loss) เป็ นการสูญเสียเฮดทีเ่ กิดจากแรงเสียดทานบริเวณผนังท่อ หรือเรียกอีก


ชื่อหนึ่งว่า การสูญเสียเนื่องจากความฝืด (Friction head loss) ซึง่ การสูญเสียเฮดประเภทนี้จะเกิดอย่าง
ต่อเนื่องตลอดช่วงความยาวของการไหล สัญลักษณ์ทใ่ี ช้คอื hf

- การสูญเสียรอง (Minor loss) เป็ นการสูญเสียเฮดทีเ่ กิดขึน้ บริเวณทีค่ วามเร็วของของไหลมีการ


เปลีย่ นแปลงอย่างกะทันหัน ซึง่ การสูญเสียเฮดประเภทนี้มกั จะเกิดขึน้ บริเวณจุดเชื่อมต่อ ทางเข้าออก
หรือจุดทีม่ อี ุปกรณ์ประกอบต่างๆ (Fitting Devices) เช่นข้อต่อ ข้องอต่างๆ วาล์ว เป็ นต้น สัญลักษณ์ทใ่ี ช้
คือ hm

รูปที่ 4.6 การสูญเสียเฮดของการไหลในท่อ

จากสมการของ Bernoulli หากพิจารณาการสูญเสียเฮดเข้าไปด้วย จะได้วา่

2 2
P V P V
z1  1  1  z 2  2  2   hf   hm  ------- (4.12)
 2g  2g

Energy Equation ธัญดร ออกวะลา


Fluid Mechanics 4-13

รูปที่ 4.7 การเปลีย่ นแปลงระดับพลังงาน และ ระดับชลศาสตร์ ของการไหลในท่อ

ธัญดร ออกวะลา Energy Equation


4-14 Fluid Mechanics

ตัวอย่างที่ 4.5 จากรูปจงวาดเส้นกราฟระดับพลังงาน และระดับชลศาสตร์ของระบบท่อส่งนํ้าทีจ่ ุดต่างๆ

วิธที าํ พิจารณาสมการพลังงานระหว่างจุด A-H จะได้วา่


2 2
PA VA PH VH
zA   = zH     h f   hm 
 w 2g  w 2g
จากรูปจะเห็นได้วา่ PA = 0 , PH = 0 , VA = 0
2
VH
zA = z H    h f   h m  ------- (1)
2g
 hf  A H   1  1  1  2  2  7m

 hm  A H   1.5  1  1  2  1.5  7m
2
V
แทนค่าใน (1) 15.0  =  0.0   H   7.0    7.0 
2g
VH = 4.429 m/s
 Q  A H VH 

4
 
0.10 2   4.429   0.035 m 3 s

พิจารณาสมการพลังงานระหว่างจุด A-B
2 2
PA VA P V
zA   = z B  B  B   h f   hm AB
 w 2g  w 2g
D H2  0.10 2 
PA = 0 , VA = 0 VB  2 VH   2  4.429   1.968 m / s
DB  0.15 
 hm  A B   1. 5m  h f  A B   0m

PB 1.968  2
15.0   0  0 = 10.0     1.5  0 
w 2g
PB
= = 3.303 m
w

Energy Equation ธัญดร ออกวะลา


Fluid Mechanics 4-15

2 2
PB VB 1.968
ดังนัน้ ทีจ่ ุด B ระดับ E.G.L. = zB    10  3.303   13.5 m
 w 2g 2g
P
ระดับ H.G.L. = z B  B  10  3.303  13.303 m
w

พิจารณาสมการพลังงานระหว่างจุด B-C (ก่อนเข้าข้องอ)


2 2
P V PC in VC in
zB  B  B = z C in     h f   hm 
 w 2g w 2g
PB VB2
z B    13.5 m VC  VB  1.968 m / s
 w 2g
 h f  BC   1m  hm BC   0m
PB 1.968  2
13.5 = 10.0     1.0  0 
w 2g
PC in
= 2.303 m
w
2 2
P V 1.968
ดังนัน้ ทีจ่ ุด Cin ระดับ E.G.L. = z C  C  C  10  2.303   12.5 m
 w 2g 2g
P
ระดับ H.G.L. = z C  C  10  2.303  12.303 m
w

พิจารณาสมการพลังงานระหว่างทางเข้า-ออก ทีจ่ ุด C
PC in VC2in PC out VC2out
z C in   = z C out     h f   h m 
w 2g w 2g
PC in VC2in
z C in    12.5 m VC in  VC out  1.968 m / s z C in  z C out
w 2g
 h f C C 
in out
 0m  hm C C 
in out
 1m
PC out 1.968  2
12.5 = 10.0      0  1.0 
w 2g
PC out
= 1.303 m
w
PC out VC2out 1.968 2
ดังนัน้ ทีจ่ ุด Cout ระดับ E.G.L. = z C out    10  1.303   11.5 m
w 2g 2g
PC out
ระดับ H.G.L. = z C out   10  1.303  11.303 m
w

ธัญดร ออกวะลา Energy Equation


4-16 Fluid Mechanics

พิจารณาสมการพลังงานระหว่างทางออกข้องอ C – ทางเข้าข้องอ D
PC out VC2out PD in VD2in
z C out   = z D in     h f   h m 
w 2g w 2g
PC out VC2out
z C out    11.5 m VC out  VD in  1.968 m / s
w 2g
 h f C
out D in 
 1.0 m  hm C
out D in 
 0 m
PD in 1.968  2
11.5 =  5.0     1.0  0 
w 2g
PD in
= 5.303 m
w
PD in VD2in 1.968 2
ดังนัน้ ทีจ่ ุด Din ระดับ E.G.L. = z D in    5.0  5.303   10.5 m
w 2g 2g
PD
ระดับ H.G.L. = z D in  in  5.0  5.303  10.303 m
w

พิจารณาสมการพลังงานระหว่างทางเข้า-ออก ข้องอทีจ่ ุด D
PD in VD2in PD out VD2out
z D in   = z D out     h f   h m 
w 2g w 2g
PD in VD2in
z D in    10.5 m VD in  VD out  1.968 m / s z D in  z D out
w 2g
 h f D D 
in out
 0  hm D D 
in out
 1.0 m
PD out 1.968  2
10.5 =  5.0      0  1.0 
w 2g
PD out
= 4.303 m
w
PD out VD2out 1.968 2
ดังนัน้ ทีจ่ ุด Dout ระดับ E.G.L. = z D out    5.0  4.303   9.5 m
w 2g 2g
PD out
ระดับ H.G.L. = z D out   5.0  4.303  9.303 m
w

Energy Equation ธัญดร ออกวะลา


Fluid Mechanics 4-17

พิจารณาสมการพลังงานระหว่างทางออกของข้องอทีจ่ ุด D - E
PD out VD2out P V
2
z D out   = z E  E  E   h f   h m 
w 2g  w 2g
PD out VD2out
z D out    9.5 m VD out  VE  1.968 m / s
w 2g
 h f D
out E 
 1.0 m  hm D
out E 
 0
PE 1.968  2
9.5 =  5.0     1.0  0 
w 2g
PE
= 3.303 m
w
2 2
P V 1.968
ดังนัน้ ทีจ่ ุด E ระดับ E.G.L. = z E  E  E  5.0  3.303   8.5 m
 w 2g 2g
P
ระดับ H.G.L. = z E  E  5.0  3.303  8.303 m
w

พิจารณาสมการพลังงานระหว่างจุด E - F
2 2
PE VE P V
zE   = z F  F  F   h f   hm 
 w 2g  w 2g
2
P V
z E  E  E  8.5 m
 w 2g
D E2  0.15 2 
A E VE  A F VF  VF  VE 
  0.10 2 1.968   4.428 m / s
D F2  
 h f  EF   0  hm  EF   2.0 m

PF  4.428  2
8.5 =  5.0      0  2.0 
w 2g
PF
= 0.500 m
w
2 2
P V 4.428
ดังนัน้ ทีจ่ ุด F ระดับ E.G.L. = z F  F  F  5.0  0.5   6.5 m
 w 2g 2g
P
ระดับ H.G.L. = z F  F  5.0  0.5  5.5 m
w

ธัญดร ออกวะลา Energy Equation


4-18 Fluid Mechanics

พิจารณาสมการพลังงานระหว่างจุด F – ทางเข้าข้องอทีจ่ ุด G
P V
2 PG in VG2in
zF  F  F = z G in     h f   h m 
 w 2g w 2g
2
P V
z F  F  F  6.5 m VG in  VF  4.428 m / s
 w 2g
 h f FG
in 
 2.0 m  hm FG
in 
 0
PG in  4.428  2
6.5 =  5.0      2.0  0 
w 2g
P G
= -1.500 m
 w
PG in VG2in 4.428 2
ดังนัน้ ทีจ่ ุด Gin ระดับ E.G.L. = z G in    5.0  1.5   4.5 m
w 2g 2g
PG
ระดับ H.G.L. = z G in  in  5.0  1.5  3.5 m \
w

พิจารณาสมการพลังงานระหว่างทางเข้า-ออกของข้องอทีจ่ ุด G
PG in VG2in PG out VG2out
z G in   = z G out     h f   h m 
w 2g w 2g
PG in VG2in
z G in    4.5 m VG in  VG out z G in  z G out
w 2g
 h f G G 
in out
 0  hm G G 
in out
 1.5 m
PG out  4.428  2
4.5 =  5.0      0  1.5 
w 2g
PG out
= -3.000 m
w
PG out VG2out 4.428 2
ดังนัน้ ทีจ่ ุด Gout ระดับ E.G.L. = z G out    5.0  3.0   3.0 m
w 2g 2g
PG out
ระดับ H.G.L. = z G out   5.0  3.0  2.0 m
w

Energy Equation ธัญดร ออกวะลา


Fluid Mechanics 4-19

พิจารณาสมการพลังงานระหว่างทางออกของข้องอทีจ่ ุด G - H
PG out VG2out P V
2
z G out   = z H  H  H   h f   hm 
w 2g  w 2g
PG out VG2out
z G out    3.0 m VG out  VH  4.428 m / s
w 2g
 h f G
out H 
 2.0 m  h m G
out H 
 0
PH  4.428  2
3.0 =  0.0      2.0  0 
w 2g
PH
= 0.000 m
w
2 2
P V 4.428
ดังนัน้ ทีจ่ ุด H ระดับ E.G.L. = zH  H  H  0  0   1.0 m
 w 2g 2g
P
ระดับ H.G.L. = zH  H  0  0  0 m
w

Ans

ธัญดร ออกวะลา Energy Equation


4-20 Fluid Mechanics

ตัวอย่างที่ 4.6 ต้องการถ่ายนํ้าจากถังใบที่ 1


ไปยังถังใบที่ 2 ด้วยระบบท่อลักษณะดังรูป
ถ้าขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางท่อเท่ากับ 2.5 cm
การสูญเสียพลังงานหลัก และการสูญเสีย
พลังงานรอง เป็ นไปตามทีร่ ะบุไว้ในรูป จงหา
อัตราการไหลของนํ้า และความดันทีจ่ ุด D

วิธที าํ พิจารณาจากสมการ Bernoulli ของนํ้าทีเ่ ดินทางจากจุด A ไปหน้าตัด G จะได้วา่


2 2
PA VA PG VG
z A    z G     h f   hm ------- (1)
 2g  2g
กําหนดให้ระดับทีจ่ ุด H คือระดับอ้างอิง (Datum) และความดันอากาศเท่ากับ 0
ทีจ่ ุด A : zA = +1.3 m ; PA = 0 ; VA = 0
ทีจ่ ุด G : zG = +0.3 m ; PA = 0
 hf
A G
 0.15  0.15  0.3 m ;  hm
A G
 0.1  0.15  2 0.15   0.55 m
VG2
แทนค่าใน (1) 1.3  0  0 = 0.3  0   0.3  0.55
2g
VG = 2.971 m/s
 Q  A G VG  
4 0.025 2  2.971  0.0006 m 3 / s  0.6 l / s Ans
พิจารณาจากสมการ Bernoulli ของนํ้าทีเ่ ดินทางจากหน้าตัดที่ A ไปหน้าตัดที่ D จะได้วา่
2 2
PA VA PD VD
z A    z D     h f   hm ------- (2)
 2g  2g
ทีจ่ ุด D : zD = +0.8 m ; VD = VG = 2.971 m/s
 hf
A D
 0.15 m ;  hm
A D
 0.1  0.15  0.25 m
PD 2.9712
แทนค่าใน (2) 1.3  0  0 = 0.8    0.15  0.25
 2g
PD
= -0.05 m

PD = -490.5 N/m2 Ans

Energy Equation ธัญดร ออกวะลา


Fluid Mechanics 4-21

4.3.2 เครื่องสูบ (Pump)

รูปที่ 4.8 การเปลีย่ นแปลงเฮดพลังงานเมือ่ ของไหลไหลผ่านเครือ่ งสูบ

เครือ่ งสูบนํ้า เป็ นอุปกรณ์ทท่ี าํ หน้าทีเ่ ปลีย่ นพลังงานกล (hP) ทีไ่ ด้รบั มาจากแหล่งพลังงานเช่น มอเตอร์
ให้กลายเป็ นพลังงานของของไหล (HP) ดังนัน้ เมือ่ ของไหลหรือระบบไหลผ่านเครือ่ งสูบ เฮดพลังงานรวมของ
ระบบจะเพิม่ สูงขึน้ ดังรูปที่ 4.8

จากสมการพลลังงานของ Bernoulli หากพิจารณาการสูญเสียพลังงาน และพลังงานทีข่ องไหลได้รบั จาก


เครือ่ งสูบ จะได้วา่

2 2
P V P V
z1  1  1  HP  z 2  2  2   hf   hm  ------- (4.13)
 2g  2g

กําลังงานที่ของไหลได้รบั (Power ; PW) คือพลังงานทีข่ องไหลได้รบั จากเครือ่ งสูบต่อหนึ่งหน่วยเวลา


Work  Wight   Volume 
วิเคราะห์จากนิยามของกําลังงานจะได้วา่ PW   H 
 Volume   t  P
t
ดังนัน้ กําลังงานทีข่ องไหลได้รบั จากเครือ่ งสูบจะมีคา่ เท่ากับ
PW  QHP ------- (4.14)
และเมือ่ พิจารณากําลังงานที่แหล่งพลังงานส่งให้กบั เครื่องสูบ (PP) เพื่อเปลีย่ นเป็ นกําลังงานทีใ่ ห้กบั
ของไหล จึงมีคา่ เท่ากับ
P PP  PW  ------- (4.15)
เมือ่ P คือประสิทธิภาพของเครือ่ งสูบ

ธัญดร ออกวะลา Energy Equation


4-22 Fluid Mechanics

ตัวอย่างที่ 4.7 ระบบสูบนํ้าถูกติดตัง้ ในลักษณะดังรูป


ต้องการสูบนํ้าจากถังใบที่ 1 ไปยังถังใบที่ 2 ด้วยอัตรา
0.594 ลบ.ม./วินาที ถ้าการสูญเสียพลังงานเป็ นไป
ตามทีร่ ะบุไว้ในรูป และเครือ่ งสูบนํ้ามีประสิทธิภาพ
60 % จงหากําลังงานทีใ่ ช้ในการสูบนํ้า

วิธที าํ พิจารณาสมการพลังงานจาก A-F


2 2
PA VA P V
Z A    HP = Z F  F  F   h f   h m 
 w 2g  w 2g
  5.0   0  0  HP =   25.0   0  0   h f   hm  ----- (1)
Q 0.594
ความเร็วของการไหลในท่อ BC VB  C    2  1.50 m s
A B 4 0.71
Q 0.594
ความเร็วของการไหลในท่อ DE VD E    2  2.50 m s
A D 4 0.55
2 2 2
การสูญเสียพลังงานในท่อ BC  hf   hm B C  6.0 VB  C  1.0 VB  C  7.0
VB  C
2g 2g 2g
2 2 2
VD  E VD  E VD  E
การสูญเสียพลังงานในท่อ DE  hf   hm D E  9.5  4.0  13.5
2g 2g 2g
แทนค่าต่างๆ ในสมการที่ (1)
VB2 C VD2 E
HP =  25  5   7.0  13.5
2g 2g
2
1.5   2.5  2
=  25  5   7.0  13.5
2g 2g
= 25.1 m
กําลังงานทีน่ ้ําได้รบั จากเครือ่ งสูบ
Pw = QHP
=  0.594  25.1
= 146,261.214 W = 146.26 kW Ans
กําลังงานทีเ่ ครื่องสูบต้องการ
PW 146.26 kW 146.26 kW
PP =  =
P 0.60 0.60
= 246.77 kW Ans

Energy Equation ธัญดร ออกวะลา


Fluid Mechanics 4-23

Cavitations (ปรากฏการณ์ โพลง) เป็ นปรากฏการณ์ทเ่ี กิดขึน้ ในสภาวะทีค่ วามดันสัมบูรณ์ลดลงจนตํ่ากว่าความ


ดันไอของของไหล จึงทําให้ของไหลละเหยกลายเป็ นไอ ซึง่ มักจะเกิดขึน้ กับเหตุการณ์ทข่ี องไหลเคลื่อนทีผ่ า่ นวัตถุ
ด้วยความเร็วสูง เช่น บริเวณใบพัดเรือ ในโซนดูด (suction zone) ของเครื่องสูบ หรือจุดทีม่ คี วามดันตํ่าภายใน
ท่อ เป็ นต้น บริเวณทีเ่ กิดปรากฏการณ์ดงั กล่าว จะเกิดการสันสะเทือนอย่างรุนแรง และจะเร่งให้เกิดการกัดกร่อน
ขึน้ กับพืน้ ผิวของวัตถุในบริเวณนัน้ ซึง่ อาจก่อให้เกิดความเสียหายขึน้ ได้ ดังนัน้ ในขัน้ ตอนการออกแบบ ควร
ตรวจสอบความดันในระบบ โดยเฉพาะในจุดทีม่ คี วามดันตํ่า ว่ามีจุดใดความดันสัมบูรณ์ต่าํ กว่าความดันไอ
หรือไม่ เช่นบริเวณข้อต่อลดขนาด โซนดูดของเครือ่ งสูบ เป็ นต้น

รูปที่ 4.9 Cavitations ในอุปกรณ์ต่างๆ

รูปที่ 4.10 การกัดกร่อนทีเ่ กิดขึน้ กับอุปกรณ์เนื่องจาก Cavitations

ธัญดร ออกวะลา Energy Equation


4-24 Fluid Mechanics

4.3.3 กังหัน (Turbine)

รูปที่ 4.11 การเปลีย่ นแปลงเฮดพลังงานเมือ่ ของไหลไหลผ่านกังหัน

กังหันนํ้า เป็ นอุปกรณ์ทท่ี าํ หน้าทีเ่ ปลีย่ นพลังงานของของไหล (HP) ให้กลายเป็ นพลังงานกล (hT) เพือ่
นําไปใช้กบั กิจกรรมต่างๆ เช่น ส่งพลังงานทีไ่ ด้ให้กบั เครือ่ งกําเนิดกระแสไฟฟ้า ดังนัน้ เมือ่ ของไหลหรือระบบ
ไหลผ่านเครือ่ งสูบ เฮดพลังงานรวมของระบบจะลดตํ่าลง ดังรูปที่ 4.9

จากสมการพลังงานของ Bernoulli หากพิจารณาการสูญเสียพลังงาน และพลังงานทีก่ งั หันได้รบั จากของ


ไหล จะได้วา่

2 2
P V P V
z1  1  1  z 2  2  2  HT   hf   hm  ------- (4.16)
 2g  2g

กําลังงานที่กงั หันได้รบั (Power ; PW) คือพลังงานทีข่ องไหลส่งให้กบั กังหันต่อหนึ่งหน่วยเวลา


Work  Wight   Volume 
วิเคราะห์จากนิยามของกําลังงานจะได้วา่ PW   H 
 Volume   t  T
t
ดังนัน้ กําลังงานทีก่ งั หันได้รบั จะมีคา่ เท่ากับ
PW  QHT ------- (4.17)
และเมือ่ พิจารณากําลังงานที่กงั หันส่งต่อให้กบั กิ จกรรมอื่น (PT)จะมีคา่ เท่ากับ
PP  T PT  ------- (4.18)
เมือ่ T คือประสิทธิภาพของกังหัน

Energy Equation ธัญดร ออกวะลา


Fluid Mechanics 4-25

ตัวอย่างที่ 4.8 อ่างเก็บนํ้าแห่งหนึ่ง มีระดับนํ้าในอ่าง


+150 ม. ระดับนํ้าท้ายเขือ่ นอยูท่ ่ี +95 ม. ต้องการปนั ่
เครือ่ งกําเนิดกระแสไฟฟ้า โดยการปล่อยนํ้าผ่านกัน
หันนํ้าด้วยอัตราการไหล 0.594 cms ถ้าการสูญเสีย
พลังงานเป็ นไปตามทีร่ ะบุไว้ในรูป และประสิทธิภาพ
ของกังหันนํ้าเท่ากับ 75 % จงหากําลังงานทีเ่ ครือ่ ง
กําเนิดกระแสไฟฟ้าได้รบั จากกังหันนํ้า

วิธที าํ พิจารณาสมการพลังงานจาก A-F


2 2
PA VA P V
Z A    HT = Z F  F  F   h f   h m   H T
 w 2g  w 2g
  150   0  0 =   95   0  0  H T   h f   hm  ----- (1)
Q 0.954
ความเร็วของการไหลในท่อ BC VB  C     2.50 m s
A B 4  0.55  2
Q 0.954
ความเร็วของการไหลในท่อ DE VD  E     1.50 m s
A D 4  0.71 2
VB2 C VB2 C VB2 C
การสูญเสียพลังงานในท่อ BC  hf   hm B C  12.5  3.5  16.0
2g 2g 2g
2 2
VD  E VD  E VD2
การสูญเสียพลังงานในท่อ DE  hf   hm D E  10.2  5.0  15.2
2g 2g 2g
แทนค่าต่างๆในสมการที่ (1)
VB2 C VD2 E
HT = 150  95   16.0  15.2
2g 2g
2
 2.5  1.5  2
= 150  95   16.0  15.2
2g 2g
= 48.16 m
กําลังงานทีน่ ้ําได้รบั จากเครือ่ งสูบ
Pw = QH T
=  0.594  48.16 
= 280,635.06 = 280.64 kW Ans
กําลังงานทีเ่ ครื่องสูบต้องการ
PT = TPW
= 280.64 kW  0.75
= 210.48 kW Ans

ธัญดร ออกวะลา Energy Equation


4-26 Fluid Mechanics

Energy Equation ธัญดร ออกวะลา


Fluid Mechanics 5-1

บทที่ 5
สมการโมเมนตัม

หากพิจารณาวัตถุใดๆ ทีก่ าํ ลังเคลื่อนที่ เมือ่ แรงภายนอกทีม่ ากระทําไม่สมดุล จะเกิดความเร่งขึน้ ทําให้ขนาด


หรือ ทิศทาง ของความเร็วมีการเปลีย่ นแปลง ซึง่ การเปลีย่ นแปลงความเร็วจะเกิดขึน้ อย่างช้าๆ ถ้าวัตถุนนั ้ มวลมาก หรือ
แรงทีม่ ากระทํามีคา่ น้อย ในทางตรงกันข้าม การเปลีย่ นแปลงจะเกิดขึน้ อย่างรวดเร็วถ้าวัตถุนนั ้ มวลน้อย หรือแรงทีม่ า
กระทํามีคา่ มาก เป็ นไปตามกฎอิมพัลส์โมเมนตัม (Impulse momentum) ในของไหลก็เช่นเดียวกัน หากการไหลมีการ
เปลีย่ นแปลงทิศทางหรือขนาดของความเร็ว นันเป็ ่ นผลมาจากแรงภายนอกทีม่ ากระทํา เช่นในกรณีของการไหลในท่อที่
มีการลดขนาดหรือข้องอชนิดต่างๆ บริเวณผิวของผนังท่อจะส่งแรงกระทําไปยังกับของไหล ทําให้ขนาดและทิศทางของ
ความเร็วเปลีย่ นแปลงไป หรือในกรณีการไหลในทางนํ้าเปิด แรงเสียดทานทีผ่ วิ ของทางนํ้า หรือแรงต้านจากสิง่ กีดขวาง
จะทําให้ความเร็วของการไหลเปลีย่ นแปลงไปเช่นกัน ดังรูปที่ 5.1

รูปที่ 5.1 ตัวอย่างพฤติกรรมของแรงทีม่ ผี ลต่อการเปลีย่ นแปลงโมเมนตัม

ดังนัน้ เนื้อหาในบทนี้จะเป็ นการศึกษา พฤติกรรมของแรงกระทําภายนอกทีม่ ผี ลต่อการเปลีย่ นแปลงความเร็ว


ของการไหล โดยอาศัยหลักการจาก กฎอิมพัลส์โมเมนตัม (Impulse momentum) และ ทฤษฎีการเคลื่อนย้ายของเรย์
โนด์ (Reynolds Transport Theorem)

ธัญดร ออกวะลา Momentum Equation


5-2 Fluid Mechanics

5.1 สมการโมเมนตัมเชิ งเส้น (Linearly Momentum Equation)

พิจารณาการเคลื่อนย้ายปริมาณโมเมนตัมของระบบผ่านปริมาตรควบคุม โดยสมมุตใิ ห้การไหลมีเพียงทิศทาง


เดียว และไม่มกี ารไหลทางด้านข้างดังรูปที่ 5.2

รูปที่ 5.2 การเคลื่อนย้ายปริมาณโมเมนตัมของระบบผ่านปริมาตรควบคุม

รูปที่ 5.2 เป็ นการแสดงสิง่ ต่างๆ ทีเ่ กิดขึน้ กับระบบ โดยรูปที่ 5.1 (ก) เป็ นการพิจารณาเกีย่ วกับ อัตราการไหล
ความเร็ว และ โมเมนตัม ทีไ่ หลผ่านปริมาตรควบคุม ส่วนรูปที่ 5.1 (ข) พิจารณาเฉพาะ แรงภายนอกทีก่ ระทํากับระบบ

จากสมการการเคลื่อนย้ายของเรย์โนลด์ โดยพิจารณาปริมาณโมเมนตัม (H) ทีอ่ ยูใ่ นระบบ จะได้วา่


 
DHsys HCV
=   H In   H Out --------- (5.1)
Dt t
เมือ่ H คือ โมเมนตัม

จากกฎการเคลื่อนทีข่ อง นิวตัน

 dV
F = ma = m
  dt
 F  dt  = m dV  --------- (5.2)

ซึง่ สมการที่ 5.2 ก็คอื กฎของอินพัลส์โมเมนตัม (Impulse momentum) โดยเราจะเรียกเทอมของ  F  dt 

ว่า อิมพัลส์ (Impulse) ส่วนเทอมของ m dV  คือ การเปลีย่ นแปลงของโมเมนตัม

จากสมการที่ 5.2 เมือ่ พิจารณา โมเมนตัม และแรงทีก่ ระทํากับระบบในรูปที่ 5.1 จะได้วา่


m sys dVsys 
 
 Fsys  dt  =

 DHsys
 F sys = --------- (5.3)
Dt

ซึง่ ความหมายของสมการที่ 5.3 ก็คอื อัตราการเปลีย่ นแปลงโมเมนตัมเชิงเส้นของระบบ จะมีคา่ เท่ากับ ผลรวม



ของแรงภายนอกทีก่ ระทํากับระบบ (  F sys )

Momentum Equation ธัญดร ออกวะลา


Fluid Mechanics 5-3

เมือ่ แทนค่าสมการที่ 5.3 ในสมการที่ 5.1 จะได้วา่



 HCV
 F sys =   H In   H Out --------- (5.4)
t
ถ้าปริมาณของไหล (ระบบ) ภายในปริมาตรควบคุมมีขนาดคงที่ ปริมาตรควบคุมคงตัวไม่มกี ารเปลีย่ นแปลง
รูปร่าง ของไหลอัดตัวไม่ได้ (Incompressible Fluid) และสภาพการไหลไม่แปรเปลีย่ นตามเวลา (Steady Flow) จะได้วา่

HCV
= 0 --------- (5.5)
t
 
 mV     V 
และ H =   =  
 dt   dt 

 H =    Q  V  --------- (5.6)

ดังนัน้ สมการที่ 5.4 สามารถเขียนใหม่ได้วา่


  
 Fsys   Out  Q Out  VOut    In  Q In  VIn  --------- (5.7)

ซึง่ สมการที่ 5.7 ก็คอื สมการโมเมนตัม (Momentum Equation) ของของไหลทีอ่ ดั ตัวไม่ได้ (Incompressible
Fluid) ภายใต้การไหลทีไ่ ม่แปรเปลีย่ นตามเวลา (Steady stage)

ธัญดร ออกวะลา Momentum Equation


5-4 Fluid Mechanics

ตัวอย่างที่ 5.1 จากรูปเป็ นท่อ 2 ขนาดเชื่อมต่อกัน มีน้ําไหลอยูภ่ ายในด้วย


อัตรา 0.30 ลบ.ม./วินาที ความดันทีจ่ ุดที่ 1 มีค่าเท่ากับ 10 kPa จงหาขนาด
และทิศทางของแรงทีก่ ระทําบริเวณข้อต่อ โดยแบ่งเป็ น 2 กรณีคอื
- การไหลไม่มกี ารสูญเสียพลังงาน
- การสูญเสียพลังงานมีคา่ เท่ากับ 1.5 เท่าของ Velocity head ทีห่ น้าตัดที่ 1

วิธที าํ กําหนดปริมาตรควบคุม และพิจารณาการไหลเข้า-ออก รวมถึงแรงที่


กระทํากับปริมาตรควบคุม
สมการ Mmentum ของนํ้าทีไ่ หลผ่านบริเวณข้อต่อ
  
 F    Out Q Out VOut    In Q In VIn  ---- (1)

  Out Q Out VOut  =  w Q  V2  ---- (2)

 In Q In VIn  =  w Q  V1  ---- (3)

เมือ่ พิจารณาเทอม  F จะต้องทราบค่า F2 ซึง่ เป็ นผลมาจากความ
ดันทีห่ น้าตัดที่ 2 ดังนัน้ จึงต้องหาค่าความดันทีห่ น้าตัดที่ 2 เสียก่อน โดยใช้
สมการพลังงาน
กรณีท่ี 1 ไม่มกี ารสูญเสียพลังงาน
P1 V12 P2 V22
z1   = z2   ---- (4)
 2g  2g
Q 0.3 Q 0.3
V1   2   2  1.53 m s ; V2   2   2  6.12 m s
4 1 D 4  0 . 5  1 D
4 2 4  0. 25  1
แทนค่า P1 , V1 และ V2 ใน (4)
 
10  10
3

1.53  2
=
P2  6.12  2

 2g  2g
P2 = -7.56 kPa
หาขนาดของแรงดันทีก่ ระทํากับหน้าตัดที่ 1 และ 2

F1  P1A 1  P1 4 D12  10  10 3 4  0.5 2  1.96 kN
F2  P2 A 2  P2 4 D 22    7.56  103  4  0.25  2  370.44 N

เมื่อพิ จารณาทิ ศทางของแรงดันที่กะทํากับปริ มาตรควบคุม ถ้าความดันมีค่าเป็ น + แรงดันจะพุ่ง


เข้าหาปริ มาตรควบคุม ส่วนความดันที่เป็ น – ทิ ศทางของแรงดันจะพุ่งออกจากปริ มาตรควบคุม

ดังนัน้ แรงทีก่ ระทํากับปริมาตรควบคุมในข้อนี้ จึงมีลกั ษณะดังรูป

พิจารณาผลรวมของแรงทีเ่ กิดขึน้ เมือ่ กําหนดให้ FX คือแรงทีผ่ นังกระทํากับของไหล


F


=  F1    FX    F2   
= 1.96  10 3  FX   370.44 
F =  2330.44   FX ---- (5)

Momentum Equation ธัญดร ออกวะลา


Fluid Mechanics 5-5

แทน (2) , (3) และ (5) ใน (1)


 2330.44   FX =  w  0.3   1.53    w  0.3   6.12 
FX = 0.953 kN    Ans

กรณีท่ี 2 การสูญเสียพลังงานมีคา่ เท่ากับ 1.5 เท่าของ Velocity head ทีห่ น้าตัดที่ 1


P1 V12 P2 V22
z1   = z 2     hL
 2g  2g
 
10  103 1.53  2
 =
P2  6.12  2
  1.5 
1.53  2
 2g  2g 2g
P2 = -9.312 kPa
หาขนาดของแรงดันทีก่ ระทํากับหน้าตัดที่ 1 และ 2

F1  P1A 1  P1 4 D12  10  10 3 4  0.5 2  1.96 kN
F2  P2 A 2  P2 4 D 22    9.31 103  4  0.25  2  457.00 N
พิจารณาผลรวมของแรงทีเ่ กิดขึน้ เมือ่ กําหนดให้ FX คือแรงทีผ่ นังกระทํากับของไหล
F


=  F1    FX    F2   
= 1.96  10 3  FX   457 
F =  2417   FX ---- (6)
แทน (2) , (3) และ (6) ใน (1)
 2417   FX =  w  0.3   1.53    w  0.3   6.12 
FX = 1.04 kN    Ans

ธัญดร ออกวะลา Momentum Equation


5-6 Fluid Mechanics

ตัวอย่างที่ 5.2 หัวฉีดถูกยึดแน่นกับปลายของท่อส่งนํ้าทีจ่ ุด A ในลักษณะดังรูป ท่อส่งนํ้า


และปลายหัวฉีดมีเส้นผ่าศูนย์กลางเท่ากับ 5.0 และ 2.5 เซนติเมตร ตามลําดับ บริเวณ
ปลายท่อส่งนํ้า (ทีจ่ ุด A) มีความดัน 88.29 kPa จงหาแรงทีเ่ กิดขึน้ บริเวณจุดเชือ่ มต่อ
โดยแบ่งเป็ น 2 กรณีคอื
- การไหลไม่มกี ารสูญเสียพลังงาน
- การสูญเสียพลังงานมีคา่ เท่ากับ 1.5 เท่าของ Velocity head ทีห่ น้าตัด A

วิธที าํ กําหนดปริมาตรควบคุม และพิจารณาการไหลเข้า-ออก รวมถึงแรงที่


กระทํากับปริมาตรควบคุม
สมการ Mmentum ของนํ้าทีไ่ หลผ่านบริเวณข้อต่อ
  
 F    Out Q Out VOut    In Q In VIn  ---- (1)

  Out Q Out VOut  =  w Q  VB  ---- (2)

 In Q In VIn  =  w Q  VA  ---- (3)

F =  FA    FX  ---- (4)
แทนค่า (2) , (3) และ (4) ใน (1)
 FA    FX  =  w Q  VB    w Q  VA  ---- (5)
เมือ่ พิจารณาจากสมการที่ (5) พบว่า VA และ VB คือตัวแปรทีไ่ ม่ทราบค่า ดังนัน้ จึงต้องทําการหาค่าของตัวแปร
ทัง้ สอง โดยใช้สมการพลังงาน
กรณีท่ี 1 ไม่มกี ารสูญเสียพลังงาน
PA VA2 PB VB2
zA   = zB  
 2g  2g

0
 
88.29  10
3

VA
2
= 00
VB
2

 2g 2g
2
A D  5 2
จาก Q  VA A A  VB A B  VB  A VA   A  VA    VA  4 VA
AB  DB   2.5 

88.29  10
3


VA
2
=
16 VA2
 2g 2g
VA = 3.43 m/s
VB = 13.72 m/s
Q = 
 3.43  4 0.05
2
 = 0.0067 m3/s
แทนค่าในสมการที่ (5)
 PA A A  FX =  w Q  13.72    w Q  3.43 
FX   
= 88.29  10 3 4 0.05 2   w  0.0067 13.72  3.43 
= 104.41 N  
เนื่องจาก FX คือแรงกระทําภายนอก หรือแรงทีห่ วั ฉีดกระทํากับของไหล ดังนัน้ แรงทีข่ องไหลกระทํากับ
หัวฉีดก็คอื แรงปฏิกริ ยิ าของแรง FX
จึงสรุปได้วา่ แรงเกิดขึน้ บริเวณข้อต่อมีคา่ เท่ากับ 104.41 N และมีทศิ ทาง    Ans

Momentum Equation ธัญดร ออกวะลา


Fluid Mechanics 5-7

กรณีท่ี 2 การสูญเสียพลังงานมีคา่ เท่ากับ 1.5 เท่าของ Velocity head ทีห่ น้าตัด A


2 2
PA VA PB VB
zA   = z B     hL
 2g  2g

0
88.29  10 3

2
VA
=
VB
2
0  0   1.5 
2
VA
 2g 2g 2g
2
AA  DA   5 2
จาก Q  VA A A  VB A B  VB  VA    VA    VA  4 VA
AB  DB   2.5 
 

88.29  103 VA2
=
16 VA2
 1.5 
VA2
 2g 2g 2g
VA = 3.27 m/s
VB = 13.09 m/s
Q = 
 3.27  4 0.05
2
 = 0.0064 m3/s
แทนค่าในสมการที่ (5)
 PA A A  FX =  w Q  13.09    w Q  3.27 
FX   
= 88.29  10 3 4 0.05 2   w  0.0064 13.09  3.27 
= 110.51 N  
เนื่องจาก FX คือแรงกระทําภายนอก หรือแรงทีห่ วั ฉีดกระทํากับของไหล ดังนัน้ แรงทีข่ องไหลกระทํากับ
หัวฉีดก็คอื แรงปฏิกริ ยิ าของแรง FX
จึงสรุปได้วา่ แรงเกิดขึน้ บริเวณข้อต่อมีคา่ เท่ากับ 110.51 N และมีทศิ ทาง    Ans

ธัญดร ออกวะลา Momentum Equation


5-8 Fluid Mechanics

สมการโมเมนตัมกับการไหลหลายทิ ศทาง

รูปที่ 5.3 การเคลื่อนย้ายปริมาณโมเมนตัม และแรงทีก่ ระทํากับปริมาตรควบคุม

จากการไหลทีม่ ที างเข้าออกหลายทาง ดังรูปที่ 5.3 จะเห็นได้วา่ การวิเคราะห์จะมีความยุง้ ยากซับซ้อน ดังนัน้ ใน


การวิเคราะห์ปญั หาลักษณะดังกล่าว ควรแยกพิจารณาการไหลเข้า-ออก และผลรวมของแรง โดยอิงกับระบบพิกดั ฉาก
ซึง่ จากสมการที่ 5.7 จะได้สมการโมเมนตัมทีใ่ ช้ในการวิเคราะห์การไหลในหลายทิศทางได้ดงั นี้
  
 FX   Out Q Out VOut X   In Q In VIn X --------- (5.8)
  
 FY    Out Q Out VOut Y   In Q In VIn Y --------- (5.9)
  
 FZ    Out Q Out VOut Z   In Q In VIn Z --------- (5.10)

รูปที่ 5.4 การเคลื่อนย้ายปริมาณโมเมนตัม และแรงทีก่ ระทํากับปริมาตรควบคุม โดยอิงตามระบบพิกดั ฉาก X-Y

Momentum Equation ธัญดร ออกวะลา


Fluid Mechanics 5-9

ตัวอย่างที่ 5.3 นํ้าไหลผ่านข้อต่อสามทางทีว่ างในแนวราบ ถ้าความดันที่


จุดที่ 1 มีคา่ เท่ากับ 150 kPa จงหาขนาดและทิศทางของแรงทีเ่ กิดขึน้
โดยสมมุตใิ ห้การสูญเสียพลังงานมีคา่ น้อยมาก

วิธที าํ กําหนดปริมาตรควบคุม และพิจารณาทิศทางการไหลเข้า-ออก โดยอิงกับระบบพิกดั X-Y ได้ดงั รูป


หาค่าความเร็ว V3 จาก  Q in   Q out
Q1 = Q2 + Q3
V3 A 3 = Q1  Q 2
Q1  Q 2
V3 = ----- (1)
A3
 
Q 1  V1A 1   5  4 0.5 2   5  0.196   0.98 m 3 s

 
Q 2  V2 A 2  10  4 0.2 2  10  0.031  0.31 m 3 s
0.98  0.31 0.98  0.31
แทนค่าใน (1) V3 = 
4  
0 . 15 2 =
 0 . 018 
= 37.2 m/s

Q3 = Q1 - Q3 = 0.67 m3/s

พิจารณาทิศทางของแรงทีก่ ระทํากับปริมาตรควบคุม โดยอิงกับระบบพิกดั X-Y ได้ดงั รูป


จากรูป ยังไม่สามารถหาขนาดและทิศทางของแรงที่ 2 และ 3 ได้
เนื่องจากยังไม่ทราบค่าความดันที่ 2 และ 3 ดังนัน้ จึงจําเป็ นต้องหาค่า
ความความดัน P2 และ P3 โดยคํานวณจากสมการพลังงาน
สมการพลังงานระหว่างจุดที่ 1 กับ 2
P1 V12 P2 V22
z1   = z2  
 2g  2g
3 2 2
150  10 5 P2 10
0  = 0 
 2g  2g
P2 = 112.5 kPa
สมการพลังงานระหว่างจุดที่ 1 กับ 3
2 2
P1 V1 P3 V3
z1   = z3  
 2g  2g
3 2
150  10 5 P3 37.2 2
0  = 0 
 2g  2g
P3 = -529.42 kPa

ธัญดร ออกวะลา Momentum Equation


5-10 Fluid Mechanics

จากค่าความดันทีค่ าํ นวณได้ สามารถวิเคราะห์ทศิ ทางของแรงทีก่ ระทํากับปริมาตรควบคุม ได้ใหม่ดงั รูป


จากสมการโมเมนตัมตามแนวแกน X
 Fx =  Q out Vout X   Q in Vin X ----- (2)

จากรูป
 FX =  FX  F2  F3 cos 45 O
=  P2 A 2  P3 A 3 cos 45 O  FX
= 112.5  0.031   529.42  0.018 cos 45 O  FX
 FX = 10.23  FX  kN  ----- (3)

 Q in Vin X = 0 ----- (4)

 Q out Vout X = 


 W Q 2  V2    W Q 3  V3 cos 45 O 
=   W  0.3110    W  0.67  37.2  cos 45 O
= 14.52 (kN) ----- (5)

แทนค่า (3) , (4) และ (5) ใน (2)


10.23  FX  kN  = 14.52 – 0
FX = 4.29 kN  

จากสมการโมเมนตัมตามแนวแกน X
 FY =  Q out Vout Y   Q in Vin Y ----- (6)
จากรูป
O
 FY = FY  F1  F3 sin 45
= FY  P1A 1  P3 A 3 sin 45 O
= FY  150  0.196   529.42  0.018 sin 45 O
 FY = FY  36.14  kN ----- (7)

 Q in Vin Y =  W Q 1  V1 
=   W  0.98  5  = -4.9 (kN) ----- (8)

 Q out Vout Y = 


 W Q 3  V3 sin 45
O

O
=  0.67  37.2  sin 45
= -17.62 (kN) ----- (5)

Momentum Equation ธัญดร ออกวะลา


Fluid Mechanics 5-11

แทนค่า (7) , (8) และ (9) ใน (6)


FY  36.14 = (-17.62) – (-4.9)
FY = 23.42 kN  
ดังนัน้ ขนาด และทิศทางของแรงทีท่ อ่ กระทํากับของไหลหาได้จาก
F = FX2  FY2
2 2
= 4.29  23.42
= 23.81 kN
F  1 23.81 
 = tan 1  Y  = tan   = 79.62
O
Ans
 FX   4.29 

ตัวอย่างที่ 5.4 จงหาขนาด และทิศทางของแรงกระทําทีเ่ กิด


ขึน้ กับข้องอดังรูป เมือ่ ของไหลภายในท่อคือนํ้า และการสูญเสีย
พลังงานระหว่างจุดที่ 1 กับจุดที่ 2 เท่ากับ 1.12 ม.

วิธที าํ กําหนดปริมาตรควบคุม และพิจารณาการไหลเข้า-ออก รวมถึงแรงที่


กระทํากับปริมาตรควบคุม
- สมการ Mmentum แกน X ของนํ้าทีไ่ หลผ่านบริเวณข้องอ
  
 FX    Out Q Out VOut X   In Q In VIn X ---- (1)

ไม่สามารถหาค่า F2 เนื่องจากยังไม่ทราบค่าความดันทีห่ น้าตัดที่ 2


ดังนัน้ จึงต้องทําการหา P2 โดยพิจารณาจากสมการพลังงาน
2
P1 V12 P2 V2
z1   = z 2     hL
 2g  2g
2 2
58.86 3 P2 V2
0  = 0    1.12  ---- (2)
9.81 2g  2g

2
A1  D1   0.3  2
 V2  V1    V1    V1  4 V1  4 3   12 m s แทนค่าใน (2)
A2 D
 2  0. 15 
2 2
58.86 3 P 12
0  = 0 2   1.12 
9.81 2g  2g
P2 = -19.62 kPa

ธัญดร ออกวะลา Momentum Equation


5-12 Fluid Mechanics

แรงทีก่ ระทํากับของไหลในปริมาตรควบคุมมีลกั ษณะดังรูป



 FX = F1 F2 X  FX
=  P1A 1  P2 A 2  45   FX
= 58.86  4  0.3 2    45  19.62  4  0.15 2   FX
= 4.438 - FX (kN)
 Q out Vout X =   w  V2 A 2  45 V2 
=  45  w  4  0.15 2 12 2 
= +2.036 (kN)
 Q in Vin X =   w V1A 1 V1  =   w  4  0.30 2 3 2 
= +0.636 (kN)
แทนค่าทัง้ หมดใน (1)
4.438 - FX = (+2.036) – (0.636)
FX = 3.038 kN  
- สมการ Mmentum แกน Y ของนํ้าทีไ่ หลผ่านบริเวณข้องอ
  
 FY    Out Q Out VOut Y   In Q In VIn Y ---- (2)


 F Y =  F2 Y  FY =  P2 A 2  35   FY
= 35  19.62  4  0.15 2  FY
= 0.208 – FY (kN)
 Q out Vout Y =   w  V2 A 2  35 V2  =  35  w 4  0.15 2 12 2 
= +1.527 (kN)
 Q in Vin Y = 0
แทนค่าทัง้ หมดใน (2)
0.208 + FY = (+1.527)
FY = 1.319 kN  
F = FX2  FY2
2 2
= 3.038  1.319
= 3.312 kN
F 
tan 1 
1.319 
 = tan 1  Y  = 
 FX   3.038 
O
= 23.47 Ans

Momentum Equation ธัญดร ออกวะลา


Fluid Mechanics 5-13

ตัวอย่างที่ 5.5 หัวฉีดเส้นผ่าศูนย์กลาง 20 mm ฉีดนํ้าผ่าน


อากาศพุง่ ขึน้ ในแนวดิง่ ด้วยความเร็ว 7 m/s กระทบแผ่นรับแรง
กระแทกรูปวงกลมเส้นผ่าศูนย์กลาง 5 cm ดังรูป แผ่นรับแรง
กระแทกอยูเ่ หนือหัวฉีด 10 cm ถ้าไม่คดิ นํ้าหนักของแผ่นรับแรง
กระแทก จงหาขนาดของแรงทีใ่ ช้กดแผ่นรับแรงกระแทก

วิธที าํ หาความเร็วทีก่ ระทบแผ่น (V) โดยใช้สมการพลังงาน


2
P1 V12 P2 V2
z1   = z2  
 2g  2g
2 2
7 V
00 = 0.1  0 
2g 2g
V = 7.14 m/s
กําหนดปริมาตรควบคุม และพิจารณาการไหลเข้า-ออก รวมถึงแรงที่
กระทํากับปริมาตรควบคุม
- สมการ Mmentum ตามแนวแกน X
  
 FX    Out Q Out VOut X   In Q In VIn X ---- (1)
 Fx = -FX
เนื่องจากทิศทางของการไหลออกหักล้างกันหมด ดังนัน้
 Q out Vout X = 0
 Q in Vin X = 0
แทนค่าใน (1)
 FX = 0
- สมการ Mmentum ตามแนวแกน Y
  
 FY    Out Q Out VOut Y   In Q In VIn Y ---- (2)

 F Y =  FY
 Q out Vout Y = 0
 Q in Vin Y =   W QV =   W AV 2
=  W 4  0.02 2 7 2 
แทนค่าใน (2)
 FY = 
0   W 4  0.02 2 7 2 
FY = 15.3 N
แรงทีใ่ ช้กดมีคา่ เท่ากับ
F = FY = 15.3 N Ans

ธัญดร ออกวะลา Momentum Equation


5-14 Fluid Mechanics

5.2 สมการโมเมนตัมกับปริ มาตรควบคุมแบบเคลื่อนที่ (Momentum equation for moving control volume)

รูปที่ 5.5 การพุง่ ของลํานํ้ากระทบกับวัตถุโค้งทีก่ าํ ลังเคลื่อนที่

พิจารณาการพุง่ ของลํานํ้ากระทบกับวัตถุโค้งทีก่ าํ ลังเคลื่อนที่ ดังรูปที่ 5.5(ก) แรงทีแ่ ผ่นวัตถุกระทํากับของไหล


ทําให้ความเร็วสัมบูรณ์ของการไหลเกิดการเปลีย่ นแปลง หรือมีการเปลีย่ นแปลงโมเมนตัม และเมือ่ พิจารณาผลต่างของ
ความเร็วสัมบูรณ์ทเ่ี กิดขึน้ ในรูปเวคเตอร์ จะได้วา่
  
V = V2  V1 --------- (5.11)

รูปที่ 5.6 การวิเคราะห์ผลต่างความเร็วในรูปเวคเตอร์

ในทางปฏิบตั ิ เป็ นการยากทีจ่ ะหาค่าความเร็วสัมบูรณ์ทอ่ี อกจากปริมาตรควบคุม (V2) ดังนัน้ การคํานวณหาแรงที่


เกิดขึน้ จึงไม่สามารถทําได้โดยตรง แต่สามารถพิจารณาเปรียบเทียบจากพฤติกรรมของความเร็วสัมพัทธ์ () ได้ดงั นี้
 
จากรูปที่ 5.4(ข) 1 = V1  u --------- (5.12)
 
และ V2 =  2  u --------- (5.13)
เมือ่ นําสมการที่ 5.12 มาบวกกับสมการี่ 5.13 จะได้
   
V2  V1 =  2  1
 
หรือ V =  --------- (5.14)

ความสัมพันธ์ในสมการที่ 5.14 หมายความว่า ผลต่างของความเร็วสัมบูรณ์จะมีคา่ เท่ากับผลต่างของความเร็ว


สัมพัทธ์ หรือกล่าวอีกนัยหนึ่งว่า เราสามารถวิเคราะห์แรงทีเ่ กิดขึน้ โดยใช้ผลต่างโมเมนตัมของความเร็วสัมพัทธ์ได้
แทนทีจ่ ะวิเคราะห์จากผลต่างโมเมนตัมของความเร็วสัมบูรณ์ ซึง่ ทําได้ยากกว่า

Momentum Equation ธัญดร ออกวะลา


Fluid Mechanics 5-15

รูปที่ 5.7 การวิเคราะห์ความเร็วสัมพัทธ์ และแรง ทีเ่ กิดกับกรณีของไหลพุง่ กระทบกบแผ่นวัตถุทก่ี าํ ลังเคลื่อนที่

ในกรณีของไหลพุง่ กระทบกบแผ่นวัตถุทก่ี าํ ลังเคลื่อนที่ ถ้าการชนไม่มกี ารสูญเสียพลังงาน และการเปลีย่ นแปลง


ของเฮดระดับมีคา่ น้อยมากเมือ่ เทียบกับเฮดอื่นๆ ความเร็วสัมพัทธ์ของการไหลออกจากปริมาตรควบคุม จะใกล้เคียงกับ
ความเร็วสัมพัทธ์ของการไหลเข้าปริมาตรควบคุม ดังนัน้ การวิเคราะห์การไหล และแรงทีเ่ กิดขึน้ จึงมีลกั ษณะดังรูปที่ 5.6

จากรูปที่ 5.6  FX =  FX

  Out Q Out VOut X = Q v  u  cos 

 In Q In VIn X = Q  v  u 
แทนค่าในสมการโมเมนตัม
 FX = Q  v  u  cos   Q  v  u 
 FX = Q v  u 1  cos   --------- (5.15)
 FY =  FY

  Out Q Out VOut Y = Q  v  u  sin 

 In Q In VIn Y = 0
แทนค่าในสมการโมเมนตัม
 FY = Q  v  u  sin   0
 FY = Q v  u  sin  --------- (5.16)

สมการที่ 5.15 และ 5.16 คือแรงทีแ่ ผ่นวัตถุกระทํากับของไหล ถ้าต้องการหาค่าของแรงกระแทกทีข่ องไหล


กระทํากับแผ่นวัตถุ แรงนัน้ ก็คอื แรงปฏิกริ ยิ าของแรงทีค่ าํ นวณได้จากสมการที่ 5.15 และ 5.16

ธัญดร ออกวะลา Momentum Equation


5-16 Fluid Mechanics

ตัวอย่างที่ 5.7 ลํานํ้าพุง่ ออกจากหัวฉีดขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง


25 mm ด้วยความเร็ว 10 m/s กระทบแผ่นผิวโค้งทํามุม 45O
กับแนวราบ ถ้าขนาดของมวล M มีคา่ เท่ากับ 1 kg จงหา
ความเร็วของรถ (u) โดยสมมุตใิ ห้ไม่มกี ารสูญเสียพลังงาน

วิธที าํ กําหนดปริมาตรควบคุม และพิจารณาการไหลเข้า-ออกสัมพัทธ์ รวมถึงแรงที่ กระทํากับปริมาตรควบคุม ดังรูป

จากสมการโมเมนตัน
 FX =  VX  Q out   VX  Q in ---- (1)
จากรูป  FX = -FX = -T

Q   V  U A   V  U 0.025 2 
4 
 VX  Q out =   W Q v  u  cos 45 O

=   W  0.025 2  v  u  2 cos 45 O
4 
 VX  Q in =   W Q v  u

=   W  0.025 2  v  u  2
4 
แทนค่าในสมการที่ (1)

-T =   W  0.025 2  v  u  2 cos 45 O   W  v  u  2 cos 45 O
4 
T =

4 

 W  0.025 2  v  u  2 1  cos 45 O 
(1g) =


 W  0.025 2 10  u  2 1  cos 45 O
4 

แก้สมการหาค่า u ได้
u = 1.91 m/s Ans

Momentum Equation ธัญดร ออกวะลา


Fluid Mechanics 5-17

การศึกษาเกีย่ วกับแรงกระแทกของของไหลทีก่ ระทํากับวัตถุทก่ี าํ ลังเคลื่อนทีน่ นั ้ มีความสําคัญต่องานด้าน


วิศวกรรมเป็ นอย่างยิง่ เพราะสามารถนําไปใช้ในการวิเคราะห์ ออกแบบเครือ่ งจักรทางชลศาสตร์ เช่นเครือ่ งสูบนํ้า
(pump) และ กังหันพลังนํ้า (Hydraulic turbine) เป็ นต้น ซึง่ พฤติกรรมของการไหลในเครือ่ งจักรดังกล่าวนัน้ จะเกีย่ วของ
กับวัตถุทก่ี าํ ลังเคลื่อนทีท่ งั ้ สิน้ ดังนัน้ ในการคํานวณจะต้องคํานึงถึงทิศทาง และความเร็วของการไหล ตามเส้นทางการ
เคลื่อนทีส่ มั บูรณ์ (Absolute path : V) และเส้นทางการเคลื่อนทีส่ มั พัทธ์ (Relative path : ) โดยเครือ่ งจักรแต่ละชนิดก็
จะมีวธิ กี ารในการวิเคราะห์ทแ่ี ตกต่างกัน ดังตัวอย่างในรูปที่ 5.8 ถึง 5.12

รูปที่ 5.8 พฤติกรรมการไหลในเครือ่ งสูบนํ้าแบบ Radial-flow centrifugal pump

รูปที่ 5.9 พฤติกรรมการไหลในเครือ่ งสูบนํ้าแบบ Axial-flow centrifugal pump

ธัญดร ออกวะลา Momentum Equation


5-18 Fluid Mechanics

รูปที่ 5.10 พฤติกรรมการไหลในกังหันนํ้าประเภท Impulse Turbine (Pelton Turbine)

รูปที่ 5.11 พฤติกรรมการไหลในกังหันนํ้าประเภท Reaction Turbine แบบ Fransis (radial-flow)

รูปรูปที่ 5.12 พฤติกรรมการไหลในกังหันนํ้าประเภท Reaction Turbine แบบ Kaplan (axial-flow)

Momentum Equation ธัญดร ออกวะลา


Fluid Mechanics 6-1

บทที่ 6
การไหลภายในท่อ

เนื้อหาในบทนี้จะเป็ นการกล่าวถึงพฤติกรรมของการไหลในรางแบบปิ ด (ท่อปิด) หรือการไหลภายใต้แรงดัน


(Flow in Pressure Conduit) โดยจะเน้นทีก่ ารไหลแบบคงทีภ่ ายในท่อกลมของของไหลทีอ่ ดั ตัวไม่ได้ (Steady
Incompressible Flow in Pipe) และไม่คาํ นึงถึงการเปลีย่ นแปลงอุณหภูม ิ โดยจะถือว่าอุณหภูมติ ลอดช่วงเวลาที่
พิจารณานัน้ คงที่ ทัง้ นี้กเ็ พือ่ ตัดผลกระทบทางด้านเทอร์โมไดนามิกส์ออก ดังนัน้ ความหมายของการไหลภายในราง
แบบปิด หรือการไหลภายใต้แรงดัน ในทีน่ ้ีคอื การไหลของของไหลภายในท่อทีม่ ผี นังปิดล้อมทุกด้าน และมีของไหลไหล
อยูเ่ ต็มพืน้ ทีห่ น้าตัดของท่อ ไม่มผี วิ อิสระอยูด่ า้ นบนของหน้าตัดการไหล (ของไหลไม่มสี ว่ นใดสัมผัสอากาศ) การไหลจะ
อยูภ่ ายใต้ความดันตลอดช่วงของการพิจารณา

รูปที่ 6.1 ความแตกต่างของหน้าตัดการไหลของการไหลภายในรางแบบปิด กับการไหลในรางแบบเปิด

คําศัพท์ทใ่ี ห้ความหมายของคําว่า ท่อ มีอยูห่ ลายคําด้วยกัน โดยจะมีความหมายแตกต่างกันตามลักษณะดังนี้


- Closed conduit หมายถึง ราง หรือท่อแบบปิด
- Pipes หมายถึง ท่อทีม่ หี น้าตัดเป็ นรูปวงกลม
- Duct หมายถึง ราง หรือท่อทีม่ หี น้าตัดไม่เป็ นรูปวงกลม

ในบทนี้ คําว่า ท่อ จะหมายถึงท่อทีม่ หี น้าตัดเป็ นรูปวงกลมเท่านัน้ และในระบบท่อทีเ่ ราจะทําการศึกษากันนัน้


หมายถึงระบบท่อทีม่ อี งค์ประกอบดังต่อไปนี้
- Pipes (ตัวท่อ)
- Fitting Devices (อุปกรณ์ประกอบท่อ) เช่น ข้อต่อ ข้องอ ข้อลดขนาด ข้อขยายขนาด เป็ นต้น
- Flowrate control devices (อุปกรณ์ควบคุมการไหล) เช่น ประตูน้ํา หรือวาล์วชนิดต่างๆ เป็ นต้น
- Pump or Turbine (เครือ่ งสูบ หรือกังหัน) เป็ นอุปกรณ์ทเ่ี พิม่ หรือลดพลังงานในระบบ

ธัญดร ออกวะลา Flow in Pressure Conduit


6-2 Fluid Mechanics

6.1 พฤติ กรรมของการไหลในท่อ (Behavior of flow in pipe)

ในปี ค.ศ. 1883 ออสบอร์น เรย์โนลด์ (Osborne Reynolds) ได้ทาํ การศึกษาพฤติกรรมของการไหลในท่อ โดย
ใช้เครือ่ งมือทีป่ ระกอบด้วยถังนํ้าขนาดใหญ่ เชื่อมต่อกับท่อโปร่งใสทีม่ วี าล์วควบคุมการไหลอยูท่ ป่ี ลายท่อ และถังบรรจุส ี
ขนาดเล็กเชื่อมต่อกับท่อขนาดเล็ก ทําหน้าทีป่ ล่อยอนุภาคสีเข้าไปภายในท่อโปร่งใส ลักษณะดังรูปที่ 6.2

รูปที่ 6.2 เครือ่ งมือทดสอบการไหล และพฤติกรรมการไหลของ เรย์โนลด์

จากผลการทดลองพบว่า สามารถแบ่งพฤติกรรมการไหลของของไหลภายในท่อได้เป็ น 3 ลักษณะคือ

1) การไหลแบบราบเรียบ (Laminar Flow) จะเกิดกับการไหลของของไหลทีม่ คี วามหนืดสูง หรือความเร็ว


ในการไหลตํ่า อนุภาคของของไหลจะเคลื่อนทีอ่ ย่างเป็ นระเบียบขนานกับทิศทางของการไหล ซึง่ สังเกต
ได้จากแนวเส้นสีทเ่ี กิดขึน้ จากการทดลอง จะมีลกั ษณะเป็ นเส้นทีค่ อ่ นข้างตรง และราบเรียบ

2) การไหลแบบปัน่ ป่ วน (Turbulent Flow) จะเกิดกับการไหลของของไหลทีม่ คี วามหนืดตํ่า หรือความเร็ว


ในการไหลมาก อนุภาคของของไหลเคลื่อนทีไ่ ม่เป็ นระเบียบ แนวเส้นทางการการเคลื่อนทีม่ คี วาม
แปรปรวนมาก โดยจะสังเกตได้จากแนวเส้นสีทเ่ี กิดขึน้ จากการทดลอง จะกวัดแกว่งไปมาไม่เป็ นระเบียบ
และมีการเปลีย่ นแปลงอยูต่ ลอดเวลา

3) การไหลในช่วงแปรเปลี่ยน (Transition Flow) เป็ นช่วงของการไหลทีก่ าํ ลังจะพัฒนาพฤติกรรม จาก


การไหลแบบราบเรียบ ไปเป็ นการไหลแบบปนป ั ่ ว่ น เป็ นช่วงทีไ่ ม่สามารถคาดเดาพฤติกรรมของการไหล
ได้อย่างแน่นอน เพราะในบางตําแหน่งหรือบางช่วงเวลาใดๆ พฤติกรรมของการไหลอาจเป็ นไปได้ทงั ้ แบบ
ราบเรียบและปนปั ่ ว่ น โดยจะสังเกตได้จากแนวเส้นสีทเ่ี กิดขึน้ จากการทดลอง ในบางตําแหน่งจะมีลกั ษณะ
กวัดแกว่งไปมาในขณะทีส่ ว่ นอื่นๆ มีลกั ษณะราบเรียบ หรือทีต่ าํ แหน่งเดียวกัน ในบางเวลาอาจมีลกั ษณะ
ราบเรียบ แต่เมื่อเวลาผ่านไปอาจมีลกั ษณะกวัดแกว่งไปมา ไม่สามารถคาดเดาได้

นอกจากนี้ การศึกษาของเรย์โนลด์ยงั พบว่า พฤติกรรมทัง้ 3 ลักษณะ ยังสอดคล้องกับค่าของกลุม่ ตัวแปรไร่มติ ิ


กลุม่ หนึ่ง ซึง่ ภายหลังเรียกว่า เรย์โนลด์ นัมเบอร์ (Reynolds Number ; Re) กล่าวคือ
ถ้า Re < 2000 จะเป็ นการไหลแบบราบเรียบ
2000 < Re < 4000 จะเป็ นการไหลในช่วงแปรเปลีย่ น
Re > 4000 จะเป็ นการไหลแบบปนปั ่ ว่ น

Flow in Pressure Conduit ธัญดร ออกวะลา


Fluid Mechanics 6-3

โดย Reynolds Number ของการไหลในท่อกลมคํานวณได้จาก

VD VD
Re   --------- (6.1)
 

เมือ่ V = ความเร็วเฉลีย่ ของการไหลในท่อ


D = ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางท่อ
 = ความหนาแน่นของของไหล
 = ความหนืดสัมบูรณ์ (Absolute Viscosity ;   1.0  103 )
Water at 22 o C
 = ความหนืดคิเนมาติก (Kinematic Viscosity ;   1.0  106 )
Water at 22 o C

6.2 การไหลบริ เวณปากทางเข้าของท่อ (Entrance Flow Development)

พิจารณาพฤติกรรมของการไหลเมือ่ ของไหลเดินทางมาถึงบริเวณจุดเชื่อมต่อระหว่างท่อ กับอ่างเก็บนํ้าขนาด


ใหญ่ ก่อนทีข่ องไหลจะเดินทางเข้าสูภ่ ายในท่อ อนุภาคของของไหลบนหน้าตัดใดๆ จะเคลื่อนตัวด้วยความเร็วเท่าๆ กัน
เนื่องจากยังไม่ถกู รบกวนจากผนัง แต่เมือ่ ของไหลเดินทางเข้าสูภ่ ายในท่อ อนุภาคของไหลจะถูกรบกวนจากแรงเสียด
ทานจากผนังท่อ จึงทําให้อนุภาคทีต่ ดิ กับผนังนัน้ มีความเร็วเป็ นศูนย์ และเนื่องจากตัวของไหลเองมีความหนืด จึงทําให้
อนุภาคทีอ่ ยูถ่ ดั ไปก็จะมีความเร็วลดลงตามลําดับ ซึง่ ในช่วงเริม่ ต้นอนุภาคทีอ่ ยูบ่ ริเวณกึง่ กลางท่อนัน้ ยังไม่ได้รบั
ผลกระทบดังกล่าว แต่เมือ่ ของไหลเดินทางต่อไปผลกระทบจากผนังจะขยายตัวเข้าสูก่ ง่ึ กลางท่อ จนกระทังครอบคลุ ่ มทัว่
ทัง้ หน้าตัด หลังจากนัน้ ความเร็วของอนุ ภาคของของไหลจะมีการปรับตัวอย่างต่อเนื่อง จนท้ายทีส่ ดุ เข้าสูส่ ภาวะสมดุล
โดยระยะทางในช่วงของการปรับตัวนี้จะเรียกว่า ช่วงทางเข้า (Entrance length : LE)

6.2.1 การไหลบริเวณปากทางเข้าของท่อในสภาวะการไหลแบบราบเรียบ (Entrance condition in laminar flow)

รูปที่ 6.3 การไหลบริเวณปากทางเข้าของท่อในสภาวะการไหลแบบราบเรียบ

พิจารณาจากรูปที่ 6.3 การปรับตัวในบริเวณปากทางเข้าของท่อในสภาวะการไหลแบบราบเรียบนัน้


สามารถแบ่งพฤติกรรมได้เป็ น 3 ช่วงดังนี้

ธัญดร ออกวะลา Flow in Pressure Conduit


6-4 Fluid Mechanics

1) ช่วงการไหลทีบ่ ริเวณกึง่ กลางท่อยังไม่ถกู รบกวน (Invicid core length : LI) เมือ่ เริม่ ต้นพิจารณาจาก
ปากทางเข้าท่อ ของไหลจะเริม่ ถูกรบกวนโดยแรงเสียดทานจากผนังของท่อ ทําให้ความเร็วของอนุภาค
ของไหลทีอ่ ยูต่ ดิ กับผนังท่อเป็ นศูนย์ และความเร็วของอนุ ภาคถัดไปจะลดลงตามลําดับ ส่วนในบริเวณ
กึง่ กลางของท่อนัน้ จะยังไม่ถกู รบกวน แต่เมื่อของไหลเดินทางต่อไปเรือ่ ยๆ ผลกระทบดังกล่าวจะ
ขยายตัวใหญ่ขน้ึ จนเต็มหน้าตัดการไหล ซึง่ ทําให้พฤติกรรมของความเร็วของอนุภาคของไหลในช่วงนี้
จะแปรผันตามระยะทางตามแนวความยาวของท่อ (x) และระยะตามแนวรัศมีของท่อ (y) ดังนัน้ Li จึง
เริม่ ต้นวัดจากปากทางเข้าท่อไปจนถึงจุดทีก่ ารรบกวนของผนังขยายตัวเต็มหน้าตัดการไหลพอดี

2) ช่วงการปรับตัว (Development length : Ld) เมือ่ สิน้ สุดระยะ Li ความเร็วของอนุภาคของไหลจะยังคงมี


การปรับตัวอย่างต่อเนื่องไปอีกระยะหนึ่ง ดังนัน้ พฤติกรรมของความเร็วของอนุภาคของไหลในช่วงนี้ จะ
แปรผันตามระยะทางตามแนวความยาวของท่อ (x) และระยะตามแนวรัศมีของท่อ (y) เช่นเดียวกับ
ในช่วง Li

3) ช่วงปรับตัวสมบูรณ์ (Developed flow) เริม่ ต้นตังแต่


่ จุดทีส่ น้ิ สุดการปรับตัว (Ld) ต่อเนื่องไปตลอดความ
ยาวของท่อ พฤติกรรมของความเร็วจะแปรผันกับระยะตามแนวรัศมี (y) แต่จะไปแปรผันตามระยะทาง
ตามแนวความยาวของท่อ (x) หรือกล่าวอีกนัยหนึ่งคือ รูปแบบการกระจายตัวของความเร็วในแนวรัศมี
จะมีลกั ษณะเหมือนกันในทุกๆ หน้าตัดของช่วงนี้

จากพฤติกรรมดังกล่าว ช่วงการไหลทีไ่ ด้รบั ผลกระทบจากปากทางเข้าท่อ จะเริม่ จาก ปากทางเข้า


่ น้ สุดกรปรับตัว หรือเรียกว่า ความยาวช่วงทางเข้า (Entrance length : LE)
ต่อเนื่องเรือ่ ยไปจนกระทังสิ
LE = Li + Ld --------- (6.2)
สําหรับในท่อกลม LE  0.065 D Re --------- (6.3)
Li  1 --------- (6.4)
4 LE
เมือ่ Re = เรย์โนลด์นมั เบอร์
D = เส้นผ่าศูนย์กลางท่อ

ั ่ ว่ น (Entrance condition in turbulent flow)


6.2.2 การไหลบริเวณปากทางเข้าของท่อในสภาวะการไหลแบบปนป

ั ่ ว่ น
รูปที่ 6.4 การไหลบริเวณปากทางเข้าของท่อในสภาวะการไหลแบบปนป

Flow in Pressure Conduit ธัญดร ออกวะลา


Fluid Mechanics 6-5

สําหรับพฤติกรรมการไหลในช่วงปากทางเข้าท่อ ในสภาวะการไหลแบบปนป ั ่ ว่ น จะแตกต่างกับแบบ


ราบเรียบ กล่าวคือ เมือ่ การไหลเริม่ ถูกรบกวนจากผนัง ผลกระทบจากแรงเสียดทานจากผนังจะเริม่ ขยายตัวไป
พร้อมๆ กับการปรับตัวของความเร็ว (Li และ Ld เริม่ ต้นพร้อมกัน) และเมือ่ การไหลถูกรบกวนทัวทั ่ ง้ หน้าตัด การ
ปรับตัวจะยังคงดําเนินต่อไปอีกระยะหนึ่ง แต่เนื่องจากการไหลแบบปนป ั ่ ว่ นนัน้ จะมีความไม่แน่นอนเกิดขึน้ ได้เสมอ
ดังนัน้ หลังจากทีก่ ารปรับตัวสิน้ สุดลง (Ld) สภาพการไหลจะยังคงมีการเปลีย่ นแปลงต่อเนื่องไปอีกช่วงระยะหนึ่ง จึง
จะปรับตัวเข้าสูส่ ภาวะคงที่ ลักษณะดังรูปที่ 6.4
สําหรับการไหลในท่อทีม่ ี Re > 105 ระยะต่างๆจะมีคา่ ดังนี้
Li  10 D --------- (6.5)
Ld  40 D --------- (6.6)
LE  120 D --------- (6.7)

6.3 การสูญเสียพลังงานหลัก (Friction head loss or Major loss : hf)

การสูญเสียเฮดของการไหลในท่อ หรือทีเ่ ราเรียกว่า การสูญเสียพลังงานหลัก คือการสูญเสียเฮดทีเ่ กิดจากผล


ของแรงเสียดทานอันเนื่องมาจากผลของความหนืดของของไหล และแรงเสียดทานระหว่างระหว่างของไหลกับผนังท่อ
โดยการสูยเสียเฮดนัน้ จะขึน้ อยูก่ บั ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางของท่อ ความยาวของท่อ ความหยาบของวัสดุทใ่ี ช้ทาํ ท่อ
ความหนืดของของไหล และความเร็วในการไหล

รูปที่ 6.5 ความสัมพันธ์ของพลังงาน และแรงทีก่ ระทํากับปริมาตรควบคุม

หากพิจารณาการไหลในท่อกลมทีม่ รี ศั มีคงทีเ่ ท่ากับ R ดังรูปที่ 6.5 สามารถเขียนสมการพลังงานได้ดงั นี้


P 1 V 12 P 2 V 22
Z1   = Z2   h f
 2g  2g
เนื่องจากรัศมีของท่อคงที่ ทําให้ V1 = V2 ดังนัน้ จะได้วา่
 P1  P2 
hf =    Z1  Z 2  --------- (6.6)
  
ถ้าพิจารณาจากสมการโมเมนตัมเชิงเส้นของการไหล
  
F =   Out Q Out VOut    In Q In VIn 
เนื่องจาก V1 = V2 ดังนัน้ จะได้วา่

F = 0
P 1 A  P 2 A  AL sin    O 2 RL = 0

ธัญดร ออกวะลา Flow in Pressure Conduit


6-6 Fluid Mechanics

เมือ่ O คือความเค้นเฉือนทีเ่ กิดจากแรงเสียดทาน


ถ้านํา  และ A หารตลอด จะได้
 P1  P2   O 2 RL
   L sin  = --------- (6.7)
   A
จากรูปที่ 6.5 จะเห็นได้วา่ L sin จะมีคา่ เท่ากับ Z2  Z1 ถ้านําไปแทนค่าในสมการที่ 6.7 ก็จะได้
 P1  P2   O 2 RL
   Z1  Z 2  = --------- (6.8)
   A 
หากพิจารณาสมการที่ 6.8 ร่วมกับสมการที่ 6.6 สามารถสรุปได้วา่
 O 2 RL
hf =
A
 O 2 RL
hf =
R 2 
 O 2L
hf = --------- (6.9)
R
จาสมมุตฐิ านทีว่ า่ ความเค้นเฉือน (O) ทีเ่ กิดขึน้ บริเวณผนังท่อ จะข้นอยูก่ บั ความเร็วเฉลีย่ ของการไหล (V) ความ
หนืดของของไหล () ความหนาแน่นของของไหล () ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางของท่อ (D) และความขรุขระของผิววัสดุ
ทีใ่ ช้ทาํ ท่อ () ซึง่ ถ้านําไปวิเคราะห์ในรูปความสัมพันธ์ของตัวแปรไร้มติ ิ (Dimensionless analysis) โดยกําหนดให้ 
D และ V เป็ นตัวแปรซํ้า (repeating variables) จะได้ความสัมพันธ์ของตัวแปรดังนี้
O   
=   ,  --------- (6.10)
V 2  VD D 
(วิธกี ารวิเคราะห์มติ ิ จะกล่าวถึงโดยละเอียดในบต่อไป)
เนื่องด้วยกลุม่ ของตัวแปรไม่มมี ติ ิ การกลับเศษส่วนจึงไม่มผี ลต่อความสัมพันธ์ ดังนัน้ สมการที่ 6.10 จึงสามารถ
เขียนใหม่ได้วา่
O  VD  
=   , 
V 2   D
VD
ซึง่ ก็คอื เรย์โนลด์นมั เบอร์(Re)

O = V 2  R e , D  --------- (6.11)
นําสมการที่ 6.11 ไปแทนค่าในสมการที่ 6.9 จะได้วา่
hf = V 2  R e , D  2L
R
ถ้ากําหนดให้ f = 8R e , D  จะได้วา่
hf = V 2  f  2L
8 R

L V2
จัดรูปใหม่จะได้วา่ hf  f  --------- (6.12)
D 2g

Flow in Pressure Conduit ธัญดร ออกวะลา


Fluid Mechanics 6-7

สมาการที่ 6.12 เป็ นสมการทีว่ ศิ วกรชาวฝรังเศสที


่ ช่ ่อื อองรี ดาร์ซ่ี (Henry Darcy) ได้พฒ
ั นาขึน้ ในปี ค.ศ. 1857
จากนัน้ ศาสตราจารย์ชาวเยอรมันชื่อ จูเรียต วิสช์แบช (Julius Weisbach) ได้นําผลงานของ ดาร์ซ่ี ออกนําเสนอในปี
ค.ศ. 1850 ดังนัน้ สมการดังกล่าวจึงได้ช่อื ว่า สมการ ดาร์ซี่ - วิ สช์แบช (Darcy-Weisbach Equation) โดยที่ f คือค่า
สัมประสิทธิ ์ความเสียดานของดาร์ซ่ี (Darcy friction factor) หรือเรียกสัน้ ๆ ว่า สัมประสิทธิ ์ความเสียดทาน (friction
factor)
จากการทดลองของดาร์ซ่ี ได้คน้ พบความสัมพันธ์ของกลุม่ ตัวแปรไร้มติ ดิ งั นี้
8O
f = --------- (6.13)
V 2
หากพิจารณาในเชิงมิตจิ งึ สามารถสรุปได้วา่
f = R e , D  --------- (6.14)

6.3.1 ค่าสัมประสิ ทธิ์ ความเสียดทานของการไหลแบบราบเรียบ (Friction factor for larminar flow)

รูปที่ 6.6 การกระจายตัวของความเร็ว และความเค้นเฉือนของการแบบราบเรียบ

ในสภาพการไหลแบบราบเรียบ พฤติกรรมของความเค้นเฉือนทีต่ าํ แหน่งใดๆ () จะเป็ นไปไปตามกฎ


dV
ทีว่ า่    r เมือ่ Vr คือความเร็วของการไหลทีร่ ศั มี r และ y คือระยะทีร่ ดั จากผนัง ฉะนัน้ y = R – r เมือ่
dy
พิจารณาการความเค้นเฉือนทีก่ ระทํากับหลอดการไหลทีม่ รี ศั มีเท่ากับ r จะได้วา่
dV r
 =  --------- (6.15)
dr
จาสมการที่ 6.9 การสูญเสียพลังงานของหลอดการไหลทีม่ รี ศั มีเท่ากับ r คือ
2L
hf =
r
dV r 2 L
=  
dr r
hf 
dVr =   r  dr
2 L
hf  r 2
Vr =   C --------- (6.16)
2L 2

ธัญดร ออกวะลา Flow in Pressure Conduit


6-8 Fluid Mechanics

เมือ่ พิจารณาการกระจายตัวของความเร็ว และความเค้นเฉือนทีเ่ กิดขึน้ กับการไหลแบบราบเรียบ (ดังรูป


ที่ 6.6) จะเห็นได้วา่ ถ้า r = 0 แล้ว Vr = Vmax ซึง่ นันหมายความว่
่ า C = Vmax
h
 Vr = Vmax  f  r 2 --------- (6.17)
4L
และเมือ่ พิจารณาทีร่ ศั มี r = R ซึง่ เป็ นทีท่ ราบกันดีวา่ ความเร็วทีผ่ นังท่อนัน้ จะมีคา่ เท่ากับศูนย์ (Vr = 0)
แทนค่าในสมการที่ 6.17 จะได้
hf  2 hf  2
Vmax = R = D --------- (6.18)
4L 16L
จากสมการที่ 6.16 และ 6.17 จะเห็นได้วา่ การกระจายตัวของความเร็วนัน้ จะแปรผันกับรัศมียกกําลัง
สอง ซึง่ ก็คอื รูปทรง Paraboloid ทีม่ รี ศั มีเท่ากับ R และมีความสูงทีจ่ ุดสูงสุดเท่ากับ Vmax ซึง่ ค่าความสูงเฉลีย่ ของ
รูปทรง Paraboloid นัน้ จะมีคา่ เท่ากับครึง่ หนึ่งของความสูงทีจ่ ุดสูงสุด ฉะนัน้ เมือ่ เปรียบเทียบกับความเร็ว
ความเร็วเฉลีย่ V = 0.5 Vmax

รูปที่ 6.7 การเปรียบเทียบความสูงของรูปทรง Paraboloid กับ ทรงกระบอก ทีม่ รี ศั มีเท่ากัน

ด้วยเหตุน้ี สมการที่ 6.18 จึงกลายเป็ น


hf  2
2V = D
16 L
32 VL
hf =
D 2
VL V 2
= 32   
 gD 2 V 2
 L V2
hf = 64    --------- (6.19)
 VD D 2 g
ซึง่ เมือ่ เปรียบเทียบสมการที่ 6.19 กับสมการที่ 6.12 จะเห็นได้วา่ ค่าสัมประสิทธิ ์ความเสียดทานจะมีคา่
ดังสมการต่อไปนี้
 64
f  64   --------- (6.20)
 VD Re

เราเรียกสมการที่ 6.20 ว่า Hangen-Poiseuille law เนื่องจากเป็ นสมการทีค่ ดิ ค้นโดยวิศวกรชาว


เยอรมันทีช่ ่อื Hangen และนักวิทยาศาสตร์ชาวฝรังเศสที
่ ช่ ่อื Poiseuille

Flow in Pressure Conduit ธัญดร ออกวะลา


Fluid Mechanics 6-9

6.3.2 ค่าสัมประสิ ทธิ์ ความเสียดทานของการไหลแบบปัน่ ป่ วนในท่อผนังเรียบ


(Friction factor for turbulent flow in smooth pipe)
จากการทดลองเพือ่ สังเกตพฤติกรรมของการไหลในท่อ โดยการเพิม่ อัตราการไหลในท่ออย่างช้าๆ แล้ว
ทําการวัดความเร็วของการไหลในท่อทีต่ าํ แหน่ง r ใดๆ พบว่าความสัมพันธ์ระหว่างความเร็ว (u(t)) เวลา (t) และ
Re จะมีลกั ษณะดังรูปที่ 6.8 ซึง่ จะเห็นได้วา่ ในช่วงการไหลแบบปนป ั ่ ว่ น (Re > 4000) ความเร็วจะมีการ
เปลีย่ นแปลงในลักษณะทีค่ าดเดาไม่ได้ และถ้าทําการทดลองทีส่ ภาวะการไหลแบบปนป ั ่ ว่ น โดยกําหนดให้อตั รา
การไหลคงที่ ความเร็วของการไหลทีต่ าํ แหน่ง r ใดๆ จะมีลกั ษณะดังรูปที่ 6.9

ั ่ ว่ น
รูปที่ 6.8 ความเร็วของการไหลแบบราบเรียบ แบบแปรเปลีย่ น และแบบปนป

ั ่ ว่ น
รูปที่ 6.9 ความเร็วทีต่ าํ แหน่ง r ใดๆ ของการไหลแบบปนป

เมือ่ วิเคราะห์หาความสัมพันธ์ของตัวแปรทีเ่ กีย่ วของด้วยกระบวนการวิเคราะห์มติ ิ จะได้ความสัมพันธ์


ของกลุม่ ตัวแปรไร้มติ ใิ นรูปของฟงั ก์ชนดั
ั ่ งต่อไปนี้
u t  yu *
=   --------- (6.21)
u*   
ซึง่ สมการที่ 6.21 ถูกเรียกว่า law of wall
โดยที่ u t = ความเร็วเฉลีย่ ทีต่ าํ แหน่ง y ใดๆ เมือ่ เวลา t
u* = friction velocity เป็ นชื่อทีถ่ ูกนิยามขึน้ เนื่องจากมีมติ เิ หนือนกับ
ความเร็ว แต่ไม่ใช่ความเร็ว ซึง่ มีคา่ เท่ากับ  O 
y = R – r (ระยะทีว่ ดั จากผนังท่อ)
 = kinematic viscosity
O
เนื่องจาก u* =

1 
2
=
 u * O

ธัญดร ออกวะลา Flow in Pressure Conduit


6-10 Fluid Mechanics

2 V2 V 2
คูณด้วย V ทัง้ สองข้าง = --------- (6.22)
 u *
2 O
จากสมการที่ 6.13 แทนค่าใน 6.22 จะได้วา่
V 8
= --------- (6.23)
u* f

ั ่ ว่ น
รูปที่ 6.10 ความเร็วทีต่ าํ แหน่ง r ใดๆ ของการไหลแบบปนป

นอกจากนี้ ในการทดลองยังพบว่า ในสภาพการไหลแบบปนป ั ่ ่วน พฤติกรรมของการไหลทีร่ ะยะ r ใดๆ


สามารถแบ่งออกเป็ น 3 ส่วนดังนี้
- ส่วนแรกเรียกว่า ชัน้ ทีม่ คี วามหนืด (Viscous sublayer) เป็ นชัน้ ของไหลบางๆ ทีอ่ ยูบ่ ริเวณทีต่ ดิ กับ
ผนัง เป็ นส่วนทีค่ วามหนืดของของไหลมีอทิ ธิพลต่อการไหล
- ส่วนทีส่ องเรียกว่า ชัน้ นอก (Outer layer) เป็ นส่วนทีอ่ ยูบ่ ริเวณกึง่ กลางของท่อ เป็ นส่วนทีค่ วาม
หนืดของของไหลมีอทิ ธิพลต่อการไหลไม่มากนัก แต่ความหนาแน่นจะเป็ นปจั จัยหลักต่อการไหล
- ส่วนทีส่ ามนัน้ จะอยูร่ ะหว่างชัน้ ทีม่ คี วามหนืด กับชัน้ นอก ซึง่ เรียกว่า ส่วนคาบเกีย่ ว (Overlab
layer) จากการศึกษาความสัมพันธ์ของตัวแปรไร้มติ พิ บว่า
u t  yu *
= 2.44  ln   0.5
u*   
u t
   R  r u * 
= 2.44  ln   0. 5 --------- (6.24)
u*   

ั ่ ว่ นในท่อกลม
รูปที่ 6.11 เปรียบเทียบความเร็วเฉลีย่ กับความเร็วทีต่ าํ แหน่ง r ใดๆ ของการไหลแบบปนป

R
เมือ่ พิจารณาอัตราการไหลในท่อ Q =  u t dA
0

Flow in Pressure Conduit ธัญดร ออกวะลา


Fluid Mechanics 6-11

และเนื่องจาก Q = VA (เมือ่ V คือความเร็วเฉลีย่ ของการไหล)


dA = 2 r  dr (พืน้ ทีว่ งแหวนรัศมี r)
R
1
ดังนัน้ V =
R 2 0
 u t  2rdr  --------- (6.25)

แทนค่าสมการที่ 6.24 ในสมการ 6.25 จะได้วา่


1 R   R  r  u *   0.5 ] 2 rdr 
V = 2  u * [ 2.44  ln 
R 0   
V Ru * 
= 2.44  ln   1.34 --------- (6.26)
u*   
นําสมการที่ 6.23 แทนค่าสมการที่ 6.26 จะได้
8  D 2 V f 
= 2.44  ln   1.34
f   8
1
= 1.99 logR e  f   1.02 --------- (6.27)
f
ในปี ค.ศ. 1935 Prandtl ได้ทาํ การปรับปรุงสมการที่ 6.27 ใหม่ โดยอาศัยขอมูลจากการทดลองของ Nikuradse
(ลูกศิษย์ของ Prandtl) กลายเป็ น
1
 2.00 logR e  f   0.80 --------- (6.27)
f
สมการทีไ่ ด้คอื สมการทีใ่ ช้หาค่าสัมประสิทธิ ์ความเสียดทาน ของสภาพการไหลแบบปนป ั ่ ว่ น ภายในท่อ
ทีม่ ผี วิ เรียบมาก (smooth pipe) ซึง่ จะเห็นได้วา่ สัมประสิทธิ ์ความเสียดทานจะสัมพันธ์กบั ค่าเรย์โนลด์นมั เบอร์
เพียงอย่างเดียวเท่านัน้ ( f = [ Re ] )

รูปที่ 6.12 เปรียบเทียบการกระจายตัวของความเร็ว ของการไหลแบบต่างๆ ในท่อกลม

ธัญดร ออกวะลา Flow in Pressure Conduit


6-12 Fluid Mechanics

6.3.3 ค่าสัมประสิ ทธิ์ ความเสียดทานของการไหลแบบปัน่ ป่ วนในท่อผนังหยาบ


(Friction factor for turbulent flow in rough pipe)
Nikuradse ได้ทาํ การศึกษาผลกระทบของความขรุขระของผนังท่อ หรือความหยาบผิวของผนังท่อ
(roughness : ) ทีม่ ตี ่อการไหล พบว่า ในกรณีทก่ี ารไหลมีพฤติกรรมแบบราบเรียบ ความขรุขระของผนังท่อจะ
ไม่มผี ลต่อการสูญเสียพลังงาน หรือค่าสัมประสิทธิ ์ความเสียดทาน แต่ในกรณีการไหลมีพฤติกรรมแบบปนป ั ่ ว่ น
ผลกระทบของความขรุขระสามารถแบ่งได้เป็ น 3 ลักษณะดังนี้
u *
5 ถือเป็ นกรณีทอ่ ผนังเรียบ เนื่องจากความขรุขระของผนังท่อจะไม่สง่ ผลกระทบต่อ

สัมประสิทธิ ์ความเสียดทาน (f = [ Re ])
u *
5  7 ความขรุขระของผนังท่อจะส่งผลกระทบกับสัมประสิทธิ ์ความเสียดทาน ในระดับปาน

กลาง f  R e , D 
u * ั ่ ว่ นสมบูรณ์ (Fully rough flow or Complete
7 ท่อขรุขระมาก หรือการไหลแบบปนป

turbulence flow) ความขรุขระของผนังท่อจะส่งผลกระทบอย่างมากกับสัมประสิทธิ ์
ความเสียดทาน ส่วน Re มีผลกระทบต่อค่าสัมประสิทธิ ์ความเสียดทาน น้อยมาก
f   D 
ในปี ค.ศ. 1939 Colebrook ได้นําเสนอสมการการหาค่าสัมประสิทธิ ์ความเสียดทานในกรณีทค่ี วาม
ขรุขระของผนังท่อมีผลกระทบในระดับปานกลางดังนี้
1   D 2.51 
 2 log   --------- (6.28)
f  3.7 Re f 
เพือ่ ให้งา่ ยต่อการคํานวณ ในปี ค.ศ. 1983 Haaland ได้ทาํ การปรับปรุงสมการของ Cloebrook แต่
สมการของ Haaland มีความคาดเคลื่อนอยูร่ ะหว่าง 10-15% ซึง่ อยูใ่ นเกณฑ์ทย่ี อมรับได้ สมการดังกล่าวคือ
1    D 1.11 6.91 
 1.88 log    
 --------- (6.29)
f  3. 7  Re 
ในกรณีการไหลในท่อขรุขระมาก (Fully rough flow) Karman ได้นําเสนอสมการของการหาค่า
สัมประสิทธิ ์ความเสียดทานไว้ดงั นี้
1  3.7 
 2 log  --------- (6.30)
 
f  D
และเพือ่ ให้งา่ ยต่อการใช้งาน ในปี ค.ศ. 1944 Lewis F. Moody ได้รวบรวมสมการของ Hangen-
Poiseuille (สมการที่ 6.20) สมการของ Prandtl (สมการที่ 6.27) สมการของ Colebrook (สมการที่ 6.28) และ
สมการของ Karman (สมการที่ 6.30) นํามาสร้างเป็ นกราฟความสัมพันธ์ระหว่าง Re D กับ friction factor (f)
โดยมีลกั ษณะดังรูปที่ 6.13

Flow in Pressure Conduit ธัญดร ออกวะลา


Fluid Mechanics 6-13

รูปที่ 6.13 Moody Diagram

ตารางที่ 6.1 ค่าความหยาบผิวของวัสดุชนิดต่างๆ

ธัญดร ออกวะลา Flow in Pressure Conduit


6-14 Fluid Mechanics

6.4 การสูญเสียพลังงานรอง (Minor loss : hm)

Minor Loss เป็ นการสูญเสียเฮดในจุดทีม่ กี ารเปลีย่ นแปลงขนาด หรือทิศทางของความเร็วของการไหลโดย


ฉับพลัน ซึง่ จะเกิดขึน้ บริเวณทีข่ องไหลไหลผ่านอุปกรณ์ประกอบท่อต่างๆ เช่น วาล์ว ข้อต่อ ข้อลดขนาด ข้อขยายขนาด
ข้องอชนิดต่างๆ เป็ นต้น ซึง่ การสูญเสียรองนี้จะขึน้ อยูก่ บั รูปแบบการเปลีย่ นแปลงความเร็วของการไหลในอุปกรณ์นนั ้ ๆ
และเฮดความเร็ว ดังนัน้ การคํานวณค่าการสูญเสียพลังงานรอง จึงสามารถกําหนดให้อยูใ่ นรูปของผลคูณระหว่าง ค่า
สัมประสิทธิ ์การสูญเสียพลังงานรอง (Minor loss coefficient : k) กับ เฮดความเร็ว (Velocity Head) ดังสมการที่ 6.31

V2
hm  k --------- (6.30)
2g

โดยค่า k จะขึน้ อยูก่ บั ประเภทของอุปกรณ์ทไ่ี หลผ่าน ดังตารางที่ 6.2

ตารางที่ 6.2 สัมประสิทธิ ์การสูญเสียพลังงานรอง (Minor loss coefficient : K)

รูปที่ 6.14 รูปแบบของทางเข้า และทางออกชนิดต่างๆ

Flow in Pressure Conduit ธัญดร ออกวะลา


Fluid Mechanics 6-15

รูปที่ 6.15 ท่อลด-ขยายขนาดแบบต่างๆ

รูปที่ 6.16 ข้อต่อ และข้องอชนิดต่างๆ

รูปที่ 6.17 วาล์วชนิดต่างๆ

ธัญดร ออกวะลา Flow in Pressure Conduit


6-16 Fluid Mechanics

ตัวอย่างที่ 6.1 ระบบท่อลักษณะดังรูป เชื่อมต่อระหว่างถังเก็บนํ้าใบที่ 1 กับ 2 ระดับนํ้าในถังทัง้ สองแตกต่างกันเท่ากับ


z จงตอบคําถามต่อไปนี้
- ถ้าอัตราการไหลเท่ากับ 40 l/s จงหา
ผลต่างของระดับนํ้าระหว่างถังทัง้ สอง
- ถ้าระดับนํ้าในถังทัง้ สองต่างกัน 35 m
จงหาอัตราการไหล

วิธที าํ พิจารณาสมการพลังงานระหว่างจุด A กับ B


2 2
PA VA PH VH
zA   = z H     hf   hm
 2g  2g
zA  0  0 = z H  0  0   hf   hm
Z =  hf   hm --------- (1)
การสูญเสียพลังงานหลัก จะเกิดขึน้ เมือ่ ของไหลเดินทางผ่านท่อจากจุด B ถึงจุด G และเนื่องจาก
เส้นผ่าศูนย์กลางท่อมีขนาดคงทีต่ ลอดทัง้ เส้น และทําจากวัสดุชนิดเดียวกัน ดังนัน้
2
L V
 hf = hfB G = f
D 2g
2
 10  10  10  20  V
= f
 0.10  2g
V2
  hf = f  500  --------- (2)
2g
การสูญเสียพลังงานรอง จะเกิดขึน้ เมือ่ ของไหลเดินทางผ่านทางเข้า-ออก หรืออุปกรณ์ต่างๆ ในดังนัน้ ใน
โจทย์ขอ้ นี้พบว่า การสูญเสียพลังงานรองจะเกิดขึน้ ทีท่ างเข้า (B : kB = 0.5) ประตูน้ําแบบกะโหลก (Globe
valve : kvalve = 10) ข้องอ 90O ทัง้ สองตัว (E และ F : kE = kF = 1.5) และบริเวณทางออก (G : kG = 1) ดังนัน้
การสูญเสียพลังงานรองทัง้ หมดจึงมีคา่ เท่ากับ (ค่า k ของอุปกรณ์ต่างๆ ได้จากตารางที6่ .2)
2 2 2 2 2
V V V V V
 hm = k B  k valve  k E  k F  k G
2g 2g 2g 2g 2g
2
= k B  k valve  k E  k F  k G  V
2g
2
V
=  0.5  10  1.5  1.5  1.0 
2g
2
V
 hm = 14.5  --------- (3)
2g
นําสมการที่ (2) และ (3) ไปแทนค่าใน (1)
2 2
V V
Z = f  500   14.5 
2g 2g
2
V
Z =  500  f  14.5  --------- (4)
2g

Flow in Pressure Conduit ธัญดร ออกวะลา


Fluid Mechanics 6-17

- หาค่าผลต่างของระดับนํ้า( Z )
Q 0.04
จาก Q = VA  V = =  2
A 4  0.10 
V = 5.09 m/s

VD  5.09  0.1
หาค่าเรย์โนลด์นมั เบอร์ Re = =
 1 106 
Re = 5.09X105

ท่อทํามาจาก Wrought iron  = 0.045 mm (จากตารางที่ 6.1)


 0.045  10 3
 = = 0.00045
D 0.10
จากราฟ Moody diagram f = 0.0175

แทนค่า V และ f ในสมการที่ (4)


5.09 2
Z =  0.0175  500    14.5  
2g
Z = 30.70 m Ans

- หาค่าอัตราการไหล Q เมือ่ ผลต่างของระดับนํ้าเท่ากับ 35 m ( Z = 35 m) โดยใช้วธิ ที เ่ี รียกว่า “Trial & Error”


สมมุติ f = 0.020 แทนค่าในสมการที่ (4)
V2
35 =  0.020  500    14.5  
2g
V = 5.294
VD  5.294  0.1
Re = = = 5.29 X 105
 1 10 
6
3
 0.045  10
= = 0.00045
D 0.10

เมือ่ พิจารณาจาก Moody diagram : f  0.0175 ซึง่ ไม่เท่ากับทีส่ มมุติ แสดงว่าค่า f ทีไ่ ด้ไม่ถกู ต้อง

สมมุติ f = 0.017 แทนค่าในสมการที่ (4)


V2
35 =  0.017  500    14.5  
2g
V = 5.464
VD  5.464  0.1
Re = = = 5.46 X 105
 1 10 6 

ธัญดร ออกวะลา Flow in Pressure Conduit


6-18 Fluid Mechanics

3
 0.045  10
= = 0.00045
D 0.10
เมือ่ พิจารณาจาก Moody diagram : f  0.0172 ซึง่ ไม่เท่ากับทีส่ มมุติ แสดงว่าค่า f ทีไ่ ด้ไม่ถกู ต้อง

สมมุติ f = 0.0173 แทนค่าในสมการที่ (4)


V2
35 =  0.0173  500    14.5  
2g
V = 5.446
VD  5.446  0.1
Re = = = 5.45 X 105
 1 10 6 
3
 0.045  10
= = 0.00045
D 0.10

เมือ่ พิจารณาจาก Moody diagram : f  0.0173 ซึง่ ใกล้เคียงกับค่าทีส่ มมุติ แสดงว่าค่า f ทีไ่ ด้ถกู ต้อง
 V = 5.446 m/s
 Q =  5.446  4  0.10 2  = 0.0427 m3/s
= 42.7 l/s Ans

Flow in Pressure Conduit ธัญดร ออกวะลา


Fluid Mechanics 6-19

ตัวอย่างที่ 6.2 ต้องการออกแบบท่อส่งนํ้ามันผ่านพืน้ ทีร่ าบระยะทาง 12 กม. โดยใช้ทอ่ wrought iron อัตราการส่ง
นํ้ามันทีใ่ ช้ในการออกแบบคือ 300 ลิตรต่อนาที นํ้ามันมีคา่ ความถ่วงจําเพาะเท่ากับ 0.7 ความหนืดคิเนมาติกของนํ้ามัน
เท่ากับ 5X10-7 m2/s ถ้าข้อกําหนดของการออกแบบคือ ความดันภายในท่อส่งจะลดลงได้ไม่เกิน 10.3 kPa ต่อ
ระยะทาง 1 กม. จงออกแบบขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางของท่อ
วิธที าํ พิจารณาสมการพลังงานระหว่างจุดเริม่ ต้น (1) กับจุดสิน้ สุด (2)
2 2
P1 V1 P2 V2
z1   = z 2    hf
 O 2g  O 2g
เนื่องจาก z1  z 2 และ V1  V2  V จะได้วา่
P2 P1
 = hf
O O
2
P LV
= f
O D 2g
2
P 12,000 V
= f --------- (1)
O D 2g
จากข้อกําหนด ความดันจะลดลงได้ไม่เกิน 10.3 kPa/km ดังนัน้ ความดันทัง้ สองจุดจะแตกต่างกันเท่ากับ
P = (10.3 kPa/km) (12 km)
= 123.6 kPa
แทนค่าในสมการที่ (1)
123.6 kPa 12,000 V
2
= f
 0.7  9810  D 2g
2
V
0.0294 = f --------- (2)
D
ท่อ wrought iron  = 0.045 mm
อัตราการไหลในท่อ Q = 300 l/min = 5 l/s
สมมุตขิ นาดเส้นผ่าศูนย์กลางท่อ D = 10 cm
 0.045 mm
=  0.00045
D 100 mm
Q  0.005 
V = = = 0.637 m/s
A 
4 0.12 
VD  0.637  0.1 5
Re = =  1.3  10
O 5  10  7

จาก Moody diagram f  0.0195 แทนค่าในสมการที่ (2)


2
 0.637 
0.0294 =  0.0195 
 0.1
. 0.0294  0.0791
แสดงว่า เส้นผ่าศูนย์กลางทีส่ มมุตนิ นั ้ ยังไม่ถกู ต้อง

ธัญดร ออกวะลา Flow in Pressure Conduit


6-20 Fluid Mechanics

สมมุตขิ นาดเส้นผ่าศูนย์กลางท่อ D = 15 cm
 0.045 mm
=  0.0003
D 150 mm
Q  0.005 
V = = = 0.283 m/s
A 
4 0.152 
VD  0.283  0.15  4
Re = =  8.5  10
O 5  10 7

จาก Moody diagram f  0.020 แทนค่าในสมการที่ (2)


2
 0.283 
0.0294 =  0.020 
 0.15 
. 0.0294  0.0107
แสดงว่า เส้นผ่าศูนย์กลางทีส่ มมุตนิ นั ้ ยังไม่ถกู ต้อง
สมมุตขิ นาดเส้นผ่าศูนย์กลางท่อ D = 12.25 cm
 0.045 mm
=  0.0004
D 122.5 mm
Q  0.005 
V = = = 0.424 m/s
A 
4 0.12252 
VD  0.424  0.1225  5
Re = =  1.0  10
O 5  10 7

จาก Moody diagram f  0.020 แทนค่าในสมการที่ (2)


2
 0.424 
0.0294 =  0.020 
 0.1225 
. 0.0294  0.02935
แสดงว่า เส้นผ่าศูนย์กลางทีส่ มมุตนิ นั ้ ถูกต้อง
 ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางของท่อคือ 12.25 cm Ans

Flow in Pressure Conduit ธัญดร ออกวะลา


Fluid Mechanics 6-21

ตัวอย่างที่ 6.3 ต้องการสูบนํ้าจากบ่อขึน้ ถังสูง ด้วย


อัตราการสูบ 20 l/s ลักษณะดังรูป โดยระดับนํ้าทีบ่ อ่
เท่ากับ –1.5 m และระดับนํ้าทีถ่ งั สูงเท่ากับ + 25.0 m จง
ตอบคําถามต่อไปนี้
- ถ้าเครือ่ งสูบมีประสิทธิภาพ 65 % จงหากําลังงานทีใ่ ช้
ในการสูบนํ้า
- จงหาความดันในท่อทีจ่ ุด I (ความยาวท่อช่วง BI
เท่ากับ 9 m)

วิธที าํ พิจารณาสมการพลังงานระหว่างจุด H กับ A


PH VH2 PA VA2
zH    HP = zA     h f   hm
 W 2g  W 2g
HP = z H  z A    h f   hm --------- (1)

Q 0.02
จาก Q = VA  VGE = =  2 = 2.546 m/s
A GE 4  0.10 
Q 0.02
VDB = =  2 = 4.527 m/s
A DB 4  0.075 

การสูญเสียพลังงานหลัก จะเกิดขึน้ เมือ่ ของไหลเดินทางผ่านท่อจากจุด G ถึงจุด B ผ่านท่อสองเส้นคือ


GE และ DB ดังนัน้ การสูญเสียพลังงานหลักจึงหาได้จาก
 2.546  0.1
หาค่าเรย์โนลด์นมั เบอร์ ท่อ GE R e GE =
1 10 6 
R e GE = 2.546X105

= 0.15 mm (จากโจทย์)
 0.15
 = = 0.0015
D 100
จากราฟ Moody diagram fGE = 0.0225
 4.527  0.075 
หาค่าเรย์โนลด์นมั เบอร์ ท่อ GE R e DB =
1 10 6 
R e DB = 3.395X105

= 0.15 mm (จากโจทย์)
 0.15
 = = 0.002
D 75
จากราฟ Moody diagram fDB = 0.024

ธัญดร ออกวะลา Flow in Pressure Conduit


6-22 Fluid Mechanics

 hf = h fGE  h fDB
2
L GE VGE L DB VDB2
= fGE  fDB
D GE 2 g D DB 2g
2 2
 7.5   2.546   33.0   4.527 
 hf =  0.0225    0.0240 
 0.1 2g  0.075  2g
 hf = 11.588 m

การสูญเสียพลังงานรอง จะเกิดขึน้ ทีท่ างเข้า (foot valve : kG = 2.0) ประตูน้ํา (Gate valve : kvalve = 2.5)
ข้องอ 90O ทัง้ สองตัว (F และ C : kF = kC = 1.5) และบริเวณทางออก (B : kB = 1) ดังนัน้ การสูญเสียพลังงาน
รองทัง้ หมดจึงมีคา่ เท่ากับ (ค่า k ของอุปกรณ์ต่างๆ โจทย์ระบุมาให้)
2
VGE VDB2
 hm = k G  k F  k valve   k C  k B 
2g 2g
2 2
 2.546   4.527 
=  2.0  1.5  2.5    1.5  1.0 
2g 2g
 hm = 4.594 m

นํา  hf และ  hm ไปแทนค่าใน (1)


HP =   25.0     1.5    11.588  4.594
= 42.682 m

กําลังงานทีน่ ้ําได้รบั
PW = QHP =  9810  0.02  42.682 
= 8374.208 Watt
กําลังงานทีก่ าํ ลังของเครือ่ งสูบ
PW  8374.208 
PP = =
P  0.65 
= 12883.398 Watt
PP = 12.883 k Watt Ans

พิจารณาสมการพลังงานระหว่างจุด I กับ A
PI VI2 PA VA2
zI   = zA     h f   hm
 W 2g  W 2g
2
PI VDB
  15.5    =   25.0   0  0   h f   hm
 W 2g
2
PI V
= 9.5  DB   h f   hm --------- (2)
W 2g

Flow in Pressure Conduit ธัญดร ออกวะลา


Fluid Mechanics 6-23

การสูญเสียพลังงานหลัก จะเกิดขึน้ เมือ่ ของไหลเดินทางผ่านท่อจากจุด I ถึงจุด B ดังนัน้ การสูญเสีย


พลังงานหลักจึงหาได้จาก
 hf = h fIB
L IB VDB2
= fDB
D DB 2 g
2
 9.0   4.527 
=  0.0240 
 0.075  2g
= 3.008 m
การสูญเสียพลังงานรอง จะเกิดขึน้ ทีท่ างออก (kB = 1.0) ดังนัน้ การสูญเสียพลังงานรองจึงมีคา่ เท่ากับ
V2
 hm = k B  DB
2g
2
 4.527 
=  1.0 
2g
 hm = 1.045 m
แทนค่าผลรวมของการสูญเสียพลังงานหลัก และการสูญเสียพลังงานรองในสมการที่ (2)

2
PI  4.527 
= 9.5    3.008    1.045 
W 2g
= 12.508 m
PI = 12.508   W = 122.703 kPa Ans

ธัญดร ออกวะลา Flow in Pressure Conduit


6-24 Fluid Mechanics

ตัวอย่างที่ 6.4 โรงผลิตกระแสไฟฟ้าพลังนํ้า มีการติดตัง้ ระบบต่างๆ ในลักษณะดังรูป ระดับนํ้าในอ่างเก็บนํ้าอยูท่ ่ี


+210.0 ม.รทก. และระดับนํ้าด้านท้ายเขือ่ นอยูท่ ่ี +125.5 ม.รทก. ถ้าเดินเครือ่ งกําเนิดกระแสไฟฟ้าโดยการปล่อยนํ้า
ผ่านกังหันด้วยอัตรา 0.5 cms กังหันมีประสิทธิภาพ 55 % จงหากําลังงานทีก่ งั หันส่งให้กบั เครือ่ งกําเนิดกระแสไฟฟ้า

วิธที าํ พิจารณาสมการพลังงานระหว่างจุด A กับ I


PA VA2 PI VI2
zA   = zI    H T   h f   hm
 W 2g  W 2g
HT = z A  z I    hf   hm --------- (1)
Q 0.50
จาก Q = VA  VBE = =  2 = 2.546 m/s
A BE 4  0 . 50 
Q 0.50
VFH = =  2 = 1.132 m/s
A FH 4  0.75 

การสูญเสียพลังงานหลัก จะเกิดขึน้ เมือ่ ของไหลเดินทางผ่านท่อจากจุด B ถึงจุด H ผ่านท่อสองเส้นคือ BE


และ FH ดังนัน้ การสูญเสียพลังงานหลักจึงหาได้จาก
 2.456  0.5 
หาค่าเรย์โนลด์นมั เบอร์ ท่อ BE R e BE =
1 10 6 
R e BE = 1.228X106
 = 0.20 mm (จากโจทย์)
 0.20
 = = 0.0004
D 500
จากราฟ Moody diagram fBE = 0.016
 1.132  0.75 
หาค่าเรย์โนลด์นมั เบอร์ ท่อ FH R e FH =
1 10 6 
R e FH = 8.49X105
 = 0.15 mm (จากโจทย์)
 0.15
 = = 0.0002
D 750
จากราฟ Moody diagram fFH = 0.015

Flow in Pressure Conduit ธัญดร ออกวะลา


Fluid Mechanics 6-25

 hf = h fB E  h fF  H
2 2
L V L V
= fBE BE BE  fFH FH FH
D BE 2g D FH 2g
2 2
 150   2.546   35   1.132 
=  0.016    0.015 
 0.5  2g  0.75  2g
 hf = 1.632 m

การสูญเสียพลังงานรอง จะเกิดขึน้ ทีท่ างเข้า (ตะแกรงดักขยะ : kB = 3.50) ประตูน้ํา (Gate valve : kvalve
= 0.39) ข้องอ 45O ทัง้ สองตัว (C และ D : kC = kD = 0.20) ข้องอ 90O (kG = 0.30) และบริเวณทางออก (H : kH
= 1.00) ดังนัน้ การสูญเสียพลังงานรองทัง้ หมดจึงมีคา่ เท่ากับ
2 2
VBE VFH
 hm = k B  k C  k D  k valve   k G  k H 
2g 2g
2
 2.546  1.132  2
=  3.50  0.2  0.2  0.39    0.3  1.0 
2g 2g
 hm = 1.502 m

นํา  hf และ  hm ไปแทนค่าใน (1)


HT =   210.0     125.5   1.632   1.502 
= 81.366 m

กําลังงานทีน่ ้ําได้รบั จากของไหล


PW = QH T =  9810  0.5  81.366 
= 399.100 k Watt
กําลังงานทีก่ าํ ลังของเครือ่ งสูบ
PP = T PW =  0.55  400.125 
= 219.050 k Watt Ans

ธัญดร ออกวะลา Flow in Pressure Conduit


6-26 Fluid Mechanics

การต่อท่อแบบขนาน (Pipe in parallel)

การต่อท่อแบบขนาน คือการต่อท่อหลายๆ เส้น โดยทีแ่ ต่ละเส้นทางของการไหลจะเริม่ ต้นจากจุดเดียว และ


สิน้ สุดทีจ่ ุดเดียวกัน ดังตัวอย่างรูปที่ 6.18

รูปที่ 6.18 ตัวอย่างการต่อท่อแบบขนาน

จากรูปที่ 6.18 ของไหลจะไหลจากถังใบที่ 1 ไปยังถังใบที่ 2 โดยของไหลสามารถเดินทางได้สามเส้นทางคือ


เส้นทางแรก ABCDEFG เส้นทางทีส่ องคือ ABCDHIEFG และเส้นทางสุดท้ายคือ ABCJKLG ซึง่ ทัง้ สามเส้นทางเริม่ ต้น
จากจุดเดียวกัน และสิน้ สุดลงทีจ่ ุดเดียวกัน เมื่อพิจารณาพลังงานทีจ่ ุดเริม่ ต้น (จุด A) ทัง้ สามเส้นทางมีพลังงานเริม่ ต้น
เท่ากัน ส่วนทีจ่ ุดสิน้ สุด (จุด G) พลังงานทีเ่ หลืออยูข่ องทัง้ สามเส้นทางก็เท่ากันเช่นเดียวกัน ดังนัน้ ไม่วา่ ของไหลจะ
เดินทางไปตามเส้นทางใด การสูญเสียพลังงานทีเ่ กิดขึน้ ระหว่างการเดินทางจะมีคา่ เท่ากัน ฉะนัน้ ปญั หาของการไหลใน
ท่อแบบขนานจึงอาศัยหลักของการสูญเสียพลังงานทีเ่ ท่ากันนี้เป็ นหลักการในการวิเคราะห์

ดังนัน้ หากพิจารณาสมการพลังงานของการไหลตามรูปที่ 6.18 จะได้วา่


z A  z B  z   h f   hm BCDEF   h f   hm BCDHIEF   h f   hm BCJKL

Flow in Pressure Conduit ธัญดร ออกวะลา


Fluid Mechanics 6-27

ตัวอย่างที่ 6.5 ระบบท่อขนานเชื่อมต่ออ่างเก็บนํ้าสองแห่งลักษณะดังรูป ถ้าสภาพการไหลในท่อทัง้ สามเส้นเป็ น


แบบ Fully rough flow (complete turbulent) จงหาอัตราการไหลในท่อทัง้ สามเส้น

วิธที าํ พิจารณาสมการพลังงานระหว่างจุด A กับ G ของไหลสามารถเดินทางได้สองเส้นทางคือ ABCDEFG และ


ABCDHIJG ดังนัน้ จะได้วา่
PA VA2 PG VG
2
zA   = zG     hf   hm BD   hf   hm DF
 W 2g  W 2g
zA  zG =  hf   hm BD   hf   hm DF --------- (1)
2 2
P V P V
zA  A  A = z G  G  G   hf   hm BD   hf   hm DJ
 W 2g  W 2g
zA  zG =  hf   hm BD   hf   hm DJ --------- (2)

นําสมการที่ (1) ลบกับสมการที่ (2) จะได้


 hf   hm DF =  hf   hm DJ --------- (3)
นําสมการที่ (1) บวกกับสมการที่ (2) จะได้
2z A  z G  = 2 hf   hm BD   hf   hm DF   hf   hm DJ --------- (4)


เนื่องจากสภาพการไหลเป็ นแบบ Fully rough flow ค่า f จึงแปรผันกับ เพียงอย่างเดียว
D
    0.20  0.002  f  0.0235
BD
 D BD 100
        0.20  0.004  f  f  0.0285
DF DJ
 D DF  D DJ 50

2 2
L V V
 hf   hm BD = fBD BD BD    k DF BD
DBD 2g 2g
2
  10   VBD
=   0. 0235    0. 5  1. 5  
  0.10   2g
2
V
=  4.35  BD
2g

ธัญดร ออกวะลา Flow in Pressure Conduit


6-28 Fluid Mechanics

LDF VDF2 V2
 hf   hm DF = fDF    k DF DF
DDF 2g 2g
2
  15   VDF
=   0.0285    0.9  1.5  0.39  1.0  
  0.05   2g
2
VDF
= 12.34 
2g

LDJ VDJ2 VDJ2


 hf   hm DJ = fDJ    k DJ
DDJ 2g 2g
2
  20   VDJ
=   0.0285    0.9  1.5  0.39  1.5  1 
  0.05   2g
2
V
= 16.69  DJ
2g

แทนค่าในสมการที่ (3)
2 2
V V
 9.84  DF = 16.69  DJ
2g 2g
VDF = (1.302) VDJ --------- (5)

แทนค่าในสมการที่ (4)
 VBD2   VDF2   VDJ2 
2 30  12  = 2  4.35      12.34      16.69  
 2g   2g   2g 
2
 VBD   VDJ2   VDJ2 
36 =   8.70      20.919      16.69  
 2g   2g   2g 
2
 VBD   VDJ2 
36 =   8.70      37.609   --------- (6)
 2g   2g 

หากพิจารณาจากอัตราการไหล จะเห็นได้วา่
QBD = QDF + QDJ
 4  0.12  VBD =  4  0.052  VDF   4  0.052  VDJ
(4) VBD = VDF + VDJ

จากสมการที่ (5)
(4) VBD = (1.302) VDJ + VDJ
 (1.738) VBD = VDJ --------- (7)

Flow in Pressure Conduit ธัญดร ออกวะลา


Fluid Mechanics 6-29

แทนค่าสมการที่ (7) ในสมการที (6)


 2
VBD  
  8.70      37.609 
 1.738 VBD 2 
36 = 
 2 g   2 g 
2
36 = 8.70  37.609  1.7382  VBD
2g
VBD = 2.403 m/s
VDJ = (1.738) 2.403 = 4.176 m/s
VDF = (1.302) 4.176 = 5.438 m/s
QBD =  4  0.10 2   2.403  = 0.01887 m3/s = 18.87 l/s
QDF =  4  0.052   4.176 = 0.00820 m3/s = 8.20 l/s
QDJ =  4  0.052   5.438 = 0.01067 m3/s = 10.67 l/s Ans

ธัญดร ออกวะลา Flow in Pressure Conduit


6-30 Fluid Mechanics

Flow in Pressure Conduit ธัญดร ออกวะลา


Fluid Mechanics 7-1

บทที่ 7
การไหลในทางนํ้าเปิ ด

การไหลในทางนํ้าเปิด (Open Channel Flow) คือการไหลของของไหลไปตามทางนํ้าโดยมีผวิ อิสระ สัมผัส


กับอากาศด้านบน การไหลจะอยูภ่ ายใต้อทิ ธิพลของความดันบรรยากาศโดยรอบ (Atmospheric pressure) และแรงโน้ม
ถ่วงของโลก (Gravity) ซึง่ การไหลในลักษณะนี้สามารถพบเห็นได้ทวไปเช่
ั่ น การไหลในแม่น้ําลําคลอง การไหลในคลอง
ส่งนํ้า การไหลในท่อหรือรางระบายนํ้า เป็ นต้น

รูปที่ 7.1 ทางนํ้าธรรมชาติ

รูปที่ 7.2 ทางนํ้าทีม่ นุษย์สร้างขึน้

7.1 ประเภทของทางนํ้าเปิ ด (Type of channel)


ทางนํ้าเปิดทีพ่ บเห็นโดยทัวไปนั
่ น้ สามารถจําแนกได้ 2 ประเภทคือ
- ทางนํ้าธรรมชาติ (Natural channel) คือทางนํ้าทีเ่ กิดขึน้ เองตามธรรมชาติ รูปร่างของรูปตัดขวางของทางนํ้า
และความลาดเทของท้องทางนํ้า จะเปลีย่ นแปลงไปตามสภาพพืน้ ที่ (Non-Prismatic channel) เช่น ลําธาร
คลอง หรือแม่น้ํา เป็ นต้น (ดังรูปที่ 7.1)
- ทางนํ้าทีม่ นุษย์สร้างขึน้ (Artificial channel) คือทางนํ้าทีม่ นุ ษย์สร้างขึน้ เพือ่ สนองตอบต่อความต้องการด้าน
ต่างๆ เช่น การส่งนํ้าเพือ่ การชลประทาน การระบายนํ้า หรือเพือ่ การคมนาคมขนส่งเป็ นต้น ซึง่ โดยทัวไป ่
ลักษณะของทางนํ้าจะมีรปู ตัดขวาง และความลาดเทของท้องรางคงที่ (Prismatic channel) เช่น คลองส่งนํ้า
ดาดคอนกรีต ราง หรือท่อระบายนํ้า เป็ นต้น (ดังรูปที่ 7.2)

ธัญดร ออกวะลา Open Channel Flow


7-2 Fluid Mechanics

7.2 การจําแนกประเภทการไหลในทางนํ้าเปิ ด (Open channel flow classification)


ในการวิเคราะห์ดา้ นชลศาสตร์ ประเด็นในการวิเคราะห์เพื่อจําแนกประเภทของการไหลในทางนํ้าเปิดจะถูก
แบ่งออกเป็ น 2 ส่วนคือ จําแนกโดยพิจารณาจากรูปแบบของการไหล (Type of flow) และจําแนกโดยพิจารณาจาก
สภาวะของการไหล (State of flow)

7.2.1 การจําแนกประเภทการไหลในทางนํ้าเปิดโดยพิจารณาจากรูปแบบของการไหล (Type of flow)


ในการจําแนกจะมีหลักเกณฑ์ 2 ประการคือ
1) พิจารณาการเปลีย่ นแปลงกับเวลาเวลา
a) การไหลคงที่ (Steady flow) คือการไหลทีไ่ ม่มกี ารเปลีย่ นแปลงตามเวลา กล่าวคือตัวแปรต่างๆ ที่
เกีย่ วข้องกับการไหล เช่น ความลึก (y) ความเร็ว (V) อัตราการไหล (Q) พืน้ ทีห่ น้าตัดการไหล (A)
จะคงทีต่ ลอดช่วงเวลาทีพ่ จิ ารณา
d
 y , A , v, Q   0
dt
b) การไหลไม่คงที่ (Unsteady flow) คือการไหลทีม่ กี ารเปลีย่ นแปลงตามเวลา กล่าวคือตัวแปรต่างๆ
ทีเ่ กีย่ วข้องกับการไหล เช่น ความลึก ความเร็ว อัตราการไหล พืน้ ทีห่ น้าตัดการไหล ไม่คงทีต่ ลอด
ช่วงเวลาทีพ่ จิ ารณา
d
 y, A, v, Q   0
dt

2) พิจารณาการเปลีย่ นแปลงรูปตัดขวางของการไหลในช่วงใดๆ
a) การไหลแบบสมํ่าเสมอ (Uniform Flow : UF) คือการไหลทีม่ คี วามลึก (y) และพืน้ ทีห่ น้าตัดการ
ไหล (A) คงทีต่ ลอดช่วงความยาวทีพ่ จิ ารณา
b) การไหลแบบแปรเปลีย่ น (Varied flow หรือ Non-Uniform flow) คือการไหลทีม่ คี วามลึก และ
พืน้ ทีห่ น้าตัดการไหล ไม่คงทีต่ ลอดช่วงความยาวทีพ่ จิ ารณา ซึง่ แบ่งเป็ น 2 ลักษณะคือ
- การไหลแบบแปรเปลีย่ นแบบค่อยเป็ นค่อยไป (Gradually Varied Flow : GVF) คือการไหลที่
ความลึก และพืน้ ทีห่ น้าตัดการไหล มีการเปลีย่ นแปลงทีล่ ะน้อยไปตามความยาวของช่วงที่
พิจารณา
- การไหลแบบแปรเปลีย่ นแบบฉับพลัน (Rapidly Varied Flow : RVF) คือการไหลทีค่ วามลึก
และพืน้ ทีห่ น้าตัดการไหล มีการเปลีย่ นแปลงอย่างฉับพลันในช่วงความยาวทีพ่ จิ ารณา

รูปที่ 7.3 ตัวอย่างการแบ่งประเภทการไหลโดยพิจารณาการเปลีย่ นแปลงรูปตัดเป็ นเกณฑ์

Open Channel Flow ธัญดร ออกวะลา


Fluid Mechanics 7-3

ดังนัน้ หากพิจารณาเกณฑ์ทงั ้ สองข้อ เราจะสามารถจําแนกประเภทของการไหลทีเ่ กิดได้ดงั นี้


- การไหลแบบสมํ่าเสมอไม่แปรเปลีย่ นตามเวลา (Steady Uniform flow)
Steady uniform flow คือสภาพการไหลทีม่ คี า่ ความลึก ความเร็ว อัตราการไหล และพืน้ ทีห่ น้าตัดการ
ไหล คงทีต่ ลอดช่วงความยาวทีพ่ จิ ารณา โดยจะไม่แปรเปลีย่ นตามเวลา ซึง่ เกือบทัง้ หมดมักจะเกิด
ในทางนํ้าทีม่ นุ ษย์สร้างขึน้ เนื่องจากรูปตัดขวางของทางนํ้ามักจะสร้างให้มรี ปู ร่างคงที่ และในการใช้งาน
เราสามารถควบคุมความเร็ว และอัตราการไหลได้

รูปที่ 7.4 การไหลแบบ Steady uniform flow

- การไหลแปรเปลีย่ นแบบค่อยเป็ นค่อยไปแต่ไม่แปรเปลีย่ นตามเวลา (Steady Gradually Varied flow)


Steady gradually varied flow คือสภาพการไหลทีม่ คี า่ ความลึก ความเร็ว และพืน้ ทีห่ น้าตัดการไหล
เปลีย่ นแปลงอย่างต่อเนื่องแบบค่อยเป็ นค่อยไปตลอดช่วงความยาวทีพ่ จิ ารณา แต่ความลึก ความเร็ว
และพืน้ ทีห่ น้าตัดการไหลทีจ่ ุดใดจุดหนึ่งนัน้ จะคงที่ ไม่แปรเปลีย่ นตามเวลา

รูปที่ 7.5 การไหลแบบ Steady gradually varied flow

- การไหลแปรเปลีย่ นแบบฉับพลันแต่ไม่แปรเปลีย่ นตามเวลา (Steady Rapidly Varied flow)


Steady rapidly varied flow คือสภาพการไหลทีม่ คี า่ ความลึก ความเร็ว และพืน้ ทีห่ น้าตัดการไหล
เปลีย่ นแปลงอย่างฉับพลันในช่วงความยาวทีพ่ จิ ารณา แต่ความลึก ความเร็ว และพืน้ ทีห่ น้าตัดการไหล
ทีจ่ ุดใดจุดหนึ่งนัน้ จะคงที่ ไม่แปรเปลีย่ นตามเวลา

รูปที่ 7.6 การไหลแบบ Steady rapidly varied flow

ธัญดร ออกวะลา Open Channel Flow


7-4 Fluid Mechanics

- การไหลแบบสมํ่าเสมอแปรเปลีย่ นตามเวลา (Unsteady Uniform flow)


Unsteady uniform flow คือสภาพการไหลทีม่ คี า่ ความลึก ความเร็ว อัตราการไหล พืน้ ทีห่ น้าตัดการ
ไหล เท่ากันตลอดช่วงความยาวทีพ่ จิ ารณา แต่จะเปลีย่ นแปลงไปตามเวลา

รูปที่ 7.7 การไหลแบบ Unsteady uniform flow

- การไหลแปรเปลีย่ นแบบค่อยเป็ นค่อยไปและแปรเปลีย่ นตามเวลา (Unsteady Gradually Varied flow)


Unsteady gradually varied flow คือสภาพการไหลทีม่ คี าความลึก ความเร็ว และพืน้ ทีห่ น้าตัดการไหล
มีการเปลีย่ นแปลงอย่างต่อเนื่องแบบค่อยเป็ นค่อยไปตลอดช่วงความยาวทีพ่ จิ ารณา และเปลีย่ นแปลง
ตามเวลาไปพร้อมๆ กัน

รูปที่ 7.8 การไหลแบบ Unsteady gradually varied flow

- การไหลแปรเปลีย่ นแบบฉับพลันและแปรเปลีย่ นตามเวลา (Unsteady Rapidly Varied flow)


Unsteady rapidly varied flow คือสภาพการไหลทีม่ คี า่ ความลึก ความเร็ว และพืน้ ทีห่ น้าตัดการไหล มี
การเปลีย่ นแปลงอย่างฉับพลันในช่วงความยาวทีพ่ จิ ารณา และเปลีย่ นแปลงตามเวลาไปพร้อมๆ กัน

รูปที่ 7.9 การไหลแบบ Unsteady rapidly varied flow

Open Channel Flow ธัญดร ออกวะลา


Fluid Mechanics 7-5

7.2.2 การจําแนกประเภทตามสภาวะของการไหล (State of flow)


การจําแนกประเภทการไหลตามสภาวะของการไหลนัน้ จะพิจารณาจากพฤติกรรมของการเคลื่อนตัวของของ
ไหลในทางนํ้า รวมถึงผลกระทบของแรงทีม่ อี ทิ ธิพลต่อการไหล

7.2.2.1 จําแนกโดยพิจารณาจาก เรย์โนลด์นมั เบอร์ (Reynold number : Re)


Reynold number คือตัวเลขทีว่ เิ คราะห์โดยคํานึงถึงอิทธิพลของแรงอันเนื่องมาจากความหนืด (Vicous
force) และแรงอันเนื่องมาจากความเฉื่อยของมวล (Inertia force) ซึง่ ตัวเลขดังกล่าวนัน้ จะสามารถบงบอกถึง
พฤติกรรมของการเคลื่อนทีข่ องอนุภาคของไหลได้ เช่นเดียวกับการไหลในท่อ (การวิเคราะห์โดยละเอียดจะ
กล่าวถึงในบทที่ 8) สําหรับการไหลในทางนํ้าเปิด Re สามารถคํานวณได้จาก
VR
Re  --------- (7.1)

เมือ่ R = รัศมีชลศาสตร์ (Hydraulic radius)
V = ความเร็วเฉลีย่
 = ความหนืดคิเนมาติกของของไหล
เช่นเดียวกับการไหลในท่อ การไหลในทางนํ้าเปิ ดสามารถแบ่งสภาวะการไหลได้เป็ น 3 ประเภทคือ
- การไหลแบบราบเรียบ (Laminar flow) อนุภาคของของไหลจะเคลื่อนตัวอย่างเป็ นระเบียบ จะเกิดขึน้ กับการ
ไหลทีม่ คี วามเร็วตํ่า หรือความหนืดของของไหลมาก โดยเรย์โนลด์นมั เบอร์จะมีคา่ ตํ่ากว่า 500
- การไหลแบบปนป ั ่ ว่ น (Turbulent flow) อนุ ภาคของของไหลจะเคลื่อนตัวอย่างไม่เป็ นระเบียบ จะเกิดขึน้ กับ
การไหลทีม่ คี วามเร็วสูง หรือความหนืดของของไหลตํ่า โดยเรย์โนลด์นมั เบอร์จะมีคา่ มากกว่า 2,000
- การไหลแบบแปรเปลีย่ น (Transitional flow) เป็ นสภาวะการไหลทีไ่ ม่สามารถระบุได้วา่ เป็ นแบบปนป ั ่ ว่ น
หรือ ราบเรียบ โดยเรย์โนลด์นมั เบอร์จะมีคา่ อยูร่ ะหว่าง 500 ถึง 2,000

7.2.2.2 จําแนกโดยพิจารณาจาก ฟรุดนัมเบอร์ (Froude number : Fr)


Froude number คือตัวเลขทีว่ เิ คราะห์โดยคํานึงถึงอิทธิพลของแรงอันเนื่องมาจากความโน้มถ่วง
(Gravity force) และแรงอันเนื่องมาจากความเฉื่อยของมวล (Inertia force) ตัวเลขดังกล่าวนัน้ จะสามารถบงบอก
ถึงพฤติกรรมของการไหลได้ (การวิเคราะห์จะกล่าวถึงในบทที่ 8) ซึง่ สามารถคํานวณได้จาก
V
Fr  --------- (7.2)
gD
เมือ่ D = ความลึกชลศาสตร์ (hydraulic depth)
g = ความเร่งเนื่องจากแรงโน้มถ่วง
การไหลในทางนํ้าเปิดสามารถแบ่งสภาวะการไหลได้เป็ น 3 ประเภทคือ
- การไหลวิกฤต (Critical flow) จะเกิดขึน้ เมือ่ ค่าฟรุดนัมเบอร์เท่ากับ 1 ค่าความลึก และความเร็วทีส่ ภาวะนี้จะ
เรียกว่า ความลึกวิกฤต และความเร็ววิกฤต
- การไหลตํ่ากว่าวิกฤติ (Subcritical flow) จะเกิดขึน้ เมือ่ ค่าฟรุดนัมเบอร์ต่าํ กว่า 1 ทีส่ ภาวะนี้ ความลึก จะ
มากกว่า ความลึกวิกฤต แต่ความเร็วจะน้อยกว่า ความเร็ววิกฤต เมือ่ เปรียบเทียบทีอ่ ตั ราการไหลเท่ากัน
- การไหลเหนือกว่าวิกฤติ (Supercritical flow) จะเกิดขึน้ เมือ่ ค่าฟรุดนัมเบอร์มากกว่า 1 ทีส่ ภาวะนี้ ความลึก
จะน้อยกว่า ความลึกวิกฤต แต่ความเร็วจะมากกว่า ความเร็ววิกฤต เมือ่ เปรียบเทียบทีอ่ ตั ราการไหลเท่ากัน

ธัญดร ออกวะลา Open Channel Flow


7-6 Fluid Mechanics

รูปที่ 7.10 สภาวะการไหลแบบต่าง

7.3 สมการพืน้ ฐานของการไหลในทางนํ้าเปิ ด (Basic equation of open channel flow)

เนื่องจากเนื้อหาในบทนี้เป็ นการกล่าวถึงหลักการพืน้ ฐานของการไหลในทางนํ้าเปิ ด ซึง่ จะทําการวิเคราะห์ภายใต้


สมมุตฐิ านทีว่ า่ ของไหลเป็ นของไหลจินตภาพ บีบอัดตัวไม่ได (Ideal fluid , Incompressible fluid) นอกจากนี้ในการ
วิเคราะห์จะกล่าวถึงเฉพาะการไหลแบบคงทีไ่ ม่แปเปลีย่ นตามเวลา (Steady flow) เท่านัน้

เพือ่ ความสะดวกในการศึกษา จะขอกล่าวถึงนิยามของตัวแปรทีเ่ กีย่ วของกับการวิเคราะห์การไหลในทางนํ้าเปิด


เสียก่อน ซึง่ ประกอบด้วยตัวแปรดังต่อไปนี้
- ความลึก (Depth :y) คือระยะในแนวดิง่ ทีว่ ดั จากจุดตํ่าสุดจนถึงผิวอิสระของหน้าตัดการไหล
- ความกว้างผิว (Top width :B) คือความกว้างของผิวอิสระของพืน้ ทีห่ น้าตัดการไหล
- ความลึกชลศาสตร์ (Hydraulic depth :D) คือความลึกเฉลีย่ ของพืน้ ทีห่ น้าตัดการไหลทีม่ คี วามกว้างเท่ากับ
ความกว้างผิว ซึง่ สามารถคํานวณได้จาก
A
D (ในกรณีทท่ี างนํ้าเป็ นรูปสีเ่ หลีย่ มมุมฉาก D  y )
B
- ความยาวเส้นขอบเปียก (Wetted perimeter :P) คือความยาวเส้นขอบด้านสัมผัสกับทางนํ้าของ
พืน้ ทีห่ น้าตัดการไหล
- รัศมีชลศาสตร์ (Hydraulic radius :R) คือตัวแปรทีม่ คี ุณลักษณะคล้ายกับรัศมี ซึง่ คํานวณจาก
A
R
P

รูปที่ 7.11 ตัวแปรทีเ่ กีย่ วข้องกับการไหลในทางนํ้าเปิ ด

Open Channel Flow ธัญดร ออกวะลา


Fluid Mechanics 7-7

7.3.1 สมการต่อเนื่ อง (Continuity Equation)

จากสมการกฎการอนุ รกั ษ์มวล


MCV
  M In   M Out
t
พิจารณาการไหลเข้าออกของปริมาตรควบคุมดังรูปที่ 7.12 เมื่อของไหลอัดตัวไม่ได้ (incompressible fluid) และ
อัตราการไหลคงทีไ่ ม่แปรเปลีย่ นตามเวลา (steady state) จะได้วา่
MCV
= 0
t
M In = Q1 = A 1V1 
M Out = Q 2 = A 2 V2 
ดังนัน้ จะได้วา่ 0 = A 1V1   A 2 V2 

หรือ A 1V1 = A 2 V2 --------- (7.3)

ในกรณีทางนํ้าเป็ นรูปสีเ่ หลีย่ มมุมฉาก หรือการวิเคราะห์การไหลต่อหนึ่งหน่วยความกว้าง จะได้วา่


B  y1 V1 = B  y 2 V2

y 1V1 = y 2 V2 --------- (7.4)

รูปที่ 7.12

ธัญดร ออกวะลา Open Channel Flow


7-8 Fluid Mechanics

7.3.2 สมการพลังงาน (Energy Equation)

ดังทีก่ ล่าวไว้ในบทที่ 4 สมการพลังงานคือสมการความสัมพันธ์ของเฮด (Energy head) ของอนุ ภาคของไหลที่


เคลื่อนทีไ่ ปตาม streamline ผ่านจุดต่างๆ ซึง่ เฮดทีว่ า่ นัน้ จะประกอบด้วย เฮดระดับ (Elevation head) เฮดความดัน
(Pressure head) และเฮดความเร็ว (Velocity head) โดยผลรวมของเฮดระดับ กับเฮดความดันจะเรียกว่า เฮดสถิต
(Static head) เมือ่ พิจารณากับการไหลในทางนํ้าเปิ ด ทีห่ น้าตัดการไหลเดียวกัน หากเราพิจารณาค่าเฮดสถิตของ
อนุภาคของไหลใดๆ บนหน้าตัด ดังรูปที่ 7.13 จะเห็นได้วา่

รูปที่ 7.13 เฮดของอนุภาคของไหลบนหน้าตัดใดๆ ของการไหลในทางนํ้าเปิ ด

จากรูปเมือ่ พิจารณา static head ของอนุ ภาคของไหล 1 และ 2 มีคา่ เท่ากับ


P h 
z1  1  z1  1  z1  h1   z  y 
 
P h 
z 2  2  z 2  2  z 2  h2   z  y 
 

จากข้อพิสจู น์ดงั กล่าวจะเห็นได้วา่ ไม่วา่ จะอยูจ่ ุดใดบนหน้าตัดเดียวกัน ค่าของ static head จะมีคา่ เท่ากันเสมอ
ดังนัน้ สมการพลังงานของการไหลในทางนํ้าเปิดจึงมีรปู แบบดังต่อไปนี้

2 2
V V
z 1  y 1  1  z 2  y 2  2  hL --------- (7.5)
2g 2g

เมือ่ hL = การสูญเสียพลังงาน
yi = ความลึกทีห่ น้าตัด i
zi = ค่าระดับท้องรางนํ้าทีห่ น้าตัด i
Vi = ความเร็วเฉลีย่ ของการไหลทีห่ น้าตัด i
sf = ความลาดชันของเส้นระดับพลังงานรวม
sw = ความลาดชันของผิวนํ้า
so = ความลาดชันของท้องรางนํ้า

Open Channel Flow ธัญดร ออกวะลา


Fluid Mechanics 7-9

รูปที่ 7.14 เฮดของหน้าตัดการไหลของการไหลในทางนํ้าเปิด

สําหรับการไหลในทางนํ้าเปิด สิง่ ทีค่ วรระวังคือค่า z ในสมการที่ 7.5 ไม่ใช้คา่ เฮดระดับของอนุ ภาคของของไหล


แต่เป็ นค่าระดับของท้องรางนํ้าเปิดของหน้าตัดการไหลทีพ่ จิ ารณา ซึง่ ก็คอื เฮดระดับของหน้าตัดการไหล ส่วนความลึก
ของนํ้า (y) จะกลายเป็ นเฮดความดัน

7.3.3 สมการโมเมนตัม (Momentum Equation)

จากทีก่ ล่าวไว้ในบทที่ 5 สมการโมเมนตัมสําหรับการไหลในทางนํ้าเปิ ด จะแตกต่างกับการไหลในท่อเนื่องจาก


การไหลในทางนํ้าเปิ ดนัน้ ความดันจะแปรผันตามความลึกของนํ้า ดังตัวอย่างในรูปที่ 7.14

รูปที่ 7.15 การวิเคราะห์แรงทีก่ ระทํากับ Control volume ของการไหลในทางนํ้าเปิ ด

จากรูปที่ 7.14 ถ้าวิเคราะห์ตามสมการที่ 5.7 จะได้วา่


  
 Fsys =   Out  Q Out  VOut    In  Q In  VIn 
F1  F2  FX  f = QV2  QV1
กําหนดให้  F คือผลรวมของแรงจากภายนอกโดยไม่รวมแรงทีเ่ กิดจากความดัน ซึง่ ในทีน่ ้ีมคี า่ เท่ากับ FX + f
และเมือ่ จัดรูปสมการใหม่จะได้
F = F1  QV1  F2  QV2
=   y 1 A 1   QV1    y 2 A 2   QV2
F  Q  
2
Q 
2
= y A  
 1 1 gA   2 2 gA  y A  --------- (7.6)
  1  2
ซึง่ สมการที่ 7.6 นี้กค็ อื สมการโมเมนตัมของการไหลในทางนํ้าเปิด

ธัญดร ออกวะลา Open Channel Flow


7-10 Fluid Mechanics

7.4 การวิ เคราะห์การไหลแบบสมํา่ เสมอไม่แปรเปลี่ยนตามเวลา (Steady Uniform Flow)

เมือ่ การไหลนัน้ เกิดขึน้ ในทางนํ้าทีม่ หี น้าตัดสมํ่าเสมอเป็ นระยะทางยาวมากๆ ในช่วงเริม่ ต้นของทางนํ้าการไหล


จะมีการปรับตัวเพือ่ ให้แรงกระทําต่างๆ ในระบบเข้าสูส้ ภาวะทีส่ มดุล ไม่มคี วามเร่ง ซึง่ เมือ่ เข้าสูส่ ภาวะทีส่ มดุลแล้ว
พืน้ ทีห่ น้าตัดตามขวางของการไหล จะมีรปู ร่างคงทีต่ ่อเนื่องตามความยาวของทางนํ้าไปจนกว่าทางนํ้านัน้ เปลีย่ นแปลง
รูปร่างไปจากเดิม ดังรูปที่ 7.16 ด้วยเหตุน้ีความลาดชันของผิวนํ้า (Sw) ตลอดช่วงของการไหลแบบสมํ่าเสมอ จะ
เท่ากับความลาดชันของท้องทางนํ้า (So) และเท่ากับความลาดชันของเส้นระดับพลังงาน (Sf) ดังรูปที่ 7.17

รูปที่ 7.16 การเกิดการไหลแบบ Uniform flow

รูปที่ 7.17 การวิเคราะห์การไหลแบบ Uniform flow

จากรูปที่ 7.16 เมือ่ พิจารณาสมดุลของแรงทีเ่ กิดขึน้ กับของไหลในปริมาตราควบคุมในทิศทางทีข่ นานกับการไหล


จะเห็นได้วา่ เนื่องจากการไหลมีพน้ื ทีห่ น้าตัดคงที่ จึงทําให้แรงดัน F1 หักล้างกับ แรงดัน F2 ดังนัน้ จะได้วา่
f = W sin
ในกรณีทค่ี วามลดชันมีคา้ น้อย ระยะในแนวเอียงจะใกล้เคียงกับระยะในแนวราบ (L) และ sin   tan   s o
 PL  = AL  tan 
AL s o
 =
PL
 = Rs o --------- (7.7)
เมือ่  คือความเค้นเฉือนทีเ่ กิดขึน้ บริเวณผนังทางนํ้า (Wall shear stress)

Open Channel Flow ธัญดร ออกวะลา


Fluid Mechanics 7-11

ั ่ ว่ น ความเค้นเฉือนทีผ่ นัง จะ
ในปี ค.ศ. 1773 Antoni Chezy ได้ทาํ การศึกษาพบว่า ในสภาพการไหลแบบปนป
เป็ นปฏิภาคโดยตรงกับความเร็วเฉลีย่ (V) ยกกําลังสอง
  V2
 = KV 2 (K คือค่าคงที)่ --------- (7.8)
แทนค่า  จากสมการ 7.8 ลงในสมการ 7.7 จะได้
KV 2 = Rs o
Rs o
V =
K
V  C Rs o --------- (7.9)

สมการที่ 7.9 นัน้ เรียกว่าสมการ Chezy หรือ สูตร Chezy (Chezy’s Formula) โดยที C  คือค่า
K
สัมประสิทธิ ์ของ Chezy (Chezy coefficient) ซึง่ มีลกั ษณะเป็ นสัมประสิทธิ ์การไหลชนิดหนึ่ง โดยจะขึน้ อยูก่ บั ลักษณะ
ทางกายภายของทางนํ้า และความหยาบของพืน้ ผิวทางนํ้า

ต่อมาในปี ค.ศ. 1890 Robert Manning ได้พฒ ั นาสมการของ Chezy โดยนําผลทีไ่ ด้จากการทดลองใน
ห้องปฏิบตั กิ าร และข้อมูลในภาคสนามมาวิเคราะห์พบว่า สัมประสิทธิ ์ของ Chezy จะมีความสัมพันธ์กบั ค่าสัมประสิทธิ ์
ความขรุขระของ Manning (Manning’s roughness coefficient) ดังสมการที่ 7.10 และ 7.11
1 1
สําหรับระบบ SI C = R 6 --------- (7.10)
n
1.49 1
หรือสําหรับระบบ BG C = R 6 --------- (7.11)
n
เมือ่ n คือสัมประสิทธิ ์ความขรุขระของ Manning (Manning’s roughness coefficient) ซึง่ มีลกั ษณะเป็ น
สัมประสิทธิ ์ความเสียดทานชนิดหนึ่ง โดยจะขึน้ อยูก่ บั ลักษณะทางกายภายของทางนํ้า และความหยาบของพืน้ ผิวทาง
นํ้า เช่นเดียวกับสัมประสิทธิ ์ของ Chezy (ตารางที่ 7.1)

ดังนัน้ หากพิจารณาจากสมการที่ 7.9 เมือ่ เปลีย่ นค่าสัมประสิทธิ ์ของ Chezy เป็ น สัมประสิทธิ ์ความขรุขระของ
Manning จะได้วา่
1 2 1
สําหรับระบบ SI V   R  3   S 2 --------- (7.12)
n
1 2 1
หรือ Q   A  R  3   S 2 --------- (7.13)
n
1.49 2 1
สําหรับระบบ BG V   R 3  S 2 --------- (7.14)
n
1.49 2 1
หรือ Q   A  R 3  S 2 --------- (7.15)
n
สมการที่ 7.12 และ 7.14 นัน้ เรียกว่าสมการ Manning หรือ สูตร Manning (Manning’s Formula)

ธัญดร ออกวะลา Open Channel Flow


7-12 Fluid Mechanics

ตารางที่ 7.1 ค่าสัมประสิทธิ ์ความขรุขระของ Manning (Manning’s roughness coefficient)

Open Channel Flow ธัญดร ออกวะลา


Fluid Mechanics 7-13

ตัวอย่างที่ 7.1 ทางนํ้าดาดคอนกรีตรูปสีเ่ หลีย่ มคางหมูดงั รูป


นํ้ามีความลึก 2 m. ค่าสัมประสิทธิ ์ความขรุขระของแมนนิ่ง
เท่ากับ 0.015 และความลาดเทของพืน้ ทางนํ้าเท่ากับ 0.001 จง
หาอัตราการไหล และความเร็วของนํ้า

วิธที าํ พิจารณาพืน้ ทีห่ น้าตัดการไหลรูปสีเ่ หลีย่ มคางหมู

A  b  my y   4  2  2  2  16 m 2
2 2
P  b  2y 1  m  4  2 2  1  2  12.94 m
A 16
 R  1.24 m
P 12.94
1 2 1
สมการของ Manning V =  R 3   S 2
n
1 2 1
=  12.94  3   0.001 2 --------- (1)
n
จากโจทย์กาํ หนดค่า ส.ป.ส. ความขรุขระของ Manning ของพืน้ ผิวคอนกรีตมีคา่ เท่ากับ 0.015 แทนค่าในสมการ (1)
1 2 1
V =  12.94  3   0.001 2 --------- (2)
 0.015 
1 2 1
จาก Q = VA  Q =  12.94  3   0.001 2  16 
 0.015 
= 38.88 cms Ans

ตัวอย่างที่ 7.2 จากทางนํ้าในตัวอย่างที่ 7.1 ถ้าอัตราการไหลเท่ากับ 29 cms จงหาค่าความลึกปกติ (yn)


วิธที าํ พิจารณาพืน้ ทีห่ น้าตัดการไหลรูปสีเ่ หลีย่ มคางหมูเหมือนดังตัวอย่างที่ 7.1
A b  my n y n
A  b  my n y n P  b  2y n 1  m 2 R 
P b  2y n 1  m2
ดังนัน้ เมือ่ แทนค่าในสมการของ Manning จะได้วา่
2
1 1  b  my y  3 1 2
b  my n y n 
2
Q = AR 3 S10 2 = n n
2
 S0
n n  b  2y n 1  m 
2
1  4  2y y  3
29 = 4  2y n y n  n n
2

1
 0.001 2
0.015  4  2y n 1  2 
แก้สมการหาค่า yn (ด้วยวิธี ลองผิดลองถูก trial & error)
yn = 1.73 m Ans

ธัญดร ออกวะลา Open Channel Flow


7-14 Fluid Mechanics

ตัวอย่างที่ 7.3 ทางนํ้าลักษณะดังรูป นํ้าไหลด้วยความลึกปกติเท่ากับ 4 m. ค่าสัมประสิทธิ ์ความขรุขระของแมนนิ่ง


บริเวณร่องนํ้าหลัก (Main channel) และบริเวณพืน้ ทีน่ ้ําท่วม (Floodplain) เท่ากับ 0.015 และ 0.035 ตามลําดับ ความ
ลาดเทของพืน้ ทางนํ้าเท่ากับ 0.001 จงหาอัตราการไหลในทางนํ้า

วิธที าํ แยกพิจารณาหน้าตัดการไหลออกเป็ น 3 ส่วน

พิจารณา Main Channel : หน้าตัดย่อยที่ 1


A1  
4  14 
 2 
 2.5   14 1.5   43.5 m
2
 2
P1  4  2 2.5 1  2  15.18 m
43.5
R1   2.87 m
15.18
1 2 12 1 2 1
 Q = A 1R1 3 S 01 =  43.5  2.87  3  0.001 2
n1 0.015
= 185.20 cms
พิจารณา Floodplain : หน้าตัดย่อยที่ 2 และ 3
A 2  A 3  
10  14.5 
 2 
1.5   18.38 m
2
 
P2  P3  10  1.5 1  3 2  14.74 m
18.38
R 2  R3   1.25 m
14.74
1 2 12 1 2 1
 Q2 = Q3 = A 2R 2 3 S 0 2 = 18.38 1.25  3  0.001 2
n2 0.035
= 19.27 cms
ดังนัน้ อัตราการไหลรวมทัง้ หน้าตัดมีคา่ เท่ากับ
Q = Q1+Q2+Q3 = 185.20+19.27+19.27
= 233.74 cms Ans

Open Channel Flow ธัญดร ออกวะลา


Fluid Mechanics 7-15

7.5 พลังงานจําเพาะกับการไหลแปรเปลี่ยนแบบฉับพลันแต่ไม่แปรเปลี่ยนตามเวลา
(Specific energy and steady rapidly varied flow)

พิจารณาสมการพลังงานของการไหลในทางนํ้าเปิด (สมการที่ 7.5) เฮดทีบ่ ง่ บอกถึงสภาวะของการไหลนัน้ จะ


 V2 
ประกอบด้วย เฮดความเร็ว   และ เฮดความดัน (y) ซึง่ ผลรวมของทัง้ สองส่วนนี้เรียกว่า พลังงานจําเพาะ
 2g 
(Specific energy)
V2
E = y --------- (7.16)
2g
2
Q
E = y 2 --------- (7.17)
2 gA
ดังนัน้ สมการที่ 7.5 สามารถเขียนใหม่ได้วา่
z 1  E1 = z 2  E 2  hL --------- (7.18)
ซึง่ หากนําไปประยุกต์ใช้ในการวิเคราะห์การเปลีย่ นแปลงสภาพการไหลในช่วงสัน้ ๆ จะได้วา่
z 2  z1 = E1  E 2   hL --------- (7.19)

รูปที่ 7.18 พลังงานงานจําเพาะของการไหลในทางนํ้าเปิด

จากข้างต้นพลังงานจําเพาะ (E) ประกอบขึน้ จากตัวแปรทีเ่ กีย่ วข้องกับการไหล และของไหลโดยเฉพาะ ดังนัน้


หากนํามาวิเคราะห์กบั การไหลในทางนํ้ารูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า หรือการไหลต่อหนึ่ งหน่ วยความกว้าง จะได้วา่
Q
เมือ่ กําหนดให้ q = (อัตราการไหลต่อหนึ่งหน่วยความกว้าง)
B
VA
= = Vy
B
q
V = --------- (7.20)
y

ธัญดร ออกวะลา Open Channel Flow


7-16 Fluid Mechanics

V2
จากสมการที่ 7.16 E = y
2g
q2
E = y 2 --------- (7.21)
2g  y
จาก q คงที่ ดังนัน้ หากพิจารณาความสัมพันธ์ระหว่าง E กับ y พบว่ากราฟความสัมพันธ์จะเป็ นรูป Hyperbola
ดังรูปที่ 7.19

รูปที่ 7.19 ความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานจําเพาะ กับความลึกของการไหลในทางนํ้าเปิ ดรูปสีเ่ หลีย่ มมุมฉาก

จากความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานจําเพาะ กับความลึกของการไหล จะเห็นได้วา่ ทีร่ ะดับพลังงานจําเพาะหนึ่งๆ


ค่าความลึกของการไหลสามารถเป็ นไปได้สองค่า (alternate depth) ดังรูปที่ 7.19 แต่จะมีเพียงจุดเดียวเท่านัน้ ทีค่ า่
พลังงานจําเพาะสัมพันธ์กบั ค่าความลึกเพียงหนึ่งค่า เราเรียกจุดนี้วา่ การไหลวิ กฤต (critical flow) ซึง่ เราจะเรียกค่า
ความลึก และพลังงานจําเพาะทีจ่ ุดนี้วา่ ความลึกวิ กฤต (critical depth : yc) และพลังงานจําเพาะที่จดุ วิ กฤต
(critical specific energy : Ec) ตามลําดับ

ในกรณีทก่ี ารไหลมีคา่ ความลึกมากกว่าความลึกวิ กฤต ( y > yc ) ซึง่ ความเร็วของการไหลจะตํา่ กว่า


ความเร็วที่จดุ วิ กฤต ( V < Vc ) เราจะเรียกการไหลลักษณะนี้วา่ การไหลตํา่ กว่าวิ กฤต (subcritical flow)

ในทางตรงกันข้ามการไหลมีคา่ ความลึกน้ อยกว่าความลึกวิ กฤต ( y < yc ) ซึง่ ความเร็วของการไหลจะ


มากกว่าความเร็วที่จดุ วิ กฤต ( V > Vc ) เราจะเรียกการไหลลักษณะนี้วา่ การไหลเหนื อวิ กฤต (supercritical flow)

จากสมการที่ 7.21 หากเราพิจารณาอนุ พนั ธ์ของพลังงานจําเพาะเทียบกับความลึก จะได้วา่


dE dy q 2 d  1 
=    
dy dy 2 g dy  y 2 
2
dE q  1 
= 1  3 
dy g y 
2
dE q
= 1 3 --------- (7.22)
dy gy

Open Channel Flow ธัญดร ออกวะลา


Fluid Mechanics 7-17

จากสมการที่ 7.22 ทีจ่ ุดวิกฤต ค่าอนุ พนั ธ์ของพลังงานจําเพาะเทียบกับความลึกจะมีคา่ เท่ากับ 0 ฉะนัน้ เมือ่ แทน
dE
ค่า y = yc จะทําให้  0 จึงได้วา่
dy
2
q
0 = 1 3
g yc  
2
q
yc = 3 --------- (7.23)
g
จากสมการที่ 7.2 ความลึกชลศาสตร์ของการไหลในทางนํ้ารูปสีเ่ หลีย่ มมุมฉาก จะมีคา่ เท่ากับกับค่าความลึกของ
การไหล (D = y) เมือ่ แทนค่าในสมการที่ 7.23 จะได้วา่
 V  D c 2
Dc = 3
g
 V  D c 2 V
1 = 3 =
gDc gDc
V V
1 = = = Frc --------- (7.24)
gDc gyc

ดังนัน้ จึงสรุปได้วา่ ทีส่ ภาวะการไหลแบบวิ กฤติ ค่าฟรุดนัมเบอร์จะมีค่าเท่ากับ 1

จากสมการที่ 7.24 จะเห็นได้วา่ Vc  gy c เมือ่ นําไปแทนค่าในสมการที่ 7.16 จะได้วา่


V
2
 gy c 2
Ec = yc  c = yc 
2g 2g
3
Ec = 2 yc --------- (7.25)

หากพิจารณาทีส่ ภาวะการไหลตํ่ากว่าวิกฤต ซึง่ y  y c ; V  Vc จะส่งผลให้ Fr  1 หรือสรุปได้วา่ ทีส่ ภาวะ


การไหลตํา่ กว่าวิ กฤติ ฟรุดนัมเบอร์จะมีค่าน้ อยกว่า 1

หากพิจารณาทีส่ ภาวะการไหลเหนือวิกฤต ซึง่ y  y c ; V  Vc จะส่งผลให้ Fr  1 หรือสรุปได้วา่ ทีส่ ภาวะการ


ไหลเหนื อวิ กฤติ ฟรุดนัมเบอร์จะมีค่ามากกว่า 1

ในการวิ เคราะห์ปัญหาการไหลแปรเปลี่ยนแบบฉับพลันแต่ไม่แปรเปลี่ยนตามเวลา (Steady Rapidly


Varied flow) เราสามรถนําหลักการของพลังงานจําเพาะมาใช้ในวิเคราะห์ปญั หาได้โดย คํานวณค่าตัวแปรต่างๆ จาก
สมการ และตรวจสอบสภาวะการไหลทีต่ าํ แหน่งต่างๆ ด้วยการวิเคราะห์จากกราฟความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานจําเพาะ
กับความลึก

ธัญดร ออกวะลา Open Channel Flow


7-18 Fluid Mechanics

ตัวอย่างที่ 7.4 ทางนํ้ารูปสีเ่ หลีย่ มผืนผ้ากว้าง 3 m ความลึก y1 เท่ากับ 1.55 m และความเร็ว V1 เท่ากับ 1.83 m/s
หากทางด้านท้ายนํ้ามีการยกพืน้ ขึน้ ลักษณะดังรูป

- ถ้า z = 0.2 m จงหาความลึก และความเร็วด้านท้ายนํ้า


- จงหาว่าสามารถยกพืน้ สูงสุดได้เท่าไหร่ โดยไม่ทาํ ให้
ความลึกด้านเหนือนํ้าเกิดการเปลีย่ นแปลง
(กําหนดให้การสูญเสียพลังงานมีคา่ น้อยมาก)

วิธที าํ ตรวจสอบสภาวะการไหลทีห่ น้าตัดที่ 1 โดยการหาฟรุดนัมเบอร์ ซึง่ โจทย์ขอ้ นี้เป็ นการไหลในทางนํ้ารูป


สีเ่ หลีย่ มมุมฉากดังนัน้
V  1.83 
Fr 1  1   0.47  1 แสดงว่าทีห่ น้าตัดที่ 1 การไหลเป็ นแบบ Subcritical flow
gy 1 g 1.55 
Vc
หาค่าความลึกวิกฤตของการไหลจาก Frc  1  1 --------- (1)
gy c
q q
จาก V  ดังนัน้ Vc  แทนใน (1)
y yc
q
= gy c
yc
q2
yc = 3 --------- (2)
g
จาก q  v 1 y 1  v 2 y 2  v i y i แทนใน (2)
 V1y 1 2  1.55  1.83  2
yc = 3 = 3
g g
yc = 0.94 m
พิจารณาจากสมการที่ 7.19 (ไม่มกี ารสูญเสียพลังงาน) จะได้วา่
z 2  z1 = E 1  E 2  --------- (3)
V12  1.83  2
เนื่องจาก E1  y 1   1.55   1.72 m และ z 2  z 1  0.2 m
2g 2g
แทนค่าใน (3) จะได้ E2 = 1.72  0.2 = 1.52 m
q
2
V1y 1  2
จาก E2  y 2   y 
2
2g y 2  2 2
2g y 2  
 1.83  1.55  2
เมือ่ แทนค่า E2 ลงไปจะได้ 1.52 = y2 
2g  y 2 2
แก้สมการจะได้ y2 = 1.76 m และ 0.71 m

Open Channel Flow ธัญดร ออกวะลา


Fluid Mechanics 7-19

ในการหาคําตอบจําเป็ นต้องวิเคราะห์จากพฤติกรรม
ของการเปลีย่ นแปลงสภาวะการไหล โดยสามารถวิเคราะห์
ได้จากกราฟความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานจําเพาะ กับ
ความลึกของการไหล ซึง่ จะเห็นได้วา่ ทีด่ า้ นเหนือนํ้า สภาวะ
การไหลเป็ นแบบ ตํ่ากว่าวิกฤต (subcritical flow : y > yc)
การทีค่ วามลึกด้านท้ายนํ้าจะลดลงจนกระทังตํ ่ ่ากว่าความลึก
วิกฤต (supercritical flow : y < yc) ได้นนั ้ การไหลจะต้อง
ผ่านสภาวะวิกฤตเสียก่อน ซึง่ จากโจทย์ เมือ่ พิจารณาการ
เปลีย่ นแปลงระดับท้องทางนํ้า ไม่สามารถทําให้การไหลเข้า
สูส่ ภาวะวิกฤตได้ ดังนัน้ การไหลด้านท้ายนํ้าจึงเป็ นการไหล
แบบตํ่ากว่าวิกฤต (y > yc)
 ความลึกของการไหลด้านท้ายนํ้า y2 = 1.76 m Ans
V1 y 1 1.83  1.55
จาก q  v 1y 1  v 2 y 2  V2 = =
y2 1.76
V2 = 2.25 m/s Ans

หากวิเคราะห์ได้จากกราฟความสัมพันธ์ระหว่าง
พลังงานจําเพาะ กับ ความลึกของการไหล ประกอบกับ
สมการพลังงานของการไหลในทางนํ้าเปิด จะเห็นได้วา่
ผลต่างของค่าระดับท้องทางนํ้าจะมากทีส่ ดุ เมือ่ E2 = Ec
หรือกล่าวอีกนัยหนึ่งคือ ผลต่างของค่าระดับท้องทางนํ้า
ทีม่ ากทีส่ ดุ จะต้องทําให้สภาวะการไหลด้านท้ายนํ้าเป็ น
การไหลแบบวิกฤต

พิจารณาจากสมการที่ 7.19 จะได้วา่


z 2  z1 = E 1  E 2 
z max = E 1  E c  --------- (4)
3 3  0.94 
จากสมการที่ 7.25 Ec = 2 yc = 2 --------- (5)
แทน (5) ใน (4) z max =  1.72   32  0.94 
z max = 0.31 m Ans

ธัญดร ออกวะลา Open Channel Flow


7-20 Fluid Mechanics

ตัวอย่างที่ 7.5 ทางนํ้ารูปสีเ่ หลีย่ มผืนผ้ากว้าง 3 m หากช่วงกลาง


ทางนํ้ามีการยกพืน้ ขึน้ จนทําให้เกิดการไหลแบบวิกฤต (y2=yc)
ลักษณะดังรูป ความสูงของพืน้ ทีถ่ กู ยกขึน้ เท่ากับ 0.50 m ถ้าไม่
พิจารณาการสูญเสียพลังงาน จงหาค่าความลึกของนํ้าด้านเหนือ
นํ้า และท้ายนํ้า เมือ่ ช่วงกลางของทางนํ้ามีความลึก 0.9 m (y2=0.9)

วิธที าํ เนื่องจากช่วงกลางของทางนํ้า การไหลเป็ นแบบ critical flow


q2
 y2 = yc = 3
g
2
q
0.9 = 3
g
q = 2.674 m3/s/m
q 2.674
 V2    2.971 m s
y2 0.9
พิจารณาจากสมการที่ 7.19 ระหว่าจุดที่ 1 กับ 2 จะได้วา่
z 2  z1 = E 1  E 2  --------- (1)
V22  2.971 2
เนื่องจาก E 2  y 2   0.9   1.350 m และ z 2  z 1  0.5 m
2g 2g
แทนค่าใน (1) จะได้ E1 = 1.350  0.50 = 1.850 m
2
q
จาก E1  y 1 
 2
2g y 1
 2.674  2
เมือ่ แทนค่า E1 ลงไปจะได้ 1.850 = y1 
2g  y 1 2
แก้สมการจะได้ y1 = 0.525 m และ 1.728 m

หากพิจารณาจากกราฟความสัมพันธ์ระหว่างพลังงาน
จําเพาะ กับ ความลึกของการไหล และจากโจทย์ ความลึก
ด้านเหนือนํ้ามากกว่าความลึกวิกฤต ดังนัน้ ความลึกด้าน
เหนือนํ้า y1 ควรมีคา่ เท่ากับ 1.728 m
Ans

Open Channel Flow ธัญดร ออกวะลา


Fluid Mechanics 7-21

พิจารณาจากสมการที่ 7.19 ระหว่าจุดที่ 2 กับ 3 จะได้วา่


z3  z2 = E 2  E 3  --------- (3)
2
V2  2.971 2
เนื่องจาก E 2  y 2   0.9   1.350 m และ z 3  z 2  0.5 m
2g 2g
แทนค่าใน (3) จะได้ E3 = 1.350  0.50 = 1.850 m
2
q
จาก E3  y 3 
 
2
2g y 3
 2.674  2
เมือ่ แทนค่า E1 ลงไปจะได้ 1.850 = y3 
 2
2g  y 3
แก้สมการจะได้ y3 = 0.525 m และ 1.728 m

หากพิจารณาจากกราฟความสัมพันธ์ระหว่างพลังงาน
จําเพาะ กับ ความลึกของการไหล และจากโจทย์ สภาพด้าน
ท้ายนํ้าไม่สามารถบอกได้วา่ การไหลจะอยูใ่ นสภาวะใด เช่น
ถ้าด้านท้ายนํ้าเกิดการหนุ นของนํ้า จนความลึกมากกว่า
ความลึกวิกฤต เป็ นต้น จะส่งผลให้สภาวะการไหลด้านท้าย
นํ้าเป็ นแบบ subcritical flow ความลึก y3 จะมีคา่ เท่ากับ
1.728 m แต่ถา้ ด้านท้ายนํ้าเกิดการไหลตกอย่างอิสระ หรือ
ความลาดชันด้านท้ายนํ้าสูง จะส่งผลให้สภาวะการไหลด้าน
ท้ายนํ้าเป็ นแบบ supercritical flow ความลึก y3 จะมีค่า
เท่ากับ 0.525 m ดังนัน้ จึงไม่มคี าํ ตอบทีแ่ น่นอน
Ans

ธัญดร ออกวะลา Open Channel Flow


7-22 Fluid Mechanics

ตัวอย่างที่ 7.6 ทางนํ้ารูปสีเ่ หลีย่ มผืนผ้า ด้านเหนือนํ้า (B1) กว้าง 3 m ช่วงกลาง (B2) กว้าง 2.0 m และท้ายนํ้า (B3)
กว้าง 2.0 m ดังรูป ถ้าอัตราการไหล 8.51 cms ความลึกของนํ้าด้านเหนือนํ้า y1 เท่ากับ 2.0 m จงหาความลึกของนํ้า
บริเวณคอคอด (y2) และความลึกด้านท้ายนํ้า (y3) โดยไม่พจิ ารณาการสูญเสียพลังงาน

วิธที าํ หาความลึกวิกฤตบริเวณเหนือนํ้า และ ท้ายนํ้า เนืองจากมีความกว้างเท่ากับดังนัน้


Q Q 8.51
q1  q 3     2.8367 cms m
B1 B 3 3
2 2
q  2.8367 
y c1  y c 3 3 3  0.936 m
g g
ดังนัน้ ด้านเหนือนํ้าการไหลมีสภาวะเป็ นแบบ subcritical flow (y1 > yc)
หาความลึกวิกฤตบริเวณคอคอด
Q 8.51
q2    4.255 cms m
B2 2
q 22  4.255  2
y c2 3  3  1.227 m
g g
พิจารณาจากสมการที่ 7.19 ระหว่าจุดที่ 1 กับ 2 โดยไม่พจิ ารณาการสูญเสียพลังงานจะได้วา่
z 2  z1 = E1  E 2  --------- (1)
2 2
q 2.8367
เนื่องจาก E1  y 1  2  2.0  2  2.1025 m
 
2g y 1  
2 g 2.0
2
q2 4.255 2 0.9228
E2  y 2  2  y2  2  y2  และ z 2  z 1  0
2g y 2  2g y 2   2
y2
0.9228
แทนค่าใน (1) จะได้ y2  2 = 2.1025
y2
y2 = 1.8256 m และ 0.8628 m
จากกราฟความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานจําเพาะ กับ ความ
ลึกของการไหล ซึง่ จะเห็นได้วา่ ทีด่ า้ นเหนือนํ้า สภาวะการ
ไหลเป็ นแบบ subcritical flow การทีส่ ภาวะการไหลบริเวณ
คอคอดจะเป็ นแบบ supercritical flow ได้นนั ้ การไหล
จะต้องผ่านสภาวะ critical flow เสียก่อน ซึง่ จากโจทย์ เมือ่
พิจารณาการเปลีย่ นแปลงของทางนํ้า ไม่สามารถทําให้การ
ไหลเข้าสูส่ ภาวะ critical flow ได้ ดังนัน้ คําตอบคือ การไหล
คอคอดจึงเป็ นแบบ subcritical flow : y2 = 1.8256 m
Ans

Open Channel Flow ธัญดร ออกวะลา


Fluid Mechanics 7-23

พิจารณาจากสมการที่ 7.19 ระหว่าจุดที่ 2 กับ 3 โดยไม่พจิ ารณาการสูญเสียพลังงานจะได้วา่


z3  z2 = E 2  E 3  --------- (2)
2 2
q 4.255
เนื่องจาก E2  y 2  2  1.8256  2  2.1025 m
 
2g y 2 
2 g 1.8256 
q 32 2.8367 2 0.4101
E3  y 3  2  y2  2  y3  และ z 3  z 2  0
 
2g y 3  
2g y 3
2
y3
0.4101
แทนค่าใน (2) จะได้ y3  2 = 2.1025
y3
y2 = 2.0000 m และ 0.5070 m

จากกราฟความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานจําเพาะ กับ ความ


ลึกของการไหล ซึง่ จะเห็นได้วา่ ทีค่ อคอด สภาวะการไหล
เป็ นแบบ subcritical flow การทีส่ ภาวะการไหลบริเวณท้าย
นํ้าจะเป็ นแบบ supercritical flow ได้นนั ้ การไหลจะต้องผ่าน
สภาวะ critical flow เสียก่อน ซึง่ จากโจทย์ เมือ่ พิจารณาการ
เปลีย่ นแปลงของทางนํ้า ไม่สามารถทําให้การไหลเข้าสู่
สภาวะ critical flow ได้ ดังนัน้ คําตอบคือ การไหลด้านท้าย
นํ้าจึงเป็ นแบบ subcritical flow : y3 = 2.00 m
Ans

ธัญดร ออกวะลา Open Channel Flow


7-24 Fluid Mechanics

7.6 โมเมนตัมฟั งก์ชนั กับการไหลแปรเปลี่ยนแบบฉับพลันแต่ไม่แปรเปลี่ยนตามเวลา


(Momentum function and steady rapidly varied flow)

จากสมการที่ 7.6
F  Q  
2
Q 
2
= y A   y A
 1 1 gA   2 2 gA 
  1  2
2
 Q 
กําหนดให้ Momentum function (M) =  yA   --------- (7.26)
 gA 
ดังนัน้ สมการที่ 7.6 จึงเขียนใหม่ได้เป็ น
F
= M1  M 2 --------- (7.27)

หากพิจารณาการไหลในทางนํ้ารูปสีเ่ หลีย่ มมุมฉาก หรือการไหลต่อหนึ่งหน่วยความกว้าง Momentum function
จะอยูใ่ นรูป
 b 2 bq 2 1 
M =2 y  g  y  --------- (7.28)
 
จากสมการที่ 7.28 จะเห็นได้วา่ ความสัมพันธ์ระหว่าง โมเมนตัมฟงั ก์ชนั กับ ความลึกของการไหล จะมีลกั ษณะ
คล้ายกับรูปทรงพาราโบร่า ดังรูปที่ 7.20

รูปที่ 7.20 ความสัมพันธ์ระหว่างโมเมนตัมฟงั ก์ชนั กับความลึกของการไหลในทางนํ้าเปิดรูปสีเ่ หลีย่ มมุมฉาก

เช่นเดียวกับความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานจําเพาะ กับความลึกของการไหล จะเห็นได้วา่ ความสัมพันธ์ระหว่าง


โมเมนตัมฟงั ก์ชนั กับความลึกของการไหล จะมีลกั ษณะคล้ายกับรูปทรงพาราโบร่า โดยทีร่ ะดับโมเมนตัมฟงั ก์ชนั หนึ่งๆ
ค่าความลึกของการไหลสามารถเป็ นไปได้สองค่า (conjugate depth) ดังรูปที่ 7.20 แต่จะมีเพียงจุดเดียวเท่านัน้ ทีค่ า่
พลังงานจําเพาะสัมพันธ์กบั ค่าความลึกเพียงหนึ่งค่า ซึง่ ก็คอื ที่ การไหลวิ กฤต (critical flow)

Open Channel Flow ธัญดร ออกวะลา


Fluid Mechanics 7-25

ตัวอย่างที่ 7.7 การไหลในทางนํ้ารูปสีเ่ หลีย่ มผืนผ้ากว้าง 3 m ด้าน


เหนือนํ้าทีจ่ ุดที่ 1 ความลึก y1 เท่ากับ 2.0 m และความเร็ว V1 เท่ากับ
1.75 m/s อยากทราบว่า
- ถ้าความลึกด้านท้ายนํ้า y2 เท่ากับ 1.75 m แรงเสียดทานที่
เกิดขึน้ ระหว่างจุดที่ 1 กับ 2 มีขนาดเท่าไร
- ถ้า แรงเสียดทานทีเ่ กิดขึน้ ระหว่างจุดที่ 1 กับ 2 มีขนาด
เท่ากับ 11.5 kN จงหาความลึกด้านท้ายนํ้า

F
วิธที าํ จากสมการที่ 7.27 = M1  M 2

เนื่องจากมีผลของแรงเสียดทาน เป็ นผลกระทบจากแรงภายนอกซึง่
ไม่ได้เกิดจากของไหล  F  f
f
= M1  M 2 --------- (1)

ทางนํ้าเป็ นรูปสีเ่ หลีย่ มมุมฉาก จากสมการที่ 7.28 แทนค่าใน (1) จะได้วา่
f  b 2 bq 2 1   b 2 bq 2 1 
w
= 2 y1  g  y   2 y 2  g  y  --------- (2)
 1  2
  3  2  3  2  1.75  2 1    3  2  3  2  1.75 
2
1 
=  2  2      1 . 75   
 g  2    2 g  1.75  
f =  7.873  6.734   w = 11.173 kN Ans
ถ้าแรงเสียดทาน f  11.5 kN แทนค่าใน (2) จะได้
11.5  10
3
  3  2  3  2  1.75  2 1    3  2  3  2  1.75  2 1 
=   2    y2   
w  2 g  2    2 g y2 
  3  2  3  2  1.75  2 1 
6.700 =  y2   
 2 g y2 
y2 = 0.610 m และ 1.741 m
 V1y 1 2  2  1.75  2
หาค่า yc = 3 = 3 = 1.117 m
g g
หากพิจารณาจากกราฟ ระหว่าง Momentum function กับ
ความลึกของการไหล ความลึกด้านเหนือนํ้า y1 > yc การไหล
เป็ นแบบ subcritical flow ดังนัน้ คําตอบ y2 = 0.610 m จึงไม่น่า
เป็ นไปได้ เนื่องจากการลดระดับลงของระดับนํ้าในทางนํ้า
เกิดขึน้ แบบค่อยเป็ นค่อยไป ไม่ได้ถกู บังคับให้เปลีย่ นโดย
กะทันหัน และระหว่าวทางไม่มสี งิ่ ใดทําให้สภาวะการไหลผ่าน
จุดวิกฤต ดังนัน้ ด้านท้ายนํ้าควรเกิดสภาวะการไหลแบบ
subcritical flow (y2 > yc) เพราะฉะนัน้ คําตอบของข้อนี้คอื
ความลึกด้านท้ายนํ้ามีคา่ เท่ากับ 1.741 m Ans

ธัญดร ออกวะลา Open Channel Flow


7-26 Fluid Mechanics

ตัวอย่างที่ 7.8 การไหลในทางนํ้ารูปสีเ่ หลีย่ มผืนผ้ากว้าง 3 m เกิด


ปรากฏทีเ่ รียกว่า Hydraulic jump ลักษณะดังรูป ด้านเหนือนํ้าความลึก
y1 เท่ากับ 0.4 m และความเร็ว V1 เท่ากับ 7 m/s หากไม่พจิ ารณาผล
จาแรงเสียดทาน จงหาความลึก และความเร็วด้านท้ายนํ้า พลังงานงาน
ทีส่ ญ
ู เสียไประหว่างการเกิด Hydraulic jump มีคา่ เท่าไร

F
วิธที าํ จากสมการที่ 7.27 = M1  M 2

เนื่องจากไม่พจิ ารณาผลของแรงเสียดทาน จึงไม่เกิดผลกระทบจากแรง
ภายนอก ดังนัน้  F  0 จึงทําให้
M1 = M2 --------- (1)
ทางนํ้าเป็ นรูปสีเ่ หลีย่ มมุมฉาก จากสมการที่ 7.28 แทนค่าใน (1) จะได้วา่
 b 2 bq 2 1   b 2 bq 2 1 
2 y1  g  y  2 y 2  g  y 
=
 1  2

 3 2  3  7  0.5 
2
1    3  2  3  7  0.5  2 1 
 2  0.5   g
 =
 0.5    2 y2  g
 
y2 
 
 2 3.746 
 0.375  7.492  = 1.5 y 2   y 
 2 
y2 = 2.00 m และ 0.5 m
หากพิจารณาจากกราฟ ระหว่าง Momentum
function กับ ความลึกของการไหล คําตอบทัง้ สองค่าคือคู่
conjugate depth และเนื่องจากการไหลไม่มแี รงภายนอกมา
กระทํา ค่าของ Momentum function จึงเท่าเดิม ค่าความลึก
0.5 ก็คอื ความลึกด้านเหนือนํ้า ดังนัน้ ในสถานการณ์ทเ่ี กิด
Hydraulic jump ความลึกด้านท้ายนํ้าจะมากกว่าเสมอ
เพราะฉะนัน้ คําตอบของข้อนี้คอื ความลึกด้านท้ายนํ้ามีคา่
เท่ากับ 2.00 m
q  7  0. 5 
V2 = = = 1.75 m/s Ans
y2  2.00 
พิจารณาสมการที่ 7.19 z 2  z1 = E1  E 2   hL
เนื่องจากท้องทางนํ้าอยูใ่ นแนวระดับ  z 2  z 1  0
hL = E1  E 2  --------- (2)
V12  72
: E1  y 1   0.5   2.9975 m
2g 2g
V22  1.75  2
: E 2  y 2   2.00   2.1561 m
2g 2g

Open Channel Flow ธัญดร ออกวะลา


Fluid Mechanics 7-27

แทนค่าใน (2) hL =  2.9975    2.1561


= 0.8414 m Ans

เมือ่ พิจารณาจากกราฟความสัมพันธ์ระหว่างพลังงาน
จําเพาะ กับ ความลึกของการไหล พฤติกรรมของการเกิด
ปรากฏการณ์ Hydraulic jump การไหลจะเปลี่ยนสภาวะ
จาก supercritical flow ไปเป็ น subcritical flow อย่าง
ฉับพลัน โดยไม่ผา่ นจุดวิ กฤต ซึ่งในระหว่างช่วงระยะทาง
ของการเปลี่ยนแปลงนัน้ จะมีพลังงานส่วนหนึ่ งสูญเสียไป

ธัญดร ออกวะลา Open Channel Flow


7-28 Fluid Mechanics

ปรากฏการณ์ Hydraulic jump เป็ นปรากฏการณ์ทส่ี ามารถพบเห็นได้ทวไป ั ่ เช่นการไหลบริเวณท้ายเขือ่ น หรือ


ประตูน้ํา (รูปที่ 7.21 ก) การไหลในอ่างสลายพลังงาน (รูปที่ 7.21 ข) หรือแม้กระทังการไหลในทางนํ
่ ้ าธรรมชาติ (รูปที่
7.21 ค) ปรากฏการณ์ hydraulic jump นี้จะเกิดขึน้ ในจุดทีก่ ารไหลเปลีย่ นแปลงสภาวะจากการไหลแบบเหนือวิกฤต
(supercritical flow) ไปเป็ นการไหลแบบตํ่ากว่าวิกฤต (subcritical flow) โดยจะไม่ผา่ นสภาวะการไหลแบบวิกฤต
(critical flow) ในระหว่างช่วงของการเปลีย่ นแปลงนัน้ ระดับนํ้าจะเพิม่ ขึน้ อย่างกะทันหัน การไหลจะมีความปนป ั ่ ว่ นมาก
(turbulent) เกิดกระการไหลแบบหมุนวน (eddy current) ซึง่ เป็ นเหตุให้เกิดการสูญเสียพลังงานขึน้ ระหว่างช่วงของการ
เปลีย่ นแปลง

รูปที่ 7.21 Hydraulic jump

ในงานด้านวิศวกรรม หากเราศึกษาพฤติกรรมของการเกิด Hydraulic jump และสามารถควบคุมได้ เราก็จะ


สามารถใช้ประโยชน์จากปรากฏการณ์น้ีได้เช่น การสลายพลังงานของนํ้าทีไ่ หลล้นผ่านทางระบายนํ้าล้น (spillway) ซึง่
เป็ นการไหลในสภาวะเหนือวิกฤต ทีม่ พี ลังงานและความเร็วในการไหลสูงมาก หากปล่อยนํ้าในสภาวะดังกล่าวลงสูท่ าง
นํ้าธรรมชาติ พลังงานทีม่ ากับนํ้านัน้ จะถูกถ่ายทอดสูท่ างนํ้าด้านท้ายนํ้าโดยตรง ซึง่ ทําให้บริเวณท้องนํ้า และตลิง่ จะถูก
กัดเซาะอย่างรุนแรง จนอาจก่อให้เกิดความเสียหายต่อตัวอาคารชลศาสตร์บริเวณนัน้ หรือชุมชนทีอ่ ยูด่ า้ นท้ายนํ้าได้
ดังนัน้ ก่อนทีจ่ ะระบายนํ้าลงสูท่ างนํ้าธรรมชาติ เราจะต้องสลายพลังงานโดยการควบคุมให้เกิด hydraulic jump ในอ่าง
สลายพลังงาน (stilling basin) เพือ่ ลดพลังงานทีม่ ากับนํ้าและความเร็วของกระแสนํ้าให้เหลือน้อยทีส่ ดุ (ตํ่ากว่าวิกฤต)
ก่อนทีจ่ ะปล่อยลงสูท่ างนํ้าธรรมชาติต่อไป

Open Channel Flow ธัญดร ออกวะลา


Fluid Mechanics 8-1

บทที่ 8
การวิ เคราะห์มิติ และความคล้ายคลึงทางชลศาสตร์

ในบางครัง้ การวิเคราะห์ปญั หาทีเ่ กีย่ วข้องกับการไหลของของไหล โดยอาศัยหลักการทาง ฟิสกิ ส์ และ


คณิตศาสตร์ อาจมีความซับซ้อน หรือยากเกินกว่าทีจ่ ะอธิบายให้เห็นเป็ นรูปธรรมได้ จึงต้องอาศัยการทดลองใน
ห้องปฏิบตั กิ ารจําลองสถานการณ์ทอ่ี าจจะเกิดขึน้ เพือ่ ใช้เป็ นข้อมูลในการแก้ปญั หาต่อไปได้ ดังนัน้ เนื้อหาในบทนี้ จะ
เป็ นการกล่าวถึงการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของตัวแปรในเชิงมิติ เพือ่ นําไปสูก่ ารออกแบบการทดลอง หรือการจําลอง
สถานการณ์ให้สอดคล้องกับความเป็ นจริงทีจ่ ะเกิดขึน้ จริง โดยจะกล่าวถึงการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของตัวแปรในสอง
ลักษณะคือ การวิเคราะห์มติ ิ (Dimension analysis) และ การวิเคราะห์ความคล้ายคลึง (Similarity or Similitude)

รูปที่ 8.1 แผนภูมคิ วามเชื่อมโยงระหว่างแบบจําลอง กับต้นแบบ

8.1 การวิ เคราะห์มิติ (Dimension analysis)

การวิเคราะห์มติ ิ เป็ นเทคนิคทางคณิตศาสตร์ทใ่ี ช้ศกึ ษาเกีย่ วกับมิติ และหน่วย ของตัวแปรต่างๆ เพือ่ ใช้
แก้ปญั หาทางด้านกลศาสตร์ของไหลซึง่ ทฤษฎีการไหลอื่นๆ ไม่สามารถอธิบายได้ หรืออธิบายได้ยาก โดยจะช่วยให้
เข้าใจถึงปรากฏการณ์ของการไหล และทํานายตัวแปรทีม่ อี ทิ ธิพลต่อปรากฏการณ์ทเ่ี กิดขึน้ ซึง่ สามารถหาความสัมพันธ์
ของตัวแปรต่างๆ ในรูปของตัวแปรไร้มติ ิ และเมือ่ นํามาวิเคราะห์รว่ มกับข้อมูลทีไ่ ด้จาการตรวจวัด หรือทําการทดลอง จะ
สามารถสรุปออกมาเป็ นสูตรหรือสมการทัวไปได้
่ นอกจากนี้ยงั ช่วยให้เราทราบถึงแนวทางในออกแบบการทดลอง หรือ
การทดสอบแบบจําลองของตัวต้นแบบทางชลศาสตร์อกี ด้วย

ธัญดร ออกวะลา Dimension Analysis & Similarity


8-2 Fluid Mechanics

8.1.1 มิ ติ และหน่ วย (Dimension and Unit)

เพือ่ ให้เข้าใจในหลักการของการวิเคราะห์ จะขอกล่าวถึงความหมายของคําว่า มิตแิ ละหน่วยเสียก่อน

มิ ติ (Dimension)
มิติ หมายถึง คุณสมบัตทิ างกายภาพของสสาร ซึง่ สามารถระบุได้ในเชิงปริมาณ เช่น ความยาว นํ้าหนัก มวล
แรง ฯลฯ เป็ นต้น ซึง่ สามารถแบ่งได้เป็ น 2 ประเภทคือ
- มิตปิ ฐมภูม ิ หรือ มิตพิ น้ื ฐาน (Primary Dimensions or Basic Dimensions) หมายถึง มิตขิ องตัวแปรพืน้ ฐานทีไ่ ม่
สามารถแยกเป็ นมิตอิ ่นื ได้อกี และไม่ขน้ึ อยูก่ บั มิตอิ ่นื ๆ ซึง่ เป็ นค่าทีบ่ อกถึงปริมาณทีท่ ส่ี สารแสดงออกมาโดยตรง ในวิชา
กลศาสตร์ของของไหลจะใช้มติ พิ น้ื ฐาน 4 ตัว ดังนี้
มวล (Mass) สัญลักษณ์ทใ่ี ช้คอื M
ความยาว (Length) สัญลักษณ์ทใ่ี ช้คอื L
เวลา (Time) สัญลักษณ์ทใ่ี ช้คอื T
อุณหภูม ิ (Temperature) สัญลักษณ์ทใ่ี ช้คอื 
- มิตทิ ุตยิ ภูม ิ (Secondary Dimensions) เป็ นมิตทิ เ่ี กิดจากการรวมกันของมิตปิ ฐมภูม ิ ซึง่ ตัวแปรจะแสดงค่ามิติ
ตามทีถ่ กู กําหนดขึน้ จาก นิยาม หรือทฤษฎี เช่น ปริมาตร เกิดจาก ความกว้าง (L)  ความยาว (L)  ความสูง (L)
ดังนัน้ ปริมาตร จึงมีมติ เิ ป็ น L3 หรือ ความเร็ว คือ ระยะทางทีเ่ ปลีย่ นไป (L) ต่อหนึ่งหน่วยเวลา (T) ดังนัน้ ความเร็ว จึง
มีมติ เิ ป็ น L/T เป็ นต้น

หน่ วย (Unit)
หน่วย หมายถึง ลักษณะนามทีใ่ ช้ระบุถงึ ปริมาณของมิตทิ แ่ี สดงออกมา ซึง่ ทัวโลกได้มกี ารกําหนดระบบหน่วยใน
การวัดขึน้ มาหลายระบบ แต่ระบบหน่วยสากลทีน่ ิยมใช้มากทีส่ ดุ ในปจั จุบนั มี 2 ระบบ คือ
- System International Unit หรือทีเ่ รียกว่า “ระบบ SI” ตัวย่อ SI ซึง่ สําหรับมิตพิ น้ื ฐาน จะมีหน่วยดังนี้
มวล (Mass) หน่วยคือ กิโลกรัม (kg)
ความยาว (Length) หน่วยคือ เมตร (m)
เวลา (Time) หน่วยคือ วินาที (s)
อุณหภูม ิ (Temperature) หน่วยคือ เคลวิน (K)
- British Gravitational System หรือทีเ่ รียกว่า “ระบบอังกฤษ” ตัวย่อ BG ซึง่ สําหรับมิตพิ น้ื ฐาน จะมีหน่วยดังนี้
มวล (Mass) หน่วยคือ สลัก (Slug)
ความยาว (Length) หน่วยคือ ฟุต (ft)
เวลา (Time) หน่วยคือ วินาที (sec)
อุณหภูม ิ (Temperature) หน่วยคือ แรนไคน์ (R)
ในเอกสารการฉบับนี้จะใช้ระบบ SI เป็ นหลัก

Dimension Analysis & Similarity ธัญดร ออกวะลา


Fluid Mechanics 8-3

ตารางที่ 8.1 ตังอย่างมิติ และหน่วยของตัวแปรต่างๆ

ธัญดร ออกวะลา Dimension Analysis & Similarity


8-4 Fluid Mechanics

8.1.2 การวิ เคราะห์มิติโดยวิ ธี บักกิ้ งแฮมพาย (Dimension analysis by Buckingham Pi Theorem)

เป็ นทฤษฎีทใ่ี ช้วเิ คราะห์พจน์ของตัวแปรไร้มติ ิ (Dimensionless terms) ซึง่ เป็ นวิธที น่ี กั ฟิสกิ ส์ขาวอเมริกนั ชื่อ
Edgar BuckingHam ได้เป็ นผูพ้ ฒ ั ลักษณ์  (Pi) แทนพจน์ของตัวแปรไร้มติ ทิ ว่ี เิ คราะห์ขน้ึ มาจากตัว
ั นาขึน้ โดยใช้สญ

แปรทีเ่ กีย่ วข้องกับปญหาทีพ่ จิ ารณา โดยขัน้ ตอนในการวิเคราะห์สามารถสรุปได้ดงั นี้

1) รวบรวมตัวแปรทีเ่ กีย่ วข้องปญั หาทัง้ หมด (จํานวน k ตัว) โดยหลักในการพิจารณาจะจําแนกตัวแปรออกเป็ น


3 กลุม่ ดังนี้
- กลุม่ ตัวแปรทีเ่ กีย่ วข้องกับขนาด และรูปร่าง เช่น ความยาว (l) เส้นผ่าศูนย์กลาง (D) ความกว้าง (B)
ความสูง (h) พืน้ ทีห่ น้าตัด (A) ปริมาตร () เป็ นต้น
- กลุม่ ตัวแปรทีเ่ กีย่ วข้องกับคุณสมบัตขิ องของไหล เช่น ความหนาแน่น () ความหนืด () นํ้าหนัก
จําเพาะ () เป็ นต้น
- กลุม่ ตัวแปรทีเ่ กีย่ วข้องกับอิทธิพลภายนอกทีเ่ กีย่ วข้องกับการไหล เช่น ความดัน (P) ความเร่ง
เนื่องจากแรงโน้มถ่วง (g) ความเร็ว (V) แรงกระทํา (F) เป็ นต้น

ทัง้ นี้ตวั แปรทีร่ วบรวมได้จะต้องไม่ขน้ึ อยูก่ บั ตัวแปรอื่น เช่น นํ้าหนักจําเพาะ () เกิดจากผลคูณระหว่าง
ความหนาแน่น () กับ ความเร่งเนื่องจากแรงโน้มถ่วง (g) ดังนัน้ ในการคัดเลือกตัวแปรสามารถทําได้สอง
แบบคือ เลือก นํ้าหนักจําเพาะ เพียงตัวเดียว หรือเลือก ความหนาแน่น และ ความเร่งเนื่องจากแรงโน้มถ่วง

2) วิเคราะห์มติ ขิ องตัวแปรโดยใช้ระบบ FLT หรือ MLT (เลือกแบบใดแบบหนึ่ง) และนับจํานวนมิตอิ า้ งอิง


(Reference dimension) ซึง่ ก็คอื มิตพิ น้ื ฐานทีป่ ระกอบขึน้ เป็ นตัวแปรทัง้ หมด (จํานวน r ตัว)

ตัวอย่างเช่น ถ้าปญั หาประกอบด้วยตัวแปรดังต่อไปนี้ โดยใช้ระบบ MLT


เส้นผ่าศูนย์กลาง (D) มิตคิ อื L 1
ความหนืด () มิตคิ อื M 1 L - 1 T - 1
ความหนาแน่น () มิตคิ อื M 1 L - 3
ความเร็ว (V) มิตคิ อื L 1 T-1
ความดัน (P) มิตคิ อื M 1 L - 1 T - 2
ดังนัน้ จะเห็นได้วา่ ตัวแปรทัง้ หมดประกอบขึน้ จากมิตอิ า้ งอิงคือ M L และ T ซึง่ เท่ากับ 3 ตัว (r = 3)

3) เลือกตัวแปรซํ้า (Repeating variable) จากตัวแปรทัง้ หมด ให้มจี าํ นวนเท่ากับจํานวนของมิตอิ า้ งอิง โดยตัว


แปรซํ้าทีเ่ ลือกมานัน้ เมือ่ นํามิตทิ งั ้ หมดมารวมกันจะต้องมีองค์ประกอบของมิตอิ า้ งอิงครบทุกตัว
(เพือ่ ให้งา่ ยต่อการวิเคราะห์ ตัวแปรซํ้าแต่ละตัวทีท่ าํ การเลือกควรมีมติ นิ ้อยทีส่ ดุ )

ตัวอย่างเช่น เมื่อพิจารณาจากตัวอย่างก่อนหน้า มิตอิ า้ งอิงประกอบด้วย M L และ T ดังนัน้ จะต้องเลือก


ตัวแปรซํ้า 3 ตัว (r = 3) ในทีน่ ้ีสามารถเลือก เส้นผ่าศูนย์กลาง (D) ความหนาแน่น () และความเร็ว (V)
เพราะมิตขิ องตัวแปรทัง้ สามประกอบขึน้ จากมิตอิ า้ งอิงครบทุกตัว หรืออาจจะเลือก ความหนืด () ความดัน
(P) และ เส้นผ่าศูนย์กลาง (D) ก็ได้

Dimension Analysis & Similarity ธัญดร ออกวะลา


Fluid Mechanics 8-5

4) สร้างพจน์ของตัวแปรไร้มติ ิ หรือ พายเทอม (-term) ด้วยการผสมตัวแปรซํ้าทุกตัวกับตัวแปรทีเ่ หลืออยูท่ ี


ละตัว แล้วทําการปรับเลยชีก้ ําลังของตัวแปรซํ้าจนกระทัง้ พจน์ของตัวแปรนัน้ ไร้มติ ิ ซึง่ จะเห็นได้วา่ จํานวน
ของพจน์ไร้มติ นิ นั ้ จะเท่ากับ k – r พจน์

ตัวอย่างเช่น เมือ่ พิจารณาจากตัวอย่างก่อนหน้า มีตวั แปรทัง้ หมด 5 ตัว (k = 5) ตัวแปรทัง้ หมด


ประกอบด้วยมิตอิ า้ งอิง 3 ตัว (r = 3) หากเลือก เส้นผ่าศูนย์กลาง (D) ความหนาแน่น () และความเร็ว (V)
เป็ นตัวแปรซํ้า ตัวแปรทีเ่ หลืออยูค่ อื ความหนืด () และ ความดัน (P) ดังนัน้ จะมีพจน์ของตัวแปรไร้มติ ิ
ทัง้ หมด 2 พจน์ (n = k – r = 5 – 3) โดยพจน์ของตัวแปรไร้มติ จิ ะมีลกั ษณะดังนี้
 1   D a  b V c ;  2  P D d  e V f

โดยค่าของ a b c d e และ f จะต้องทําให้มติ ขิ อง -term เท่ากับ 1 หรือไม่มมี ติ ิ (i : M 0 L 0 T 0 = 1)

5) หลังจาได้พจน์ของตัวแปรไร้มติ มิ าแล้ว เราสามารถผันรูปของตัวแปรให้เหมาะสมกับรูปแบบของการทดลอง


การเก็บข้อมูล หรือรูปแบบของพจน์ตวั แปรทีเ่ ราคุน้ เคยได้ โดยกระบวนการผันรูปของพจน์ตวั แปรไร้มติ นิ นั ้
ต้องสามารถคงสถานะไร้มติ ขิ องพจน์ตวั แปรเอาไว้ได้ เช่น
- การยกกําลังหรือถอดราก การยกกําลังหรือถอดรากของพจน์ตวั แปรไร้มติ จิ ะไม่มผี ลต่อสถานะไร้
มิตขิ องพจน์ตวั แปรแต่อย่างใด
- การคูณหรือหารด้วยค่าคงที่ ถ้านําค่าคงทีซ่ ง่ึ ไม่มมี ติ มิ าคูณหรือหารกับพจน์ตวั แปรไร้มติ จิ ะไม่มผี ล
ต่อสถานะไร้มติ ขิ องพจน์ตวั แปรแต่อย่างใด
- การนําพจน์ไร้มติ สิ องพจน์มาคูณหรือหารกัน เนื่องจากพจน์ตวั แปรไร้มติ ทิ งั ้ สองตัวไม่มมี ติ ิ ดังนัน้
การนํามาคูณหรือหารกัน จึงไม่มผี ลต่อสถานะไร้มติ ิ

6) หาความสัมพันธ์ระหว่างพจน์ตวั แปรไร้มติ ิ
   1 ,  2 ,  3 ,...,  n   0
ความสัมพันธ์จะได้จากการเก็บข้อมูลจากการทอลอง

ธัญดร ออกวะลา Dimension Analysis & Similarity


8-6 Fluid Mechanics

ตัวอย่างที่ 8.1 จงวิเคราะห์เพือ่ หาพจน์ไร้มติ ขิ องปญั หา การลดลง


ของความดันในท่อต่อหนึ่งหน่วยความยาว (P/l) ซึง่ ขึน้ อยูก่ บั
เส้นผ่าศูนย์กลางท่อ (D) ความหนาแน่นของของเหลว () Dynamic
Viscosity () และความเร็วเฉลีย่ ของการไหลในท่อ (V) และความ
หยาบผิวของผนังท่อ ()

วิธที าํ ตัวแปรทีเ่ กีย่ วข้องมีดงั นี้


- ตัวแปรทีเ่ กีย่ วข้องกับรูปร่างประกอบด้วย  D , 

- ตัวแปรทีเ่ กีย่ วข้องกับคุณสมบัตขิ องไหลประกอบด้วย   , 


P
- ตัวแปรทีเ่ กีย่ วข้องกับปจั จัยภายนอกประกอบด้วย  , V , g

จํานวนตัวแปรทัง้ หมดเท่ากับ 6 ตัว (k = 6)

พิจารณามิตขิ องตัวแปรทัง้ หมดโดยใช้ระบบ MLT ในการวิเคราะห์


D : L1  : L1

 : M 1 L 3  : M 1 L 1 T 1
P
: M 1 L 2 T 2 V : L 1 T 1 g : L 1 T 2

มิตอิ า้ งอิงประกอบด้วย M L และ T ( r = 3 ) เลือกตัวแปรซํ้าให้เท่ากับจํานวนมิตอิ า้ งอิง  D ,  , V
P
ตัวแปรทีเ่ หลืออยูค่ อื   ,  , , g ดังนัน้ พจน์ของตัวแปรไร้มติ จิ งึ มีทงั ้ หมด 4 พจน์ (k-r = 4)

วิเคราะห์มติ ขิ องพจน์ไร้มติ ิ (-term)
 L 1   L 1   M 1 L 3   L 1 T 1 
a b c
 1    D a  b V c 
M  M  0  0 b  0   M 0  b  0 

L  L  1a3 bc   L 0  a  c  1   a  1

T  T  000c   T 0  c0 

 1 
D

Dimension Analysis & Similarity ธัญดร ออกวะลา


Fluid Mechanics 8-7

 M 1 L 1 T 1   L 1   M 1 L 3   L 1 T 1 
d e f
2   D d  e V f 
M  M  10 e 0   M0  e  1 

L  L  1 d3 e  f   L0  d  f  2   d  1

T  T  100f   T 0  f  1 

 VD
 2  
DV 

P g h i
 M 1 L 2 T 2   L 1   M 1 L 3   L 1 T 1 
g h i
3 
 D  V 

M  M  10h0   M 0  h  1 

L  L   2  g  3 h i   L0  g  i  1   g  1

T  T   2  0  0 i   T0  i  2 

 P  D
 3 
V 2

 L1 T 2   L1   M 1 L 3   L1 T 1 
j k n
 4  g  D j  k V n 
M  M  0  0 k  0   M 0  k  0 

L  L  1 j3 k n   L 0  j  n  1   j  1

T  T  200n   T 0  n  2 

gD V2
 4  
V2 gD

ดังนัน้ จึงสามารถสรุปความสัมพันธ์ของตัวแปรต่างๆ ได้ดงั นี้



 VD  P  D V2 

 , , ,  0 Ans
 D  V 2 gD 

2
 V
หากพิจารณาจากสมการการสูญเสียพลังงานหลักของการไหลในท่อ  h f  f 
D 2g
P
hf คือการสูญเสียเฮด ซึง่ ถ้าท่อในแนวระดับมีเส้นผ่านศูนย์กลางคงที่  h f 

P  V   D
2 P
 f   2  2  f
 D 2g V

ธัญดร ออกวะลา Dimension Analysis & Similarity


8-8 Fluid Mechanics

ซึง่ จากทฤษฎีกล่าวไว้วา่ f   R e , D 
VD
จากการวิเคราะห์มติ ิ จะเห็นได้วา่  3   Re

และ  4 
gD
V 2

V2
gD

V
gD
 Fr Froude number 
 
ดังนัน้ จึงสามารถสรุปใหม่ ได้วา่ f   , R e , FR 
D 

Dimension Analysis & Similarity ธัญดร ออกวะลา


Fluid Mechanics 8-9

ตัวอย่างที่ 8.2 วัตถุทรงกลมมวล m เส้นผ่าศูนย์กลาง D กําลัง


จมลงในของเหลวทีม่ คี า่ นํ้าหนักจําเพาะ  ค่าความหนืด 
เนื่องจากผลของแรงต้าน (Drag force) ทําให้วตั ถุเคลื่อนทีด่ ว้ ย
ความเร็วคงทีเ่ ท่ากับ V จงวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของตัวแปร
ต่างๆ ให้อยูใ่ นรูปของพจน์ตวั แปรไร้มติ ิ

วิธที าํ ตัวแปรทีเ่ กีย่ วข้องคือ


- ตัวแปรทีเ่ กีย่ วข้องกับรูปร่าง เช่น D
- ตัวแปรทีเ่ กีย่ วข้องกับคุณสมบัตขิ องของไหล เช่น ,  , 
- ตัวแปรทีเ่ กีย่ วข้องกับอิทธิพลภายนอก เช่น m , V , g , F
แต่เนื่องจาก   g จึงตัด  , g ออก ใช้  แทน ดังนัน้ จะเหลือตัวแปรทัง้ หมด 6 ตัว

พิจารณามิตขิ องตัวแปรทัง้ หมดโดยใช้ระบบ MLT ในการวิเคราะห์


D : L1

 : M 1 L 2 T 2  : M 1 L 1 T 1

m : M1 V : L 1 T 1 F : M 1 L 1 T 2
มิตอิ า้ งอิงประกอบด้วย M L และ T ( r = 3 )
เลือกตัวแปรซํ้าให้เท่ากับจํานวนมิตอิ า้ งอิง  D ,  , V

ตัวแปรทีเ่ หลืออยูค่ อื   , m , F
ดังนัน้ พจน์ของตัวแปรไร้มติ จิ งึ มีทงั ้ หมด 3 พจน์ (k-r = 3)
วิเคราะห์มติ ขิ องพจน์ไร้มติ ิ (-term)
 1    D a  b V c   M 1 L 1 T 1   L1  a   M 1 L  2 T  2  b   L1 T 1  c
M  M  1 0  b  0   M 0  b  1 

L  L  1 a  2 b  c   L 0  a  c  1   a   2

T  T  1 0  2 b  c   T 0  c 1 

V
 1 
D2

ธัญดร ออกวะลา Dimension Analysis & Similarity


8-10 Fluid Mechanics

 2  m  D d  e V f   M 1   L1  d   M 1 L  2 T  2  e   L1 T 1  f
M  M  1 0  e  0   M 0  e  1 

L  L  0  d  2 e  f   L 0  d  f  2   d  4

T  T  002 ef   T 0  f  2 
mV 2
 2 
D4

 3  F  D g  h V i   M 1 L1 T  2   L1  g   M 1 L  2 T  2  h   L1 T 1  i
M  M  1 0  h  0   M 0  h  1 

L  L  1 g  2 h  i   L 0  g  i  3   g  3

T  T   2  0  2 h i   T 0  i  0 
F
 3 
D3

ดังนัน้ จึงสามารถสรุปความสัมพันธ์ของตัวแปรต่างๆ ได้ดงั นี้


 V 
 mV 2 F 
 2 , , 3 
 0 Ans
 D  D 4
 D  

Dimension Analysis & Similarity ธัญดร ออกวะลา


Fluid Mechanics 8-11

ตัวอย่างที่ 8.3 การทดลองหาค่าแรงฉุด F ทีก่ ระทํากับตอม่อสะพานสีเ่ หลีย่ มจัตุรสั กว้าง B สูง H พืน้ ทีห่ น้าตัดเท่ากับ
A ความลึกของการไหลเท่ากับ Y ความเร็วของกระแสนํ้าเท่ากับ V ความหนืดของของไหลเท่ากับ  ความหนาแน่น
ของของไหลเท่ากับ  จงหาความสัมพันธ์ของตัวแปรในรูป สมการของตัวแปรไร้มติ ิ

วิธที าํ ตัวแปรทีเ่ กีย่ วข้องคือ


- ตัวแปรทีเ่ กีย่ วข้องกับรูปร่าง คือ B,Y,A ( H ไม่เกีย่ วข้อง )
- ตัวแปรทีเ่ กีย่ วข้องกับคุณสมบัตขิ องของไหล คือ , 
- ตัวแปรทีเ่ กีย่ วข้องกับอิทธิพลภายนอก คือ V,g,F
แต่เนื่องจาก A = B  B เลือกใช้ B ตัด A ออก จะเหลือตัวแปรทัง้ หมด 7 ตัว ( k = 7 )
พิจารณามิตขิ องตัวแปรทัง้ หมดโดยใช้ระบบ MLT ในการวิเคราะห์
B : L1 Y : L

 : M 1 L 3  : M 1 L 1 T 1

V : L 1 T 1 g : L 1 T 2 F : M 1 L 1 T 2
มิตอิ า้ งอิงประกอบด้วย M L และ T ( r = 3 )
เลือกตัวแปรซํ้าให้เท่ากับจํานวนมิตอิ า้ งอิง  Y ,  , V

ตัวแปรทีเ่ หลืออยูค่ อื  B ,  , g , F
ดังนัน้ พจน์ของตัวแปรไร้มติ จิ งึ มีทงั ้ หมด 4 พจน์ (k-r = 4)

วิเคราะห์มติ ขิ องพจน์ไร้มติ ิ (-term)


 1  B  Y a  b V c   L1   L1  a   M 1 L 3  b   L1 T 1  c
M  M  00b 0   M 0  b  0 

L  L  1 d  3 b  c   L 0  a  c  1   a  1

T  T  000c   T 0  c0 
B
 1 
Y

ธัญดร ออกวะลา Dimension Analysis & Similarity


8-12 Fluid Mechanics

 2    Y d  e V f   M 1 L 1 T 1   L1  d   M 1 L 3  e   L1 T 1  f
M  M  1 0  e  0   M 0  e  1 

L  L  1 d  3 e  f   L 0  d  f  2   d  1

T  T  1 0  0  f   T 0  f  1 

 VY
 2    Re
YV 

 3  g  Y g  h V i   L1 T  2   L1  g   M 1 L 3  h   L1 T 1  i
M  M  00e0   M 0  e  0 

L  L  1 g  3 h  i   L 0  g  i  1   g  1

T  T   2  0  0 i   T 0  i  2 

gy V
 3    FR
V2 gy

 4  F  Y j  k V n   M 1 L1 T  2   L1  j   M 1 L 3  k   L1 T 1  n
M  M  1 0  k  0   M 0  k  1 

 1 j  3 k  n 
L L  L  j  n  4   j  2
0


T  T   2  0  0 n   T 0  n  2 

F
 4 
Y 2 V 2

ดังนัน้ จึงสามารถสรุปความสัมพันธ์ของตัวแปรต่างๆ ได้ดงั นี้


B F 
 , R e , FR ,   0 Ans
Y Y 2 V 2 

Dimension Analysis & Similarity ธัญดร ออกวะลา


Fluid Mechanics 8-13

8.2 ความคล้ายคลึง (Similarity)

ในการหาคําตอบโดยอาศัย “การทดลอง” สถานการณ์ทจ่ี าํ ลองขึน้ ใน “แบบจําลอง” (model) จะต้องมีความ


คล้ายคลึงกับ สถานการณ์ทจ่ี ะเกิดขึน้ จริงกับ “ต้นแบบ” (prototype) ดังนัน้ ความคล้ายคลึงจะเป็ นตัวเชื่อมโยงระหว่าง
แบบจําลอง กับ ต้นแบบ เพือ่ นําไปสูก่ ารหาคําตอบต่อไป

8.2.1 การวิ เคราะห์ความคล้ายคลึง (Similarity analysis)

การทีจ่ ะกล่าวได้วา่ แบบจําลองทีส่ ร้างขึน้ มีความคล้ายคลึงกับตัวต้นแบบจริงนัน้ จะต้องประกอบด้วยความ


คล้ายคลึงทัง้ 3 ประการ ดังนี้

1) ความคล้ายคลึงทางเรขาคณิต (Geometric Similarity)


แบบจําลองจะต้องมีรปู ร่างเหมือนกับต้นแบบ หรือมีสดั ส่วนเท่ากัน กล่าวคืออัตราส่วนมิตคิ วามความยาว
ระหว่างแบบจําลองกับต้นแบบ จะต้องคงที่

รูปที่ 8.2 ความคล้ายคลึงทางเลขาคณิต

ซึง่ หากพิจารณาจากรูปที่ 8.2 จะเห็นได้วา่


 m Dm Lm A m L 2m  m L 3m
      --------- (8.1)
 p Dp Lp A p L 2p  p L 3p

2) ความคล้ายคลึงทางจลศาสตร์ (Kinematic Similarity)


ลักษณะการเคลื่อนทีใ่ นแบบจําลอง กับต้นแบบจะต้องเหมือนกัน กล่าวคือ อัตราส่วนระหว่างความเร็ว
ความเร่ง หรืออัตราการไหล จะต้องสอดคล้องกัน

รูปที่ 8.3 ความคล้ายคลึงทางจลศาสตร์

ซึง่ หากพิจารณาจากรูปที่ 8.3 จะได้วา่


V m L m T m1 a m L m T m2 V m T m1 Q m L 3m T m1 V m A m
 ;   ;   --------- (8.2)
V p L p T p1 a p L p T p 2 V p T p1 Q p L 3p T p1 V p A p

ธัญดร ออกวะลา Dimension Analysis & Similarity


8-14 Fluid Mechanics

3) ความคล้ายคลึงทางพลศาสตร์ (Dynamic Similarity)


ก่อนอื่นจะต้องทําความเข้าใจเกีย่ วกับความหมายของแรงทีเ่ กีย่ วข้องกับการไหล และของไหลเสียก่อน

รูปที่ 8.5 แรงทีเ่ กีย่ วข้องกับปรากฏการณ์ต่างๆ ในการไหลของของไหล

- Inertia force หรือแรงเฉื่อย (Fi) คือแรงทีท่ าํ ให้สสารเกิดเคลื่อนที่ (ตามกฎการเคลื่อนทีข่ องนิวตัน)


F i  ma  L 3  LT 2  L 2 V 2 --------- (8.3)
- Gravity force (Fg) คือแรงทีไ่ ด้รบั อิทธิพลจากความโน้มถ่วง
F g  mg  L 3  g --------- (8.4)
- Pressure force (Fp) คือแรงทีไ่ ด้รบั อิทธิพลจากความดัน
F p  PA  PL 2 --------- (8.5)
- Viscosity force (FV) คือแรงทีไ่ ด้รบั อิทธิพลจากความหนืดของของไหล
dV V
F v  A   A   L 2  VL --------- (8.6)
dy L
- Elastic force (Fe) คือแรงทีไ่ ด้รบั อิทธิพลจากความยืดหยุน่ ของของไหล
d
F e  dP  A  k A ; k  C 2

F e  C 2  L 2 ; C  Sonic velocity --------- (8.7)
- Surface tension force (Fe) คือแรงทีไ่ ด้รบั อิทธิพลจากแรงตึงผิวของของไหล
F e    L    L --------- (8.8)

โดยแบบจําลอง และต้นแบบจะมีความคล้ายคลึงกันได้นนั ้ อัตราส่วนของแรงต่างๆ ทีเ่ กิดขึน้ จะเท่ากันเสมอ


 Fi  m Fg m Fp m  F V  m  Fe  m  Fs  m
     --------- (8.9)
 Fi  P Fg P Fp P  F V  P  Fe  P  Fs  P

Dimension Analysis & Similarity ธัญดร ออกวะลา


Fluid Mechanics 8-15

8.2.2 ตัวแปรไร้มิติที่สาํ คัญต่อการวิ เคราะห์ความคล้ายคลึง (Dimensionless term in Similarity analysis)

Reynold number (Re)


Osborne Reynold ได้นําเสนอว่า หากปญั หาทีก่ าํ ลังวิเคราะห์อยูน่ นั ้ ได้รบั อิทธิพลของแรงเฉื่อย และความ
หนืดของของไหล พบว่า
 Fi  m  F V  m  Fi   Fi 
    
 Fi  P  F V  P  F V  m  F V  p
F
หากพิจารณามิตขิ อง i จะได้วา่
FV
Fi V 2 L 2 VL VL
  
FV VL  
เราจะเรียกกลุม่ ตัวแปรดังกล่าวว่า Reynold number (Re)
VL VL
Re   --------- (8.10)
 
ดังนัน้ เมือ่ นําไปใช้กบั ปญั หาทีไ่ ด้รบั อิทธิพลของแรงเฉื่อย และความหนืดของของไหล ความคล้ายคลึง
ทางด้านพลศาสตร์จะอยูใ่ นรูป
Rem  Rep --------- (8.11)

Euler number (Eu)


Leonhard Euler ได้นําเสนอว่า หากปญั หาทีก่ าํ ลังวิเคราะห์อยูน่ นั ้ ได้รบั อิทธิพลของแรงเฉื่อย และความดัน
อันเนื่องมาจากของไหล ทีก่ ระจายตัวอยูต่ ามพืน้ ผิวสัมผัสระหว่างของไหลกับวัตถุใดๆ โดยพบว่า
 Fi  m  F V  m  Fi   Fi 
    
 Fi  P  F V  P  F V  m  F V  p
F
หากพิจารณามิตขิ อง p จะได้วา่
Fi
Fp PA PL 2 P
  
Fi V L 2 2
V L 2 2
V 2
เราจะเรียกกลุม่ ตัวแปรดังกล่าวว่า Euler number (Eu)
P
Eu  --------- (8.12)
V 2
ดังนัน้ เมือ่ นําไปใช้กบั ปญั หาทีไ่ ด้รบั อิทธิพลของแรงเฉื่อย และความดันของของไหล ความคล้ายคลึง
ทางด้านพลศาสตร์จะอยูใ่ นรูป
Eum  Eup --------- (8.13)

ธัญดร ออกวะลา Dimension Analysis & Similarity


8-16 Fluid Mechanics

Froude number (FR)


William Froude ได้นําเสนอว่า หากปญั หาทีก่ าํ ลังวิเคราะห์อยูน่ นั ้ ได้รบั อิทธิพลของแรงเฉื่อย และความโน้ม
ถ่วง พบว่า
 Fi  m F g m  Fi   Fi 
      
 Fi  P F g  P  F g m  F g p
Fi
หากพิจารณามิตขิ อง จะได้วา่
Fg
Fi V 2 L 2 V2 V
  
Fg gL 3 gL gL
เราจะเรียกกลุม่ ตัวแปรดังกล่าว Froude number (FR)
V
FR  --------- (8.14)
gL
ดังนัน้ เมือ่ นําไปใช้กบั ปญั หาทีไ่ ด้รบั อิทธิพลของแรงเฉื่อย และความโน้มถ่วง ความคล้ายคลึงทางด้าน
พลศาสตร์จะอยูใ่ นรูป
FR m  FR p --------- (8.15)

Mach number (Ma)


Ernst Mach ได้นําเสนอว่า หากปญั หาทีก่ าํ ลังวิเคราะห์อยูน่ นั ้ ได้รบั อิทธิพลของแรงเฉื่อย และผลของความ
ยึดหยุน่ พบว่า
 Fi  m  F e  m  Fi   Fi 
    
 Fi  P  Fe  P  Fe  m  Fe  p
F
หากพิจารณามิตขิ อง i จะได้วา่
Fe
Fi V 2 L 2 V2 V
  
Fe C 2 L 2 C2 C
เราจะเรียกกลุม่ ตัวแปรดังกล่าว Mach number (Ma)
V
Ma  --------- (8.16)
C
ดังนัน้ เมือ่ นําไปใช้กบั ปญั หาทีไ่ ด้รบั อิทธิพลของแรงเฉื่อย และผลของความยึดหยุน่ ความคล้ายคลึงทางด้าน
พลศาสตร์จะอยูใ่ นรูป
Mam  Map --------- (8.17)

Dimension Analysis & Similarity ธัญดร ออกวะลา


Fluid Mechanics 8-17

Weber number (We)


Weber number ได้นําเสนอว่า หากปญั หาทีก่ าํ ลังวิเคราะห์อยูน่ นั ้ ได้รบั อิทธิพลของแรงเฉื่อย และแรงตึงผิว
พบว่า
 Fi  m  Fs  m  Fi   Fi 
    
 Fi  P  Fs  P  Fs  m  Fs  p
F
หากพิจารณามิตขิ อง i จะได้วา่
Fs
Fi V 2 L 2 V 2 L
 
Fs L 
เราจะเรียกกลุม่ ตัวแปรดังกล่าว Weber number (We)
V 2 L
We  --------- (8.18)

ดังนัน้ เมือ่ นําไปใช้แก้ปญั หาทีไ่ ด้รบั อิทธิพลของแรงเฉื่อย และแรงตึงผิว ความคล้ายคลึงทางด้านพลศาสตร์
จะอยูใ่ นรูป
We m  We p --------- (8.19)

นอกจากความคล้ายคลึงทัง้ 3 ประการดังทีไ่ ด้กล่าวมาแล้วนัน้ ความสัมพันธ์ของแบบจําลอง กับต้นแบบ


จะต้องสอดคล้องกับพจน์ ตวั แปรไร้มิติที่เกิ ดจากการวิ เคราะห์มิติอีกด้วย
 1 m   1 p ;  2 m   2 p ;  3 m   3 p ;...;  n m   n p --------- (8.20)

หากกล่าวโดยสรุป การแก้ปัญหาโดยใช้แบบจําลองนัน้ ต้องอาศัยความคล้ายคลึงทัง้ 3 ด้าน และหรือ


ความสัมพันธ์ของพจน์ ไร้มิติ เพื่อเป็ นตัวกลางในการเชื่อมโยงระหว่าง แบบจําลอง กับ ต้นแบบ

ธัญดร ออกวะลา Dimension Analysis & Similarity


8-18 Fluid Mechanics

8.2.3 การจัดประเภทของกรณี ศึกษา (Case study of similarity analysis)

1) การไหลผ่านท่อปิ ด (Flow through closed conduit)

รูปที่ 8.6 แรงทีเ่ กีย่ วข้องกับปรากฏการณ์ต่างๆ ของการไหผ่านท่อปิด

ปรากฏการณ์ต่างๆ ของการไหลในท่อปิด ส่วนใหญ่ได้รบั อิทธิพลจากแรงดังต่อไปนี้


- Inertia force เนื่องจากเป็ นแรงทีท่ าํ ให้มวลของของไหลเกิดการเคลื่อนที่ หรือการไหล
- Viscosity force เนื่องจากความหนืดของของไหลมีผลกระทบโดยตรงต่อความต้านทานการไหล
ของของไหลภายในทางนํ้า
- Pressure force เนื่องจากการไหลในทางนํ้าแบบปิดเป็ นการไหลทีอ่ ยูภ่ ายใต้อทิ ธิพลของความดัน
ตลอดช่วงของการไหล
- Elastic force จะมีผลก็ต่อเมือ่ ของไหลบีบอัดตัวได้

ดังนัน้ เมือ่ พิจารณาความคล้ายคลึงทางพลศาสตร์ เทอมไร่มติ ทิ ส่ี าํ คัญทีใ่ ช้ในการพิจารณาคือ


Renold number (Re) Euler number (Eu) และ Mach number (Ma)

Dimension Analysis & Similarity ธัญดร ออกวะลา


Fluid Mechanics 8-19

ตัวอย่างที่ 8.4 แบบจําลองอุโมงค์ลมถูกสร้างขึน้ ด้วยมาตราส่วน 1:30 และถูกนํามาทดสอบโดยใช้น้ําแทนอากาศ เมือ่ ทํา


การทดสอบปรากฏว่าแบบจําลองสูญเสียความดันไป 227,500 N/m2 จงคํานวณหาค่าความดันทีจ่ ะสูญเสียไปในอุโมงค์
ลมตัวต้นแบบ (กําหนดให้ air = 1.25 kg/m3 , air = 210-5 kg/m-s และ Water = 110-3 kg/m-s)

วิธที าํ พิจารณาความคล้ายคลึงทางเลขาคณิต
Lm 1
โจทย์กาํ หนดมาตราส่วน 1:30 ดังนัน้ จะได้  
L p 30
ประเภทของแบบจําลองเป็ นแบบ clossed conduit ได้รบั อิทธิพลของความหนืด ความดัน และแรงเฉื่อย

เมือ่ พิจารณาตัวแปรทีเ่ กีย่ วข้องกับความดัน ความคล้ายคลึงทางพลศาสตร์ทพ่ี จิ ารณาคือ


   
E u m  E u p   P2    P2 
 V  m  V  p
p  150 km hr   1  1
      1  --------- (1)
m  150 km hr   10  10

เมือ่ พิจารณาตัวแปรทีเ่ กีย่ วข้องกับความเร็ว คล้ายคลึงทางพลศาสตร์คอื


VL VL
R e m  R e p      
  m   p
 Vp   m L m  p 1000 1 2  10 5 8
        3  --------- (2)
 Vm   p L p  m 1.25 30 1  10 15

แทนค่า (2) ใน (1)


2
Pp 1.25  Vp  1.25  8 
2
        0.00035
Pm 1000  Vm  1000  15 
 การสูญเสียความดันในอุโมงค์ตน้ แบบมีคา่ เท่ากับ
Pp   0.000356  Pm   0.000356  227,500   80.9 N m 2 Ans

ธัญดร ออกวะลา Dimension Analysis & Similarity


8-20 Fluid Mechanics

ตัวอย่างที่ 8.5 ต้องการออกแบบเครือ่ งสูบนํ้าขนาดใหญ่ให้สามารถสูบได้ 1.5 l/s โดยใช้


ใบพัดขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 40 cm และทําให้ความดันเพิม่ ขึน้ 400 kPa ถ้าพิจารณา
สร้างแบบจําลองทีม่ เี ส้นผ่าศูนย์กลาง 8 cm จะต้องทดลองทีอ่ ตั ราการสูบเท่าใด และความ
ดันทีเ่ พิม่ ขึน้ ในแบบจําลองมีคา่ เท่าใด โดยกําหนดให้ของเหลวทีใ่ ช้ในแบบจําลองและของ
จริงคือนํ้าทีอ่ ุณหภูมเิ ดียวกัน

Lm Dm 8 1
วิธที าํ พิจารณาความคล้ายคลึงทางเลขาคณิต    
L p D p 40 5
ประเภทของแบบจําองเป็ นแบบ clossed conduit ได้รบั อิทธิพลของความหนืด ความดัน และแรงเฉื่อย
ถ้าต้องการหาอัตราการไหลควรพิจารณาจากความคล้ายคลึงทางจลศาสตร์
Q m Vm L2m  Vm   L2m   Vm   1  2
        
Q p Vp L2p  Vp   L2p   Vp   5 
V  1
Q m   m      Q p --------- (1)
V
 p   25 
เมือ่ พิจารณาตัวแปรทีเ่ กีย่ วข้องกับความเร็ว คล้ายคลึงทางพลศาสตร์คอื
VL VL
R e m  R e p      
  m   p
Vp m L m  p
   --------- (2)
Vm  p L p  m
เนื่องจากของเหลวทีใ่ ช้มคี ุณสมบัตเิ หมือนกัน ดังนัน้ m  p ; m  p
Vp L m 1 V L 5
   m  m  --------- (3)
Vm L p 5 Vp L p 1

Q m      Q p    1.5   0.3 m 3 s


5 1 1
แทนค่าใน (1) Ans
 1  25  5

เมือ่ พิจารณาตัวแปรทีเ่ กีย่ วข้องกับความดัน ความคล้ายคลึงทางพลศาสตร์คอื


   
E u m  E u p   P2    P2 
 V  m  V  p
2 2
Pm  m V   Vm   5 
2
   m   Pm     Pp     400   10,000 kPa
 V  Ans
Pp  p  Vp   p  1

Dimension Analysis & Similarity ธัญดร ออกวะลา


Fluid Mechanics 8-21

2) การไหลรอบวัตถุที่จมในของไหล หรือการเคลื่อนที่ของวัตถุผา่ นของไหล (Flow around immerse


bodies)

รูปที่ 8.7 แรงทีเ่ กีย่ วข้องกับปรากฏการณ์ต่างๆ การไหลรอบวัตถุทจ่ี มในของไหล

ปรากฏการณ์ต่างๆ ของการไหลรอบวัตถุทจ่ี มในของไหล หรือการเคลื่อนทีข่ องวัตถุทจ่ี มในของไหล


ส่วนใหญ่ได้รบั อิทธิพลจากแรงดังต่อไปนี้
- Inertia force เนื่องจากเป็ นแรงทีท่ าํ ให้มวลของของไหล หรือวัตถุเกิดการเคลื่อนที่
- Viscosity force เนื่องจากความหนืดของของไหลมีผลกระทบโดยตรงต่อแรงต้านทานบริเวณ
ผิวสัมผัสระหว่างของไหลกับวัตถุ
- Pressure force เนื่องจากความดันทีจ่ ะกระจายตัว และแปรผันอย่างต่อเนื่อง เมือ่ ของไหลไหลผ่าน
หรือสัมผัสกับพืน้ ผิวของวัตถุ
- Elastic force จะมีผลก็ต่อเมือ่ ของไหลบีบอัดตัวได้

ดังนัน้ เมือ่ พิจารณาความคล้ายคลึงทางพลศาสตร์ เทอมไร่มติ ทิ ส่ี าํ คัญทีใ่ ช้ในการพิจารณาคือ


Renold number (Re) Euler number (Eu) และ Mach number (Ma)

นอกจากนี้การทีข่ องไหลเคลื่อนทีป่ ะทะกับวัตถุ หรือวัตถุเคลื่อนทีป่ ะทะกับของไหลจะเกิดฉุด (Drag


force :FD) ทิศทางเดียวกันกับการไหล หรือสวนทางกับการเคลื่อนทีข่ องวัตถุ โดย
FD  C D  V L 
1 2 2
2 
เมือ่ CD = Drag force coefficient
ซึง่ ค่า CD เป็ นค่าสัมประสิทธิ ์ของแรงฉุด ซึง่ หากวัตถุสองชิน้ มีความคล้ายคลึงทางเลขาคณิต ค่า CD จะ
เท่ากันเสมอ ดังนัน้ CD จึงเป็ นตัวแปลทีใ่ ช้ในการเชื่อมโยงระหว่าง ต้นแบบ กับ แบบจําลอง กล่าวคือ ค่า
CD ของแบบจําลองกับต้นแบบ มีคา่ เท่ากันเพราะทัง้ สองมีความคล้ายคลึงกันทางเลขาคณิต
 F   F 
C D m  C D p   1 D2 2    1 D2 2  --------- (8.21)
2  V L m  2  V L p

ธัญดร ออกวะลา Dimension Analysis & Similarity


8-22 Fluid Mechanics

ตัวอย่างที่ 8.6 การทดสอบเกีย่ วกับแรงฉุด (Drag force) ทีเ่ กิดกับอากาศยานทีเ่ คลื่อนทีด่ ว้ ยความเร็ว 150 km/hr โดย
ใช้แบบจําลองมาตราส่วน 1:10 ทดสอบในอุโมงค์ภายใต้ความกดดัน เพือ่ ลดผลของ Compressibility จึงใช้ความเร็วลม
เท่ากับ 150 km/hr จงคํานวณความดันอากาศทีใ่ ช้ในการทดสอบ โดยสมมติให้อุณหภูมขิ องอากาศทีใ่ ช้ในการทดสอบ
เท่ากับของจริง และถ้าหากในการทดลองมีแรงฉุดเกิดขึน้ 12.5 N จงคํานวณแรงฉุดทีเ่ กิดกับกับอากาศยานของจริง
ภายใต้ความกดอากาศ 100 kPa
วิธที าํ พิจารณาความคล้ายคลึงทางเลขาคณิต
L 1
โจทย์กาํ หนดมาตราส่วน 1:10 ดังนัน้  m 
L p 10
ประเภทของแบบจําองเป็ นแบบ Flow around immerse bodies ได้รบั อิทธิพลของความหนืด ความดัน และ
แรงฉุด
พิจารณาตัวแปรทีเ่ กีย่ วข้องกับความดันได้จาก
2
 P   P  P  V 
E u m  E u p   2    2   m  m   m 
 V m  V p Pp p  Vp 
2 2
  Vm    150 km hr  
Pm  m     Pp  m    Pp  m  Pp --------- (1)
p  Vp   p  150 km hr  p
วิเคราะห์ความสัมพันธ์ของความหนาแน่นได้จาก
VL VL
R e m  R e p      
  m   p
p V  L    
  m    m    p  --------- (2)
 m  Vp   L p    m 
ของเหลวชนิดเดียวกันทีอ่ ุณหภูมเิ ท่า : m = p แทนค่าใน (2) จะได้วา่
 p  150 km hr   1  1
      1  --------- (3)
 m  150 km hr   10  10
เมือ่ พิจารณาตัวแปรทีเ่ กีย่ วข้องกับความดันดังนัน้
Pm     Pp   10   Pp   10    100   1,000 kPa
10
Ans
1
วิเคราะห์แรงฉุดจากความสัมพันธ์ของ Drag force coefficient
 C D  m   C D p
 FD   FD 
 2 2    2 2 
 V L  m  V L  p
2
1   150 km hr   10 
2 2
   Vp   Lp  
2
FD p   p       FD m        12.5 
 m   Vm   Lm   10   150 km hr   1 
 
FD p  125 N Ans

Dimension Analysis & Similarity ธัญดร ออกวะลา


Fluid Mechanics 8-23

3) การไหลที่มีผิวอิ สระ (Flow with free surface)

รูปที่ 8.8 แรงทีเ่ กีย่ วข้องกับปรากฏการณ์ต่างๆ ของการไหลผ่านทางนํ้าเปิด

ปรากฏการณ์ต่างๆ การไหลทีม่ ผี วิ อิสระ หรือการไหลในทางนํ้าเปิ ด ส่วนใหญ่ได้รบั อิทธิพลจากแรง


ดังต่อไปนี้
- Inertia force เนื่องจากเป็ นแรงทีท่ าํ ให้มวลของของไหลเกิดการเคลื่อนที่ หรือการไหล
- Gravity force เนื่องจากแรงโน้มถ่วงของโลกดึงดูดให้ของไหลเคลื่อนที่ (โดยไหลจากทีส่ งู ลงสูท่ ต่ี ่าํ )
- Surface tension force เนื่องจากการไหลมีผวิ อิสระซึง่ เป็ นส่วนทีเ่ กิดแรงตึงผิว แต่สว่ นใหญ่จะมี
อิทธิพลน้อยมาก
- Viscosity force จะมีผลก็ต่อเมือ่ พิจารณาผลของความหนืดของของไหล

ดังนัน้ เมือ่ พิจารณาความคล้ายคลึงทางพลศาสตร์ เทอมไร่มติ ทิ ส่ี าํ คัญทีใ่ ช้ในการพิจารณาคือ


Froude number (FR) Weber number (We) และ Renold number (Re) แต่โดยส่วนมากจะ
พิจารณาจาก Froude number เป็ นหลัก

ธัญดร ออกวะลา Dimension Analysis & Similarity


8-24 Fluid Mechanics

ตัวอย่างที่ 8.7 ในกระบวนการออกแบบฝายสันคมสูง 5 m กว้าง 12 m ได้ม ี


การสร้างแบบจําลองในห้องปฏิบตั กิ าร ด้วยมาตราส่วน 1:10 ซึง่ จากการ
ทดลองพบว่า เมือ่ ระดับนํ้าด้านเหนือนํ้าอยูส่ งู กว่าสันฝาย 6 cm สามารถวัด
อัตราการไหลได้ 50 l/s จงหาอัตราการไหลต่อหนึ่งหน่วยความกว้างทีจ่ ะผ่าน
ฝายทีส่ ร้างจริง

วิธที าํ พิจารณาความคล้ายคลึงทางเลขาคณิต
Lm 1 H d L 1
โจทย์กาํ หนดมาตราส่วน 1:10 ดังนัน้ จะได้    m  m  m 
L p 10 H p d p L p 10
เนื่องจากการไหลผ่านสันผ่าย ได้รบั อิทธิพลจากแรงโน้มถ่วงเป็ นหลัก ดังนัน้ ความคล้ายคลึงทางพลศาสตร์คอื

FR m  FR p   V    V 
 gL  m  gL  p
Vp L 10
การก่อสร้างจริงและแบบจําลองอยูบ่ นโลก ดังนัน้ g จะมีคา่ เท่ากัน   p 
Vm Lm 1
พิจารณาความคล้ายคลึงทางจลศาสตร์
2
Q m Vm A m  Vp  L p   10  10 
2
  Q p    2 Q m      0.05 
Q p Vp A p  Vm  L m   1  1 
Q p 15.81
Q p  15.81 cms  q p    1.32 cms m Ans
Bp 12

Dimension Analysis & Similarity ธัญดร ออกวะลา


Fluid Mechanics 8-25

ตัวอย่างที่ 8.8 ใช้แบบจําลองมาตราส่วน 1:15 ทดลองหาค่าแรงทีก่ ระทํากับตอม่อสะพานหน้าตัดสีเ่ หลีย่ มผืนผ้า กว้าง


1 m ยาว 3 m โดยผลจากการทดลองพบว่า เมือ่ กระแสนํ้ามีความเร็ว 2.4 m/s ลึก 40 cm จะเกิดแรงกระทํากับตอม่อ
จําลอง 70 N จงหาความลึกของนํ้า ความเร็วของกระแสนํ้า และแรงทีก่ ระทํากับตอม่อของจริง ในการทดลองใช้สารระ
ลายทีม่ ี ถ.พ. เท่ากับ 0.9 และมีความหนืดเท่ากับ 0.54 ×10-3 Ns/m2 ความหนืดของนํ้าเท่ากับ 0.9 ×10-3 Ns/m2

วิธที าํ พิจารณาความคล้ายคลึงทางเลขาคณิต
Lm 1
โจทย์กาํ หนดมาตราส่วน 1:25 ดังนัน้ จะได้  
L p 15
Dm Lm 1
 D p   D m   15  0.40   6 m
15
  Ans
D p L p 15 1
พิจารณาความคล้ายคลึงทางพลศาสตร์ ถึงแม้การไหลจะมีผวิ อิสระก็ตาม แต่ปญั หาข้อนี้เป็ นปญั หาทีต่ อ้ งการ
คําตอบทีเ่ กีย่ วกับ การไหลของของไหล รอบวัตถุ
ดังนัน้ เมือ่ พิจารณาตัวแปรทีเ่ กีย่ วข้องกับความเร็ว ความคล้ายคลึงทางพลศาสตร์คอื
VL VL    
R E m  R E p         m  Vm L m   p  Vp L p

  m   p  m   p 

 Vm   Lp   p   m   15  1  0.54 
             10
V  
 p   Lm   m  p   1  0.9  0.90 

V 2.4
Vp  m   0.24 m s Ans
10 10
จากสมการ Drag force coefficient  C D m  C D p
 FD   FD 
 2 2    2 2 
 V L  m  V L p
2 2
  V  L 
FD p   p    p    p   FD m
  m   Vm   L m 
2 2
 1   1   15 
           70   175 N
 0.9   10   1 
 แรงทีเ่ กิดกับตอม่อของจริง FD p  175 N Ans

ธัญดร ออกวะลา Dimension Analysis & Similarity


8-26 Fluid Mechanics

Dimension Analysis & Similarity ธัญดร ออกวะลา


Fluid Mechanics E-1

แบบฝึ กหัดบทที่ 1 9. จากรูปแผ่น plate เคลื่อนทีอ่ ยูใ่ นรางทีบ่ รรจุของไหลทีม่ คี า่


1. จงอธิบายความหมายของ Density ความหนืด เท่ากับ  จงหาขนาดของแรงฉุ ด (F) ทีท่ าํ ให้
- Density ของนํ้าบนโลกมีคา่ เท่าไร plate เคลื่อนทีด่ ว้ ยความเร็วเท่ากับ v
- Density ของนํ้าในอวกาศมีคา่ เท่าไร
2. จงอธิบายความหมายของ Specific weight
- Specific weight ของนํ้าบนโลกมีคา่ เท่าไร
- Specific weight ของนํ้าในอวกาศมีคา่ เท่าไร
3. ความหนืด คืออะไร 10. จากรูปเป็ นลักษณะของการไหลในทางนํ้าเปิด มีการ
4. จงอธิบายความหมายของ Specific gravity กระจายตัวของความเร็วเป็ นรูป parabola ความเร็วสูงสุดที่
5. กําหนดให้ความเร่งเนื่องจากแรงโน้มถ่วงของดวงจันทร์ ผิวนํ้าวัดได้ 0.4 m/s ความลึกของนํ้าเท่ากับ 2.5 m จงหา
เท่ากับ 17% ของความเร่งเนื่องจากแรงโน้มถ่วงบนโลก จง ความเค้นเฉือน () ทีเ่ กิดขึน้ บริเวณท้องนํ้า
วิเคราะห์คุณสมบัตขิ องของไหลในภาชนะ แล้วเติมคําตอบ
พร้อมทัง้ หน่วย ลงในตารางดังต่อไปนี้
5.1)

11. จากรูปเป็ นลักษณะของการไหลในทางนํ้าเปิด มีการ


กระจายตัวของความเร็วเป็ นรูป parabola ความเร็วสูงสุดที่
ผิวนํ้าวัดได้ 0.3 m/s ความลึกของนิ้เท่ากับ 3 m จงหา
ความเค้นเฉือน () ทีเ่ กิดขึน้ บริเวณท้องนํ้า

5.2)

12. จากรูปเป็ นลักษณะของการไหลในท่อ มีการกระจายตัว


ของความเร็วเป็ นรูป parabola ความเร็วสูงสุดทีก่ ง่ึ กลาง
ท่อวัดได้ 0.5 m/s เส้นผ่าศูนย์กลางท่อเท่ากับ 0.4 m จงหา
ความเค้นเฉือน () ทีเ่ กิดขึน้ บริเวณผนังท่อ

6. คุณสมบัตขิ อง Incompressible Fluid เป็ นอย่างไร


7. คุณสมบัตขิ อ้ ใดทีใ่ ช้อธิบายพฤติกรรมของของเหลวได้ดี
ทีส่ ดุ (*) 13. จากรูปเป็ นลักษณะของการไหลในท่อ มีการกระจายตัว
1) density ของความเร็วเป็ นรูป parabola ความเร็วสูงสุดทีก่ ง่ึ กลาง
2) specific weight ท่อวัดได้ 0.25 m/s เส้นผ่าศูนย์กลางท่อเท่ากับ 0.25 m จง
3) viscosity หาความเค้นเฉือน () ทีเ่ กิดขึน้ บริเวณผนังท่อ
4) specific volume
8. จงอธิบายความหมายของความหนืด (Viscosity)(*)

ธัญดร ออกวะลา Exercise


E-2 Fluid Mechanics

14. แผ่นไม้บางกว้าง 0.5 m ยาว 1 m ถูกลากด้วยแรงขนาด 1 18. ระบบเพลามีรปู ร่างและขนาดดังรูป ถ้ากระบอกเพลามีมวล


N ไปบนของเหลวชนิดหนึ่งซึง่ มีความหนา 0.5 mm. ที่ (M) 0.20 kg กําลังเคลื่อนทีล่ งในแนวดิง่ อย่างอิสระด้วย
อุณหภูม ิ 20OC เมือ่ ถูกลากด้วยแรงดังกล่าว แผ่นไม้ ความเร็วคงที่ (V) ถ้าความหนืดคิเนมาติกของนํ้ามัน ()
เคลื่อนทีด่ ว้ ยความเร็วคงที่ 0.5 m/s จงหาว่าของเหลว มีคา่ เท่ากับ 9.010-4 m2/s จงหาความเร็วของกระบอก
ดังกล่าวน่าจะเป็ นอะไร (**) เพลา (สมมติให้การกระจายตัวของความเร็วมีลกั ษณะเป็ น
เส้นตรง)

1) เมธานอล (ความหนึดสมบูรณ์ = 0.0006 kg/m/s)


2) นํ้ามันเครือ่ ง (ความหนืดสมบูรณ์ = 0.83 kg/m/s)
3) กลีเซอรีน (ความหนืดสมบูรณ์ = 1.52 kg/m/s)
4) เป็ นของเหลวชนิดอื่นทีไ่ ม่ได้ให้มา
15. ทรงกรบอกมวล m มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง D สูง H วาง 19. ระบบเพลามีรปู ร่างและขนาดดังรูป ถ้ากระบอกเพลามีมวล
(M) 2.5 kg กําลังเคลื่อนทีล่ งในแนวดิง่ อย่างอิสระด้วย
อยูบ่ นแผ่น plate กว้าง A ยาว B เคลื่อนทีล่ งมาตามพืน้
ความเร็วคงที่ (V) ในขณะทีแ่ กนเพลากําลังเคลื่อนทีข่ น้ึ
เอียงทีม่ นี ้ํามันฉาบอยู่ ดังรูป ถ้านํ้ามันมีความหนืดเท่ากับ
ด้วยความเร็ว 2 m/s ถ้าความหนืดคิเนมาติกของ
 พืน้ เอียงทํามุม  กับแนวระดับ แผ่น plate มีมวลน้อย
นํ้ามันหล่อลื่น () มีคา่ เท่ากับ 8.010-4 m2/s จงหา
มาก และทรงกระบอกเคลื่อนทีไ่ ปพร้อมกับ plate โดยไม่
ความเร็วของกระบอกเพลา (สมมติให้การกระจายตัวของ
หลุดออกจากกัน จงหาความเร็วทีท่ รงกระบอกเคลื่อนที่
ความเร็วมีลกั ษณะเป็ นเส้นตรง)

16. วัตถุมวล M กว้าง A ยาว B สูง C ไถลลงจากพืน้ เอียง


ด้วยความเร็วคงที่ V (ไม่ลม้ ) ในลักษณะดังรูป ซึง่ บนพืน้ 20. ระบบเพลามีรปู ร่างและขนาดดังรูป ถ้าความหนืดคิเน
เอียงมีน้ํามันฉาบอยู่ หากนํ้ามันมีคา่ ความหนืดเท่ากับ  มาติกของนํ้ามันหล่อลื่น () มีคา่ เท่ากับ 8.010-4 m2/s
และมีความหนาเท่ากับ d จงหาความเร็ว V ของวัตถุ จงหาขนาดของแรงบิด (T) ทีส่ ามารถทําให้แกนเพลาหมุน
ดังกล่าว (สมมติให้การกระจายตัวของความเร็วเป็ น ด้วยความเร็วรอบ 6 rad/s (สมมติให้การกระจายตัวของ
เส้นตรง) ความเร็วมีลกั ษณะเป็ นเส้นตรง)

17. วัตถุทรงกระบอก เส้นผ่าศูนย์กลาง D สูง 0.5D ถูกวางบน


พืน้ เอียงทีม่ นี ้ํามันฉาบอยูใ่ นลักษณะดังรูป วัตถุเคลื่อนทีล่ ง
ด้วยความเร็วคงที่ V ถ้าวัตถุมมี วลเท่ากับ M นํ้ามันมีความ
หนาแน่น และความหนืดคิเนมาติก เท่ากับ  และ 
ตามลําดับ ความหนาของชัน้ นํ้ามันเท่ากับ d อยากทราบ
ว่า วัตถุเคลื่อนทีด่ ว้ ยความเร็วคงที่ (V) เท่าไร

Exercise ธัญดร ออกวะลา


Fluid Mechanics E-3

แบบฝึ กหัดบทที่ 2 26. ภาชนะทรงกระบอกลอยอยูใ่ นของไหลสองชนิด ใน


21. จงอธิบายความหมาย และความแตกต่างระหว่าง ความดัน ลักษณะควํ่าดังรูป กําหนดให้ความหนาแน่นของอากาศมี
สัมบูรณ์ กับ ความดันเกจ คาน้อยมากเมือ่ เทียบกับของไหล จงความดันสัมบูรณ์และ
22. มาโนมิเตอร์เชือ่ มต่อระหว่างถังใบที่ 1 กับถังใบที่ 2 และ ความดันเกจทีจ่ ดุ ต่างๆ
ระหว่างถังใบที่ 1 กับ อากาศภายนอกในลักษณะดังรูป
ภายในถังใบที่ 1 และ 2 บรรจุ ของเหลว A ถ.พ. เท่ากับ
0.75 ในมาโนมิเตอร์ทเ่ี ชือ่ มต่อกับอากาศภายนอกบรรจุ
นํ้ามัน และ ปรอท ทีม่ คี า่ ถ.พ. เท่ากับ 0.80 และ 13.6
ตามลําดับ ถ้าความดันสัมบูรณ์ของอากาศภายนอกเท่ากับ
1.013105 Pa จงหาค่าความดันอากาศในถังใบที่ 1 และ
2 (P1 และ P2)
27. ขณะทีป่ ระตูน้ําปิด สถานะของของไหลในมาโนมิเตอร์ม ี
ลักษณะดังรูป เมือ่ ประตูน้ําเปิ ด จงหาระยะ และทิศทางการ
เคลื่อนทีข่ องฟองอากาศในมาโนมิเตอร์ โดยถือว่าขนาด
ของถังทัง้ สองใบมีขนาดใหญ่มากเมือ่ เทียบกับมาโนมิเตอร์
(นัน้ คือ ถือว่าระดับนํ้าในถังทัง้ สองไม่เปลีย่ นแปลง)

23. ถังใบที่ 1 บรรจุของเหลว A ถ.พ. เท่ากับ 1.1 และถังใบที่


2 บรรจุของเหลว B ถ.พ. เท่ากับ 0.9 ถังทัง้ สองเชือ่ มต่อ
กันด้วยมานอร์มเิ ตอร์ในลักษณะดังรูป ของเหลวทีอ่ ยูใ่ นมา
นอร์มเิ ตอร์คอื นํ้ามัน (Oil) และ ปรอท (Hg) ซึง่ มีคา่ ความ 28. ถังปิดบรรจุน้ําทีอ่ ุณหภูม ิ 20OC (นํ้าหนักจําเพาะ = 7.94
ถ่วงจําเพาะเท่ากับ 0.8 และ 13.6 ตามลําดับ ความดัน kN/m3) ตามรูป ถ้าความดันสัมบูรณ์ทจ่ี ดุ A เท่ากับ 98
อากาศภายในถังทัง้ สองมีคา่ แตกต่างกันเท่าใด กิโลปาสคาล จงหาความดันสัมบูรณ์ทจ่ี ดุ B และถ้าคํานวณ
โดยไม่คดิ นํ้าหนักจําเพาะของอากาศ(*)

29. ถังบรรจุของเหลวทีอ่ ุณหภูม ิ 20OC ถ้าความดันบรรยากาศ


เท่ากับ 101.03 kPaและความดันสัมบูรณ์ทก่ี น้ ถังเท่ากับ
24. จากรูป จงหาผลต่างของความดันระหว่างจุด A กับจุด B 231.3 kPa จงหาความถ่วงจําเพาะของนํ้ามันมะกอกโดย
(PA-PB = ?) กําหนด นํ้ามัน SAE 30 ถ.พ.= 0.89 และปรอท ถ.พ.=
13.6 (กําหนดให้น้ําหนักจําเพาะของนํ้า = 9.79 kN/m3)

25. จากรูป หากค่าความถ่วงจําเพาะของของไหล A , B และ


D มีคา่ เท่ากับ 0.8 , 1.2 และ 1.9 ตามลําดับ จงหาค่าความ
หนาแน่นของของไหล C

ธัญดร ออกวะลา Exercise


E-4 Fluid Mechanics

30. ภาชนะบรรจุของไหลสองชนิดคือ A และ B (SGB = 0.8) 34. ต้องการสูบลมยางรถยนต์ทม่ี คี วามดัน 25 Psi ให้ได้ความ
ในลักษณะดังรูป มาตรวัดความดัน P1 และ P4 เป็ นมาตร ดันเท่ากับ 30 Psi ด้วยกระบอกสูบเส้นผ่าศูนย์กลาง 40
วัดความดันสัมบูรณ์ ส่วนมาตรวัด P2 และ P3 เป็ นมาตรวัด mm จะต้องออกแรงกดกระบอกสูบอย่างน้อยเท่าไร จึงจะ
ความดันเกจ อยากทราบว่า มาตรวัด P1 P2 P3 อ่านค่าได้ สามารถสูบลมเข้าไปในยางรถยนต์ได้ และจะทราบได้
เท่าไร และ ความถ่วงจําเพาะของของไหล A มีคา่ เท่าไร อย่างไรว่าความดันภายในยางรถยนต์เท่ากับ 30 Psi

35. ต้องการยกวัตถุมวล 1 ตันด้วยระบบแม่แรงดังรูป ต้องออก


31. ภาชนะบรรจุของไหลสองชนิดคือ A และ B (SGB = 0.8)
แรง F อย่างน้อยเท่าไรจึงจะสามารถยกวัตถุได้
ในลักษณะดังรูป มาตรวัดความดัน P1 และ P4 เป็ นมาตร
วัดความดันเกจ ส่วนมาตรวัด P2 และ P3 เป็ นมาตรวัด
ความดันสัมบูรณ์ อยากทราบว่า มาตรวัด P2 P3 P4 อ่าน
ค่าได้เท่าไร และ ความถ่วงจําเพาะของของไหล A มีคา่
เท่าไร

36. ถังสองใบเส้นผ่าศูนย์กลาง 0.5 m เชือ่ มต่อกันลักษณะดัง


รูป ถังทัง้ สองใบบรรจุน้ําสูง 2.0 m ถ้าเติมนํ้ามัน ถ.พ. 0.8
ปริมาตร 0.5 m3 ลงในถังใบหนึ่ง ระดับนํ้าในถังอีกใบหนึ่ง
จะเพิม่ ขึน้ เท่าใด
32. ถังบรรจุก๊าซ และของเหลวชนิดหนึ่ง เชือ่ มต่อกับวาล์ว
และมานอร์มเิ ตอร์ลกั ษณะดังรูป ถ้าของเหลวมีความ
ถ่วงจําเพาะเท่ากับ 0.85 ความดันสัมบูรณ์ของก๊าซในถัง
เท่ากับ 105 kPa ความดันบรรยากาศภายนอกเท่ากับ 1
atm อยากทราบว่าเมือ่ เปิ ดวาล์วระดับของของเหลวในท่อ
จะมีคา่ เท่าใด (z = ?) ถ้าสมมติให้ปริมาตรนของเหลวใน
ถังมีคา่ สูงมาก
37. ถํ้าใต้น้ําแห่งหนึ่งระดับนํ้าภายในถํ้าอยูต่ ่าํ กว่าระดับนํ้า
ภายนอกถํ้า 1.0 m ถ้าความดันสัมบูรณ์ของอากาศ
ภายนอกถํ้าเท่ากับ 1.013X105 จงหาค่าความดันสัมบูรณ์
ของอากาศภายในถํ้า

33. ถังบรรจุแอลกอฮอล์ เชือ่ มต่อกับมานอร์มเิ ตอร์ในลักษณะ


ดังรูป ถ้าความบรรยากาศภายนอกเท่ากับ 1 atm มาตรวัด
ความดันเกจอ่าค่าได้ 35 kPa ความดันไอของแอลกอฮอล์
เท่ากับ 11.75 kPa จงหาค่าความสูง X และ Y (โดยก่อน 38. พิจารณาสมการกฎของก๊าซในอุดมคติ
P1 V1 P2 V2
หน้านี้ ทีจ่ ดุ A เคยมีแอลกอฮอล์อยูเ่ ต็มหลอด) PV  nRT หรือ 
T1 T2
หากนําอากาศทีผ่ วิ นํ้า ลงไปทีค่ วามลึก 20 m ปริมาตรของ
อากาศจะลดลงกีเ่ ปอร์เซ็นต์

Exercise ธัญดร ออกวะลา


Fluid Mechanics E-5

39. จงอธิบายความแตกต่างระหว่าง ความดัน กับ แรงดัน 46. ประตู AB และ CD กัน้ ระหว่างอากาศในถังกับนํ้าทีอ่ ยู่
40. เหตุใดแรงดันทีก่ ระทําบนพืน้ ทีผ่ วิ เรียบจึงมีทศิ ตัง้ ฉาก และ ภายนอก ลักษณะดังรูป ถ้าประตูทงั ้ สองบานมีขนาด 2.0 x
พุง่ เข้าหาพืน้ ผิวรับแรงเสมอ 1.0 m2 หาขนาดของความดันอากาศในถัง และระดับนํ้า
41. ประตู AOB กัน้ ระหว่างอากาศ กับของไหล ลักษณะดังรูป เหนือประตู CD (h) ทีท่ าํ ให้ประตูอยูใ่ นสภาพสมดุล
ถ้าของไหลทัง้ สองส่วนคือนํ้า ประตู AOB มีความยาว 4.0
m จุด O คือจุดหมุนของประตู จงหาขนาดของแรง F ที่
กระทําทีจ่ ดุ A ซึง่ ทําให้ประตูสามารถคงสภาพอยูไ่ ด้โดยไม่
เปิดเข้าหรือออก

47. ประตูน้ํารูปสามเหลีย่ มหนัก 2 kN มีขนาด และการติดตัง้


ในลักษณะดังรูป จงหาขนาดของแรง P ทีน่ ้อยทีส่ ดุ ทีท่ าํ
ให้ประตูน้ําเปิ ดออกพอดี
42. ประตูน้ํา ABC มีวตั ถุ W กดทับในลักษณะดังรูป หากไม่
คิดนํ้าหนักของประตูน้ํา จงหานํ้าหนักของวัตถุ W ทีน่ ้อย
ทีส่ ดุ ทีท่ าํ ให้ประตูน้ําอยูใ่ นสภาวะสมดุล

48. ประตู OA ขนาด 0.8 x 1.0 ม2 ถูกติดตัง้ ลักษณะดังรูป


โดยมีจดุ O เป็ นจุดหมุนของประตู ทางด้านเหนือนํ้า ระดับ
นํ้าอยูส่ งู กว่าจุด O เท่ากับ 0.8 ม. และมีชนั ้ นํ้ามันหนา 0.5
ม. ลอยอยูเ่ หนือผิวนํ้า ถ้านํ้ามันมีความถ่วงจําเพาะเท่ากับ
43. จงหา Center of Pressure ของแรงดันนํ้าทีก่ ระทําต่อ
0.9 จงหานํ้าหนักของประตูน้ําทีน่ ้อยทีส่ ดุ ทีท่ าํ ให้ประตูไม่
ประตูน้ํารูปสีเ่ หลีย่ มคางหมู ดังรูป กําหนดให้น้ําหน้าประตู
เปิ ดออก
ลึก 5 เมตร (***)

44. ประตู AB กัน้ ระหว่างอากาศในถังอากาศ กับนํ้าทีอ่ ยู่


ภายนอกถัง ลักษณะดังรูป ถ้าประตู AB มีขนาด 2.0 
4.0 m2 จุด A อยูล่ กึ จากผิวนํ้า 2.0 m จงหาขนาดของ 49. ประตูน้ํารูปสามเหลีย่ มมีการติดตัง้ ในลักษณะดังรูป ความ
ความดันในถังอากาศทีท่ าํ ให้ประตูสามารถคงสภาพอยูไ่ ด้ ลึกของชัน้ นํ้ามันเท่ากับ 1.0 m ความลึกของนํ้าเท่ากับ 1.0
โดยไม่เปิ ดเข้าหรือออก m ประตูน้ําจะเริม่ เปิ ดออกเมือ่ แรง F มีขนาดเท่าใด (หาก
ไม่คดิ นํ้าหนักของประตู)

45. ฝาปิดสีเหลีย่ มผืนผ้าขนาด 1.5 x 1.5 m2 ปิดกันนํ้าใน


ลักษณะดังรูป จงหานํ้าหนักของฝาทีน่ ้อยทีส่ ดุ ทีท่ าํ ให้ฝา
สามารถปิดกัน้ นํ้าไว้ได้

ธัญดร ออกวะลา Exercise


E-6 Fluid Mechanics

50. ประตูน้ํารูปวงกลม มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 1 m ถูกติดตัง้ 55. ระบบป้องกันนํ้าทะเลหนุน หากไม่คดิ นํ้าหนักของประตูน้ํา


ในลักษณะดังรูป ถ้านํ้ามันมีคา่ ความถ่วงจําเพาะเท่ากับ จงหาระดับนํ้าในแม่น้ํา (h2) ในขณะทีป่ ระตูน้ํากําลังเปิ ด
0.8 จงหาขนาดของแรง F ทีน่ ้อยทีส่ ดุ ทีป่ ้ องกันไม่ให้ ออก
ประตูน้ําบานนี้เปิ ดออก

56. ระบบประตูกนั ้ นํ้าลักษณะดังรูป ประตูจะเปิดออกอัดโนมัติ


เมือ่ ระดับนํ้ามากพอ หากไม่คดิ นํ้าหนักของประตูน้ํา จงหา
51. ประตูน้ํารูปวงกลมขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 1.0 m มีมวล ระดับทีม่ ากพอทีจ่ ะทําให้ประตูน้ําบานนี้เปิ ดออก
1,500 kg มีการติดตัง้ ในลักษณะดังรูป จงหาความลึกของ
นํ้ามันสูงสุด (h) ทีท่ าํ ให้ประตูน้ําเปิ ดออกพอดี

57. จากรูปจงหาค่า z ตํ่าสุดทีท่ าํ ให้ประตูกนั ้ นํ้ากัน้ สามารถเปิด


ออกได้ ถ้าช่องเปิด และประตูมลี กั ษณะดังนี้
ก) รูปสีเ่ หลีย่ มขนาด 2x2 m2
ข) รูปวงกลม เส้นผ่าศูนย์กลาง 2 m
52. แท่งเหล็กขนาด 1.0 x 1.0 x 0.5 m3 มีน้ําหนัก 20 kN วาง ค) รูปสามเหลีย่ ม สูง 2 m กว้าง 2 m
แนบสนิทอยูบ่ นพืน้ ก้นแทงค์ จงหาขนาดของแรง T เริม่ ต้น
ทีท่ าํ ให้แท่งเหล็กลอยจากพืน้ แทงค์ (**)

53. ระบบป้องกันนํ้าทะเลหนุน หากไม่คดิ นํ้าหนักของประตูน้ํา


จงหาอัตราส่วนระหว่างระดับนํ้าในแม่น้ําต่อระดับนํ้าทะเล
h2/h1 ในขณะทีป่ ระตูน้ํากําลังเปิดออก : 1.05

54. รางนํ้ารูปตัว V ยาวมาก ลักษณะดังรูป ยึดด้วยเชือกทุกๆ


ระยะ 0.5 m จงหาขนาดของแรงตึงในเส้นเชือก

Exercise ธัญดร ออกวะลา


Fluid Mechanics E-7

58. ประตูน้ําผิวโค้งรัศมี 2.0 m ยาว 4.0 m ถูกติดตัง้ ใน 63. ประตูน้ําบานหนึ่ง (ABC) กว้าง 4 ม. มีการติดตัง้ ใน
ลักษณะดังรูป หากระดับนํ้าด้านเหนือนํ้าลึก 3.5 m จงหา ลักษณะดังรูป ระดับนํ้าอยูส่ งู กว่าจุด A 6 ม. หากไม่คดิ
ขนาดและตําแหน่งของแรงทีก่ ระทํากบประตูน้ําโดยแยก นํ้าหนักของประตูน้ํา จงหาแรงปฏิกริ ยิ าทีก่ ระทําทีจ่ ดุ B
พิจารณาเป็ นแรงในแนวราบกับแนวดิง่

59. ประตูน้ําผิวโค้งรัศมี 2.0 m ยาว 2.5 m ถูกติดตัง้ ใน 64. ต้องการออกแบบอุโมงค์ใต้น้ําลักษณะดังรูป ซึง่ อุโมงค์
ลักษณะดังรูป หากระดับนํ้าด้านเหนือนํ้าลึก 2.0 m จงหา ดังกล่าวอยูใ่ ต้น้ําทะเลทีม่ คี วามถ่วงจําเพาะเท่ากับ 1.05 จง
ขนาดและตําแหน่งของแรงทีก่ ระทํากบประตูน้ําโดยแยก หาขนาดและตําแหน่งของแรงทีก่ ระทํากับโครงสร้างรูปโค้ง
พิจารณาเป็ นแรงในแนวราบกับแนวดิง่ โดยพิจารณาแรงต่อความยาวหนึ่งเมตร และแยกเป็ นแรง
ในแนวราบ กับ แนวดิง่ (ตําแหน่งของแรงให้ตอบเป็ น
ระยะห่างในแนวราบหรือแนวดิง่ จากจุดA) :
96.57kN/3.89m,78.2kN/1.12m

60. ประตูน้ําบานโค้ง OAB ยาว 1.0 ม. ลักษณะดังรูป ประตู


ถูกยึดไว้ดว้ ยเชือกทีจ่ ดุ B จงหาขนาดของแรงตึงเชือก (T)

65. ประตูน้ําผิวโค้งรัศมี 1.5 m ยาว 2.0 m ถูกติดตัง้ ใน


ลักษณะดังรูป จงหาขนาด และตําแหน่งของแรงดันนํ้าที่
กระทําในแนวราบและแนวดิง่ ทีก่ ระทํากับประตูน้ํา
61. ประตูน้ําบานโค้ง OAB ยาว 1.0 ม. ติดตัง้ ในลักษณะดังรูป
ประตูถกู ยึดไว้ดว้ ยเชือกทีจ่ ดุ B จงหาขนาดของแรงตึง
เชือก

66. จงหาขนาด และ ตําแหน่งของแรงดันนํ้าทีก่ ระทํากับ


ประตูน้ําบานโค้งรัศมี 1 m ยาว 4 m ทีม่ กี ารติดตัง้ ใน
ลักษณะดังรูป กําหนดให้คา่ ความถ่วงจําเพาะของนํ้ามันมี
62. จากรูปจงหาขนาดของแรง F เมือ่ ของไหลมีคา่ ความ ค่าเท่ากับ 0.8
ถ่วงจําเพาะเท่ากับ 1.2

ธัญดร ออกวะลา Exercise


E-8 Fluid Mechanics

67. จงหานํ้าหนักของทรงกระบอกเส้นผ่าศูนย์กลาง 50 mm
ยาว 50 cm ทีก่ าํ ลังลอยอยูใ่ นนํ้าลักษณะดังรูป

68. ก้อนวัตถุตนั รูปทรงเศษหนึ่งส่วนสีท่ รงกระบอก รัศมี 2 m


ยาว 4 m มีจดุ หมุนอยูท่ จ่ี ดุ A อยากทราบว่า วัตถุควรมี
นํ้าหนักเท่าไร จึงจะสามารถรักษาสมดุลไว้ได้

69. จากรูป จงหาความดันในห้องอัดอากาศ ทีท่ าํ ให้ประตูกนั ้


นํ้าเปิดออกพอดี

70. จากรูปจงหาขนาดและตําแหน่งของแรงดันนํ้าทีก่ ระทํากับ


ประตูน้ํารูปครึง่ วงกลม ABC

71. จงหาขนาด และตําแหน่งของแรงดันทีก่ ระทํากับประตูโค้ง


AB ดังรูป และหาขนาดของแรง F ทีท่ าํ ให้ประตูอยูใ่ น
สภาวะสมดุล

72. จากรูปจงหาระยะ L ทีม่ ากทีส่ ดุ ทีท่ าํ ให้ประตู ABCD นํ้า


อยูใ่ นสภาวะสมดุล

Exercise ธัญดร ออกวะลา


Fluid Mechanics E-9

73. แรงลอยตัวคืออะไร จะเกิดขึน้ เมือ่ ใด มีขนาดและทิศทาง 81. วัตถุชน้ิ หนึ่งมีคา่ ความถ่วงจําเพาะเท่ากับ 0.5 ลอยอยูใ่ น
เป็ นอย่างไร นํ้าในลักษณะดังรูป จงตรวจสอบเสถียรภาพการลอยตัว
74. ถ้านําวัตถุทรงลูกบาศก์ขนาด 1x1x1 m3 มีน้ําหนัก 4 kN ของวัตถุดงั กล่าว : ไม่เสถียรรอบแกนY
มาใส่ลงในถังบรรจุน้ํา จงหาวัตถุจะลอยอยูใ่ นนํ้าโดยมีสว่ น
ทีอ่ ยูใ่ ต้ผวิ นํ้าลึกเท่าไร (*)
75. หากนําแก้วใบหนึ่งทีม่ เี ส้นผ่านศูนย์กลางภายนอก 5 cm
สูง 10 cm ไปลอยในนํ้า ถ้าแก้วจมในนํ้า 7 cm จงหา
นํ้าหนักของแก้วใบนี้ (*)
76. กล่องเหล็ก (ถ.พ. 7.85) ลอยอยูท่ ผ่ี วิ สัมผัสระหว่างนํ้าและ
82. วัตถุรปู ทรงสีเ่ หลีย่ มขนมเปียกปูน ซึง่ มีคา่ ความ
ปรอท(ถ.พ. 13.6) ตามรูปจงหาอัตราส่วนของระยะ a ต่อ
ถ่วงจําเพาะเท่ากับ 0.6 และมีรปู ร่างลักษณะดังรูป จง
b (**)
ตรวจสอบเสถียรภาพการลอยตัวของวัตถุ เมือ่ วัตถุลอยใน
ของไหลทีม่ คี า่ ความถ่วงจําเพาะเท่ากับ 0.8

77. วัตถุทรงกระบอกเส้นผ่าศูนย์กลาง D สูง H มีคา่ ความ


ถ่วงจําเพาะ 0.8 ลอยอยูใ่ นนํ้า จงหาความสูง (H) ทีม่ าก
ทีส่ ดุ ทีท่ าํ ให้วตั ถุสามารถลอยตัวอยูไ่ ด้ในลักษณะดังรูป
83. Hydrometer หนัก 21.57x10-3 N สองอัน จุมอยูใ่ นของ
ไหลสองชนิด ชนิดแรกคือ นํ้ามัน ถ.พ. เท่ากับ 0.8 อีก
ชนิดไม่ทราบว่าเป็ นของเหลวชนิดใด ถ้าระดับปลายก้าน
แตกต่างกัน 25 cm ส่วนก้านของ Hydrometer มี
78. วัตถุชน้ิ หนึ่งกว้าง A ยาว B สูง h มีคา่ ความถ่วงจําเพาะ เส้นผ่าศูนย์กลาง 2.794 mm จงหา ถ.พ. ของเหลว
0.8 ลอยอยูใ่ นนํ้า ถ้า B > A จงหาความสูง (h) ทีม่ ากทีส่ ดุ ดังกล่าว
ทีท่ าํ ให้วตั ถุสามารถลอยตัวอยูไ่ ด้ในลักษณะดังรูป

79. วัตถุรปู ทรงตัว H หนัก 151.08 N ซึง่ ลอยอยูใ่ นนํ้าใน


ลักษณะดังรูป จงตรวจสอบเสถียรภาพการลอยตัวของวัตถุ 84. โป๊ะลอยนํ้าขนาด 5x10x3.m depth หนัก 1,500 kN ส่วนที่
ดังกล่าว (ตรวจสอบทั ่งแกน X และ Y) จมตํ่ากว่าระดับนํ้าเท่าใด (*,2.56 m)
85. แพขนาด 1.5  1.0  0.4 m3 ทําจากวัสดุทม่ี คี วาม
ถ่วงจําเพาะเท่ากับ 0.4 ลอยอยูใ่ นนํ้าโดยมีชายหนัก 70 kg
ยืนอยูก่ ง่ึ กลางด้านบนของแพในลักษณะดังรูป ถ้า
จุดศูนย์ถ่วงของชายคนนี้ (CGm) อยูส่ งู จากพืน้ 1.0 m จง
ตรวจสอบว่าแพดังกล่าวมีเสถียรภาพหรือไม่ และหากชาย
80. วัตถุทรงสีเ่ หลีย่ มมุมฉาก กว้าง a ยาว 2a สูง 4a มีคา่ คนดังกล่าวเปลีย่ นตําแหน่งมายืนทีจ่ ดุ E ความลึกของส่วน
ความถ่วงจําเพาะเท่ากับ 0.5 ถ้านําไปลอยในนํ้า วัตถุจะ ทีจ่ มนํ้าทัง้ สองด้านจะแตกต่างกันเท่าไร
ลอยอยูใ่ นลักษณะใด

ธัญดร ออกวะลา Exercise


E-10 Fluid Mechanics

86. ท่อรูปตัว U บรรจุน้ําอยูเ่ ต็มในลักษณะดังรูป จงตอบ 90. รถบรรทุกคันหนึ่ง บรรทุกถังนํ้าขนาด 2 m x 2.5 m x 4.5
คําถามต่อไปนี้ m ถังนํ้ามีชอ่ งระบายอากาศอยูด่ า้ นบน ห่างจากด้านท้าย
ก) ขณะทีท่ อ่ เคลื่อนทีใ่ นแนวราบด้วยความเร่ง 6 m/s2 จง ของถัง 0.5 m ลักษณะดังรูป อยากทราบว่า รถบรรทุก
หาผลต่างของระดับนํ้าทีป่ ลายทัง้ สองด้าน : 0.55m สามารถวิง่ ด้วยอัตราเร่งมากทีส่ ดุ เท่าใด ทีไ่ ม่ทาํ ให้น้ําล้น
ข) ถ้าปลายด้าน D ถูกปิด เมือ่ ท่อเคลื่อนทีใ่ นแนวราบด้วย ออกทางช่องระบายอากาศ
ความเร่ง 5 m/s2 จงหาความดันทีจ่ ดุ B C และ D

87. แก้วนํ้าใบหนึ่งสูง 4 cm เส้นผ่าศูนย์กลาง 2.5 cm ภายใน


บรรจุน้ําสูง 3.5 cm จงหาขนาดของความเร่งในแนวราบที่
ทําให้น้ําล้นออกจากแก้วพอดี : 3.924m/s2

88. ถังทรงกระบอกใบหนึ่ง มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 1.0 ม. สูง 91. รถคันหนึ่งบรรทุกถังขนาดรัศมี 25 cm สูง 100 cm


1.0 ม. บรรจุน้ําอยูเ่ ต็ม หากถังใบนี้เคลื่อนทีด่ ว้ ยความเร่ง หลังจากเติมนํ้าจนเต็มถัง รถคันดังกล่าวออกตัวด้วยอัตรา
ในแนวราบ 1 ม./วินาที2 จงหาปริมาตรของนํ้าทีเ่ หลืออยู่ เร่ง 2 m/s2 เป็ นเวลา 3 s จากนัน้ วิง่ ด้วยความเร็วคงที่
อยากทราบว่าในขณะทีร่ ถวิง่ ด้วยความเร็วคงทีน่ นั ้ นํ้าที่
เหลืออยูใ่ นถังมีปริมาตรเท่าไร

89. ถังนํ้ารูปสีเ่ หลีย่ มผืนผ้าใบหนึ่งสูง 1.20 m กว้าง 0.45 m 92. ถังนํ้ารูปสีเ่ หลีย่ มใบหนึ่ง มีรปู ร่างและ ลักษณะดังรูป
ยาว 1.50 m บรรจุน้ําสูง 1.0 m จงหาขนาดของความดันที่ เคลื่อนที่ ลงจาพืน้ เอียงด้วยความเร่ง a จงหาขนาดของ
จุด A B C และ D เมือ่ ความเร่ง ทีท่ าํ ให้น้ําล้นออกจาถังพอดี ความดันทีม่ ากทีส่ ดุ
- ถังเคลื่อนทีไ่ ปทางซ้ายด้วยความเร่ง 0.5g เกิดขึน้ ทีจ่ ดุ ใด และมีคา่ เท่าไร
- ถังเคลื่อนทีข่ น้ึ ในแนวดิง่ ด้วยความเร่ง 0.5g
- ถังเคลื่อนทีล่ งในแนวดิง่ ด้วยความเร่ง 0.5g

Exercise ธัญดร ออกวะลา


Fluid Mechanics E-11

แบบฝึ กหัดบทที่ 3 98. ในกระบวนการบําบัดนํ้าเสีย ต้องการแยกไขมันออกจานํ้า


M sys MCV ด้วยการผสมสารดักจับไขมันลงในนํ้าเสีย จากนัน้ จึงปล่อย
93. จากสมการ    M Out   M in ลงสูถ่ งั พักนํ้า ภายในถังพักนํ้าไขมันจะลอยขึน้ ด้านบน
t t
จงอธิบายความหมายของตัวเปรเทอมต่างๆ ส่วนนํ้าเสียทีป่ ราศจากไขมันจะจมลงสูด่ า้ นล่าง และระบาย
ทิง้ ลงสูแ่ หล่งนํ้าธรรมชาติ ในลักษณะดังรูป ถ้า ถ.พ.ของนํ้า
94. สมการการเคลื่อนย้ายของเรโนด์ กับ สมการกฎการ
เสีย สารดักจับไขมัน ไขมัน และนํ้าทิง้ มีคา่ เท่ากับ 0.95 ,
อนุรกั ษ์มวลแตกต่างกันอย่างไร
1.10 , 0.08 และ 1.00 ตามลําดับ ในการทดสอบหา
95. โรงงานแห่งหนึ่งต้องการผสมของเหลวสองชนิดคือ A กับ
ปริมาณสารดักจับไขมันทีเ่ หมาะสมพบว่า จากปริมาณนํ้า
B ทีม่ คี า่ ความถ่วงจําเพาะเท่ากับ 0.95 และ 1.20
เสียทีต่ อ้ งการบําบัด 15 l/s สามารถดักจับไขมันได้มาก
ตามลําดับ อัตราการไหลของสาร A ถูกควบคุมที่ 0.5 cms
ทีส่ ดุ ในอัตรา 1.54 l/s อยากทราบว่าจะต้องเติมสารดักจับ
หากต้องการควบคุมความถ่วงจําเพาะของสารผสม (C) ให้
ไขมันทีเ่ หมาะสมด้วยอัตราเท่าไร และมีน้ําทิง้ เกิดขึน้ ใน
มีคา่ 1.05 จงหาอัตราการไหลของสาร B (ของเหลวทัง้ สอง
อัตราเท่าไร
ชนิดอัดตัวได้น้อยมาก)

96. กล่องใบหนึ่ง มีทางนํ้าไหลเข้าออกในลักษณะดังรูป จงหา 99. ทําการผสมสารเคมี A กับ B ในถังผสมสารเคมีในลักษณะ


ทิศทาง และอัตราการไหลทีท่ างนํ้าหมายเลข 4 ดังรูป ต้องการปล่อยสารผสม (C) ออกสองทาง ด้วยอัตรา
ทีเ่ ท่ากัน ถ้าสาร A มีความถ่วงจําเพาะ 1.5 อัตราการไหล
15 l/s ส่วนสาร B มีความถ่วงจําเพาะ 0.5 อัตราการไหล 5
l/s จงหาอัตราการไหลออกของสาร C ในแต่ละทาง และ
นํ้าหนักจําเพาะของสาร C (สภาพการไหลเป็ นแบบ
Steady Flow และของไหลอัดตัวได้น้อยมาก)

97. จากรูป ถ้าเปิดนํ้าใสถังขนาด 0.50.751.5 m3 ด้วย


อัตรา 25 l/s อยากทราบว่า
- ถ้าในขณะทีเ่ ริม่ จับเวลาไม่มนี ้ําอยูใ่ นถัง จะต้องใช้
เวลานานเท่าใด ระดับนํ้าจะเพิม่ จนถึงวาล์วนํ้าที่
ทางออก 100. โรงบําบัดนํ้าเสียแห่งหนึ่งต้องการแยกไขมันออกจากนํ้า
- ถ้าต้องการไม่ให้น้ําล้นออกจากถัง จงหาความเร็ว เสียด้วยถังดักไขมัน หลังจากนํ้าเสียไหลผ่านถังดักไขมัน
ของนํ้าทีร่ ะบายทางออก เมือ่ เส้นผ่าศูนย์กลางของท่อ ทีท่ างออกสามาถวัดอัตราการไหลของนํ้าเสียได้ 4 ลิตร/
ทีท่ างออกเท่ากับ 2.5 cm วินาที ความถ่วงจําเพาะเท่ากับ 1.2 และเมือ่ เวลาผ่านไป 5
นาที ปริมาณไขมันทีด่ กั ได้เพิม่ ขึน้ 72 กิโลกรัม ความ
ถ่วงจําเพาะของไขมันเท่ากับ 0.6 ถ้าอัตราการไหลของนํ้า
เสียทีท่ างเข้ามีคา่ คงที่ จงหาอัตราการไหลและความ
หนาแน่นของนํ้าเสียก่อนเข้าถังดักไขมัน

ธัญดร ออกวะลา Exercise


E-12 Fluid Mechanics

101. หัวฉีดเส้นผ่าศูนย์กลาง 10 mm ฉีดนํ้าด้วยความเร็ว 50


m/s ลํานํ้าพุง่ กระแทก Bucket ทีเ่ คลื่อนทีด่ ว้ ยความเร็ว 5
m/s ในทิศทางเดีย่ วกันกับการพุง่ ของลํานํ้าในลักษณะดัง
รูป จงหาขนาดและทิศทางของความเร็วสัมบูรณ์ของลํานํ้า
ทีพ่ งุ่ ออกจาก Bucket

102. หัวฉีดเส้นผ่าศูนย์กลาง 10 mm ฉีดนํ้าด้วยความเร็ว 10


m/s ในขณะที่ ถังเคลื่อนทีด่ ว้ ยความเร็ว 2 m/s สวนทาง
กับการไหลของลํานํ้าในลักษณะดังรูป อยากทราบว่า เมือ่
เวลาเปลีย่ นแปลงไป 500 millisecond ปริมาตรนํ้าในถังจะ
เพิม่ ขึน้ เท่าไร

103. ทําการผสมสารเคมี A กับ B ในลักษณะดังรูป ต้องการ


ปล่อยสารผสม ออกสามทาง (C,D,E) ด้วยอัตราการไหลที่
เท่ากัน ถ้าสาร A มีความถ่วงจําเพาะ 1.5 อัตราการไหล
10 l/s ส่วนสาร B มีความถ่วงจําเพาะ 0.5 อัตราการไหล
20 l/s จงหาอัตราการไหลออกของสารผสมทีท่ างออกแต่
ละทาง และนํ้าหนักจําเพาะของสารผสม (สภาพการไหล
เป็ นแบบ Steady Flow และของไหลอัดตัวไม่ได้)

Exercise ธัญดร ออกวะลา


Fluid Mechanics E-13

แบบฝึ กหัดบทที่ 4 109. ในการทํากาลักนํ้าเพือ่ สูบนํ้าออกจากถัง โดยท่อทีม่ ี


104. จงอธิบายความหมายของ การสูญเสียพลังงานหลัก และ เส้นผ่าศูนย์กลาง 100 มม. ค่าการสูญเสียพลังงานจากปาก
การสูญเสียพลังงานรอง ท่อดูดถึงจุดสูงสุดเท่ากับ 1.2 ม. และจากจุดสูงสุดถึงปลาย
105. จงจับคูร่ ะหว่างความหมาย (ตัวเลข) กับตัวแปร (ตัวอักษร) ท่อเท่ากับ 1.5 ม. จงหาอัตราการสูบนํ้าออกจากถัง
ให้ถกู ต้อง

110. ท่อส่งนํ้าขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 150 mm ส่งนํ้าด้วยอัตรา


การไหล 62 l/s ความดันด้านเหนือนํ้าเท่ากับ 200 kPa
ผ่านท่อลดขนาด ซึง่ ลดขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางด้านท้ายนํ้า
106. ต้องการถ่ายนํ้าจากถังใบที่ 1 ไปยังถังใบที่ 2 ด้วยระบบท่อ ลงเหลือ 100 mm จงหาความดันในท่อด้านท้ายนํ้าเมือ่
ลักษณะดังรูป ถ้าขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางท่อเท่ากับ 2.5 cm 1) ไม่คดิ การสูญเสียพลังงาน
การสูญเสียพลังงานหลัก และการสูญเสียพลังงานรอง 2) การสูญเสียพลังงานมีคา่ เท่ากับ 1.5 เท่าของ เฮดพล
เป็ นไปตามทีร่ ะบุไว้ในรูป จงหาอัตราการไหลของนํ้า และ ลังงานด้านเหนือนํ้า
ความดันทีจ่ ดุ D

111. ท่อส่งนํ้าขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 150 mm ความดันด้าน


เหนือนํ้าเท่ากับ 200 kPa ผ่านท่อลดขนาด ซึง่ ลดขนาด
เส้นผ่าศูนย์กลางด้านท้ายนํ้าลงเหลือ 100 mm ความดัน
ด้านท้ายนํ้าเท่ากับ 150 kPa จงหาความอัตราการไหลเมือ่
107. ต้องการถ่ายนํ้าจากถังใบที่ 1 ไปยังถังใบที่ 2 ด้วยระบบท่อ 1) ไม่คดิ การสูญเสียพลังงาน
ลักษณะดังรูป ถ้าขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางท่อเท่ากับ 2.5 cm 2) การสูญเสียพลังงานมีคา่ เท่ากับ 1.5 เท่าของ เฮดพล
การสูญเสียพลังงานหลัก และการสูญเสียพลังงานรอง ลังงานด้านเหนือนํ้า
เป็ นไปตามทีร่ ะบุไว้ในรูป จงหาอัตราการไหลของนํ้า และ
ความดันทีจ่ ดุ D

112. ในการทํากาลักนํ้าเพือ่ สูบนํ้าจาก A ไป C โดยท่อทีม่ ี


เส้นผ่าศูนย์กลาง 5 ซม. ค่าการสูญเสียพลังงานระบุไว้ดงั
รูป จงหาอัตราการสูบนํ้าออกจากถังและความดันทีจ่ ดุ B

108. จากรูปหาการสูญเสียพลังงานมีคา่ น้อยมาก จงหาความสูง


ของระดับนํ้าในหลอดวัดความดันที่ 2 และ 3 (h2 และ h3)

ธัญดร ออกวะลา Exercise


E-14 Fluid Mechanics

113. ต้องการปล่อยนํ้าจากถังใบที่ 2 ไปยัง ถังใบที่ 1 ดังรูป ถ้า


ค่าระดับของผิวนํ้าในถังใบที่ 2 และ 1 อยูท่ ่ี +29.8 m และ
-0.5 m ตามลําดับ (วัดจากระดับอ้างอิง) ท่อ BD มีขนาด
เส้นผ่าศูนย์กลาง 2.5 cm การสูญเสียพลังงานเป็ นไปตามที่
ระบุไว้ในรูป จงหาอัตราการไหล และความดันทีจ่ ดุ C

114. ต้องการสูบนํ้าขึน้ ถังสูงด้วยอัตรา 13.25 ลิตร/วินาที โดย


ต้องการให้ระดับนํ้าในถังมากกว่า +25.0 ม. ระบบสูบนํ้ามี
การติดตัง้ ในลักษณะดังรูป กําหนดขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง
ของท่อ และ การสูญเสียพลังงานในเส้นท่อแสดงดังตาราง
จงออกแบบขนาดเครือ่ งสูบนํ้า (กําลังงานทีใ่ ช้ขบั เคลื่อนสูบ
นํ้า) โดยสมมุตใิ ห้ประสิทธิภาพเครือ่ งสูบนํ้าเท่ากับ 65 %

115. อ่างเก็บนํ้าแห่งหนึ่ง มีระดับนํ้าในอ่าง +150.0 ม. ระดับนํ้า


ท้ายเขือ่ นอยูท่ ่ี +95 ม. ปล่อยนํ้าผ่านเครือ่ งกําเนิด
กระแสไฟฟ้าด้วยอัตราการไหล 0.594 ลบ.ม. / วินาที ถ้า
เครือ่ งกําเนิดกระแสไฟฟ้ามีประสิทธิภาพ 75 % จงหา
กําลังงานทีไ่ ด้จากเครือ่ งกําเนิดกระแสไฟฟ้า กําหนดให้
ขนาดของท่อและการสูญเสียพลังงานมีคา่ ดังตาราง

Exercise ธัญดร ออกวะลา


Fluid Mechanics E-15

แบบฝึ กหัดบทที่ 5 121. ท่อฉีดนํ้าลดขนาด ฉีดนํ้าสูอ่ ากาศลักษณะดังรูป ถ้าหน้าตัด


116. ลํานํ้าถูกฉีดออกจากหัวฉีดด้วยความเร็ว 15 ม. / วินาที ที่ 1 มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางเท่ากับ 20 cm ความดัน
กระทบแผ่นวัตถุลกั ษณะดังรูป ทําให้อตั ราการไหลถูก เท่ากับ 32 kPa ความเร็วของนํ้าเท่ากับ 2 m/s และทีห่ น้า
แบ่งเป็ นสองส่วนเท่าๆ กัน จงหาขนาดและทิศทางของแรง ตัดที่ 2 ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางเท่ากับ 10 cm จงหาขนาด
ทีแ่ ผ่นวัตถุกระทํากับนํ้า และทิศทางของแรงทีใ่ ช้ยดึ ท่อให้อยูก่ บั ที่

122. ท่อลําเลียงนํ้าลดขนาดวางอยูใ่ นแนวนอนดังรูป ถ้าหน้าตัด


117. ลํานํ้าถูกฉีดออกจากหัวฉีดด้วยความเร็ว 15 m/s กระทบ
ที่ 1 มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางเท่ากับ 50 cm ความดัน
แผ่นวัตถุลกั ษณะดังรูป ทําให้อตั ราการไหลถูกแบ่งเป็ นสอง
เท่ากับ 255.06 kPa ความเร็วของนํ้าเท่ากับ 4 m/s และที่
ส่วน ในทิศทาง B มีอตั ราการไหลเป็น 0.75 เท่าของจุด A
หน้าตัดที่ 2 ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางเท่ากับ 25 cm ความ
และในทิศทาง C มีอตั ราการไหลเป็ น 0.25 เท่าของจุด A
ดันเท่ากับ 58.86 kPa จงหาขนาดและทิศทางของแรงทีใ่ ช้
จงหาขนาดและทิศทางของแรงทีแ่ ผ่นวัตถุกระทํากับนํ้า
ยึดท่อให้อยูก่ บั ที่

118. ท่องอวางอยูบ่ นพืน้ ราบ ส่งนํ้ามัน (SG = 0.88) ผ่านหน้า


ตัด A ด้วยความเร็ว 32. m/s ความดันทีห่ น้าตัด A เท่ากับ 123. ท่อฉีดนํ้าลดขนาด ฉีดนํ้าสูอ่ ากาศลักษณะดังรูป ถ้าหน้าตัด
ที่ 1 มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางเท่ากับ 20 cm ความดัน
150 kPa จงหาขนาดและทิศทางของแรงทีใ่ ช้ในการยึดท่อ
เท่ากับ 32 kPa และทีห่ น้าตัดที่ 2 ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง
ไม่ให้เคลื่อนที่ โดยสมมติให้การสูญเสียพลังงานมีคา่ น้อย
เท่ากับ 10 cm จงหาขนาด และทิศทางของแรงทีใ่ ช้ยดึ ท่อ
มาก
ให้อยูก่ บั ที่ โดยมีการสูญเสียพลังงานเท่ากับ 1.5 เท่าของ
velocity head ทีห่ น้าตัดที่ 1

119. หัวฉีดถูกยึดด้วยน๊อต 4 ตัวในลักษณะดังรูป ท่อส่งและ


ปลายหัวฉีดมีเส้นผ่าศูนย์กลางเท่ากับ 10 และ 5
เซนติเมตร ตามลําดับ ทีป่ ลายท่อส่งมีความดัน 117.72 124. ท่อลําเลียงนํ้าลดขนาดวางอยูใ่ นแนวนอนดังรูป ถ้าหน้าตัด
kPa จงหาแรงทีเ่ กิดขึน้ ในน๊ อตแต่ละตัว (โดยสมมติวา่ ที่ 1 มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางเท่ากับ 50 cm ความดัน
การสูญเสียพลังงานมีคา่ น้อยมาก) เท่ากับ 255.06 kPa ความเร็วของนํ้าเท่ากับ 4 m/s และที่
หน้าตัดที่ 2 ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางเท่ากับ 25 cm จงหา
ขนาดและทิศทางของแรงทีใ่ ช้ยดึ ท่อให้อยูก่ บั ที่ โดยมีการ
สูญเสียพลังงานเท่ากับ 1.5 เท่าของ velocity head ทีห่ น้า
ตัดที่ 1
120. หัวฉีดนํ้าถูกยึดในลักษณะดังรูป ท่อส่งและปลายหัวฉีดมี
เส้นผ่าศูนย์กลางเท่ากับ 10 และ 6 เซนติเมตร ตามลําดับ
ทีป่ ลายท่อส่งมีความดัน 50 kPa จงหาแรงทีใ่ ช้ยดึ หัวฉีด

ธัญดร ออกวะลา Exercise


E-16 Fluid Mechanics

125. จากรูป ข้องอลดขนาดลําเลียงนํ้า วางอยูใ่ นแนวราบ


ลักษณะดังรูป ทีห่ น้าตัดที่ 1 มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง
เท่ากับ 25 cm ความดันเท่ากับ 34 kPa ความเร็วของนํ้า
เท่ากับ 3 m/s และทีห่ น้าตัดที่ 2 ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง
เท่ากับ 20 cm จงหาขนาดและทิศทางของแรงทีใ่ ช้ยดึ ท่อ
ให้อยูก่ บั ที่ โดยพิจารณาการสูญเสียพลังงานระหว่างจุดทัง้
สองมีคา่ เท่ากับ 0.5 เท่าของ Velocity Head ทีห่ น้าตัดที่ 1

126. ท่อแยกติดตัง้ อยูใ่ นแนวนอนดังรูป หน้าตัดที่ 1 มี


เส้นผ่าศูนย์กลาง 50 cm ความดันเท่ากับ 58.86 kPa
ความเร็วของนํ้าเท่ากับ 5 m/s หน้าตัดที่ 2 และหน้าตัดที่ 3
นํ้าพุง่ ออกสูอ่ ากาศภายนอก ท่อแยกแบ่งนํ้าไปทางหน้าตัด
ที่ 2 เท่ากับ 80 % และหน้าตัดที่ 3 เท่ากับ 20% ถ้าขนาด
เส้นผ่าศูนย์กลางของลํานํ้าทีห่ น้าตัดที่ 2 และหน้าตัดที่ 3
เท่ากับ 30 cm และ 15 cm ตามลําดับ จงหาขนาดและ
ทิศทางของแรงทีใ่ ช้ยดึ ท่อให้อยูก่ บั ที่

127. ท่อแยกติดตัง้ อยูใ่ นแนวนอนดังรูป หน้าตัดที่ 1 มี


เส้นผ่าศูนย์กลาง 50 cm ความดันเท่ากับ 58.86 kPa ท่อ
แยกแบ่งนํ้าออกเป็ นสองทางเท่าๆ กัน (หน้าตัดที่ 2 และ
3) โดยพุง่ ออกสูอ่ ากาศภายนอก ถ้าขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง
ของลํานํ้าทีห่ น้าตัดที่ 2 และ 3 เท่ากับ 25 cm จงหาขนาด
และทิศทางของแรงทีใ่ ช้ยดึ ท่อให้อยูก่ บั ที่

Exercise ธัญดร ออกวะลา


Fluid Mechanics E-17

แบบฝึ กหัดบทที่ 6 132. จากรูป จงหากําลังงานทีใ่ ช้ในการสูบนํ้า


128. จากรูป จงหาอัตราการไหลของนํ้าในระบบท่อ

129. ระบบสูบนํ้ามีการติดตัง้ ในลักษณะดังรูป ขนาดและ 133. จากรูป จงหากําลังงานทีไ่ ด้จากกังหันนํ้า


คุณสมบัตขิ องท่อแสดงดังตาราง จงหากําลังงานของเครือ่ ง
สูบนํ้าทีใ่ ช้ในการสูบนํ้าด้วยอัตรา 88.4 l/s ถ้าประสิทธิภาพ
ของเครือ่ งสูบเท่ากับ 75 %

134. ท่อส่งนํ้าติดตัง้ อุปกรณ์วดั อัตราการไหลในลักษณะดังรูป


ถ้าระยะห่างระหว่างจุดที่ 1 กับจุดที่ 2 เท่ากับ 3.5 m.
เส้นผ่าศูนย์กลางท่อเท่ากับ 200 mm. ค่าความหยาบผิว
130. โรงไฟฟ้าพลังนํ้าแห่งหนึ่ง มีระดับนํ้าเหนือเขือ่ นอยูท่ ่ี ของท่อเท่ากับ 80 m. จงตอบคําถามต่อไปนี้
+140.0 msl ระดับนํ้าท้ายเขือ่ น +95.5 msl ติดตัง้ เครือ่ ง - ความแตกต่างของความดันระหว่างจุดที่ 1 กับจุดที่ 2
กําเนิดไฟฟ้าทีร่ ะดับ +97.2 msl ถ้าประสิทธิภาพของ มีคา่ เท่าใด (P1 – P2 = ?)
กังหันนํ้าเท่ากับ 75 % อัตราการไหลเท่ากับ 314.55 l/s - อัตราการไหลมีคา่ เท่าใด
กําหนดให้คา่ K ของอุปกรณ์ต่างๆ และคุณสมบัตขิ องท่อ
แสดงดังตาราง จงหากําลังงานทีไ่ ด้จากกังหันนํ้า

135. จากรูป ค่า k ของข้องอ 90o และวาล์ว เท่ากับ 1.5 และ


2.5 ตามลําดับ ถ้าเส้นผ่าศูนย์กลางของท่อเท่ากับ 5.0
ซม. จงคํานวณค่าความเร็วของนํ้าทีพ่ งุ่ ออกจากปลาย
131. ระบบสูบนํ้ามีการติดตัง้ ในลักษณะดังรูป จงหากําลังงาน
หัวฉีด (ค่า  ของท่อเท่ากับ 15 m)
ของเครือ่ งสูบนํ้าทีใ่ ช้ในการสูบนํ้าด้วยอัตรา 26.5 l/s ถ้า
ประสิทธิภาพของเครือ่ งสูบเท่ากับ 65 %

ธัญดร ออกวะลา Exercise


E-18 Fluid Mechanics

136. ท่อส่งนํ้าทําจากเหล็กหล่อ (Cast iron) ต่อเชือ่ มระหว่าง 140. นํ้ามันมีคา่ ความหนืด 8.14 x 10-2 N.s/m2 ความหนาแน่น
อ่างเก็บนํ้า A และ B 869 kg/m3 ไหลในท่อด้วยอัตรา 0.0142 m3/s ถ้าความดัน
- ถ้าอัตราการไหลเท่ากับ 100 l/s จงหาผลต่างของ ลดลงซึง่ เป็ นผลเนื่องมาจากความเสียดทานของการไหล
ระดับนํ้าระหว่าง A กับ B 23.94 kPa ท่อยาว 300 m จงออกแบบขนาดท่อ (**)
- ZA– ZB = 10 m จงหาอัตราการไหล 141. ถ้าต้องการจะส่งนํ้าจากถังสูง 20 m ผ่านท่อเหล็กหล่อ
ขนาด 100 mm ยาว 200 m มี friction factor = 0.02 ต่อ
กับ ท่อเหล็กหล่อขนาด 80 mm ยาว 300 m มี friction
factor = 0.025 ถ้าไม่คดิ minor loss จงหาอัตราการไหล
ในท่อ (***)
142. อ่างเก็บนํ้าสองแห่ง มีระดับนํ้าต่างกัน 1.5 m อ่างทัง้ สอง
137. จากรูป จงหาอัตราการไหล และความดันทีจ่ ดุ G เชือ่ มกันด้วยท่อ ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 30 cm ยาว 300
m จงหาอัตราทีน่ ้ําไหลจากอ่างเก็บนํ้าที่ 1 ไปอ่างที่ 2
กําหนดให้คา่ สัมประสิทธิความฝื
์ ด (f) = 0.02 ค่าสัมประ
สิทธ์ของการสูญเสียรอง (K) ทีน่ ้ําเข้าและออกจากท่อเป็ น
0.5 และ 1.0 ตามลําดับ (**)
143. ต้องการออกแบบท่อลอด เพือ่ ระบายนํ้าอัตรา 0.45 cms
อยากทราบว่าต้องใช้ทอ่ อย่างน้อยกีเ่ ส้น

138. จากรูป จงหาอัตราการไหล


144. นํ้าไหลผ่านระบบท่อจากจุด A ไปยังจุด B ตามทิศทางการ
ไหลดังแสดงในรูป คํากล่าวใดต่อไปนี้ถกู ต้อง (HL คือ
พลังงานทีส่ ญ
ู เสีย) (**)

1) HL1=HL2+ HL3+ HL4


2) HL2=HL4+ HL3
3) HL1=HL2+ HL3
145. จากรูปจงคํานวณหาอัตราการไหลของนํ้าจากอ่างที่ 1 สู่
ั ่ ว่ นสมบูรณ์ (Complete
อ่างที่ 2 เมือ่ การไหลเป็ นแบบ ปนป
turbulence) ท่อแต่ละเส้นมีคา่ ตัวประกอบความเสียดทาน
139. จงออกแบบท่อส่งนํ้าคอนกรีต ส่งนํ้าจาก A ไป B ด้วย
f = 0.01 และไม่คาํ นึงถึงการสูญเสียรอง (**)
อัตรา 50 l/s เมือ่ ระดับนํ้าที่ A และ B เท่ากับ +25.0 m
และ +5.0 m ตามลําดับ

Exercise ธัญดร ออกวะลา


Fluid Mechanics E-19

146. ระบบบ่อส่งนํ้ามีการติดตัง้ ลักษณะดังรูป ขนาดและ 149. จากรูป จงหาอัตราการไหลในท่อแต่ละเส้น


คุณสมบัตขิ องท่อแต่ละเส้นแสดงดังตาราง ถ้าการไหลเป็ น
แบบ ปนป ั ่ ว่ นสมบูรณ์ (Complete turbulence) และไม่คดิ
การสูญเสียพลังงานรอง เมือ่ อัตราการไหลในท่อเส้นที่ 1
เท่ากับ 0.63 cms จงหา

- อัตราการไหลในท่อเส้นที่ 2 และ 3
- ผลต่างของระดับนํ้าในอ่างทัง้ สอง (Z)
147. ระบบท่อส่งนํ้ามีการติดตัง้ ลักษณะดังรูป ถ้าท่อทํามาจาก
Galvanized iron เส้นผ่าศูนย์กลางและความยาวของท่อแต่
ละเส้นแสดงดังตาราง การไหลเป็ นแบบ ปนป ั ่ ว่ นสมบูรณ์
(Complete turbulence) และไม่คดิ การสูญเสียพลังงานรอง
เมือ่ อัตราการไหลในท่อเส้นที่ 1 เท่ากับ 7.5 l/s จงหา

- อัตราการไหลในท่อเส้นที่ 2 และ 3
- ผลต่างของระดับนํ้าในอ่างทัง้ สอง
148. ถังเก็บนํ้า A และ B เชือ่ มต่อกันด้วยท่อเหล็กชุบสังกะสี
(Galvanized iron) ในลักษณะดังรูป ขนาดของท่อแต่ละ
เส้นแสดงดังตาราง ถ้าการไหลเป็ นแบบ ปนป ั ่ ว่ นสมบูรณ์
(Complete turbulence) และไม่คดิ การสูญเสียพลังงานรอง
ถ้าระดับนํ้าในถังทัง้ สองต่างกัน 75 m จงหาอัตราการไหล
ในท่อแต่ละเส้น

ธัญดร ออกวะลา Exercise


E-20 Fluid Mechanics

แบบฝึ กหัดบทที่ 7
150. ต้องการออกแบบคลองส่งนํ้าลักษณะดังรูป หากอัตราการ
ไหลทีใ่ ช้ในการออกแบบเท่ากับ 200 cms และความลาดเท
ของพืน้ คลองเท่ากับ 0.0005 สัมประสิทธิความขรุ
์ ขระของ
Manning เท่ากับ 0.0125 จงคํานวณค่าความลึกของนํ้า
เมือ่ พิจารณาสภาพการไหลเป็ นแบบ Steady Uniform
Flow

151. คลองส่งนํ้าหน้าตัดรูปสีเ่ หลีย่ มคางหมู ความกว้างของท้อง


คลองเท่ากับ 1 m ความลาดชันด้านข้าง (side slope)
เท่ากับ 1 : 1 ผิวคลองมีคา่ สัมประสิทธ์ความขรุขระของ
แมนนิ่งเท่ากับ 0.01 และความลาดชันของท้องคลอง (bed
slope) เท่ากับ 0.0001 ถ้าการไหลเป็ นแบบ Steady
Uniform Flow โดยมีความลึกของนํ้าเท่ากับ 2 m จงหา
อัตราการไหลของนํ้าในคลอง

152. รางนํ้ารูปสีเ่ หลีย่ มผืนผ้ากว้าง 4 m กระแสนํ้ามีความเร็ว 1


m/s ลึก 1.5 m ถ้าต้องการลดระดับนํ้าทีห่ น้าตัด B ให้ต่าํ
กว่าทีห่ น้าตัด A 15 cm จะต้องยกระดับพืน้ รางขึน้ เท่าไร
และสามารถยกระดับ z ได้มากทีส่ ดุ เท่าใดโดยจะต้องไม่
ทําให้ระดับนํ้าทีจ่ ดุ A เปลีย่ นแปลง

153. รางนํ้ารูปสีเ่ หลีย่ มผืนผ้ากว้าง 5 m ทีจ่ ดุ A กระแสนํ้ามี


ความเร็ว 1 m/s ลึก 2.4 m ถ้าต้องการยกระดับทีจ่ ดุ B ขึน้
20 เซนติเมตร (Z = 20 cm) ระดับนํ้าทีจ่ ดุ B จะลดลง
จากเดิมเท่าไร (Y = ?) และสามารถยกระดับ z ได้
มากทีส่ ดุ เท่าทีไ่ ม่ทาํ ให้ระดับนํ้าทีจ่ ดุ A เกิดการ
เปลีย่ นแปลง

Exercise ธัญดร ออกวะลา


Fluid Mechanics E-21

แบบฝึ กหัดบทที่ 8 161. ถ้าค่ากําลังงาน (P) ทีใ่ ส่ให้กบั เครือ่ งสูบนํ้า ขึน้ อยูก่ บั ตัว
154. จงอธิบายความหมายของ มิ ติ และ หน่ วย แปรตามสมการต่อไปนี้
155. จงหามิตแิ ละหน่วยของตัวแปรต่อไปนี้ P = f( Q , D ,  ,  ,  )
แรง (F) ความเร็วเชิงมุม () ความเร็วรอบ (N) โดยที่ P = กําลังงาน (Power)
156. ข้อใดไม่ใช่ Dimensionless term(*) Q = อัตราการไหล
D = เส้นผ่าศูนย์กลางของใบพัดเครือ่ งสูบนํ้า
1) V gL 2) Vt L
 = ความเร็วรอบของเครือ่ งสูบนํ้า
3) P L2  4) t  = ความหนืดสัมบูรณ์ของของไหล
157. ตอม่อสะพานแห่งหนึ่งกว้าง a ยาว b ระดับนํ้าด้านเหนือ  = ความหนาแน่นของของไหล
นํ้า ลึก d นํ้ามีคา่ ความหนืดเท่ากับ  ความหนาแน่น จงจัดรูปตัวแปรไร้มติ ิ (Dimensionless terms)
เท่ากับ  ความเร็วของนํ้าทีไ่ หลผ่านเท่ากับ V จงหา 162. การศึกษาปรากฏการณ์ต่างๆ ทีเ่ กิดขึน้ ในขณะทีอ่ ากาศ
ความสัมพันธ์ของตัวแปรต่างๆ ทีม่ ผี ลต่อแรงกระทําที่ ยานกําลังเคลื่อนที่ ตัวแปรหลักทีต่ อ้ งการศึกษา
ตอม่อ F ในรูปพจน์ตวั แปรไร้มติ ิ ประกอบด้วย ความแตกต่างระหว่างความดันอากาศใต้ปีก
กับความดันเหนือปี ก (P) และ แรงฉุดทีเ่ กิดขึน้ กับ
อากาศยาน (FD) ซึง่ ตัวแปรทัง้ สองมีความสัมพันธ์กบั
รูปร่างของอากาศยาน (A และ B) และความเร็วของอากาศ
ยาน (u) จงวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของตัวแปรต่างๆ ในรูป
ความสัมพันธ์ของกลุ่มตัวแปรไร้มติ ิ

158. จงสร้างพจน์ตวั แปรไร้มติ ขิ องการทดลองเพือ่ หาอัตราการ


ไหลผ่านสันฝาย

163. รางนํ้ารูปสีเ่ หลีย่ มผืนผ้า กว้าง B ความลาดชันของพืน้ ราง


เท่ากับ SO กําหนดให้ความเร็วของกระแสนํ้าเท่ากับ V
ความลึกเท่ากับ Y นํ้ามีน้ําหนักจําเพาะเท่ากับ  และ
159. จงสร้างพจน์ตวั แปรไร้มติ ทิ เ่ี กีย่ วข้องกับปรากฏการณ์
Capillary rise ความหนืดของนํ้าเท่ากับ  จงวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของ
ตัวแปรทีเ่ กีย่ วข้องในรูปของความสัมพันธ์ของพจน์ตวั แปร
ไร้มติ ิ (ให้ใช้  ,  และ Y เป็ นตัวแปรซํ้า)

160. ประตูระบายนํ้ากว้าง B ยกบานสูง H ระดับ นํ้าด้านเหนือ


นํ้าลึก y1 ระดับนํ้าด้านท้ายนํ้าลึก y2 นํ้ามีคา่ ความหนืด
เท่ากับ  ความหนาแน่นเท่ากับ  อัตราการไหลลอด
บานประตูเท่ากับ Q จงหาสร้างพจน์ตวั แปรไร้มติ ทิ ่ี
เกีย่ วข้องกับการไหลลอดผ่านประตู

ธัญดร ออกวะลา Exercise


E-22 Fluid Mechanics

164. ในการทดลอง Model การไหลในทางนํ้าล้นผ่าน Spillway 170. ต้องการทดลองหาค่าแรงฉุด ทีก่ ระทํากับตอม่อสะพาน


จํานวนไร้มติ (ิ Dimensionless number) ใดในตัวเลือกที่ ทรงกระบอก เส้นผ่าศูนย์กลาง 3.00 m ด้วยแบบจําลองที่
เป็ นนัยสําคัญทีต่ อ้ งนํามาพิจารณา(*) มีเส้นผ่าศูนย์กลาง 60 cm โดยจําลองจากสภาพการไหล
1) Reynold number จริงทีค่ วามลึก 5.00 m ความเร็วของกระแสนํ้า 1.5 m/s
2) Froude number อยากทราบว่าความเร็ว และความลึกของนํ้าทีใ่ ช้ใน
3) Mach number แบบจําลองควรมีขนาดเท่าไร และถ้าสามารถตรวจวัดแรง
4) Reynold number , Froude number และ Mach ทีเ่ กิดขึน้ กับแบบจําลองได้ 43 kN จงหาแรงทีจ่ ะเกิดขึน้ กับ
number ตอม่อสะพาน (ความหนืดนํ้าเท่ากับ 0.900×10-3 N-s/m2
165. ในการทดลอง Model การเคลื่อนทีข่ องตะกอนบริเวณท้อง ในการทดลองใช้สารระลายทีม่ คี วามถ่วงจําเพาะเท่ากับ
นํ้า จํานวนไร้มติ ิ (Dimensionless number) ไดในตัวเลือก 0.8 และมีความหนืดเท่ากับ 0.504×10-3 N-s/m2)
ทีเ่ ป็ นนัยสําคัญทีต่ อ้ งนํามาพิจารณา(*)
1) Reynold number
2) Froude number
3) Mach number
4) Reynold number , Froude number และ Mach
number
166. แบบจําลองของแม่น้ําสายหนึ่งซึง่ เป็ น Distorted Model มี 171. ในการศึกษาการไหลในทางนํ้าเปิดทีม่ พี น้ื ทีห่ น้าตัดรูป
สีเ่ หลีย่ มผืนผ้ากว้าง 6 เมตร นํ้าลึก 1 เมตร ด้วยอัตราการ
scale ratio ในแนวแกน X (Xr) =1:20 และ ในแนวแกน
ไหล 2 cms โดยใช้แบบจําลองทีม่ คี วามคล้ายคลึงทางชล
Y(Yr)=1:10 ถ้าในแม่น้ําจริงมีความลาดชันท้องคลอง
ศาสตร์ ทําให้อตั ราส่วนระหว่างความลึกในแบบจําลองต่อ
เท่ากับ 0.0005 ในแบบจําลองทีจ่ ะสร้างจะต้องมีความลาด
ความลึกในทางนํ้าจริงเท่ากับ 1:10 จงหาความกว้างของ
ชันท้องคลองเท่าใด (**)
ทางนํ้า และอัตราการไหลทีใ่ ช้ในแบบจําลอง
167. การไหลในทางนํ้าเปิดมีพน้ื ทีห่ น้าตัดรูปสีเ่ หลีย่ มผืนผ้า
กว้าง 6 m นํ้าลึก 1 m ด้วยอัตราการไหล 2 m3/s ออกแบบ
172. แบบจําลองวาว์ลขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 300 mm ใช้กบั
ไหลชนิดหนึ่ง ซึง่ มีคา่ ความหนืดคิเนมาติค 1.57x10-5 m2/s
โมเดลทีม่ คี วามคล้ายคลึงด้วย Froude number ทําให้
เพือ่ ทดสอบวาว์ลของจริงขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 600 mm
อัตราส่วนของอัตราการไหลเท่ากับ 1:1,000 จงหาความลึก
ซึง่ ใช้กบั ของไหลทีม่ คี า่ ความหนืดคิเนมาติค 9.96x10-7
ของนํ้าในโมเดล (**)
m2/s ไหลด้วยความเร็วตํ่าสุดที่ 1 m/s ความเร็วสูงสุดที่
168. แบบจําลองของการไหลในทางนํ้าเปิด ซึง่ มีสดั ส่วนความ
2.5 m/s จงคํานวณหาอัตราการไหลสูงสุดในแบบจําลอง(*)
ยาวในแบบจําลองต่อของจริงเรียกว่า scale ratio (Lm/Lp)มี
ค่าเท่ากันในทุกๆทิศทาง คือ 1:10 แล้ว ถ้าต้องการทราบ
173. ระบบประปาต้องการเครือ่ งสูบนํ้าทีม่ กี าํ ลัง 61440 watt
แบบจําลองระบบประปามีอตั ราส่วนความยาวเท่ากับ 8:1
สัดส่วนของพืน้ ทีห่ น้าตัดของการไหลของแบบจําลองต่อ
และอัตราส่วนความเร็วเท่ากับ 2:1 จงหากําลังทีเ่ ครือ่ งสูบ
ของจริง(Am/Ap)จะมีคา่ เป็ นเท่าใด(*)
นํ้าของแบบจําลองต้องการ กําหนดให้ของไหลทีใ่ ช้ใน
169. ต้องการออกแบบเรือทีม่ คี วามเร็ว 12 m/s เมือ่ แล่นในนํ้า
แบบจําลองและของไหลจริงเป็ นชนิดเดียวกัน (***)
ทะเลอุณหภูม ิ 10OC หุน่ จําลองของเรือดํานํ้ามีมาตราส่วน
1:25 ถูกนํามาทดสอบในห้องทดลองด้วยนํ้าทะเลที่
174. กําลังทีใ่ ช้ขบั เครือ่ งสูบแบบ Axial Flow ขึน้ อยูก่ บั ความ
หนาแน่นของของเหลว ความเร็วเชิงมุมของการหมุนเส้น
อุณหภูม ิ 20OC จงหาความเร็วทีใ่ ช้ในการทดสอบด้วย
ผ่านศูนย์กลางของ Rotor เฮดของพลังงาน และอัตราการ
แบบจําลอง และถ้าหากแรงต้านทีเ่ กิดขึน้ กับเรือจําลอง
สูบ ถ้าเครือ่ งสูบ มีกาํ ลัง 50 kW หมุนด้วยความเร็ว 400
เท่ากับ 3.65 N จงหาแรงต้านทีเ่ กิดขึน้ กับเรือต้นแบบ
r/min จงคํานวณหาอัตราการสูบจริง เมือ่ แบบจําลองที่
สร้างขึน้ มีกาํ ลัง 5 kW อัตราการสูบ 5 l/s พลังงาน 2 m
ความเร็ว 900 r/min และเส้นผ่านศูนย์กลางของ Rotor =
800 mm (**)

Exercise ธัญดร ออกวะลา


Fluid Mechanics E-23

175. ถ้าในการทดสอบแบบจําลองของระบบชลศาสตร์ ทีม่ ี


อัตราส่วน 1:10 ปรากฏว่า มีความคล้ายคลึงกันของ
Reynolds number และ Froude number ทัง้ ใน
แบบจําลอง และระบบของจริง จงหาอัตราส่วนของความ
หนืดจลน์ของของเหลวในแบบจําลองต่อความหนืดจลน์
ของของเหลวในระบบจริง
176. จากโจทย์ขอ้ 154 ทําการทดสอบโดยใช้แบบจําลองทีม่ ี
ความกว้างของปีกเท่ากับ 4.0 m ลําตัวยาว 4.4 m ใน
อุโมงค์ลมทีป่ รับความดันจนกระทังความหนาแน่่ นอากาศมี
ค่าเป็ น 5 เท่าของทีเ่ พดานบิน ถ้าต้องการจําลอง
สถานการณ์จริงทีค่ วามเร็ว 350 km/hr ความเร็วลมทีใ่ ช้
ทดสอบควรมีคา่ เท่าใด และถ้าในการทดสอบผลต่าง
ระหว่างความดันใต้ปีกกับเหนือปี กเท่ากับ 51.2 kPa และ
แรงฉุดทีว่ ดั ได้เท่ากับ 11.36 kN จงหาขนาดของผลต่าง
ระหว่างความดันใต้ปีกกับเหนือปี ก และ แรงฉุ ดทีเ่ กิดกับ
อากาศยานจริง โดยอากาศยานจริงมีลาํ ตัวยาว 70.4 m
สมมุตใิ ห้อากาศทีใ่ ช้ในแบบจําลองมีความหนืดเท่ากับที่
เพดานบิน
177. การออกแบบทางระบายนํ้าล้นของเขือ่ นแห่งหนึ่ง ต้องการ
ออกแบบให้สามารถระบายปริมาณนํ้าได้สงู สุด 150 m3/s
แต่ในการศึกษาด้วยแบบจําลองตัง้ ค่าอัตราการไหลไว้ท่ี
0.474 m3/s จงหา
- สมาตราส่วนทีต่ อ้ งใช้เพือ่ ให้ของจริงกับแบบจําลองมี
ความคล้ายคลึงกัน
- ถ้าแบบจําลองเกิดแรงทีก่ ระทําต่ออาคาร 20 N จงหา
แรงทีเ่ กิดขึน้ กับของจริง
- ถ้าในแบบจําลองเกิดการกัดเซาะด้านท้ายอาคารเมือ่
เวลาผ่านไป 30 นาที การกัดเซาะจะเกิดขึน้ กับของ
จริงเมือ่ เวลาผ่านไปเท่าใด
--------------------------------------------------------------------------

ธัญดร ออกวะลา Exercise


E-24 Fluid Mechanics

Exercise ธัญดร ออกวะลา


Fluid Mechanics R-1

เอกสารอ้างอิง

1) Ven Te Chow, Open-channel Hydraulics, McGraw-Hill Inc., 1973

2) สันติ ทองพํานัก, เอกสารประกอบการสอน วิชา การไหลในทางนํ้าเปิด, ภาควิชาวิศวกรรมชลประทาน


คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกําแพงแสน, 1991

3) Bruce R. Munson, Donald F. Young, and Theodore H. Okiishi, Fundamentals of fluid mechanics,
2 nd. Ed., Jhon Wiley & Sons Inc., 1994

4) Ranald V. Giles, Jack B. Evett, and Cheng Liu, Schaum’s Outline of Theory and Problems of
Fluid Mechanics and Hydraulics, 3 rd. Ed., McGraw-Hill Inc., 1994

5) Joseph B. Franzini & E. John Finnemore, Fluid Mechanics, 9 th. Ed., McGraw-Hill Inc., 1997

6) สุนนั ท์ ศรัณยนิตย์, กลศาสตร์ของไหล, สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี(ไทย-ญีป่ นุ่ ), 1999

7) นิมติ เฉิดฉันท์พพิ ฒ
ั น์, เอกสารประกอบการสอน วิชา กลศาสตร์ของไหล, ภาควิชาวิศวกรรมชลประทาน
คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกําแพงแสน, 2000

8) Larry W. Mays, Water Resources Engineering, 1 st. Ed., Jhon Wiley & Sons Inc., 2001

9) กีรติ ลีวจั นกุล, ชลศาสตร์, ซีเอ็ดยูเคชัน,่ 2001

10) Jack B. Evett, and Cheng Liu (ผูแ้ ต่ง), นิตยา หวังวงศ์วโิ รจน์ (แปลและเรียบเรียง), โจทย์ 2500 ข้อ
กลศาสตร์ของไหล,สํานักพิมพ์ทอ้ ป, 2004

ธัญดร ออกวะลา References


R-2 Fluid Mechanics

References ธัญดร ออกวะลา


Fluid Mechanics A-1

Appendix

ธัญดร ออกวะลา Appendix


A-2 Fluid Mechanics

ตาราง A1 คุณสมบัตขิ องนํ้าทีอ่ ุณหภูมติ ่างๆ

ตาราง A2 คุณสมบัตขิ องของเหลวชนิดต่างๆ ทีค่ วามดัน 1 บรรยากาศ อุณหภูม ิ 20 oC

ตาราง A3 คุณสมบัตขิ องก๊าสชนิดต่างๆ ทีค่ วามดัน 1 บรรยากาศ อุณหภูม ิ 20 oC

Appendix ธัญดร ออกวะลา


Fluid Mechanics A-3

ตาราง A4 คุณสมบัตขิ องอากาศ ทีค่ วามดัน 1 บรรยากาศ

ตาราง A5 คุณสมบัตขิ องอากาศ และความดันสัมบูรณ์ ทีร่ ะดับความสูงต่างๆ

ธัญดร ออกวะลา Appendix


A-4 Fluid Mechanics

ตาราง A6 ความหนาแน่นของอากาศทีร่ ะดับความสูง และอุณหภูมติ ่างๆ

Appendix ธัญดร ออกวะลา


Fluid Mechanics A-5

ตาราง A7 ความหนาแน่นของอากาศทีค่ วามดัน และอุณหภูมติ ่างๆ

ตาราง A8 สัมประสิทธิ ์ความหยาบผิวของวัสดุชนิดต่างๆ

ธัญดร ออกวะลา Appendix


A-6 Fluid Mechanics

ตาราง A9 สัมประสิทธิ ์การสูญเสียพลังงานรองของอุปกรณ์ชนิดต่างๆ

Appendix ธัญดร ออกวะลา


Fluid Mechanics A-7

ตาราง A10 ค่าสัมประสิทธิ ์ความขรุขระของ Manning (Manning’s roughness coefficient)

ธัญดร ออกวะลา Appendix


A-8 Fluid Mechanics

รูปที่ A1 ตําแหน่งของจุด centroid และการหาค่า Moment of inertia ของรูปทรงเลขาคิณต่างๆ

Appendix ธัญดร ออกวะลา


Fluid Mechanics A-9

รูปที่ A2 Moody Diagram

ธัญดร ออกวะลา Appendix

You might also like