Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 84

| ส ารจ ากนายกสมาคมฯ |

> ISSUE 19 / jUnE - jUly 2014

‘Best Monochrome Pictorial Photo’


ผลการประกวดภาพถ่ายชิงรางวัล ‘รังสรรค์ ตันติวงศ์’ ครั้งที่ 1

| European Designed Thai Architecture : สถาปัตยกรรมไทยในกลิ่นอายยุโรป | RPST Photo Trip : ศิริราช |


R P S T | 1
| Driven By The Heart - ‘Pahparn’ Sirima Chaipreechawit : แรงขับเคลื่อนของหัวใจ - ‘ผ้าป่าน’ สิริมา ไชยปรีชาวิทย์์ |
| ส ารจ ากนายกสมาคมฯ |

นิติกร กรัยวิเชียร
นายกสมาคมถ่ายภาพแห่งประเทศไทย คณะกรรมการบริ ห ารสมาคมถ่ า ยภาพ
ในพระบรมราชูปถัมภ์ แห่ ง ประเทศไทย ในพระบรมราชู ป ถั ม ภ์

Mr. Nitikorn Kraivixien นายกสมาคมฯ


President of The Royal นายนิติกร กรัยวิเชียร
Photographic Society of Thailand
อุปนายก
นายกนก สุริยสัตย์
เมื่อวันอาทิตย์ที่ 27 เมษายนที่ผ่านมา ได้มีการประชุมใหญ่สามัญ ผศ.สรรเสริญ มิลินทสูต
ประจ�ำปี 2557 ของสมาคมถ่ายภาพแห่งประเทศไทย ในพระบรม นายสุรินทร์ บัญญัติปิยพจน์
ราชู ป ถั ม ภ์ ขึ้ น ที่ ห อศิ ล ปวั ฒ นธรรมแห่ ง กรุ ง เทพมหานคร ในงาน
ดังกล่าวมีสมาชิกอาวุโสของสมาคมฯ ตั้งแต่รุ่นบุกเบิกจนถึงปัจจุบัน เลขาธิการและนายพัสดุ
มาประชุมกันอย่างคับคัง่ ซึง่ คณะกรรมการบริหารสมาคมฯ ได้รายงาน นายธัชชะ รัตนศักดิ์
ผลการด�ำเนินงานประจ�ำปี และแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับบรรดา
สมาชิก อันจะเป็นประโยชน์อย่างยิง่ ส�ำหรับการด�ำเนินงานของสมาคมฯ กรรมการและเหรัญญิก
ในรอบปีต่อไป
ส� ำ หรั บ กิ จ กรรมของสมาคมฯ ในช่ ว งนี้ เ ห็ น จะไม่ มี กิ จ กรรมใด นายสมศักดิ์ อัศวธีรากุล
เด่นไปกว่าการประกวดภาพถ่ายชิงรางวัล อาจารย์รงั สรรค์ ตันติวงศ์ เป็น
แน่ ท่านสมาชิกที่ชื่นชอบภาพขาวด�ำ หรือเรียกแบบวิชาการว่า ‘ภาพ กรรมการและนายทะเบียน
เอกรงค์’ คงจะได้ชนื่ ชมกับภาพหน้าปกของนิตยสาร RPST ฉบับทีท่ า่ น นายวราณ สุวรรณโณ
ก�ำลังถืออยู่นี้ ภาพดังกล่าวมีชื่อว่า ‘ตลาดนัดวันเสาร์’ เป็นผลงานของ
คุณจามิกร ศรีค�ำ ซึ่งได้รับรางวัลชนะเลิศ การประกวดภาพเอกรงค์ กรรมการ
ชิงรางวัล ‘อาจารย์รังสรรค์ ตันติวงศ์’ ครั้งที่ 1 จัดโดยสมาคมถ่ายภาพ นายขจร พีรกิจ
แห่ ง ประเทศไทย ในพระบรมราชู ป ถั ม ภ์ ซึ่ ง เป็ น อี ก 1 กิ จ กรรม นายจุฬวิศว์ ศานติพงศ์
ที่สมาคมฯ จัดขึ้น โดยจะจัดเป็นประจ�ำทุกปีนับจากปีนี้เป็นต้นไป นายโอมพัฒน์ ฮึงสกุล
นอกเหนือจากกิจกรรมดีๆ ที่มีอยู่แล้วก่อนหน้านี้ นายตุลย์ หิรัญญลาวัลย์
นายพลัฏฐ์ ไชยพิทักษ์กูล
นางอุมาวร (หุตะเจริญ) วินด์เซอร์-ไคลฟ์
On April 27th 2014, the 2014 Royal Photographic Society นางสาวอุรชา จักรคชาพล
Thailand’s annual national meeting was held at the Bangkok Art & นายชฤต ภู่ศิริ
Culture Centre and honourable members from the beginning of the
association and the most recent members were there to discuss สถานที่ติดต่อ
a variety of issues in order to allow the association to operate at วันอังคาร - อาทิตย์ (หยุดวันจันทร์)
its maximum potential. As for the association’s recent activities, เวลา 11.00 - 18.00 น.
nothing could beat the 1st Annual Photographing Competition; เลขที่ 207 ชั้น 2
‘Rangsan Tantiwong’ Award, which will now become a yearly หอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร
event after this year’s huge success. I would like to congratulate 939 ถนนพระราม 1
Khun Jamikorn Srikum’s, the first place winner whose photograph แขวงวังใหม่ เขตปทุมวัน 10330
‘Saturday Market’ is on the cover of this very issue. โทรศัพท์ : 09 1115 7585
Email : rpst.info@gmail.com
www.rpst.or.th

R P S T | 3
| E D I T O R’ S N O T E |

เพือ่ นสนิทของความทรงจ�ำ
Memory’s Best Friend
ผ้าป่าน - สิรมิ า ไชยปรีชาวิทย์ ถ่ายทอดความรูส้ กึ ถึงกล้องตัวโปรดของเธอไว้ ภาพปก: คุณจามิกร ศรีคำ�
ในช่วงหนึง่ ของบทสัมภาษณ์วา่ “เราใช้กล้องตัวเดียวมาตัง้ แต่แรก จนรูส้ กึ เหมือน ภาพถ่ายรางวัลชนะเลิศ การประกวดภาพถ่าย
เพือ่ นสนิท” ซึง่ ช่างภาพหลายต่อหลายคนทีผ่ มรูจ้ กั ก็ปฏิบตั กิ บั กล้องของพวกเขา ชิงรางวัล ‘อาจารย ร์ ังสรรค์ ตันติวงศ์’ ครั้งที่ 1
ไม่ต่างจากสิ่งที่ช่างภาพสาวรู้สึก เชื่อว่าเมื่อพลิกไปดูภาพถ่ายของเจ้าตัวใน
Feature Interview ผูอ้ า่ นคงพอจินตนาการได้ถงึ ระดับความสนิทระหว่างคนถ่าย RPST TEAM
และเครื่องมือได้เป็นอย่างดี บรรณาธิการที่ปรึกษา
แรกเริม่ ของการเป็นช่างภาพ กล้องอาจเป็นเพียงอุปกรณ์บนั ทึกเหตุการณ์ นายนิติกร กรัยวิเชียร
แต่เมือ่ วันทีห่ ลักไมล์แห่งประสบการณ์มากขึน้ โดยเฉพาะเมือ่ การถ่ายภาพกลายเป็น นายธัชชะ รัตนศักดิ์
กิจกรรมที่เข้ากับจังหวะชีวิต บทบาทของมันย่อมพัฒนาความส�ำคัญมากขึ้น เจ้าหน้าที่ประสานงาน
จนเทียบได้กบั เพือ่ นสนิททีค่ อยบันทึกภาพจ�ำ ให้นกึ ถึงวันเวลาและสิง่ ทีเ่ กิดขึน้ สรยา คงรักษา, ปิยาภรณ์ ขาวเขียว
ณ​ช่วงเวลาหนึ่ง กรรมการผู้จัดการ
ข้ อแนะน�ำไม่ซับซ้อนของการเริ่มต้นซึ่งจะช่วยให้คุณมีโอกาสก้าวไปสู่การ มร.ฟิลลิป ฮอลล์
เป็นช่างภาพที่ดี นั่นคือ ถ่าย ถ่าย และ ถ่าย หากค�ำเชียร์ของผมไม่มีน�้ำหนัก บรรณาธิการ
มากพอ ขออ้างถึงค�ำกล่าวของช่างภาพแถวหน้าของโลกอย่าง Elliott Erwitt ทีว่ า่ ธนวัฒน์ ช่างสาร
“ไ ม่มีอะไรเกิดขึ้นถ้าคุณมัวนั่งอยู่แต่ในบ้าน ผมถึงได้สะพายกล้องไว้แนบกาย กองบรรณาธิการ
ตลอดเวลา ผมแค่ถ่ายภาพอะไรก็แล้วแต่ที่ผมสนใจในเสี้ยววินาทีนั้น” ดนัย ฮันตระกูล, ดวงทิพย์ ลีนุตพงษ์,
พรทิพย์ เพ็ญสมบุญ, อดุล แวงมล
เริ่มคันมืออยากออกไปกดชัตเตอร์บ้างแล้วใช่ไหมครับ
หัวหน้าศิลปกรรม
ปริญญ ปรังพันธ์
“I’ve been using the same camera since the very first time I learned ศิลปกรรม
how to take a photo. Now, I feel like my camera is my best friend,” อัษฎาวุธ เสาวภาคสุนทร
Phapan Sirima Chaiprechawit told me. ช่างภาพ
I’m sure that many photographers have the same feeling towards สุเมธา เพ็ชรอินทร์
their equipment. They treat their cameras like their best friends, the ผู้จัดการฝ่ายจัดจ�ำหน่ายและสมาชิกสัมพันธ์
same way Phapan does, and I’m sure that once you see her photos วสุวัส ค�ำหอมกุล
in this month’s Features Interview you will sense the bond between ฝ่ายโฆษณาและการตลาด
พราวรวี โตวิจิตร์สิน
Phapan and her camera.
Most photographers when they start, their camera is just a tool to ฝ่ายบัญชีและกฎหมาย
บริษัท แท็กซ์ เซฟวิ่ง เมเนจเมนท์ จ�ำกัด
record the events which happen in their lives. But as they gain more 0 2652 1324
experience - and when photography becomes a part of their life - then ผู้พิมพ์ผู้โฆษณา
the camera will turn into their best friend who helps them to remember พนิดา เค ฮอลล์
each moment.
My simple advice for those who want to be a better photographer is
จัดท�ำโดย
to just go out and take photos. I want to quote a sentence from world บริษัท พันช์ มีเดีย (ประเทศไทย) จ�ำกัด
famous photographer, Elliott Erwitt: “Nothing will happen if you just stay ส�ำนักงานชั้น 8 อาคารพีบีทาวเวอร์
at home. That’s why I always have my camera with me all the time, so เลขที่ 1000/25 ถนนสุขุมวิท 71
I can take any photos I want at any moment”. แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. 10110
โทร. 0 2713 3970 โทรสาร 0 2713 3979
Now, let’s go out and take some photos.
บริ ษั ท พั น ช์ มี เ ดี ย (ประเทศไทย) จ� ำ กั ด ขอสงวนลิ ข สิ ท ธิ์ ใ นการจั ด พิ ม พ์
หรื อ ท� ำ ซ�้ ำ นิ ต ยสารฉบั บ นี้ ข้ อ เขี ย น รู ป ภาพ และบทความทั้ ง หมดในนิ ต ยสาร
ฉบั บ นี้ เป็ น ความคิ ด เห็ น และมุ ม มองของผู ้ เ ขี ย นโดยตรง ไม่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ
ธ น วั ฒ น์ ช่ า ง ส า ร บริษัท พันช์ มีเดีย (ประเทศไทย) จ�ำกัด และ สมาคมถ่ายภาพแห่งประเทศไทย
ในพระบรมราชูปถัมภ์

4 | R P S T
7 7 Series 2014 Photobook

ิพย์ม
ณ ี
By 7 Photographers

อุดม
วิทย์
ชําน
ิท ร โก
ถาว

ิจ ป์ กิจ
วยก ุ่งศริ
ิศิล ูกุล
งไ กร ไ น์ ร ู มน
เกรีย สุทัศ มน

ร้อ ม งษ์
์ กรีพ ต ์ วีระพ
าร ราน
ณิก สงก

ร่วมแบ่งปันแรงบันดาลใจในการถ่ายภาพ กับสุดยอดช่างภาพ ส�ำหรับช่างภาพทัง้ 7 ประกอบด้วย คุณช�ำนิ ทิพย์มณี ศิลปิน


ชัน้ น�ำ ซึง่ ให้เกียรติมาถ่ายทอดมุมมองในการถ่ายภาพด้วยกล้อง ช่างภาพมือเก๋าทีส่ ดุ คนหนึง่ ในเมืองไทย, คุณเกรียงไกร ไวยกิจ
Sony A7 Series ทีส่ ะท้อนสไตล์อนั เป็นเอกลักษณ์ของแต่ละท่าน ช่างภาพผูบ้ นั ทึกภาพส�ำคัญในพระราชพิธรี ะดับประวัตศิ าสตร์
เพื่อน�ำมารวบรวมไว้ในสมุดภาพ ‘7 : 7 Series 2014 ของประเทศ, คุณมนู มนูกลุ กิจ ช่างภาพแถวหน้าของเมืองไทย
Photobook By 7 Photographers’ ซึ่งเป็นโฟโต้บุ๊คที่โซนี่ ซึง่ โดดเด่นในสไตล์การถ่ายภาพแบบ Still Life, คุณณิการ์ กรีพร้อม
จัดท�ำขึ้นพิเศษในรูปแบบ Limited Edition ด้วยหวังว่าจะ 1 ใน 4 ช่างภาพหญิงที่ได้รับคะแนนโหวตให้เป็น The New
สามารถจุดประกายแรงบันดาลใจ และขับเคลื่อนพลังทาง Comer Female Photographers of South East Asia,
ความคิดสร้างสรรค์ให้กับผู้ที่หลงใหลการถ่ายภาพทุกท่านได้ คุณถาวร โกอุดมวิทย์ ศิลปินชัน้ ครูผมู้ ผี ลงานภาพถ่ายอันเป็น
เป็นอย่างดี ทั้งนี้ ส่วนหนึ่งของโฟโต้บุ๊คที่จัดพิมพ์ขึ้น โซนี่จะ เอกลักษณ์, คุณสงกรานต์ วีระพงษ์ ช่างภาพเจ้าของฉายา
ท�ำการมอบให้กับสถานศึกษาเพื่อเป็นหนึ่งในแรงกระตุ้นให้ 13 Maysa และ คุณสุทัศน์ รุ่งศิริศิลป์ 1 ใน 50 ช่างภาพบันทึก
กับเหล่าช่างภาพในอนาคตต่อไปอีกด้วย แผ่นดินทองฉลองกาญจนาภิเษก
ชํานิ ทิพย์มณี

ณิการ์ กรีพร้อม

สงกรานต์ วีระพงษ์

ภาพผลงานบางส่วนจากช่างภาพชั้นน�ำที่มาร่วมถ่ายทอดมุมมองในการถ่ายภาพ
ผ่านสมุดภาพ '7 ; 7 Series 2014 Photobook By 7 Photographers' เกรียงไกร ไวยกิจ

ส�ำหรับผูส้ นใจรับชมผลงานภาพถ่ายจากช่างภาพทัง้ 7 ท่าน สามารถติดตามได้ทงั้ ในรูปแบบโฟโต้บคุ๊ ทีจ่ ดั พิมพ์ รวมทัง้ การ


จัดแสดงในรูปแบบนิทรรศการที่จัดขึ้น ณ Sony Store สาขาสยามพารากอน ตั้งแต่เดือนกรกฎาคม 2557 เป็นต้นไป
ติดตามรายละเอียดเพิ่มเติม www.sony.co.th
CONTENTS
RPST # 19

P. 12

P. 20

012 SOCIETY

020 NEWSPAPER

028 mind metters


good morning teacher
P. 34
อรุณสวัสดิ์วันใหม่ของชีวิต

030 timeline
ภาพจากเบื้องหลังชีวิต... ช่างภาพสารคดี

034 Story Teller


Annual Photographing Competition The ‘Rangsan Tantiwong’ Award
ผลการประกวดภาพถ่ายชิงรางวัล ‘อาจารย์รังสรรค์ ตันติวงศ์’ ครั้งที่ 1

‘Hot’ Photographing Competition


การแข่งขันถ่ายภาพ RPST One Shot Knockout # 21st ‘ร้อน’
R P S T | 9
CONTENTS
RPST # 19

P. 46

P. 56

P.10 P. 74

046 SPECIAL FEATURE


European Designed Thai Architecture
สถาปัตยกรรมไทยกลิ่นอายยุโรป

056 FEATURE INTERVIEW


driven by the heart : pahparn - Sirima Chaipreechawit
แรงขับเคลื่อนของหัวใจ : ผ้าป่าน - สิริมา ไชยปรีชาวิทย์

074 RPST PHOTO TRIP


เก็บภาพประทับใจ... สองฝั่งเจ้าพระยา
R P S T | 11
| S O C I E T Y |

การประชุมใหญ่สามัญประจำ�ปี 2557
สมาคมถ่ายภาพแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ ได้จัดการประชุมใหญ่สามัญประจ�ำปี 2557
เมื่อวันอาทิตย์ที่ 27 เมษายน 2557 ที่ผ่านมา ณ ห้องออดิทอเรียม ชั้น 5 หอศิลปวัฒนธรรม
แห่งกรุงเทพมหานคร เพื่อแถลงผลการด�ำเนินงาน ในรอบปีที่ผ่านมาของคณะกรรมการบริหาร
ชุดปัจจุบัน โดยมีสมาชิกทั้งผู้อาวุโส และสมาชิกรุ่นใหม่เข้าร่วมการประชุมกันอย่างคับคั่ง

การประชุมได้ดำ� เนินตามระเบียบวาระการประชุม ภาพถ่ายชิงรางวัล 'อาจารย์รงั สรรค์ ตันติวงศ์' ครัง้ ที่ 1


โดยมี นายนิติกร กรัยวิเชียร นายกสมาคมฯ เป็น พร้อมนิทรรศการแสดงภาพถ่ายภาพที่เข้ารอบ 10
ประธานในที่ประชุม โดยในช่วงท้ายของการประชุม ภาพสุดท้าย รวมทั้งกิจกรรมแข่งขันถ่ายภาพ RPST
ได้ มี ก ารเปิ ด โอกาสให้ ส มาชิ ก ที่ เ ข้ า ร่ ว มประชุ ม ONE SHOT KNOCKOUT ครัง้ ที่ 21 อีกด้วย สร้างความ
เสนอแนะข้ อ คิ ด เห็ น ต่ า งๆ อั น เป็ น ประโยชน์ ต ่ อ ครึกครื้นให้กับสมาชิกที่เข้าร่วมการประชุมในครั้งนี้
สมาคมฯ รวมทัง้ ยังมีการจัดกิจกรรมต่างๆ ภายในงาน ได้อย่างดียิ่ง
อาทิ พิธีมอบรางวัลแก่ผู้ได้รับรางวัลจากการประกวด

12 | R P S T
| S O C I E T Y |

R P S T | 13
| S O C I E T Y |

RPST PHOTO TRIP 2013-2014


นิทรรศการภาพถ่าย “จากมุมกล้องนักถ่ายภาพรุ่นใหม่... ที่ก้าวไปสู่นักถ่ายภาพมืออาชีพ”
วันที่ 21-27 เมษายน 2557 ณ บริเวณชั้น 1 โซน Atrium 2 ศูนย์การค้าเซ็นทรัลเวิลด์

เมื่อวันที่ 21 เมษายน 2557 ที่ผ่านมา สมาคม ทีผ่ า่ นการสร้างสรรค์จากผูเ้ ข้าร่วมกิจกรรม ประกอบ


ถ่ายภาพแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ ไปด้วยผลงานของผู้ชนะการประกวดทั้ง 6 ทริป,
ร่ ว มกั บ ศู น ย์ ก ารค้ า เซ็ น ทรั ล เวิ ล ด์ ได้ จั ด พิ ธี ม อบ ผลงานของสมาชิกที่ร่วมทริปสมาคมฯ และผลงาน
รางวัลและพิธีเปิดนิทรรศการ RPST PHOTO TRIP ของคณะท�ำงานในฝ่ายกิจกรรมสมาคมฯ รวมทั้งสิ้น
2013 - 2014 ณ บริเวณ ชัน้ 1 โซน Atrium 2 ศูนย์การค้า 139 ภาพ ซึ่งทุกภาพล้วนเป็นภาพที่มีความโดดเด่น
เซ็นทรัลเวิลด์ โดยมีนายนิติกร กรัยวิเชียร นายก- และมี เ อกลั ก ษณ์ เ ฉพาะตั ว แสดงถึ ง เทคนิ ค การ
สมาคมฯ เป็นประธานจัดงาน นอกจากนั้นสมาคมฯ ถ่ายภาพซึง่ ได้รบั การพัฒนาอย่างต่อเนือ่ งภายหลังจาก
ยังได้รับเกียรติจากท่านศิลปินแห่งชาติ ที่ปรึกษา การเข้าร่วมกิจกรรมฯ จนสามารถเป็นเครื่องการันตี
สมาคมฯ และหน่วยงานผู้ให้การสนับสนุน มาร่วม แก่ ตั ว ศิ ล ปิ น รวมไปถึ ง ผู ้ ที่ ใ ห้ ค วามรู ้ ไ ด้ ภ าคภู มิ ใ จ
เป็นก�ำลังใจให้กับผู้ได้รับรางวัลอย่างคับคั่ง ท�ำให้ ในผลงาน นิทรรศการ RPST PHOTO TRIP จึงเป็น
บรรยากาศภายในงานเป็นไปด้วยความอบอุ่นและ ส่วนส�ำคัญที่จะช่วยเป็นแรงผลักดันให้ผู้ที่เข้าร่วม
เป็นกันเอง โครงการ มีก�ำลังใจในการสร้างสรรค์ผลงาน อันจะ
นิทรรศการนี้เป็นการรวบรวมผลงานภาพถ่าย น�ำมาซึ่งผลงานภาพถ่ายที่ทรงคุณค่าต่อไป
จากโครงการกิ จ กรรมการถ่ า ยภาพและอบรม
นอกสถานที่ ประจ�ำปี 2556-2557 โดยเป็นผลงาน

14 | R P S T
| S O C I E T Y |

ขอขอบคุณผู้สนับสนุนโครงการ

R P S T | 15
| S O C I E T Y |

ผลการประกวดภาพถ่ายสะสมคะแนน มุมมอง และความประทับใจของผู้เข้าร่วมกิจกรรมที่มีต่อโครงการฯ


กิจกรรมการถ่ายภาพและอบรมนอกสถานที่
ประจ�ำปี 2556 - 2557

รางวัลช่างภาพยอดเยี่ยมประจ�ำปี 2556 - 2557


รางวัลชนะเลิศ
วรรณพงษ์ สุรโรจน์ประจักษ์
Wannapong Surarochprajak
รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 
วรรนธนี อภิวัฒนเสวี   
Vanthanee Apiwattanasawee
รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 2 
คีรีขันธ์ ไชยพร
Keereekhan Chaiyaporn รางวัลชนะเลิศ
วรรณพงษ์ สุรโรจน์ประจักษ์
รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 3 Wannapong Surarochprajak
วรดิเรก มรรคทรัพย์
Worradirek Muksab ปีนี้เป็นปีที่สองแล้วที่ได้เข้าร่วมโครงการ RPST PHOTO
รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 4 TRIP ทุกทริปตลอดทั้งปี ก็ยังคงประทับใจในความทุ่มเทของ
กนก เดชาวาศน์   ทีมงาน และกรรมการทุกท่านที่ให้เกียรติมาร่วมตัดสินภาพถ่าย
Kanok Dechavas ตลอดจนวิสัยทัศน์ของท่านนายกฯ ท่านอุปนายกฯ รวมทั้ง
คณะกรรมการบริหารสมาคมถ่ายภาพแห่งประเทศไทยฯ ทีม่ ง่ ุ ส่งเสริม
รางวัลชมเชย จ�ำนวน 10 รางวัล   ความหลากหลายของแนวภาพถ่าย ท�ำให้ผลลัพธ์ที่ออกมา
กิ่งแก้ว ภคภาสน์วิวัฒน์      ในนิทรรศการ RPST PHOTO TRIP ประจ�ำปีที่ได้จัดไป มีความ
Kingkaew Pakhapasvivat น่าสนใจและได้รับเสียงตอบรับที่ดีอย่างมากๆ 
ฑิฆัมพร เสนีย์วาสน์     การมาทริปกับสมาคมถ่ายภาพแห่งประเทศไทยฯ ก็เหมือน
Tikumporn Senevat กับการได้เข้ามาเรียนรูก้ บั ผูท้ มี่ ปี ระสบการณ์ในแต่ละแขนงต่างๆ
ทวี แซ่อู๋ อย่างเข้มข้น ไม่วา่ จะเป็นแนว Photo Art, Commercial, ตลอดจน
Thavee Sae-ou แนว Pictorial ทั้งนี้ในแต่ละครั้งที่ได้ร่วมกิจกรรม เราจะได้เห็น
ธนโชค ภูมิศิริชโย แนวทางในการจัดการกับ Scene ต่างๆ รวมถึงการมองทางแสง
Thanachoke Poomsirichayo และการฝึกการถ่ายภาพแบบตอบโจทย์ ซึง่ ก่อให้เกิดกระบวนการ
ธวัชชัย ศิริธนพรพงษ์  ทางความคิดและต่อยอดไปยังการถ่ายภาพในรูปแบบอื่นๆ
Thawatchai Sirithanapornpong ได้อย่างมีประสิทธิภาพ 
ปานศิริ พิกุลแก้ว และนอกเหนือจากนีค้ อื มิตรภาพจากเพือ่ นๆ ทีไ่ ด้รว่ มเรียนรู้
Pansiri Pikunkaew และเดินทางไปด้วยกัน การประกวดและการตัดสินที่เปิดโอกาส
พันธกร อรุณวัฒนาพร ให้เข้าร่วมฟังได้ ซึ่งสิ่งเหล่านี้ท�ำให้การไปร่วมทริปกับสมาคมฯ
Panthakorn  Aroonwatanaporn ไม่เพียงแต่ได้รบั ความสนุกสนานเท่านัน้ แต่ยงั เป็นการพัฒนาและ
สมฤดี ศรีพิพิธ ดึงศักยภาพของตัวเราเองอย่างทีบ่ างทีเราอาจคาดไม่ถงึ ก็เป็นได้
Somrudee Sripipit ท้ายที่สุดนี้อยากฝากให้ผู้ท่ีสนใจ หากมีโอกาส ลองมาร่วม
อรรถกร มณีรัตน์  ทริปด้วยกันดู ผมเชื่อว่า โครงการ RPST PHOTO TRIP ที่ทาง
Atthakorn Maneerat‫‏‬ สมาคมถ่ายภาพแห่งประเทศไทยฯ ได้จดั ขึน้ มา จะเป็นประโยชน์
ณัฐวุฒิ ศิรินันท์ธนานนท์   กับนักถ่ายภาพทุกท่านไม่มากก็น้อยอย่างแน่นอน
Nuttawood Sirinuntananon

16 | R P S T
| S O C I E T Y |

รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 2
วรรนธนี อภิวัฒนเสวี คีรีขันธ์ ไชยพร
Vanthanee Apiwattanasawee Keereekhan Chaiyaporn

ในปีที่ผ่านมานี้ ก็เป็นอีกปีหนึ่งที่หลังจบทริปแล้ว สิ่งที่ เป็นปีที่สามกับการเข้าร่วมกิจกรรม RPST PHOTO


ยังคงไว้อยู่เสมอคือความประทับใจต่อสต๊าฟและเพื่อนๆ TRIP มาอย่างต่อเนือ่ ง นับตัง้ แต่ทริปแรกคือทริปสุพรรณบุรี
สมาชิกอย่างไม่รู้ลืม ขอพูดด้วยความรู้สึกจากใจจริงว่าทริป และทริปสุดท้ายคือทริปกระบี่ การมาร่วมทริปในแต่ละครั้ง
ทุกๆ ทริปมีความน่าสนใจมาก มีความพิเศษหลากหลาย ได้สิ่งต่างๆ ที่มีคุณค่ากลับไปมากมาย ทั้งเรื่องของแนวคิด
และไม่เหมือนใคร ท�ำให้สมาชิกหลายต่อหลายท่านรวมทั้ง และทักษะในการถ่ายภาพ ได้เห็นมุมมองการถ่ายภาพ
ตัวเองด้วยอยากติดตามอยากจะไปร่วมทริปกับทางสมาคมฯ ของเพื่อนสมาชิกด้วยกัน ขอขอบคุณในความทุ่มเท ความ
อย่างต่อเนื่อง เสียสละของสต๊าฟผู้คอยเป็นพี่เลี้ยง และให้ค�ำแนะน�ำที่ดีๆ
ส่วนทริปที่ชอบมากที่สุดคงเป็นทริปปิดท้ายคือทริป ในเรื่องการถ่ายภาพมาโดยตลอด รู้สึกประทับใจทุกครั้ง
กระบี่ ทั้งสนุก เหนื่อย โหด มันส์ ครบทุกรสและแน่นอนว่า ที่มาร่วมกิจกรรมกับสมาคมฯ เป็นแรงบันดาลใจในการ
ภาพทีอ่ อกมาล้วนเป็นสิง่ ยืนยันความมีคณ ุ ภาพของทีมงาน ท่องเที่ยวถ่ายภาพ สุดท้ายนี้ การไปร่วมทริปถ่ายภาพกับ
สมกับความมุ่งมั่นและตั้งใจกันอย่างเต็มที่ ทางสมาคมฯ นอกจากจะได้รับความสนุกสนานจากการ
ในโอกาสนี้ ก็ ข อขอบพระคุ ณ คณะท� ำ งานตลอดจน ได้ ท ่ อ งเที่ ย วไปยั ง จั ง หวั ด ต่ า งๆ ยั ง ได้ รั บ ความรู ้ แ ละ
ผู้อยู่เบื้องหลังความส�ำเร็จทุกๆ ท่าน ที่ช่วยให้เกิดทริป ประสบการณ์ใหม่ๆ นอกจากนีย้ งั ได้รบั มิตรภาพทีแ่ สนดีจาก
ถ่ายภาพดีๆ เช่นนี้ ทัง้ ยังเป็นแรงบันดาลใจให้แก่นกั ถ่ายภาพ เพื่อนสมาชิกด้วยกัน เหล่านี้ท�ำให้การท่องเที่ยวถ่ายภาพ
รุ่นใหม่เสมอมา และขอบคุณอีกครั้งที่ช่วยให้การถ่ายภาพ เป็นความสุขทางใจ และเป็นรางวัลพิเศษให้กับชีวิตเลย
เข้ามาเติมเต็มความสุขในชีวิตค่ะ ก็ว่าได้

R P S T | 17
| S O C I E T Y |

ร่วมบุญแห่เทียนพรรษา… ชมศิลปกรรมชาวอุบลฯ
สมาคมถ่ายภาพแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์
ขอเชิญผู้สนใจเข้าร่วมกิจกรรมการถ่ายภาพและอบรมนอกสถานที่ ครั้งที่ 2/2557-2558
ณ จังหวัดอุบลราชธานี วันที่ 10 - 13 กรกฎาคม 2557

“ถ่ายภาพการท�ำเทียนและร่วมบุญประเพณีแห่เทียน
พรรษาจังหวัดอุบลราชธานี…ชมหอไตรหนองขุหลุกลางน�ำ้ ค่าใช้จ่ายในการอบรมทริปจังหวัดอุบลราชธานี
สถานที่ เ ก็ บ คั ม ภี ร ์ ใ บลานต� ำ ราทางพุ ท ธศาสนาโบราณ
ร่วมร้อยปี…ชมความมหัศจรรย์ของธรรมชาติสามพันโบก • สมาชิกสมาคมฯ 6,900 บาท
แกรนด์แคนยอนเมืองไทย…แปลกตากับธรรมมาสน์สิงห์ • บุคคลทั่วไป 7,400 บาท
เทินบุษบก ศิลปกรรมทีเ่ กิดจากการผสมผสานความคิดแบบ • กรณีสมาชิกท่านใดต้องการพักเดี่ยว
ไทยกับฝีมือของช่างญวน ซึ่งคาดว่าน่าจะมีอยู่หลังเดียว กรุณาช�ำระค่าที่พักเพิ่มเติม 1,000 บาท
ในประเทศไทย…สาธิตการท�ำหัตถกรรมเครื่องทองเหลือง
ที่มีชื่อเสียงอย่างมากที่บ้านปะอาว ภูมิปัญญาที่ได้รับ เปิดรับสมัคร 40 ท่าน เท่านั้น
สืบทอดมาจากบรรพบุรุษร่วมสองร้อยกว่าปี”
โดยวิทยากรประจ�ำทริป พลัฏฐ์ ไชยพิทกั ษ์กลู , สัญชัย ลุงรุง่ รายละเอียดเพิ่มเติม : www.rpst.or.th /
และสต๊าฟสมาคมฯ คุณสรยา คงรักษา (แคร์) โทร. 08 3436 9360

18 | R P S T
| S O C I E T Y |

ภาพโดย สัญชัย ลุงรุ่ง

R P S T | 19
| N E W S P A P E R |

จินตนาการไปกับ
นิทรรศการ ‘จิน’
@ River City 2nd Floor  
15 May - 15 Jun, 2014

นิทรรศการแสดงภาพวาด ‘จิน’ เป็นการรวบรวมผลงาน


ของเด็กๆ จากบ้านธรรมรักษ์ วัดพระบาทน�้ำพุ ซึ่งร่วมกับ
ชมรมจิตรกรวาดฝันโรงเรียนสิริเทพ ด้วยหวังใช้ศิลปะเป็น
เครือ่ งบ�ำบัดส�ำหรับผูป้ ว่ ยเด็ก เพือ่ ได้แสดงออกทางความคิด
และสนุกไปกับการถ่ายทอดจินตนาการออกมาเป็นผลงาน
ภาพวาด การจัดแสดงผลงานในครั้งนี้ไม่เพียงช่วยเติมเต็ม
ความสุขให้กับเด็กเท่านั้น หากแต่การแสดงออกซึ่งก�ำลังใจ
จากผู้ร่วมงานยังเป็นสัญญาณที่บ่งบอกถึง ‘การยอมรับ’
ซึ่งสิ่งส�ำคัญที่จะท�ำให้ศิลปินตัวน้อยเหล่านี้มีพลังใจส�ำหรับ
การต่อสู้กับโชคชะตา

ได้เวลากระโดด
‘ก�ำแพง : Wall’
@ Sombat Permpoon Gallery
12 May - 31 Jul, 2014

เตรียมพบกับนิทรรศการทีร่ ายล้อมไปด้วยก�ำแพงแห่งจินตนาการ
โดยการรวบรวมผลงานภาพเขียนจากงานสะสมของสมบัติเพิ่มพูน
แกลเลอรี่ที่สร้างสรรค์ของ 9 ศิลปิน ได้แก่ เกรียงไกร เมืองมูล, ถวัลย์
ประมาณ, ประยงค์ แซ่เตีย, ปรีชา เถาทอง, สมรรถ สุวรรณพงษ์,
สมโภชน์ ทองแดง, สุรพล แสนค�ำ, อิทธิพร ธงอินเนตร, อิสระ หลาวทอง
และ พงศ์ศิริ คิดดี
นิทรรศการ ‘ก�ำแพง’ เพือ่ เสนอความหมายของ ‘ก�ำแพง’ ทีน่ อกเหนือ
จากการเป็นสิ่งก่อสร้างเพื่อประโยชน์ในการใช้สร้อยแล้ว ยังเป็น
สัญลักษณ์ที่เล่าถึงเรื่องราวสภาพสังคม, ความเชื่อของศาสนา และ
รูปแบบวัฒนธรรม ซึ่งพร้อมแล้วที่จะให้ผู้ชมได้ลองปีนป่ายก�ำแพง
ความคิดของตัวเองดูสักครั้ง

20 | R P S T
| N E W S P A P E R |

นิทรรศการศิลปนิพนธ์
ยอดเยี่ยม ปี 2557
@ The Queen’s Gallery
29 Apr - 3 Aug, 2014

รับชมศิลปะจากการสร้างสรรค์ของศิลปินสายเลือดใหม่
ในนิทรรศการศิลปนิพนธ์ยอดเยีย่ ม ปี 2557 โดยรวบรวม
ผลงานศิ ล ปนิ พ นธ์ ข องนิ สิ ต นั ก ศึ ก ษา ที่ ส ร้ า งสรรค์
ผลงานโดดเด่นจากแต่ละมหาวิทยาลัยทีม่ กี ารเรียนการสอน
ด้านศิลปะ โดยผ่านกระบวนการคัดเลือกจากคณาจารย์
ผู้ทรงคุณวุฒิของแต่ละสถาบัน จัดแสดงไปจนถึงวันที่ 3
สิงหาคม 2557 ณ หอศิลป์สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์
พระบรมราชินีนาถ

ก่อนเวลาลับหาย
นิทรรศการโลกศิลปะของ
สุชาติ สวัสดิ์ศรี

@ G23 Art Gallery


28 Apr - 31 Aug, 2014

‘โลกศิลปะของ สุชาติ สวัสดิ์ศรี WORLD HORIZON OF


SUCHART SAWASDSRI : ก่อนเวลาลับหาย IN SEARCH
OF LOST MEMORIES’ นิทรรศการชื่อยาวนี้เป็นการจัดแสดง
ผลงานครั้งที่ 7 โดย สุชาติ สวัสดิ์ศรี ซึ่งรวบรวมผลงานจิตรกรรม
และหนังทดลองของสุชาติ ทั้งนี้ภายในงานยังมีกิจกรรม อาทิ
กิจกรรมทางศิลปะ - วรรณกรรม – ภาพยนตร์ – ปาฐกถา สามารถ
สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ G23 Art Gallery

R P S T | 21
| N E W S P A P E R |

นิทรรศการ
MD3 Fragility
and Monumentality

@ Bangkok Art and Culture Centre 9th floor


27 Jun - 27 Aug, 2014

ถือได้วา่ ยังเป็นการเดินทางทีส่ ม�ำ่ เสมอส�ำหรับนิทรรศการ


Monologue Dialogue 3 ซึง่ เริม่ ต้นขึน้ เมือ่ 8 ปีทแี่ ล้วในเมืองไทย จุดหมายเพือ่ อธิบายภาพของอะไรออกมา และก็ไม่ได้อธิบาย
ด้วยการสนับสนุนจาก Britsh Council ท�ำให้เกิดการรวมกลุ่ม ถึงทฤษฎีหรือแนวความคิดไหน แต่ทว่าเป็นการรวบรวมบทกวี
ระหว่างอาร์ทติสจากอังกฤษและศิลปินชาวไทย ได้แก่ แอนดรูว์ เพื่อความไม่แน่นอนจะปรากฏตัวขึ้นในบางครั้งศิลปินกลุ่มนี้
สโตล / อะซูโกะ นากามูระ / บี - เถกิง พัฒโนภาษ / อีรกิ เบนบริดจ์ / จะมี ป ฏิ สั ม พั น ธ์ กั บ งานแสดงครั้ ง นี้ โดยคิ ด ค้ น ประกอบ
เจษฎา ตัง้ ตระกูลวงศ์ / ปัญญา วิจนิ ธนสาร / มิแรนดา ฮูสเด็น/ ระบายสี และสร้างมันขึ้นมา ซึ่งเราคาดหวังได้ถึงการพูดคุย
นาธาเนียล แร็กโคเวะ / เนลล์ เจฟฟรีส์ / นิพนั ธ์ โอฬารนิเวศน์ / ที่มีชีวิตชีวาและน่าตื่นเต้น หรือแม้กระทั่งล้มเหลว แต่ความ
ตินติน คูเปอร์ / ทักษิณา พิพิธกุล ล้มเหลวและความว่างเปล่าก็เป็นค�ำส�ำคัญ ในศิลปะทีค่ วรถูก
ส�ำหรับการจัดงานครัง้ นี้ ยังอัดแน่นไปด้วยการแลกเปลีย่ น รวบรวมเอาไว้เพื่อท�ำให้เกิดพื้นที่ส�ำหรับความเปราะบาง
แนวคิดด้านงานศิลป์อย่างไร้กรอบจ�ำกัด เป็นการแลกเปลีย่ น และจินตนาการที่คาดไม่ถึงขึ้นมาได้ และความยิ่งใหญ่นั้น
พูดคุยในหลากหลายประเด็นทีม่ คี วามเป็นสากลและยากทีจ่ ะ จะสัมพันธ์กับการปรากฏตัวขึ้น ที่สามารถเชื่อมโยงได้ ถึงแม้
คาดเดา ภายใต้แนวคิด ‘ความเปราะบางและยิง่ ใหญ่’ ซึง่ ไม่ได้มี กับการด�ำรงอยู่ที่แม้ดูไม่ลงตัว

Vacarmes
@ ARDEL’s Third Place Gallery
27 May - 6 Jul, 2014

ฟิลิป มัวซง ศิลปินถ่ายภาพชาวฝรั่งเศสหอบผลงาน


ภาพถ่ายจากการเดินทางเพือ่ เก็บเกีย่ วและบันทึกประสบการณ์
ของเขามาจัดแสดงให้ชาวศิลป์ในเมืองไทยได้สัมผัสอีกครั้ง
ด้วยภาพต้นไม้ ผิวน�้ำ ท้องฟ้า โดยเมอซิเยอร์ฟิลิปใช้ชื่อ
ผลงานภาพชุดนีว้ า่ Vacarmes หรือแปลฝรัง่ เศสเป็นไทยได้วา่
‘เสียงโครมคราม เสียงวุ่นวาย’
หากคุณยังไม่มีเวลามากพอที่จะเดินทางอย่างที่ช่างภาพ
ผู้นี้กระท�ำมากว่าครึ่งค่อนชีวิต การรับชมฝีมือของเขาก็เป็น
อีกหนึ่งทางลัดที่ช่วยเติมเต็มอรรถรสได้เป็นอย่างดีทีเดียว

22 | R P S T
| N E W S P A P E R |

ฟอสเตอร์แอนด์พาร์ทเนอร์
ศิลปะแห่งสถาปัตยกรรม
@ Bangkok Art and Culture Centre 7th floor
Now – 29 Jun, 2014

เป็นนิทรรศการสัญจรครัง้ แรกในประเทศไทยทีจ่ ะมีการแสดง บริการสาธารณะ สนามบิน อาคารชุมชนและศิลปวัฒนธรรม


ผลงานโครงการออกแบบสถาปัตยกรรมที่หลากหลายมากที่สุด ส�ำนักงานและสถานประกอบการ ตลอดจนการออกแบบบ้าน
ของบรรดาบริษทั แถวหน้าในแวดวงสถาปัตย์ทไี่ ด้รบั การกล่าวขวัญ และการออกแบบผลิตภัณฑ์
ยกย่องอย่างสูงหลังการจัดแสดงทีป่ ระเทศจีนและมาเลเซียมาแล้ว นิทรรศการครัง้ นีจ้ ะน�ำเสนอเนือ้ หาของการออกแบบ
ฟอสเตอร์แอนด์พาร์ทเนอร์ ภายใต้การน�ำของหัวหอกของทีม ก่อสร้างภายใต้หัวข้อโครงสร้างพื้นฐาน อาคารสูงระฟ้า
นอร์แมน ฟอสเตอร์ ประธานและผูก้ อ่ ตัง้ บริษทั เป็นหนึง่ ในบริษทั ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม ทั้งหมดเป็นการออกแบบ
ผู้สร้างสรรค์สุดยอดนวัตกรรมการออกแบบและสถาปัตยกรรม ในบริบทของการพัฒนาทีย่ งั่ ยืน จากผลงานทีน่ ำ� มาแสดง
ของโลกในปัจจุบัน ฟอสเตอร์แอนด์พาร์ทเนอร์มีฐานตั้งอยู่ใน จะเห็นได้ว่าบริษัทได้ท�ำการออกแบบสถาปัตยกรรม
กรุงลอนดอนและมีส�ำนักงานด�ำเนินโครงการทั่วโลก กว่า 40 ปี มากมายหลายโครงการ ในการแสดงนิทรรศการจะมี
ที่ผ่านมา บริษัทได้คิดค้นพัฒนาวิธีการออกแบบสถาปัตยกรรม รายละเอียดโครงการใหม่ๆ ในเอเชียด้วย ติดต่อสอบถาม
และอาคารนิเวศตามแนวทางการพัฒนาทีย่ งั่ ยืน และน�ำมาใช้ใน ข้อมูลเพิ่มเติม www.artofarchitecture.org
โครงการทีส่ ำ� คัญๆ อาทิ ผังแม่บทพัฒนาเมือง โครงสร้างพืน้ ฐาน

People’s Gallery
แกลเลอรี่ส่วนตัว?
@ Bangkok Art and Culture Centre
Now – 30 Jun, 2014

หากคุณมั่นใจในฝีมือตัวเอง แต่ยังไม่มีพื้นที่ส�ำหรับ งานออกแบบ ศิลปะจัดวาง ศิลปะสื่อผสม และศิลปะ


ปล่อยของ People’s Gallery อาจเป็นประตูสู่ทางออก มัลติมีเดีย ศิลปินผู้สนใจสามารถกรอกแบบฟอร์มการ
ส�ำหรับศิลปินหน้าใหม่ฝีมือเก๋า ขอใช้พื้นที่ โดยสามารถยื่นแฟ้มผลงานและแนบเอกสาร
People’s Gallery คือพื้นที่จัดแสดงผลงานศิลปะ เพื่อประกอบการพิจารณาได้ปีละสองรอบคือ รอบที่ 1
บริเวณชั้น 2 จ�ำนวน 3 ห้อง ของหอศิลปวัฒนธรรม เดือนมีนาคม และรอบที่ 2 เดือนตุลาคมของทุกปี
แห่งกรุงเทพมหานคร (หอศิลปกรุงเทพฯ) รับพิจารณา ข้อมูลเพิม่ เติม ติดต่อสอบถาม คุณพิชยั รัตน์ เมฆฉาย
ผลงานจิตรกรรม ประติมากรรม ภาพพิมพ์ ภาพถ่าย e-mail: super_rat@hotmail.com

R P S T | 23
| S O C I A L U P D A T E |

OM-D E-M10
SUPER PREMIUM SMALL
สวย - เล็ก - เฉียบ ด้วยประสิทธิภาพ

ท่ามกลางสนามธุรกิจกล้องถ่ายภาพที่เข้มข้นไปด้วยการ อันโดดเด่นของรุน่ ระดับสูงของแบรนด์อย่างรุน่ E-M5 และ ​E-M1


แข่งขัน สิง่ ทีก่ ล้องแต่ละแบรนด์ให้ความส�ำคัญควบคูไ่ ปกับกลยุทธ์ อาทิ เซ็นเซอร์ Live MOS ความละเอียด 16 ล้านพิกเซล หน่วย
ทางการตลาดคือการพัฒนาคุณภาพสินค้า ซึ่งในฐานะผู้บริโภค ประมวลผลภาพ TruePic VII ซึ่งให้ได้ภาพถ่ายคุณภาพดีเยี่ย ม
ปฏิเสธไม่ได้วา่ ยิง่ มีการช่วงชิงพืน้ ทีท่ างการตลาดมากเท่าไร ย่อม มีความละเอียดสูง พร้อมด้วยโหมด High-Sensitivity นอกจากนี้
เกิดผลดีต่อผู้ใช้กล้องมากขึ้นตามไปด้วย เพื่อให้ได้โปรดักท์ที่ ยังโดดเด่นด้วยขนาดที่บางเป็นพิเศษ กะทัดรัด แต่มีความ
เปีย่ มประสิทธิภาพ กล้องแต่ละรุน่ จึงได้รบั การอัพเดทเทคโนโลยี สามารถในการท�ำงานเป็นเลิศ ตอบสนองรวดเร็ว มีชอ่ งมองภาพ
ที่ดีที่สุด แบบเดียวกับกล้อง Mirrorless รุ่นล่าสุดจาก Olympus อิเล็กทรอนิกส์ความละเอียดสูง ให้ภาพถ่ายสวยสมจริง นับว่า
รุ่น OM-D E-M10 ที่มาพร้อมกับคุณสมบัติที่นิยามได้ว่า ‘ความ เพียบพร้อมด้วยฟังก์ชนั่ การใช้งานส�ำหรับช่างภาพระดับมืออาชีพ
สมบูรณ์แบบที่ลงตัว’ ที่ต้องการความสะดวกจากกล้อง Mirrorless อย่างแท้จริง
กล้อง Olympus รุ่น OM-D E-M10 คือกล้อง Mirrorless ชนิด ทั้งหมดนี้โอลิมปัสได้รวบรวมไว้แล้วในโปรดักท์รุ่นล่าสุด
ถอดเปลีย่ นเลนส์ได้ในระบบ Micro Four Thirds ทีม่ ปี ระสิทธิภาพ เพื่อพร้อมส่งมอบประสิทธิภาพและประสบการณ์ที่น่าหลงใหล
ยอดเยีย่ ม พร้อมการออกแบบให้มรี ปู ทรงเพรียวบางพิเศษระดับ จากกล้องไซส์เล็กที่สวยและเฉียบคมด้วยประสิทธิภาพ
พรีเมียม หรือ Super Premium Small บอดี้ดีไซน์หรูหรามีระดับ
ด้วยพื้นผิวโลหะ มาพร้อมกับช่องมองภาพอิเล็กทรอนิกส์ (EVF)
ขนาดใหญ่ทสี่ ามารถมองเห็นภาพได้สว่าง คมชัด และมอบภาพถ่าย
ที่มีคุณภาพสูงเป็นเลิศ ข้อมูลเพิ่มเติมติดต่อ: บริษัท โอลิมปัส (ประเทศไทย) จ�ำกัด
การพัฒนาประสิทธิภาพของกล้อง Mirrorless จากโอลิมปัส โทร. 0-2787-8200 www.olympusimaging-th.com
เป็นการน�ำเทคโนโลยีอันล�้ำสมัยประสานกับน�ำเอาคุณสมบัติ

24 | R P S T
| S O C I A L U P D A T E |

R P S T | 25
| E D I T O R’ S P I C K S |

Can’t
Miss
Them Weye Feye
บังคับกล้อง DSLR ผ่านมือถือ

อุปกรณ์ที่จะช่วยให้กดชัตเตอร์กล้อง
Socialmatic Instant Gratification
สวย สะดวก สไตล์โพลารอยด์

กล้องโพลารอยด์ Socialmatic รุน่ ใหม่


DSLR จากระยะห่างได้ราวกับถือกล้อง ที่ให้ความคมชัดมากถึง 14 เมกาพิกเซล
ด้วยมือ Weye Feye ทีช่ ว่ ยให้คนทีม่ กี ล้อง พร้อมแฟลชในตัว และยังมีหน้าจอ LCD
หลากหลายไอเทมทีช่ ว่ ยเติมเต็มศักยภาพ DSLR ได้ท�ำงานสะดวกขึ้น Weye Feye แบบทั ช สกรี น พร้ อ มได ต้ ิ ด ตั้ ง GPS,
ในการท�ำงาน และเพิ่มความสุขให้กับทุก ท�ำงานโดยติดตั้งสัณญาณ Wi-Fi ให้กับ สัณญาณ Wi-fi และบลูทูธในตัวสามารถ
ไลฟ์สไตล์ของช่างภาพ กล้องผ่าน USB และคุณสามารถเชื่อม ถ่ า ยภาพและได้ ภ าพออกมาทั น ที ห รื อ
สัญญาณนี้เข้ากับโทรศัพท์สมาร์ทโฟน จะแชร์ลงโซเชียลมีเดียหรือเฟซบุ๊คก็ได้
หรือแทบเล็ตได้ ท�ำให้คุณเห็นภาพจาก ทีส่ �ำคัญยังสามารถเก็บไฟล์ภาพไว้พริ้นต์
กล้องและถ่ายภาพได้สะดวกยิ่งขึ้น ภายหลังได้อีกด้วย

The Spinpod Lowepro DryZone Duffle


ผู้ช่วยส�ำหรับรูปพาโนรามา กระเป๋ากล้องรุ่นลุยฝน LifeStraw Go
เครื่องกรองน�้ำรุ่นพกพา
Spinpod คืออุปกรณ์จำ� เป็นส�ำหรับผูท้ ี่ การเดินทางเพื่อถ่ายภาพช่วงฤดูฝน
หลงใหลการถ่ายภาพพาโนรามา เพราะเพียง ไม่เพียงเพิม่ อุปสรรคแต่อาจหมายถึงการ Lifestraw เป็นอุปกรณ์ทชี่ ว่ ยกรองน�ำ้
ติดตัง้ อุปกรณ์ชนิ้ นีไ้ ว้กบั กล้องก็จะสามารถ เสื่อมสภาพของกล้องตัวส�ำคัญ แต่ถ้า ให้สะอาดให้คณุ ระหว่างเดินทางทีส่ ามารถ
ช่วยในการหมุนกล้องให้นิ่งและกว้างขึ้น มีกระเป๋ากันน�้ำ Lowepro DryZone ซึ่ง กรองแบคทีเรีย โปรโตโซนและเชือ้ โรคอืน่ ๆ
Spinpod สามารถหมุนได้รอบทิศทาง ทัง้ ยัง ออกแบบมาส�ำหรับใส่กล้อง DSLR ตัวใหญ่ บางตัวได้ อุปกรณ์ชิ้นนี้จะมีน�้ำหนักเพียง
มีไฟ LED คอยบอกทิศทางว่าสามารถ ได้พร้อมช่องใส่เลนส์อีก 3 เลนส์ ช่องใส่ 8 ออนซ์ (ประมาณ 225 กรัม) ท�ำให้ง่าย
หมุนกล้องไปทางไหน คุณสามารถเปลีย่ น แฟลชและอุปกรณ์อนื่ ๆ อีกมากมาย แต่ละ ต่อการพกพา และสามารถกรองน�้ำได้
ทิศทางได้โดยการใช้นวิ้ แตะแล้วเลือ่ นเบาๆ ช่องกระเป๋าก็มีตัวล็อกเพื่อกันไม่ให้ของ มากถึง 264 แกลลอน ถึงจะหมดอายุ
ทีไ่ ฟ LED กล้องก็สามารถเปลีย่ นทิศทางให้ ไปกระแทกหรือหล่นออกมาอีกด้วย การใช้งาน

26 | R P S T
| E D I T O R’ S P I C K S |

The Tylt Kickstarter


Energy Backpack + Battery Impossible Instant Lab
แบตเตอรี่ส�ำรองที่สะพายไปได้ทุกหนแห่ง Olukai Mauna Lalo เปลี่ยนมือถือให้เป็นโพลารอยด์
รองเท้าส�ำหรับช่างภาพนักเดินป่า
กระเป ๋าเป้ใบนีน้ อกจากจะใส่สมั ภาระ Impossible Lab คือโปรเจคต์ใหม่
และอุปกรณ์อย่างคอมพิวเตอร์โน้ตบุ๊ค รองเท้าเดินป่าสุดคลาสสิค Olikai Mauna จาก Kickstarter ซึง่ ท�ำงานคล้ายกล้อง
แท๊บเลตและอืน่ ๆ ได้แล้ว ยังสามารถชาร์จ Lalo เป็นรองเท้าหนังตัดอย่างดี ตัวหนัง โพลารอยด์ทใี่ ห้คุณสามารถพริ้นต์ภาพที่
แบตเตอรี่ให้กับอุปกรณ์ของคุณอีกด้วย ผ่านการเลือกสรรและผ่านกรรมวิธีที่ไม่ คุณถ่ายจากโทรศัพท์ออกมาได้งา่ ยยิง่ ขึน้
สามารถชาร์จไฟส�ำรองไว้ในชิน้ ส่วนทีต่ ดิ ตัง้ ท�ำร้ายธรรมชาติ ภายในรองเท้ามีการ เพียงถ่ายภาพผ่าน Impossible Project
ไว้ กั บ กระเป๋ า เป้ นั ก เดิ น ทางสามารถ เคลือบน�้ำยากันเชื้อรา ตัวหนังทนแต่นิ่ม แอพลิเคชัน่ แล้ววางหน้าจอโทรศัพท์ลงบน
ชาร์จแบตเตอรีไ่ ด้แม้กระทัง่ ขณะบุกตะลุย พอที่จะใส่เข้าไปในเมืองได้ด้วย นี่จึงเป็น เครือ่ ง Impossible instant Lab เพียงเท่านี้
ระหว่างทริป โดยไมต้องกลัวแบตเตอรี่ อี ก หนึ่ ง รองเท้ า ที่ คุ ณ สามารถใส่ ไ ปได้ ก็จะพึงพอใจกับภาพสไตล์ โพลารอยด์ที่
หมดอีกต่อไป หลายโอกาส คมชัดด้วยรายละเอียดทุกๆ ความสวยงาม

UP24
Safe Everywhere, Custom In-Ear Monitors Improve Your Health
Access Anywhere Ultimate Ears Sound สายรัดข้อมือใส่ใจสุขภาพ
คลังเก็บข้อมูลส่วนบุคคล สัมผัสทุกโสตประสาทจากหูฟังระดับโลก
สายรัดข้อมืออัจฉริยะชิ้นนี้ท�ำหน้าที่
อุ ป กรณ์ เ ก็ บ ข้ อ มู ล ระบบคลาวด์ ที่ ด้วยนวัตกรรม Roxanne The Siren ราวกับที่ปรึกษาด้านสุขภาพที่ติดตามตัว
สามารถบันทึกและแบ่งปันภาพถ่าย วิดโี อ Series ได้พัฒนาให้หูฟังชิ้นนี้กลายเป็น ผู ้ ใ ส่ ไ ปทุ ก ที่ มั น จะช่ ว ยให้ ผู ้ ใ ช้ เ ข้ า ใจ
ไฟล์ได้จากอุปกรณ์ทกุ ชนิด และยังมัน่ ใจได้ หูฟงั ดีทสี่ ดุ ระดับ World Class Reference พฤติกรรม รูปแบบการด�ำเนินชีวิตของ
ถึ ง ความปลอดภั ย ของข้ อ มู ล ถื อ เป็ น CIEM ฟังก์ชั่นจัดเต็ม ทั้งไดร์เวอร์รุ่นใหม่ ตัวเอง ทั้งการนอน การเคลื่อนไหว และ
โซลูชั่นที่สมบูรณ์แบบในการจัดการ และ ความสามารถในการปรับ Bass ทีส่ ายหูฟงั การกิน ด้วยการวิเคราะห์ขอ้ มูลพฤติกรรม
สามารถเข้าถึงไฟล์เหล่านั้นจากอุปกรณ์ ปรับความถีเ่ สียงสูง กลาง ต�ำ่ ได้พร้อมกัน และให้ค�ำแนะน�ำที่เหมาะสม ท�ำงานโดย
ใดก็ได้จากทุกแห่งในโลก เพียงเชื่อมต่อ ขณะที่การดีไซน์หูฟังแบบ Twist Lock การเชือ่ มต่อแบบไร้สายกับอุปกรณ์ระบบ
ไดรฟ์ My Cloud เข้ากับอินเทอร์เน็ต Mechanism แบบ 4 pin iOS และ Android ผ่าน Bluetooth

R P S T | 27
| M i n d M a t t e r s |

good morning teacher


อรุ ณ สวั ส ดิ์ วั น ใหม่ ข อง ชีวิต

เริ่มบ่มเพาะด้วยการ
ปลูกฝั่งจิตส�ำนึกที่ดีงาม
ขัดเกลาจิตใจ ด้วยศีลธรรม
ตั้งแต่ยังเด็ก คิดดี ท�ำดี พูดดี
ชาติไทย คงมีแต่คนดีๆ …”

ชื่อภาพ : ‘บ่ม’
ผลงานโดย : นายกิตติพงศ์ สรรเพชร
วิทยาเขตเพาะช่าง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์
คณะออกแบบ แผนกศิลปะการถ่ายภาพ

การเริ่มต้นใหม่ มันเกิดขึ้น
ทุกๆ วัน บนโลกใบนี้ และสิ่งที่ไม่ได้
เริ่มต้นในวันนี้ ก็จะไม่มีทางส�ำเร็จ
ในวันพรุ่งนี้เช่นกัน...”

ชื่อภาพ : ‘แสงของวันใหม่’
ผลงานโดย : นายวิศรุต โซ๊ะสลาม
วิทยาเขตเพาะช่าง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์
คณะออกแบบ แผนกศิลปะการถ่ายภาพ

28 | R P S T
| S P E C I A L F E A T U R E |

ถึงเวลาจะต้องเปิดหนังสือ ความทรงจ�ำเกี่ยวกับ
ดูอีกครั้ง ทั้งที่ยังอยากออกไปวิ่งเล่น เปิดเทอมส่วนใหญ่ของผม มากับฝน
ผจญภัย กับเพื่อนๆ ข้างบ้าน แม้เวลานี้ เรารู้สึกตัวว่าเปิดเทอม เมื่อฝน
เราเติบโตขึ้นเกินกว่าจะมีช่วงเวลา เริ่มเทลงมา ความง่วงหงาวหาวนอน
เปิดเทอมเหมือนในวัยเด็ก บางทีสงิ่ เหล่านี้ ระหว่างชั่วโมงเรียน และค�ำที่เรา
มันสะท้อนออกมาให้ได้หวนกลับไปนึกถึง มักได้ยินหลังจากกลับถึงบ้าน
ความรู้สึกนั้นอีกครั้ง...” รีบไปอาบน�้ำ เดี๋ยวไม่สบาย....”

ชื่อภาพ : ‘reflection childhood’ ชื่อภาพ : ‘wet schoolday’


ผลงานโดย : นายกัญจน์ สุวรรณสิทธิ์ ผลงานโดย : นายรัตนชัย สิริรัตน์
คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

R P S T | 29
| T i m e l i n e |

30 | R P S T
| T i m e l i n e |

การรวมมีทั้งเพื่อช่วยกันระวังผู้ล่า รวมกันหนี ไปจนถึงรวม


เพื่อช่วยกันล่า ปลาบางชนิดมารวมเพื่อผสมพันธุ์ กลายเป็น
ฉากสวยประดับท้องทะเล แสงแดดที่สะท้อนผิวสีเงินวาววับ
และก่อให้เกิดเป็นภาพระยิบระยับในมวลน�้ำ หรือเม็ดฝนที่
ร่วงหล่นสูผ่ นื ทะเล ยิง่ ท�ำให้ฉากการรวมตัวดูยงิ่ ใหญ่และน่าจดจ�ำ

R P S T | 31
| T i m e l i n e |

สัตว์ไม่ได้ต้องการอะไรมาก แค่มีอาหารที่พอเพียง มีป่าที่


กว้างไกล ธรรมชาติจะบอกพวกมันว่าเมื่อไหร่คือเวลาที่ควร
จะท�ำอะไร วัวแดงแก่ทมี่ สี เี ข้มดุจกระทิง ถูกเรียกขานว่า ‘วัวบา’
มันแหงนหน้าเชิดจมูกและรับสัมผัสสูดกลิ่นกายของเพศเมีย
ที่บ่งบอกว่า ถึงห้วงเวลาแห่งการสืบทอดเผ่าพันธุ์

32 | R P S T
| T i m e l i n e |

ใครๆ ก็รู ว้ า่ เสือโคร่ง คือผู ล้ า่ อันดับสูงสุดแห่งห่วงโซ่อาหาร


แต่เกือบทัง้ ชีวติ ต้องอยูอ่ ย่างโดดเดีย่ ว มีอาณาเขตหากินกว้างไกล
แต่ ไร ม้ ิตรต่างสายพันธุ ์ ชีวิตของมันจึงถูกเปรียบกับความ
น่าเกรงขาม แต่ในบางมุมชีวติ มันอาจจะเต็มไปด้วยความเหงา

บารมี เต็มบุญเกียรติ
ช่างภาพ Wildlife ที่ถ่ายภาพธรรมชาติ สัตว์ป่า บนขุนเขา ลงสู่ใต้น�้ำ เพื่อน�ำ
เรื่องราวที่พบเจอมาบอกเล่าสู่สังคมเมือง ผลงานภาพนิ่งมีให้เห็นตามหน้า
นิตยสารท่องเที่ยวและถ่ายภาพ ผลงานสารคดีมีรายการ ‘FULL FRAME
ช่ า งภาพสุ ด ขั้ ว ’ รายการที่ เ ปิ ด เผยเบื้ อ งหลั ง การท� ำ งานในพื้ น ที่ รวมถึ ง
เรื่ อ งราวที่ บ อกเล่ า ยั ง เสริ ม สร้ า งทั ศ นคติ ที่ ดี กั บ ธรรมชาติ สั ต ว์ ป ่ า และ
สิ่งแวดล้อม มีงานแสดงนิทรรศการใหญ่ในชื่อ WILD RANGE EXHIBITION
จัดแสดงทีห่ อศิลปวัฒนธรรมกรุงเทพ และก�ำลังจะมีผลงานรวมภาพธรรมชาติ
ของไทยในชื่อ ‘จากขุนเขา จรดแนวปะการัง’

R P S T | 33
| S T O R Y T E L L E R |

ผลการประกวดภาพถ่ายชิงรางวัล 
‘อาจารย์รังสรรค์ ตันติวงศ์’ ครั้งที่ 1
ด้วยคณะกรรมการบริหารสมาคมถ่ายภาพแห่งประเทศไทย กว่า 240 คน รวมทั้งสิ้น 801 ภาพและได้ท�ำการตัดสินผลงาน
ในพระบรมราชูปถัมภ์ ด�ำริว่า อาจารย์รังสรรค์ ตันติวงศ์ เป็น ภาพถ่ายเสร็จสิ้น เมื่อวันที่ 18 เมษายน 2557 ที่ผ่านมา โดย
นั ก ถ่ า ยภาพอาวุ โ ส ผู ้ มี คุ ณู ป การแก่ ว งการถ่ า ยภาพของ คณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ จ�ำนวน 7 ท่าน ดังนี้
ประเทศไทยเป็ น อย่ า งยิ่ ง  เคยด� ำ รงต� ำ แหน่ ง นายกสมาคม • คุณรังสรรค์ ตันติวงศ์
ถ่ายภาพแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ ถึง 3 สมัย และ • คุณยรรยง โอฬาระชิน
ยังคงด�ำรงต�ำแหน่งที่ปรึกษากิตติมศักดิ์ของสมาคมฯ จนถึง • คุณวรนันทน์ ชัชวาลทิพากร
ปัจจุบนั ดังนัน้ เพือ่ เป็นการเชิดชูเกียรติอาจารย์รงั สรรค์ ตันติวงศ์  • คุณจีเส่ง หว่อง
คณะกรรมการบริ ห ารสมาคมฯ จึ ง มี ม ติ เ ป็ น เอกฉั น ท์ ใ ห้ • คุณอุดมศักดิ์ ตันติเมธ
จัดการประกวดภาพถ่ายชิงรางวัล ‘อาจารย์รังสรรค์ ตันติวงศ์’ • คุณไพบูลย์ ศิลป์งามเลิศ
ขึ้ น เป็ น การประกวดประจ� ำ ปี โดยมุ ่ ง เน้ น ภาพถ่ า ยเอกรงค์ • คุณสวัสดิ์ ปฏิภาณประเสริฐ
ในแนว ‘พิศเจริญ’ (Pictorial) เพื่อสนับสนุนและส่งเสริมผู้ที่ นอกจากนัน้ สมาคมฯ ยังได้จดั พิธมี อบรางวัลเพือ่ เป็นเกียรติ
รักการถ่ายภาพในแนวทางนี้ ให้มีเวทีประกวดเป็นการเฉพาะ ให้แก่ผไู้ ด้รบั รางวัล เมือ่ วันที่ 27 เมษายน 2557 ทีผ่ า่ นมา ในงาน
โดยในการประกวดจะมีเพียงรางวัลชนะเลิศเพียงรางวัลเดียว ประชุมใหญ่สามัญประจ�ำปี 2556 ของสมาคมฯ ณ หอศิลป-
(จ�ำนวนเงินรางวัล 100,000 บาท) เพือ่ ให้ภาพทีไ่ ด้รบั รางวัลเป็น วัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร ซึ่งในการนี้อาจารย์รังสรรค์
ภาพสุดยอดของภาพ ‘พิศเจริญ’ ประจ�ำปี อันจะเป็นเกียรติยศ ตันติวงศ์ ได้ให้เกียรติเป็นผู้มอบรางวัลแก่ผู้ได้รับรางวัลชนะเลิศ
สูงยิ่งส�ำหรับผู้ที่ได้รับรางวัลนี้  และมอบของทีร่ ะลึกแก่ผทู้ ภี่ าพได้รบั คัดเลือกผ่านเข้ารอบ 10 ภาพ
การประกวดภาพถ่ายชิงรางวัล ‘อาจารย์รังสรรค์ ตันติวงศ์’ สุดท้าย ท่ามกลางผู้เข้าร่วมประชุมที่ร่วมเป็นเกียรติ สร้างความ
ได้จัดขึ้นปีนี้เป็นปีแรก ในหัวข้อ ‘พิศเจริญเอกรงค์’ ซึ่งในปีนี้ ปลาบปลื้มใจแก่ผู้ได้รับรางวัลเป็นอย่างยิ่ง
มีช่างภาพจากทั่วประเทศส่งผลงานภาพถ่ายเข้าร่วมประกวด

34 | R P S T
| S T O R Y T E L L E R |

Annual Photographing Competition


The ‘Rangsan Tantiwong’ Award
The Royal Photographic Society of Thailand (RPST) • Mr. Rangsan Tantiwong
Committee recently hosted the 1st Annual Photographing • Mr. Yanyong Olarachin
Competition – The Rangsan Tantiwong Award to honor • Mr. Waranun Chutchawantipakorn
Professor Rangsan Tantiwong, former RPST President and • Mr. C.S. Wong
present consultant, who has wide ranging photographic • Mr. Udomsak TantiMet
experience and is now a senior photographer in Thailand. • Mr. Phaiboon Sil-Ngamlert
The competition highlighted ‘Monochrome Pictorial’ photos • Mr. Sawat Patiparnprasert
to support and promote photographers who love to display The RPST Committee also hosted the prize-giving
their photos in a pictorial style. On 18th April, the judges ceremony on 27th April 2014 at the RPST Annual Meeting
selected the winning pictorial photo of Mr. Jamikorn at the Bangkok Art and Culture Centre. Professor Rangsan
Srikam, who received a 100,000 Baht prize and the title Tantiwong was on hand to personally award the prize to
‘Best Pictorial Photo’. Mr. Jamikorn, while acknowledging 10 finalist photographers
The interesting theme for the first Rangsan Tantiwong who were given a memento for their achievements.
Award attracted more than 240 photographers who
submitted some 801 photos to the seven judges, who were

รางวัลชนะเลิศ : นายจามิกร ศรีค�ำ


1st Prize Winner : Mr. Jamikorn Srikam
ชื่อภาพ : ตลาดนัดวันเสาร์ (Saturday Market)

R P S T | 35
| S T O R Y T E L L E R |

1 ใน 10 ภาพเข้ารอบสุดท้าย : นายอนันต์ จิรมหาสุวรรณ


1 of the 10 finalist photos : Mr. Anant Jiramahasuwan
ชื่อภาพ : ผจญภัย (Venturesome)

1 ใน 10 ภาพเข้ารอบสุดท้าย : นายภัทราวุธ ทีปะปาล


1 of the 10 finalist photos : Mr. Phathawut Thipapal
ชื่อภาพ : วัฏจักร (Cycle)

36 | R P S T
| S T O R Y T E L L E R |

1 ใน 10 ภาพเข้ารอบสุดท้าย : นายพิสิฐ เสนานันท์สกุล


1 of the 10 finalist photos : Mr. Pisit Senanunsakul
ชื่อภาพ : วิถีไทย (Thai Style)

1 ใน 10 ภาพเข้ารอบสุดท้าย : นายธนากร บรรเทือง


1 of the 10 finalist photos : Mr. Tanakorn Bunthueng
ชื่อภาพ : สดชื่น (Refreshing)

R P S T | 37
| S T O R Y T E L L E R |

1 ใน 10 ภาพเข้ารอบสุดท้าย : นายเวชยันต์ ธราวิศิษฏ์ 1 ใน 10 ภาพเข้ารอบสุดท้าย : นายเวชยันต์ ธราวิศิษฏ์


1 of the 10 finalist photos : Mr. Wechyun Tarawisid 1 of the 10 finalist photos : Mr. Wechyun Tarawisid
ชื่อภาพ : แมลงปอ (Dragonfly) ชื่อภาพ : ร่วมแรงร่วมใจ (United We Stand)

1 ใน 10 ภาพเข้ารอบสุดท้าย : นายสัญชัย ลุงรุ่ง


1 of the 10 finalist photos : Mr. Sanchai Loongroong
ชื่อภาพ : ต้อนฝูงเป็ด (Shepherding the Duck)

38 | R P S T
| S T O R Y T E L L E R |

1 ใน 10 ภาพเข้ารอบสุดท้าย : นายสุรวุฒิ สุดหา


1 of the 10 finalist photos : Mr. Surawut Sudha
ชื่อภาพ : หนาวกาย แต่อุ่นหัวใจ (Warm at Heart)

1 ใน 10 ภาพเข้ารอบสุดท้าย : นายพนม อาชาฤทธิ์


1 of the 10 finalist photos : Mr. Panom Archarit
ชื่อภาพ : อาบน�้ำ (Showering)

R P S T | 39
| S T O R Y T E L L E R |

การแข่งขันถ่ายภาพ
RPST One Shot Knockout # 21st
‘ร้อน’
‘Hot’ Photographing Competition
สมาคมถ่ายภาพแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ The Royal Photographic Society of Thailand in cooperation
ร่วมกับ บริษทั ไทยเบฟเวอเรจ จ�ำกัด (มหาชน) และ บริษทั บิก๊ with Thai Beverage Public Company Limited and Big Camera
คาเมร่า จ�ำกัด ได้จดั กิจกรรมประกวดแข่งขันถ่ายภาพ ‘RPST Company, hosted its 21st Photographing Competition “RPST
One Shot Knockout ครั้งที่ 21’ ขึ้นเมื่อวันที่ 27 เมษายน One Shot Knockout” on 27th April 2014 at the Bangkok Art
2557 ที่ผ่านมา ณ หอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร and Culture Centre with over 50,000 Baht prize money up for
ภายใต้โจทย์ ‘ร้อน’ ชิงรางวัลมูลค่ากว่า 50,000 บาท grabs. The theme for this competition was ‘Hot’.

40 | R P S T
| S T O R Y T E L L E R |

รางวัลชนะเลิศ : นายชวาล ศิริมนาทร


1st Prize Winner : Mr. Chawan Sirimanatorn

R P S T | 41
| S T O R Y T E L L E R |

รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 : นายสราญศักดิ์ เพียรธุวาธรณ์


2nd Prize Winner : Mr. Saransak Piandhuvadhorn

รางวัลชมเชย : นายปกรณ์ ชุณหสวัสดิกุล


Honour Recognization : Mr. Pakorn Chunhaswasdikul

42 | R P S T
| S T O R Y T E L L E R |

รางวัลชมเชย : นายเจนศักดิ์ อมรมงคล


Honour Recognization : Mr. Jensak Amolmongkol

รางวัลชมเชย : นายเกษมสันต์ แสงสีหนาถ


Honour Recognization : Mr. Kasemsan Sangsehanat

รางวัลชมเชย : นายบรรหาร ลิ้นทอง


Honour Recognization : Mr. Banharn Linthong

R P S T | 43
| S T O R Y T E L L E R |

รางวัลชมเชย : นายชฎาธาร ฉายปุริยานนท์ รางวัลชมเชย : นาธนัตถ์ เจริญผล


Honour Recognization : Mr. Chadatharn Chaipuriyanon Honour Recognization : Mr. Thanat Charoenpol

รางวัลชมเชย : นายสมโภช แตงไทย รางวัลชมเชย : นางสาวมาลี ฤกษ์พรพิพัฒน์


Honour Recognization : Mr. Sompoch Tangthai Honour Recognization : Ms. Malee Roekpornpipat

44 | R P S T
| S T O R Y T E L L E R |

รางวัลชมเชย : นางสาวฐานะนันต์ สังข์นวล


Honour Recognization : Ms. Thananan Sangnuan

รางวัลชมเชย : นายวีระยุทธ พิริยะพรประภา


Honour Recognization : Mr. Werayutt Piriyapornprapa

รางวัลชมเชย : นายศิริพงศ์ ปทุมอัครินทร์


Honour Recognization : Mr. Siripong Patumaukkarin

R P S T | 45
| S P E C I A L F E A T U R E |

46 | R P S T
| S P E C I A L F E A T U R E |

สถาปัตยกรรมไทย
กลิ่นอายยุโรป
European Designed Thai Architecture

กรุงเทพฯ เป็นเมืองที่มีตัวอย่างของการร่วมมือเชิงสถาปัตยกรรมของไทยและตะวันตกให้เห็นอย่างประปราย
มาช้านานกว่า 180 ปี โดยการก่อสร้างสถาปัตยกรรมเหล่านี้มักจะสื่อให้เห็นถึงสถาปนิกหรือคนงานก่อสร้าง
ชาวไทยผูท้ ำ� งานร่วมกับเพือ่ นร่วมงานชาวยุโรป และการร่วมงานกันแต่ละครัง้ ก็มกั จะมีการแบ่งปันเทคนิค สไตล์
หรือแม้แต่อาหารประจ�ำชาติให้แก่กันอีกด้วย

Bangkok is dotted with examples of Western and Thai architectural collaboration that
date back over 180 years. These wonders of construction belong to an age when Thai
architects and builders worked side by side with their European companions sharing
techniques, styles and, perhaps, even their cuisine.

แม้ว่าคนไทยและชาวยุโรปจะยังท�ำงานร่วมกัน While today’s architectural endeavours do not


เพื่ อ สร้ า งอนุ ส รณ์ ส ถานแห่ ง ศตวรรษที่ 21 ต่ อ ไป seem to be in the same league as earlier
แต่ในทุกวันนี้ความพยายามเชิงสถาปัตยกรรมไม่ได้ developments, Thais and Westerners are still
แสดงออกให้เห็นถึงสิ่งเหล่านั้นมากเหมือนในช่วงที่ยัง working in partnership to create monuments
เริม่ ต้น ในครัง้ นีเ้ ราจึงยกตัวอย่างอาคารทีเ่ ป็นทีน่ า่ จดจ�ำ to the 21st century. Here we take a look at
ซึ่งได้รับการออกแบบเป็นอย่างดีพร้อมกับได้รับการ some of the most precious buildings in Bangkok
ด�ำเนินงานก่อสร้างโดยผูม้ คี วามสามารถจากชาติตา่ งๆ that were conceived, planned and executed by
ไม่วา่ จะเป็น ดัตช์, อังกฤษ, อิตาเลียน, ฝรัง่ เศส, โปรตุเกส talented Europeans of Dutch, British, Italian, French,
และจากชาติอื่นๆ อีกมากมาย Portuguese and other origins.

R P S T | 47
| S P E C I A L F E A T U R E |

สะพานปฐมบรมราชานุสรณ์ (สะพานพระพุทธยอดฟ้า)
Memorial Bridge

การก่ อ สร้ า งสะพานพระพุ ท ธยอดฟ้ า หรื อ สะพานปฐม Construction of Phra Phuttha Yodfa Bridge - Memorial
บรมราชานุสรณ์นั้นเริ่มขึ้นในวันที่ 3 ธันวาคมปี พ.ศ.2472 Bridge - began on 3rd December 1929 and was completed
และแล้วเสร็จเมื่อวันที่ 6 เมษายน พ.ศ.2475 ในสมัยพระบาท for its official opening on 6th April 1932 by King Prajadhipok
สมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 7) เนื่องในโอกาส (Rama VII) in commemoration of the 150th anniversary of
สถาปนากรุงเทพมหานครครบ 150 ปี และเพือ่ เป็นการระลึกถึง the Chakri Dynasty and the foundation of Bangkok.
ราชวงค์จักรี At just over 230 metres in length and weighing 1,100
สะพานพระพุ ท ธยอดฟ้ า เป็ น สะพานที่ มี ค วามยาวกว่ า tonnes, Memorial Bridge was the second bridge to be
230 เมตรและน�้ำหนักถึง 1,100 ตัน และเป็นสะพานแห่งที่ 2 built across the Chao Phraya River. Built by Dorman Long
ที่สร้างข้ามแม่น�้ำเจ้าพระยา บริษัทที่รับท�ำคือ Dorman Long Company from England, the same company that built
ซึ่งเป็นบริษัทจากประเทศอังกฤษ และยังเป็นบริษัทเดียวกัน Sydney Harbour Bridge, the iron bridge used to have
ทีส่ ร้างสะพาน ซิดนีย์ ฮาร์เบอร์ บริดจ์ อีกด้วย ตัวสะพานท�ำจากเหล็ก a lifting mechanism to allow ships to pass through to central
เคยมีกลไกที่ใช้เปิดสะพานตรงกลางเพื่อให้เรือลอดผ่านได้ แต่ Bangkok but this was decommissioned after the bridge
หลังจากการซ่อมแซมในปี พ.ศ.2529 ก็ได้ปลดประจ�ำการลง was refurbished in 1986.
ทางขึ้นสะพานมีเสาสองต้นวางขนาบข้างโดยมีพระบรม Two stone columns at each end of the bridge stand
ราชานุสาวรีย์ของพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก guard, while a statue of King Rama I is located on the
ตั้งอยู่บนฝั่งด้านกรุงเทพฯ เสาสองต้นนี้ได้รับการออกแบบ Bangkok side of the river. The statue was designed by
สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอเจ้าฟ้ากรมพระนริศรานุวัดติวงศ์ Prince Narissara Nuwatthiwong and cast by Professor Silpa
และปัน้ โดย ศาสตราจารย์ศลิ ป์ พีระศรี หรือชือ่ เดิมคือ คอร์ราโด Phirasri or Corrado Feroci, an Italian-born sculptor who
เฟโรซี ศิลปินชาวอิตาเลียนที่ท�ำงานในประเทศไทยเป็นหลัก worked mainly in Thailand and is considered the father of
และได้รับการยกย่องให้เป็นบิดาแห่งศิลปะร่วมสมัยของไทย modern Thai art.

48 | R P S T
| S P E C I A L F E A T U R E |

มิวเซียมสยาม (สถาบันพิพธิ ภัณฑ์การเรียนรูแ้ ห่งชาติ)


Museum of Siam

สถาบันพิพิธภัณฑ์การเรียนรู้แห่งชาตินั้นจะเห็นเป็น Housed in a stunning three-storey neo-classical


บ้านหลังขนาดย่อม สูง 3 ชัน้ สไตล์นโี อคลาสสิค โดยตัง้ อยู่ style building, the Museum of Siam is located on
บนถนนสนามไชย ตัวอาคารมีเสาโรมันกั้นระหว่างซุ้ม Sanamchai Road. With Roman-style columns, covered
ประตูโค้ง และ Female reliefs ตัวอาคารถูกท�ำให้โดดเด่น archways and female reliefs on all main window arches,
มากยิ่งขึ้น ด้วยการทาสีเหลืองมัสตาร์ดนอกอาคารและ the building stands out with its mustard coloured
หลังคากระเบื้องสีแดง facade and red tiled roof.
อาคารแห่งนี้สร้างโดยสถาปนิกชาวอิตาเลียนคือ Built by Italian architect Mario Tamagno in 1921,
มาริโอ ทามักโน ในปี พ.ศ.2455 จุดประสงค์ในการสร้าง the building’s first purpose was as the Commerce
ครัง้ แรกนัน้ เพือ่ เป็นทีต่ งั้ ของกระทรวงพาณิชย์ แต่ตอ่ มา Ministry before being converted in to a museum in
ในปี พ.ศ.2549 ได้เปลี่ยนให้เป็นสถาบันพิพิธภัณฑ์การ 2006. One of many Western architects employed
เรียนรู้แห่งชาติ ในสมัยก่อนนั้นสถาปนิกชาวยุโรปมักจะ by the Siamese government of the day, Tamagno
ถูกจ้างโดยรัฐบาลไทยในสมัยนัน้ ๆ โดยทามักโนก็ได้มาถึง arrived in Siam at the turn of the 20th century, securing
เมืองไทยในช่วงต้นศตวรรษที่ 20 และเซ็นต์สัญญา a 25-year work contract and went on to oversee the
ท�ำงานถึง 25 ปี และยังได้คุมงานการก่อสร้างอาคาร construction of many of Bangkok’s finest examples
อันน่าตื่นตาตื่นใจแห่งอื่นๆ ที่มีการออกแบบในสไตล์ of Western designs and Thai architectural wonders.
ยุโรปแต่มีกลิ่นอายสถาปัตยกรรมแบบไทยอีกต่อไป

R P S T | 49
| S P E C I A L F E A T U R E |

พระราชวังพญาไท
Phaya Thai Palace

ถูกสร้างขึ้นในปี พ.ศ.2452 ในรัชสมัยของพระบาท Built in 1909 during King Chulalongkorn’s (Rama V)


สมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 5) เพื่อเป็นที่ reign as a temporary royal residence, Phyathai
ประทับส�ำราญพระราชอิริยาบท พระราชวังพญาไทยนี้ Palace comprises five buildings all constructed in
ประกอบไปด้วยอาคาร 5 พระที่นั่ง โดยมีลักษณะทาง a combination of neo-gothic and Romanesque styles.
สถาปัตยกรรมผสมผสานระหว่างนีโอ-โกธิคและโรมาเนสก์ The interiors showcase a rococo influence, complete
การตกแต่งภายในได้รบั อิทธิพลจากศิลปะโรโกโก พร้อมเพิม่ with beautiful ceiling frescos, gilded Corinthian
ความสมบูรณ์แบบเข้าไปด้วยภาพจิตรกรรมสีปูนแห้งบน columns and elaborately carved fretworks.
เพดาน พร้อมกับเสาชุบทองและงานไม้ฉลุอันแสนปราณีต The only main building that remains from the
เบื้ อ งหลั ง ของพระราชวั ง อั น สวยงามที่ มี พื้ น ที่ ก ว่ า original palace is the Thewaratsaparom Throne Hall,
160,000 ตารางเมตร นั้นถูกใช้เป็นเมืองทดแทนเมือง a beautiful glass and wood confection of a building
จ�ำลองที่ส�ำคัญทางประวัติศาสตร์แต่หากเวลาที่พัดผ่าน that was mostly used as a theatre, reception hall and
ท�ำให้ผู้คนลืมมันไปนั่นคือ เมืองจ�ำลองหรือ ‘ดุสิตธานี’ for performing merit-making ceremonies. The edge
ที่แปลว่าสวรรค์บนดิน ซึ่งเป็นสถานที่เพื่อฝึกหัดสั่งสอน of the roof is lined with finely carved fretwork while
วิธีการปกครองท้องถิ่นในระดับเทศบาลตามรูปแบบการ columns supporting the roof and interior balcony sport
ปกครองในระบอบประชาธิปไตย intricately carved pierced bracket supports.
หลังจากนัน้ พระราชวังได้ถกู เปลีย่ นให้เป็นโรงแรม ซึง่ หาก The palace was later transformed into a hotel,
เทียบกับระดับของโรงแรมในปัจจุบันนี้ก็คงถือได้ว่าเป็น which by today’s standard would be labeled as
โรงแรมชั้ น หรู ที เ ดี ย ว แต่ ไ ด้ ป ิ ด กิ จ การลงในช่ ว งสมั ย a luxury boutique hotel. In 1952, the site was set up
สงครามโลกครั้งที่ 2 และในปี พ.ศ.2495 พระราชวังได้ถูก as a military hospital and eventually today’s Phramon-
ปรับเปลีย่ นให้เป็นโรงพยาบาลทหารบกซึง่ ก็คอื โรงพยาบาล gkutklao Hospital.
พระมงกุฎเกล้าในปัจจุบัน

50 | R P S T
| S P E C I A L F E A T U R E |

หอนาฬิกาจีน-สวนลุมพินี
Chinese Clock Tower – Lumpini Park

หนึ่งในสิ่งก่อสร้างที่น่าประหลาดใจที่สุดและยังเป็นที่ Perhaps one of the most surprising and least known


รู้จักน้อยแห่งหนึ่งในกรุงเทพฯ คือหอนาฬิกาจีนที่ตั้งอยู่ใน structures in Bangkok has to be the Chinese Clock Tower
สวนลุมพินซี งึ่ มีพนื้ ทีส่ ว่ นหนึง่ ตัง้ อยูท่ เี่ ขตศาลาแดง สวนลุมพินี in Lumpini Park. Formerly part of Sala Daeng field,
สร้างในปี พ.ศ.2468 ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปรเมนทร- King Vajiravudh (Rama VI) ordered in 1925 that a park
มหาวชิราวุธฯ (รัชกาลที่ 6) โดยมีพระราชด�ำริให้ออกแบบให้มี be built to European standards so that it could host
พื้นฐานของสไตล์ยุโรปเป็นหลักเพื่อใช้เป็นสถานที่ในการ the Siamese Kingdom Exhibition in January 1926 to
จัดงานแสดง ‘สยามรัฐพิพธิ ภัณฑ์’ ในเดือนมกราคมปี พ.ศ.2469 commemorate the 15th anniversary of his reign.
และเพื่อเป็นอนุสรณ์การครองราชย์ครบ 15 ปี The Siamese Kingdom Exhibition would be the greatest
งานสยามรัฐพิพธิ ภัณฑ์เป็นงานทีว่ างแผนการจัดไว้ยงิ่ ใหญ่ exhibition ever planned in Siam and so fittingly the most
มากทีเดียว ดังนัน้ จึงมีการวางแผนให้มสี ถาปัตยกรรมทีโ่ ดดเด่น eminent architects in the kingdom put forward plans.
วางไว้ในบริเวณสวนด้วย ในปี พ.ศ.2468 มาริโอ ทามักโน In late 1925, Italian architect Mario Tamagno submitted
สถานิกชาวอิตาเลียนจึงออกแบบหอนาฬิกาให้เป็นศิลปะแบบ the idea for a clock tower and the art deco style it
อาร์ตเดโคหรืออลังการศิลป์ และหอนาฬิกานีก้ ย็ งั ตัง้ อยูอ่ ย่าง sports ensures the structure to stands out even today.
โดดเด่นจนถึงปัจจุบนั และยังคงท�ำหน้าทีเ่ วลาอย่างเทีย่ งตรง In fact, the tower’s Citizen clock continues to give
ให้กบั ผูท้ มี่ าเยีย่ มเยียนสวนได้อย่างเทีย่ งตรงมาเป็นเวลากว่า visitors the right time some ninety years on.
90 ปีมาแล้ว

R P S T | 51
| S P E C I A L F E A T U R E |

สถานเอกอัคราชฑูตอังกฤษ
British Embassy

เมื่อประเทศอังกฤษได้ซื้อที่ดินขนาด 12 เอเคอร์ (28 ไร่) จาก


เจ้าพระยาภักดีนรเศรษฐ หรือที่รู้จักกันว่านายเลิศ ในปี พ.ศ.2465
โดยมี มร.ดับบลิว เอ อาร์ วู้ด รองกงศุลเป็นผู้ร่างแบบของอาคาร
หลัก และ มร.วู้ด ยังได้ร่างแบบของสถานกงศุลใหม่ที่สงขลาและ
เชียงใหม่อีกด้วย
ตัวอาคารได้สร้างแล้วเสร็จในปี พ.ศ.2469 และถึงแม้มีการ
ต่อเติมบ้างเล็กน้อยในบางส่วนแต่ตวั อาคารส่วนใหญ่กย็ งั อยูใ่ นสภาพ
เดิมเช่นเดียวกับในช่วงที่เริ่มสร้าง จุดที่น่าสนใจคือพัดลม ‘ปันกา’
ที่อยู่ในห้องรับประทานอาหาร โดยถูกน�ำมาจากที่สถานฑูตเดิม

When the United Kingdom purchased 12 acres (28 Rai)


of land from Phraya Pakdi Noraseth, popularly known as Nai
Lert, in 1922, it was left to Vice-Consul, Mr. W A R Wood,
to draft plans for the main Residence. Mr. Wood had been
responsible for the original draft plans of the new consulates
in Songkhla and Chiang Mai.
The buildings in the compound were completed in 1926.
With one or two minor additions, all the buildings are still
structurally the same as when they were first built in the 1920s.
An attractive feature of the Residence dining room is the
punkah, which was brought from the old Legation Residence.

52 | R P S T
| S P E C I A L F E A T U R E |

ห้องสมุดเนลสัน เฮส์
Neilson Hays Library

ในปี พ.ศ.2412 สมาคมห้องสมุดสตรีกรุงเทพฯ ได้ถูกก่อตั้งขึ้น In 1869, the Bangkok Ladies’ Library Association
โดยมีจุดประสงค์เพื่อแบ่งปันหนังสือให้กันและกัน หนึ่งในสมาชิก was formed with the aim of circulating and sharing books.
ที่กระตือรือร้นที่สุดคนหนึ่งคือ เจนนี่ เนลสัน ซึ่งในภายหลังได้ One of the most active members was Jennie Neilson
แต่งงานกับ นายแพทย์โทมัส เฮย์วดู้ เฮส์ หัวหน้านายแพทย์ของโรง who would later marry Dr. Thomas Heywood Hays, Chief
พยาบาลทหารเรือไทย เป็นเรื่องน่าเศร้าที่เจนนี่จากไปก่อนวัยอัน of the Royal Thai Navy Hospital. Sadly, Jennie passed
ควรในปี พ.ศ.2463 และเพื่อเป็นการระลึกถึงเธอ นายแพทย์ เฮย์ away in 1920 and to remember her life, Dr. Heywood
วูด้ เฮส์ จึงได้มอบหมายให้สถาปนิกชาวอิตาเลียน มาริโอ ทามักโน Hays commissioned Italian architect Mario Tamagno to
เป็นผู้สร้างห้องสมุดเนลสัน เฮส์ เพื่อเป็นสัญลักษณ์แห่งความรัก build the Neilson Hays Library as a permanent symbol of
ของเขาที่มีต่อเธอ his love for her.
ผลทีไ่ ด้กลับมาคือห้องสมุดแสนสง่างามทีม่ ตี วั อาคารเป็นสไตล์ The result is an elegant neo-classical building - sadly
นีโอ-คลาสสิค และเป็นเรือ่ งเศร้าทีเ่ จนนีไ่ ม่เคยได้เห็นมัน แต่ทกุ วันนี้ never seen by Jennie, but appreciated by so many today.
มีผู้ชื่นชมมากมาย เมื่อเปิดให้บริการในปี พ.ศ.2465 จะเห็นได้ว่า Opened on 26th June, 1922, the main building and grounds
ตัวอาคารหลักและพืน้ ได้ถกู ออกแบบโดยนายทามักโน ผูอ้ อกแบบ were designed by Tamagno and features a harmonious,
ให้อาคารมีเหลี่ยมมุมที่ถูกวางไว้อย่างชาญฉลาดจนสมมาตรกัน symmetrical building style that wisely incorporates practical
จนเป็นผลให้เกิดจุดเด่นขึ้นมา เช่น การมีผนังสองชั้นเพื่อเป็นการ features such as double walls to help keep the books
ระบายอากาศและป้องกันหนังสือจากความชืน้ นอกจากนีย้ งั มีการ well-ventilated and dry. It displays a wealth of classical
วางของตกแต่งคลาสสิคทั้งหลาย อาทิ รูปปูนปั้น เสา และการน�ำ features such as stucco decorative motifs, columns and
ไม้สักมาช่วยตกแต่งตามมุมที่เหมาะสมอีกด้วย teak fixtures and fittings.

R P S T | 53
| S P E C I A L F E A T U R E |

โกดังเอเชียตะวันออก
East Asiatic Warehouses

เมือ่ ในสมัยทีก่ ารค้าขายแลกเปลีย่ นระหว่างประเทศสยามกับชาติตะวันตก


รุง่ เรือง พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั (รัชกาลที่ 5) ทรงตระหนัก
ถึงโอกาสส�ำคัญของการแลกเปลี่ยนสินค้าจากการเดินเรือ พระองค์จึงได้ให้
ฮานส์ นีลส์ แอนเดอร์เซน ผูซ้ งึ่ เดินทางมาถึงกรุงเทพฯ เป็นคนแรก ในปี พ.ศ.2416
เป็นผู้ด�ำเนินการค้าขาย หลังจากที่นายแอนเดอร์เซนได้เดินทางกลับมาจาก
เมืองโคเปนเฮเก้นแล้วเขาจึงเริ่มท�ำธุรกิจการบรรทุกของ แล้วก่อตั้งบริษัท
East Asiatic ในปี พ.ศ.2440
อาคารโกดังของทีน่ เี่ ป็นการออกแบบในสไตล์อติ าเลียน มีหลังคาทรงโค้ง
ที่ถูกสร้างขึ้นในสมัยกลางศตวรรษที่ 19 และกลายมาเป็นสถานที่ที่ท�ำให้เกิด
เหตุการณ์ ‘ครัง้ แรก’ ขึน้ อีกหลายอย่างในทีน่ ี้ รวมถึงการมีปน้ั จัน่ ตัวแรก และ
ที่นี่ก็ยังเป็นโรงเลื่อยจักรขนาดใหญ่เพื่อท�ำการผลิตและเตรียมส่งไม้สักไปยัง
ยุโรป นอกจากนี้ยังมีรถเข็นยานยนต์เพื่อใช้ส�ำหรับขนส่งแร่ธาตุจากแม่น�้ำ
หรือเรือเดินสมุทร

As trade between Siam and the West flourished, King Chulalongkorn


(Rama V) seized the opportunity to increase maritime trade along
Thailand’s waterways. His Majesty called upon the services of Hans
Niels Andersen who first came to Bangkok in 1873. On Andersen’s
subsequent return to Copenhagen, he entered into the freight business
in East Asia and founded The East Asiatic Company (EAC) in 1897.
The Italianate-style, barreled-roof buildings were built in the mid-19th
century and were home to many firsts in Thailand, including the first
powered crane. Also housed here were huge sawmills to process the
large amounts of teak wood being shipped to Europe and a mechanized
trolley to transport mineral ore to and from river and ocean-going boats.

54 | R P S T
| S P E C I A L F E A T U R E |

สยามสมาคม
Siam Society

สยามสมาคมในพระบรมราชูปถัมภ์ ก่อตัง้ ขึน้ ในปี พ.ศ.2447 The Siam Society under Royal Patronage was founded
ด้วยการร่วมมือของนักวิชาการไทยและต่างประเทศเพื่อ in 1904 in cooperation with Thai and foreign scholars
ส่งเสริมความรูเ้ รือ่ งประเทศไทยและประเทศใกล้เคียง สถานทีต่ งั้ to promote knowledge of Thailand and its surrounding
ของสยามสมาคมนั้นตั้งอยู่ที่ถนนอโศกมนตรี และได้รับการ region. The Society’s premises on Asoke Montri Road were
ออกแบบโดยสถาปนิกชาวอังกฤษ เอ็ดเวิร์ด เฮเลย์ ในช่วง designed by British architect Edward Healey in the late
ปลายยุค 1920 และเสร็จสิน้ กระบวนการก่อสร้างทัง้ หอประชุม 1920s with completion of the auditorium and lecture hall
และห้องเรียนในปี พ.ศ.2476 in 1933.
ส่วนเรือนค�ำเทีย่ ง ซึง่ เป็นตัวอย่างของสถาปัตยกรรมล้านนา The Kamthieng House, a precious example of northern
ถูกสร้างขึน้ ในปี พ.ศ.2391 โดยนางแซ้ดลูกหลานของเจ้าเมืองแช่ Thai architecture, was originally built in 1848 by Mae Saed,
ซึง่ เคยตัง้ อยูร่ มิ ฝัง่ แม่นำ�้ ปิง จังหวัดเชียงใหม่ แต่ในปี พ.ศ. 2506 great-granddaughter of a Prince of Mueang Chae, on
นางกิมฮ้อ นิมมานเหมินทร์ เจ้าของเรือนในขณะนั้นได้มอบ the banks of the Ping River in Chiang Mai Province. The
เรื อ นให้ แ ก่ ส ยามสมาคม และเปิ ด ตั ว ให้ เ ป็ น พิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ house was given to the Society in 1963 by Nang Kimhew
ชาติพันธุ์วิทยา และรักษาศิลปะล้านนาไทย ในงานเปิดตัว Nimmanhaeminda, a descendant of the original owner and
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงเสด็จมาเป็นประธานใน inaugurated as an ethnological Lan Na Thai museum by His
วันที่ 21 พฤศจิกายน พ.ศ.2509 Majesty King Bhumibol Adulyadej, on 21st November 1966.

R P S T | 55
| F E A T U R E I N T E R |V FI E W
A T| U R E I N T E R V I E W |

แ ร ง ขั บ เ ค ลื่ อ น
ข อ ง หั ว ใ จ
‘ ผ้ า ป่ า น ’
สิ ริ ม า ไ ช ย ป รี ช า วิ ท ย ์

R P S T | 57
| F E A T U R E I N T E R V I E W |

58 | R P S T
| F E A T U R E I N T E R V I E W |

หลังจาก ผ้าป่าน - สิริมา ไชยปรีชาวิทย์ ท�ำความ “เราเริ่ ม จากการท� ำ งานก่ อ นแล้ ว ค่ อ ยไปเรี ย น
รู้จักกับการถ่ายภาพ วันเวลาของอดีตเด็กสาวขี้เบื่อ นิเทศศาสตร์ สาขาภาพยนตร์ การท�ำงานท�ำให้เราได้รู้
ก็เปลี่ยนผ่านเข้าสู่ช่วงวัยแห่งความลุ่มหลง ในแง่ของโปรดักท์ชั่นก่อนคนอื่น แม้จะไม่เหมือนกับ
การเลือกถอยตัวเองจากงานวงการบันเทิงในช่วง งานภาพยนตร์เสียทั้งหมด แต่ท�ำให้เรารู้ภาพรวม
เวลาที่เรียกได้ว่าก�ำลังไปได้สวย ของอดีตพิธีกรแห่ง ว่าอะไรเป็นอะไร ต้องท�ำอะไร จัดการอย่างไร ที่เรียน
รายการ Strawberry Cheesecake ส�ำหรับคนอื่น ด้านนีเ้ พราะเราชอบดูหนังมาก เรียกว่าหลงใหลเลยล่ะ
นัน่ อาจเหมือนการกระโดดลงจากรถประจ�ำทางทีม่ นั่ ใจ เลยท�ำให้ป่านอยากรู้ถึงวิธีการ กระบวนการ ขึ้นตอน
ว่าจะส่งคุณถึงจุดหมายปลายทาง แต่คงไม่ใช่สิ่งที่ผ้า ในการผลิต การสร้างสรรค์ผลงาน ซึ่งตอนเรียนทุกคน
ป่าน - สิริมา ไชยปรีชาวิทย์ คิดและเชื่อ หรือเป็น จะมีหน้าที่คนละอย่างตามความถนัดและความสนใจ
ไปได้ว่าเธอไม่คิดและเชื่อสิ่งใด มากไปกว่าการใช้ชีวิต งานของป่านคือก�ำกับ โอกาสได้จับกล้องจึงไม่ค่อยมี
ในแต่ละวันให้มีความสุข และด้วยความที่แต่ก่อนเราเป็นคนกลัวพวกเครื่องมือ
“ป่านท�ำงานมาตั้งแต่ ม.​3 พอถึงจุดหนึ่งก็เริ่ม ด้วยแล้ว ยิ่งรู้สึกว่ายาก ไม่กล้าเข้าไปยุ่ง” ในแง่ทฤษฎี
เกิดค�ำถามว่าชีวิตต้องการ อะไร สิ่งที่เราท�ำอยู่ (งาน ผ้าป่านเลือกปฏิเสธการถ่ายภาพแบบเป็นจริงเป็นจัง
ในวงการ) มันคือตัวตนของเรารึเปล่า ท�ำไมบางครัง้ ถึง ต่างจากภาคปฏิบตั ทิ เี่ จ้าตัวมักเก็บภาพทุกสิง่ ทีก่ ระทบ
รู้สึกเหนื่อย ไม่สนุก อึด อัด ไม่เป็นตัวเองเลย พอมัน กับความรู้สึกเก็บไว้เป็นความประทับใจส่วนตัว
เกิดค�ำถามขึน้ ก็คดิ ว่าเราต้องหยุดบ้าง เลยคุยกับทีบ่ า้ น “แรกเริม่ ป่านชอบกล้องพวก Toy Camera เรารูส้ กึ
ขอไปอยู่นิวยอร์ก 1 เดือน” ผ้าป่านเล่าถึงรอยต่อ ว่าภาพมันดูสนุก ประกอบกับปีนั้นป่านได้ Diana F+
ส�ำคัญแต่ไม่น่าสนใจมากกว่าสิ่งที่เกิดขึ้นกับทุกฉาก มาเป็นของขวัญวันเกิด เราก็เอามาถ่ายเล่นโน่นนี่
ตอนชีวติ หลังจากเธอผ่านช่วงเวลา 30 วันในนิวยอร์ก เต็มเลย เอาให้เพื่อนดู เพื่อนก็ชอบ แต่ด้วยความที่
“ป่านโตมาในครอบครัวที่เลี้ย งแบบอิสระ ลูกทั้ง Diana เป็นกล้องที่ใช้ film120 ต่อม้วนก็ถ่ายได้แค่
หกคนจะมีกจิ กรรมของตัวเอง แต่เราเป็นพวกพยายาม ประมาณ 12 รูป ไหนจะค่าล้างอีก เพื่อนเลยแนะน�ำ
จะเรียนรูท้ กุ อย่างเอง และเมือ่ มันแตะจุดๆ หนึง่ เราก็ ให้ลองเล่น Instagram ซึ่งเป็น format จัตุรัสแบบที่
รูส้ กึ ว่าพอแล้ว ไม่ทำ� แล้ว มันเป็นความสนใจระยะสัน้ ” เราชอบ ในช่วงแรกๆ Instagram ท�ำหน้าที่เหมือน
การลองผิดลองถูกกับหลายกิจกรร มชีวิต รวมถึง เป็นแกลเลอรี่ภาพถ่ายชั้นดี เราเลยได้ตามดูงานของ
การท�ำงานระดับมืออาชีพในแวดวงบันเทิง แม้กระทั่ง ช่างภาพจากหลายประเทศ พอเราได้เห็นผลงานของ
ประสบการณ์จากสังคมการศึกษาในรั้วมหาวิทยาลัย เขามันก็กระตุน้ ให้เราเกิด ‘ความอยาก’ อยากทีจ่ ะเป็น
ตลอด 4 ปี ดูเหมือนจะไม่ช่วยให้ตัวผ้าป่านได้ใกล้ชิด ผูถ้ า่ ยทอดบ้าง ประกอบกับมือถือมันอยูใ่ กล้มอื เรามาก
ความฝันระยะยาวของตัวเอง จนวันทีเ่ ธอค้นเจอมันได้ เราถ่ายทุกอย่าง เรียกได้ว่าถ่ายเหมือนเด็กแรกเกิด”
โดยความไม่ตั้งใจ จากสิ่งที่เค ยปฏิเสธตลอดหลายปี ประกายตาของผ้าป่านตอกย�้ำอารมณ์ของค�ำว่า
ที่ผ่านมา ‘ถ่ายเหมือนเด็ก’ ให้ชัดขึ้น

R P S T | 59
| F E A T U R E I N T E R V I E W |

เราจะคัดกรองความชอบด้วยตัวเราเอง
คัดเพืื่อให้เหลือแค่สิ่งที่เราชอบจริงๆ”

60 | R P S T
| F E A T U R E I N T E R V I E W |

ภาพที่ดีต้องท�ำปฏิกิริยากับคนดูได้ ไม่ว่าจะแง่มุมไหน
ก็ตาม ทั้งความประทับใจ เศร้า เหงา สุข สสดหรือหดหู่
อะไรก็ได้ที่มันสื่อสารได้”

R P S T | 61
| F E A T U R E I N T E R V I E W |

“บางคนถามป่านว่าเราจะรู้ได้อย่างไรว่าเราชอบ กับเราว่า งานเราดูมีคุณภาพ คงจะน่าเสียดายถ้าเอา


อะไร เริ่มต้นจากไหน จริงๆ แล้วไม่มีใครรู้ชัดตั้งแต่ มาท�ำโปสการ์ดอย่างเดียว จัดนิทรรศการภาพถ่ายสิ
แรกเริ่มหรอก เราเริ่มต้นจากการลงมือท�ำ ท�ำสิ่งที่เรา เดีย๋ วพีจ่ ะช่วยดูแลจัดการให้ เราจึงได้มโี อกาสจัดแสดง
คิดที่เรารู้สึก รู้ตัวอีกทีคือมันชอบมากๆ ไปแล้ว พอ นิทรรศการเดีย่ วภาพถ่ายขาว-ด�ำ NO[W]HERE MAN”
นานขึน้ เราจะคัดกรองความชอบด้วยตัวเราเอง คัดเพือ่ ยิ่งได้ถ่ายภาพก็ยิ่งท�ำให้ผ้าป่านหลงใหลในศิลปะ
ให้ เ หลื อ แค่ สิ่ ง ที่ เ ราชอบจริ ง ๆ คื อ เราเองก็ ต อบ ภาพถ่าย เธอจึงเริ่มคิดเอาจริงเอาจังกับงานถ่ายภาพ
ไม่ได้วา่ อะไรทีม่ นั ท�ำปฏิกริ ยิ ากับตัวเราทีท่ ำ� ให้เราชอบ มากขึ้ น และเพราะเป็ น คนที่ ไ ม่ มี พื้ น ฐานด้ า นนี้
มากขนาดนั้น มันคือความหลงใหลนะ ที่เราชอบภาพ เธอจึงต้องท�ำการบ้านมากกว่าปกติ “เราไม่ได้เรียน
ขาว-ด�ำ อาจเพราะงานทีเ่ ราดูสว่ นใหญ่เป็นงานขาว-ด�ำ ถ่ายภาพ แล้วพื้นฐานหรือเทคนิคต่างๆ ป่านก็ไม่ได้
ช่างภาพที่เราชื่นชอบอย่าง Henri Cartier Bresson / แม่น องค์ประกอบภาพมันต้องเป็นอย่างนั้น เราควร
Robert Doisdneau / Willy Ronis สิ่งที่เขาสื่อสารมัน ใช้เทคนิคนี้ เราไม่รู้เลย ป่านเคยมีโอกาสได้ปรึกษา
ส่งมาถึงเราที่อยู่ในยุคนี้ มันเป็นความหัศจรรย์ ผสม กับพี่ๆ ช่างภาพที่ป่านเคารพ ว่าป่านอยากเรียน
กับการทีเ่ ราชอบอะไรเก่าๆ วินเทจๆ บางครัง้ ก็รสู้ กึ ว่า เราอยากจะจริงจัง อยากรู้ทฤษฎี กลายเป็นว่าไม่มีพี่
ตัวเองเกิดผิดยุคมาก เราหลงใหลช่วงยุค 50-60’s เป็นบ้า คนไหนเชียร์ให้ไปเรียนเลย เพราะเชือ่ ในสายตาของเรา
ไปเลย เราชอบฟังเพลงเก่า The Beatles เป็นอีกเหตุผล เค้าสอนให้เราจริงใจกับสิ่งที่ถ่าย ให้ความส�ำคัญกับ
ที่ท�ำให้เราอยากเกิดในยุคนั้น ยุคนั้นเหมือนเป็นศูนย์ สิ่งเหล่านี้ให้มาก มากกว่าเทคนิกต่างๆ เราเชื่อนะ
รวมของศิลปินและจิตวิญญาณส�ำหรับเรา” เพราะส�ำหรับเรางานที่มันออกมาจากตัวเรา มันคือ
การใช้ชีวิตเพียงล�ำพังในนิวยอร์ก อาจเป็นเพียง งานศิลปะ การถ่ายภาพเป็นแขนงหนึ่งของงานศิลปะ
เศษเสี้ยวของเวลาเมื่อเทียบกับทั้งชีวิตที่ผ่านมา แต่ก็ ภาพเป็นสือ่ เราอยากสือ่ สารอะไรออกไป เรามองเห็น
มากพอที่ท�ำให้ผ้าป่าน ‘ค้นหาตัวเอง’ จนเจอ อะไร ก็สื่อสารออกไปแบบนั้น ให้มันบริสุทธิ์ เราต้อง
“แต่ละวันป่านสนุกกับการถ่ายภาพมาก เหมือนเรา มั่ น ใจในสายตาของตั ว เอง เคยมี รุ ่ น พี่ ค อมเม้ น ต์
ได้อยู่ ได้คุยกับตัวเองและก็ได้เริ่มมันอย่างจริงจัง รูปคนจูงหมาหัวขาด เขาบอกว่าถ้าเป็นคนที่รู้เรื่องหลัก
ความจริงเราไม่เคยคิดว่าจะเอากลับมาจัดแสดงผลงาน การถ่ายภาพเขาคงจะไม่ถ่ายแบบนี้ แต่อาจเพราะป่าน
เป็นนิทรรศการนะ เราคิดแค่ว่าอยากท�ำโปสการ์ด ไม่รู้ หรือไม่มัวมาคิดถึงหลักการจึงท�ำให้ป่านกล้า ป่าน
เพราะอยากน�ำเงินรายได้ไปช่วยเหลือผูไ้ ด้รบั ผลกระทบ เลยเข้าใจในสิง่ ทีพ่ เี่ ขาพูดเลย เราไม่จำ� เป็นต้องพึง่ ทฤษฎี
จากปัญหา 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ พอกลั บ มา ขนาดนั้น เราแค่จริงใจกับงาน ถามว่ามันส�ำคัญไหม
เราก็ ร วมภาพได้ เ ซตนึ ง เอาไปให้ พี่ ติ้ ว - วศิ น บุ รี มันก็ส�ำคัญในเรื่องของเทคนิคบางอย่างที่เราก็ต้อง
สุพานิชวรภาชน์” เธออ้างถึงพีช่ ายทีเ่ ธอเคารพ “พอเรา เรียนรู้ เพราะมันจะช่วยท�ำให้เราสามารถถ่ายทอดภาพ
เอาภาพไปปรึกษาเรื่องการท�ำโปสการ์ด พี่ติ้วก็บอก ที่อยู่ในหัวของเราออกมาได้ตรงที่สุด”

62 | R P S T
| F E A T U R E I N T E R V I E W |

R P S T | 63
64 | R P S T
| F E A T U R E I N T E R V I E W |

เวลาป่านถ่ายภาพ ป่านขับเคลื่อนด้วยหัวใจ”

R P S T | 65
| F E A T U R E I N T E R V I E W |

66 | R P S T
| F E A T U R E I N T E R V I E W |

“ส�ำหรับป่านภาพที่ดีต้องท�ำปฏิกิริยากับคนดูได้ จังหวัดยะลา เพื่อท�ำโปรเจกต์ ‘ลองล่องยะลา’ ภาพ


ไม่ว่าจะแง่มุมไหนก็ตาม ทั้งความประทับใจ เศร้า ของเด็ ก ๆ ที่ วิ่ ง เข้ า มาหาเราตอนที่ ย กกล้ อ งจะกด
เหงา สุข สสดหรือหดหู่ อะไรก็ได้ทมี่ นั สือ่ สารได้ เพราะ ชัตเตอร์ อารมณ์ร่วมของการพูดคุยกับชาวบ้าน ยังจ�ำ
มันสื่อสารทางด้านอารมณ์ ความรู้สึก เพราะฉะนั้น ได้ดีตอนที่เขาน�ำ้ ตาไหล แล้วบอกกับป่านว่าขอบคุณ
ขอแค่มันท�ำปฏิกิริยากับคนดู แค่นั้นพอ เพราะบางที ทีเ่ ราไม่ลมื พวกเขา ป่านคิดว่างานชิน้ นัน้ ส�ำเร็จนะโดย
ภาพถ่ายอาจเป็นแรงบันดาลใจให้คนนัน้ ๆ ไปต่อยอด ส่วนตัว เพราะคิดว่าไม่ใช่แค่คนกรุงเทพทีต่ อ้ งรู้ แต่คน
ท�ำสิ่งที่ฝันจนส�ำเร็จได้” ที่ยะลาก็ต้องรู้เหมือนกันว่าคนกรุงเทพก็ไม่ได้ทิ้งเขา
ความหลงใหลส่งแรงกระตุ้นให้ผ้าป่านมุ่งมั่นกับ เลยท�ำให้ยิ่งตั้งใจมากกับการเก็บภาพในครั้งนั้น เพื่อ
ศาสตร์ใหม่มากขึ้นตามล�ำดับ รวมถึงแพสชั่นที่เติบโต มาแสดงให้ผู้คนได้เห็นสิ่งที่เราสะท้อนในแต่ละภาพ”
ขึ้นทุกขณะ “งานหนึ่งที่ป่านรู้สึกอินกับมันมากคือ
ตอนไปถ่ายภาพในโรงเรียนสอนศาสนาแห่งหนึ่งใน ---

R P S T | 67
| F E A T U R E I N T E R V I E W |

นอกผนั ง กระจกของหอศิ ล ป์ ก รุ ง เทพฯ ฝนเริ่ ม สงบขึ้น แต่พูดมากเหมือนเดิมนะ แต่บางคนป่าน


ทิง้ เม็ดลงกลางทุง่ คอนกรีตทีร่ ะอุดว้ ยเปลวแดด ระหว่าง รู้สึกว่าเขาไม่กล้ากลับไปมองอดีตที่ผ่านมา เพราะเขา
ช่างภาพสาวสื่อสารกับคู่สนทนาอีกฝั่งของสัญญาณ รู้สึกว่าไม่ดีเลย ฉันท�ำไมเป็นอย่างนั้น ป่านกลับคิดว่า
โทรศัพท์ ผมเพิ่งสังเกตเห็นเสื้อผ้าที่กองอยู่ตรงเก้าอี้ เพราะว่าที่คุณเป็นวันนี้ คุณมาจากสิ่งนั้น ไม่ว่าตอนนี้
อีกตัว ประมาณได้วา่ อาจเป็นชุดส�ำหรับงานก่อนหน้านี้ คุณจะเป็นอะไรก็ตาม คุณมีรากเหง้ามาจากอันนั้น
หรืออีกงานถัดไป ซึง่ การท�ำงานหลายๆ อย่างควบคูก่ นั มันคือการหล่อหลอมจนกลายเป็นคุณ ถ้าป่านไม่มี
ถือเป็นเรื่องปกติส�ำหรับเจ้าของฉายา ‘ป่านจี๊ด’ แห่ง สตรอเบอร์รี่ชีสเค้กก็ไม่มีป่านในวันนี้เช่นกัน ทุกอย่าง
Strawberry Cheesecake เด็กบ้าพลังที่สามารถเติม มันคือส่วนผสม แล้ววันนีม้ นั ก็คอื ส่วนผสมของวันหน้า
พลังให้คนรอบข้างได้ไม่มีลิมิต อยู่ดี เพราะฉะนั้นอย่าเสียใจกับสิ่งที่ผ่านมา”
“ป่านเหมือนตุ๊กแก เปลี่ยนไปเรื่อยๆ ป่านรู้สึกว่า “อย่างการถ่ายภาพที่ท�ำอยู่ทุกวันนี้ ป่านว่าตัวเอง
ทุ ก อย่ า งที่ เ ราท� ำ การเปลี่ ย นแปลงมั น มี อ ยู ่ ต ลอด เติบโตพร้อมกับการเป็นช่างภาพ ป่านนิยามค�ำนีไ้ ม่ได้
อยู่แล้ว ไม่ใช่แค่ร่างกายของเรา ข้างในมันก็เปลี่ยน ไกลเกินตัวเอง จะถามว่ามันซ้อนทับกับตัวป่านไหม
มั น คื อ กระบวนการเรี ย นรู ้ ข องเราที่ มั น จะเพิ่ ม ขึ้ น ใช่ค่ะ มันซ้อนทับกันอยู่ เหมือนเลย อย่างป่านเป็น
เรื่อยๆ ตอนเด็กป่านพลังเยอะมาก ตอนเป็นพิธีกร นักเรียนป่านก็เรียน เรียนไปเรื่อยๆ ส่วนเรื่องการ
รายการทุกคนเรียกป่านว่า ‘ป่านจี๊ด’ เพราะป่านคอย ถ่ายภาพ ป่านก็เรียนรู้ ไปทีละขั้น ป่านก็เรียนรู้การ
ให้พลังคนอื่นตลอด เหมือนเป็นเชื้อไฟ ไม่รู้ว่าลิมิต เป็นช่างภาพในเบบของป่านแล้ว ณ จุดนี้เรียกได้ว่า
มั น คื อ อะไร พอโตขึ้ น มุ ม มองก็ เ ปลี่ ย นไป นิ่ ง ลง เอาจริงเอาจังกับมันมาก หมายความว่า ป่านไม่ได้เป็น

68 | R P S T
| F E A T U R E I N T E R V I E W |

ช่างภาพมืออาชีพนะ เพราะป่านยังท�ำงานหาเงินกับ
การเป็นพิธกี รหรือ Gallery Director (The Jam Factory)
ความจริงจังของเราคือ เราวางแผนไว้ว่า แต่ละปีจะ
พยายามจัดนิทรรศการ จะท�ำโปรเจกต์ส่วนตัวของ
ตั ว เอง ป่ า นเลื อ กที่ จ ะถ่ า ยทอดเฉพาะสิ่ ง ที่ มั น มา
กระทบเรา เมื่อมันกระทบ เราก็เอามันออกมา ป่าน
ท�ำงานกับภาพถ่ายในลักษณะนัน้ เป็นตัวของป่านเอง
ป่านชอบออกไปเดินถ่ายรูปตามถนนในวันหยุด เดินไป
เรือ่ ยๆ คนเดียว บางวันนีถ่ า่ ยแหลกเลยนะ แต่บางวัน
เอากล้ อ งออกไปด้ ว ยแล้ ว ไม่ ไ ด้ ถ ่ า ยเลยสั ก รู ป ก็ มี
เพราะเวลาป่านถ่ายภาพ ป่านขับเคลื่อนด้วยหัวใจ
เราออกเดิน เราเปิดตาให้กว้าง รับรู้และรู้สึกไปกับ
สิง่ แวดล้อมรอบด้าน ทัง้ หมดทัง้ มวลมันจะออกมาเอง
ออกมาจากภายในของตัวเรานี่แหละ” ติดตามผลงานได้ที่ :
www.pahparnsirima.com
Facebook : pahparn sirima photography

R P S T | 69
|| FF EE AA TT UU RR EE II NN TT EE RR VV II EE W
W ||

Driven By The Heart


‘Pahparn’
Sirima Chaipreechawit

O nce Khun Sirima ‘Pahparn’ Chaiprechawit began to


appreciate the intricacies of photography, her life
changed from that of a weary girl into passionate woman. She
chose to step out from the spotlight even though her career
for a month,” she says as she recalls the opportunities that
changed her life after 30 days in New York.
“I grew up in a family that raised me with lots of freedom
to choice. I’m one of six siblings and all of us have our own
in front of the television cameras was going well. To some it interests, but I was the one who was always willing to learn
may have seemed like an unwise choice for the former host something new. Once I reached a certain point, then I would
at Strawberry Cheesecake TV, but Khun Pahparn wanted to stop. It was like a short-term interest.”
live her life being as happy as she possibly could be. After trying her hand at a number of different jobs,
“I’ve been working in front of the cameras since I was in including a stint in the entertainment business plus four years
grade 9, but at one point I started to question what I really studying at university, she realized she still remained unfulfilled
wanted. I felt uncomfortable, not happy and I wasn’t myself. in her career. Then one day she accidentally discovered the
I felt I needed to stop and give myself some time to reflect. thing that ignited her passion even though she had tried to
So I talked to my family and I decided to go to New York deny it for a long time.

70 | R P S T
| F E A T U R E I N T E R V I E W |

“I started working in the entertainment business


after which I applied to the Art Communication Faculty for It’s all about how my heart feels.
a Theatrical Major. By working before I took classes helped
me learn real techniques and production skills. I know what
My work is driven by my heart.”
to do and how to manage things. I chose this major because
I love to watch movies; I have a passion for movies and
I want to know what happens behind the camera and how
a movie is made. When you’re in class, each student has
a specific role and most of the time I was directing. I was good to be just on a postcard. He said ‘why don’t arrange
scared of technical tools so I didn’t get the chance to use an exhibition?’ so that’s what led to NO[W]HERE MAN, my
the camera that much,” she tells RPST Magazine. solo black and white photo exhibition.
“I like toy cameras so my first camera was a Diana F+ Khun Pahparn has taken her photography skills to
that I got as a birthday present. I started taking photos here another level. She understands that anyone who has no
and there, but since the Diana series is a camera that uses basic knowledge of photography has to be more diligent.
film, I could only take 12 photos which I then had to print. She says she’s not one for studying photography classes,
This was quite expensive, so my friend introduced me to nor has she mastered all the techniques. However, she does
Instagram. Back then, Instagram was like a gallery so I had like to talk to her peers and most of them have said that
the chance to see photos from other people and that inspired taking classes doesn’t really matter. Photography is an art
me to take my own beautiful photos. I started taking photos form and it’s all about being truthful to your work and how
with my phone everywhere I went. I was like a child wanting you express your feeling through your photos.
to learn new things.” “I remembered taking a photo of a dog with its head
As she says this, I can see the sparkle in her eyes that out of the frame. One photographer I know said “someone
shows me she still has that little ‘child’ inside. who knows photographic techniques would never take
“Some people have asked me how do we know what a photo like that”. At that moment I knew it was because I did
we love and where do we start? I think nobody knows not know all the techniques. That’s why I dare take photos
the exact answer to that. I think it starts with you liking that people who know lots of techniques would never do.
something, then it becomes love and if you keep doing it Techniques might help in some situations, but photography
for long enough you will automatically stop doing what you is all about expression and I want to be honest with my
dislike. You’ll never know what you like until you start doing work; I express how I feel,” she states.
it. Lately I’ve been enjoying taking black and white photos; “For me taking a good photo means the photo needs
I like the vintage style. I’d love to go back in time to 1960’s to express feeling and be able to communicate with people.
or 70’s and listen to my favourite band, The Beatles. I think A photo can be amazing, sad, lonely, happy or depressing. As
that era was the centre of art and my favourite photographers long as the photo communicates and makes an impression
are Henri Cartier Bresson, Robert Doisdneau and Willy Ronis. with people then maybe that photo will inspire these people
I like the way they can express their feelings through their to achieve what they want to do.
photos,” she adds. “One of the most memorable jobs I’ve ever had was
Having lived alone in New York for a month was only when I took photos of a school in Yala. The vision of the
a short time compared to her whole life, but it was this period kids running towards me when I was about to take the photo
that helped her to discover what she loves. really captured my heart. I remember the people who I spoke
“Each day I really enjoy taking photos and it feels like to and I saw tears filling their eyes as they thanked me for
I can talk to myself. I never really gave much thought to not forgetting them. That was a very successful job to me
having an exhibition of my photos; I only thought maybe because it’s not only people in Bangkok who acknowledged
I’d print some as postcards and give any money I raise to the problems in Yala, but it’s also telling Yala people that we
support people living in southern Thailand. It was only when will never forget them. I was very determined when I took
I met Khun Wasinburi ‘Twe’ Supanichworapart and asked his the photos because I wanted to reflect their feelings through
opinion about my work and he said that my photos are too my photos,” she says.

R P S T | 71
| F E A T U R E I N T E R V I E W |

Outside the Bangkok Art and Cultural Centre, the rain has I don’t think I’m a professional photographer because I’m
started to fall on the concrete pavement. Nearby, a young still working as a T.V. host and gallery director at The Jam
photographer is talking with someone on the phone and I’ve Factory.
just noticed there are some clothes next to her. It might be “I have a plan that each year I will try to arrange an
her clothes from a previous job or they may be for her next exhibition and do it as my personal project. I want to project
job. It makes me remember her nickname “energetic Parn” what affects me. I want to let my feelings out and my photos
of Strawberry Cheesecake. I think her name explains how will hopefully show that. I like to walk along the street on
well she can multi-task. my day off and take photos. Some days I just walk and get
“I’m like a lizard; I can change myself. I feel like changes a lot of photos, but some days I won’t get any. It’s all about
are everywhere. Whatever you do, things will eventually how my heart feels. My work is driven by my heart. If you
change. Not just physically, but mentally too. It’s a learning walk out there and open your heart then the results will come
process. While I was working with Strawberry Cheesecake out as you feel,” she advises.
I was very energetic; like a fire that had no limit. But as time
has passed, I’m now calmer but still very talkative as usual.
I know some people are afraid to look back because they
feel bad about who they used to be, but for me I think the
past is a mixture of tomorrow. I’m always thankful to have
worked with Strawberry Cheesecake; they are a part of who
I am today, so I never have regrets. To see more of Khun Pahparn’s photos,
“I think photography has helped me to grow as a person check out :
too. I, as a person, and as a photographer am overlapping. www.pahparnsirima.com
Whatever I learn from photography I also learn as a person. Facebook : pahparn sirima photography

72 | R P S T
| F E A T U R E I N T E R V I E W |

R P S T | 73
| R P S T P H O T O T R I P |

เก็บภาพประทับใจ... สองฝั่งเจ้าพระยา
สมาคมถ่ายภาพแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์
ได้จัดกิจกรรมทริปอบรมถ่ายภาพภาคปฏิบัติ RPST PHOTO TRIP mini
ครั้งที่ 4 กรุงเทพฯ วันเสาร์ที่ 22 มีนาคม 2557
โดยวิทยากร ภูมิพัฒน์ ลิ้มสมบัติตระการ, นริศ เกตุอ�ำพันธ์

บุณฐไชย ไชยวิรุณเจริญ : ภาพ/บทความ

เวลา 09.00 น. สมาชิกสมาคมฯ ต่างทยอยกันมา กลุม่ ย่อย กลุม่ ละ 10 คน และมีสต๊าฟประจ�ำกลุม่ คอย


ลงทะเบียนพร้อมรับบัตรในการเข้าร่วมกิจกรรมฯ แนะน�ำ เริ่มจากฐานแรก ณ บริเวณพิพิธภัณฑ์ศิริราช
ณ ห้องประชุมชัน้ 7 ตึกสยามินทร์ โรงพยาบาลศิรริ าช พิมุขสถาน เรียนรู้การใช้รูรับแสงและสปีดชัตเตอร์
ซึ่งในภาคเช้าได้มีวิทยากรจากสมาคมฯ คุณภูมิพัฒน์ จากนั้นทุกกลุ่มทยอยเดินทางข้ามแม่น�้ำเจ้าพระยา
ลิม้ สมบัตติ ระการ และ คุณนริศ เกตุอำ� พันธ์ มาบรรยาย จากท่าวังหลังไปยังท่าช้างฝัง่ พระนคร โดยเรือข้ามฟาก
ให้ความรูท้ างทฤษฎีและเทคนิคการถ่ายภาพเบือ้ งต้น เพื่ อ ถ่ า ยภาพตามฐานต่ า งๆ อี ก 3 ฐาน ตั้ ง แต่
โดยให้สมาชิกทดลองฝึกถ่ายภาพในภาคปฏิบตั เิ กีย่ วกับ วัดพระแก้ว เพือ่ เรียนรูฝ้ กึ การถ่ายภาพสถาปัตยกรรม,
การใช้ชตั เตอร์สปีด การแพนกล้อง และการใช้รรู บั แสง ในมหาวิทยาลัยศิลปากร เพื่อเรียนรู้ฝึกการถ่ายภาพ
หลั ง จากนั้ น จึ ง ได้ เ ริ่ ม ให้ ส มาชิ ก ได้ ฝ ึ ก ถ่ า ยภาพใน บุคคล แสงเงา และวัดมหาธาตุ เพือ่ เรียนรูฝ้ กึ ถ่ายภาพ
สถานการณ์จริง โดยการเดินไปตามฐานต่างๆ แบ่งเป็น วิถีชีวิตและการจัดองค์ประกอบภาพ

74 | R P S T
| R P S T P H O T O T R I P |

จนถึงช่วงเย็นทุกกลุ่มได้เดินทางกลับ โดยขึ้นเรือ
ข้ามฟากจากท่ามหาธาตุไปยังท่าวังหลังฝัง่ ศิรริ าช จากนัน้
ทุกกลุม่ กลับมารวมตัวกันทีบ่ ริเวณอนุสาวรีย์ ชัน้ ล่างของ
อาคาร 100 ปี สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี
เพื่อขึ้นดาดฟ้าไปถ่ายภาพในฐานสุดท้ายกับแสงเย็น
ทิวทัศน์เมืองกรุงริมแม่นำ�้ เจ้าพระยา เรียนรูว้ ธิ กี ารถ่ายภาพ
วิวทิวทัศน์และเทคนิคการถ่ายภาพแสงไฟยามค�่ำคืน
จนถึงเวลาหนึ่งทุ่ม สมาชิกจึงได้แยกย้ายเดินทางกลับ
เป็นอันจบทริปถ่ายภาพที่อัดแน่นไปด้วยความรู้ในเชิง
ทฤษฎีและปฏิบัติ พร้อมทั้งความสนุกสนานตลอดทั้งวัน
หลังจากฝึกอบรมถ่ายภาพในทริปแล้ว ทางสมาคมฯ
ได้ให้สมาชิกส่งการบ้าน รวมทั้งหมด 3 ภาพ โดยสร้าง
อัลบั้มและโพสต์ใน https://www.facebook.com/#!/
groups/RPSTPhotoTrip/ จากนั้นทางทีมสต๊าฟของ
สมาคมฯ ได้ตรวจการบ้านพร้อมวิจารณ์และให้คำ� แนะน�ำ
ในแต่ละภาพทีส่ ง่ มา โดยให้สมาชิกสมาคมฯ ได้รว่ มสนุก ขอขอบคุณผู้ให้การสนับสนุน:
ช่วยกันร่วมโหวตภาพ ซึง่ ภาพใดทีไ่ ด้รบั การโหวตหรือกด • เจ้าคุณพระธรรมสุธี อธิบดีสงฆ์วดั มหาธาตุยวุ ราชรังสฤษฎิร์ าชวรมหาวิหาร
Like มากที่ สุ ด จ� ำ นวน 9 ภาพ จะได้ รั บ ของที่ ร ะลึ ก • ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายวางแผนและพัฒนา มหาวิทยาลัยศิลปากร
• คณบดีคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล
จาก RPST ซึ่ ง ได้ รั บ การสนั บ สนุ น ของรางวั ล จาก • ผศ.นพ. ปรัญญา สากิยลักษณ์
บริษัท บิ๊กคาเมร่า จ�ำกัด • รศ.นพ.วิทเชษฐ พิชัยศักดิ์
• ชมรมถ่ายภาพศิริราช

R P S T | 75
| R P S T P H O T O T R I P |

กิจกรรมทริปอบรมถ่ายภาพภาคปฏิบัติ
RPST PHOTO TRIP mini ครั้งที่ 4
(ทริปกรุงเทพฯ)

[ภาพที่ได้รับคะแนนโหวตสูงสุด]

นายคีรีขันธ์ ไชยพร
Mr. Keereekhan Chaiyaporn

76 | R P S T
| R P S T P H O T O T R I P |

[ภาพที่ได้รับคะแนนโหวตสูงสุด]

นายอรรถกร มณีรัตน์
Mr. Atthakorn Maneerat‫‏‬

นายธารินทร์ แก้วกัญญา
Mr. Tharin Kaewkanya

R P S T | 77
| R P S T P H O T O T R I P |

[ภาพที่ได้รับคะแนนโหวตสูงสุด]

นายพีรดนย์ อริยานุกูลธร
Mr. Peeradon Ariyanukooltorn

นายจิรวุฒิ วุฒิสากล
Mr. Chirawut Wuttisakol

78 | R P S T
| R P S T P H O T O T R I P |

[ภาพที่ได้รับคะแนนโหวตสูงสุด]

นายอิทธิ ประกายหงษ์มณี พญ.วรรนธนี อภิวัฒนเสวี


Mr. Itti Prakaihongmanee Dr. Vanthanee Apiwattanasawee

R P S T | 79
| R P S T P H O T O T R I P |

[ภาพที่ได้รับคะแนนโหวตสูงสุด]

นางกิ่งแก้ว สุนทรปิติภัทร
Mrs. Kingkeo Soonthornpitipatra

นายธีรยุทธ เธียรเงิน
Mr. Theerayut Thairngern

80 | R P S T
| R P S T P H O T O T R I P |

Capturing Our Charming City


The Royal Photographic Society of Thailand (RPST) hosted the 4th mini RPST PHOTO TRIP
in Bangkok on Saturday 22nd March 2014. Lectures were presented by experts
Mr. Phumpat Limsombattrakarn and Mr. Naris Kateaumpan

Boonthachai Chaiviroonjaroen : Photos/Article

The mini trip started with members registering


their attendance at the meeting room on the 7th
floor of Siamin Building at Siriraj Hospital. In the
morning, Mr. Phumpat Limsombattrakarn and Mr.
Naris Kateaumpan, two experts from RPST, gave
lectures on the theory and techniques of basic
photographing. Afterwards, members had the
chance to experiment taking photos using the
techniques they had learned such as shutter speed,
camera panning and aperture technique.
Once members were familiar with their new skills,
they set about finding different positions and angles
to take more photos. The first location was Siriraj
Medical Museum where they took photos focusing
on aperture and shutter speed techniques. Once
they had completed this task, they boarded a ferry Upon completion of the trip, RPST requested
boat at Wang Lang Pier to cross the Chao Phraya members to create an album with 3 photos they had
River and alighted at Tha Chang. With cameras at taken and post it at https://www.facebook.com/#!/
the ready, they walked the short distance to The groups/RPSTPhotoTrip/ so that staff could give
Grand Palace where they practiced taking valuable feedback and comments as well as advice
architecture photos. With another set of photos to the members. The first 9 photos that received
successfully captured, the team headed to Silpakorn the most “Like” on Facebook will win a prize from
University to learn how to take portrait photos with Big Camera Company plus a souvenir from RPST.
shadow techniques. The final stop of the day was at
Mahathat Temple where everyone had the chance
to perfect their technique taking lifestyle photos as
well as setting the right composition.
In the evening, members took a boat back across Special Thanks:
the river to Wang Lang Pier and as the sun was • Phra Thamsuthee, Rector of Wat Mahathat Yuwarajarangsarit
Rajaworamahavihara
setting they made their way to the rooftop of the 100th • Chancellor assistance of planning and developing department of
year of Her Royal Highness Princess Srinagarindra Silpakorn University
Building at Siriraj Hospital to take photos of Bangkok • Dean of Faculty of Medicine Siriraj Hospital
• Asst. Prof. Dr. Prajya Sakiyalak
at night. All in all, it was a day of many achievements • Asst. Prof. Dr. Witthachet Pichaisak
and new techniques learned and mastered. • Siriraj Photo club

R P S T | 81
| R E G I S T E R |

RPST Reader Survey


ร่วมตอบแบบสอบถามเกี่ยวกับความพึงพอใจนิตยสาร RPST เพื่อประโยชน์ในการน�ำข้อเสนอแนะใช้ในการปรับปรุง
นิตยสารในอนาคต พร้อมลุ้นรับของรางวัลตามเงื่อนไขที่ก�ำหนด ขอบคุณส�ำหรับความร่วมมือ

• ชื่อ - นามสกุล : .................................................................. • ชื่นชอบเนื้อหาในคอลัมน์ใดบ้าง : .......................................


เพศ : ชาย หญิง อายุ : .......................................... .........................................................................................
• งาน/ต�ำแหน่ง : ................................................................... ...............................
.............................................................................................................. เหตุผล : ............................................................................
• การศึกษา : ......................................................................... • ได้รับนิตยสาร RPST จากช่องที่ไหน
• เบอร์โทรศัพท์ : ........................ อีเมล์ : ................................. หอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร (BACC)
• เป็นสมาชิกนิตยสาร RPST หรือไม่ : ....................................... โรงแรม ร้านกาแฟ
เป็น (หมายเลขสมาชิก) ......................................................... อื่นๆ (ระบุ) : ......................................................................
ไม่เป็น • ข้อแนะน�ำเพิ่มเติม : ............................................................

ความพึงพอใจต่อนิตยสาร RPST
สิทธิพิเศษสำ�หรับ 5 ท่านแรก
ที่ตอบแบบสอบถาม
ควรปรับปรุง

รับฟรี Pinch Phone Wallet


หรือ Snap Camera Case
ดีมาก

พอใช้
ดี

จาก Timbuk2
เนื้อหา มูลค่ารางวัลละ
ปกนิตยสาร 1,750 บาท

การจัดวางรูปเล่ม
ภาพประกอบ ตอบกลับแบบสอบถามมาที่: Fax: 0-2713-3979
และติดตามประกาศรายชื่อผู้โชคดีได้ในนิตยสารฉบับถัดไป
รูปแบบการเขียน หมายเหตุ: ขอสงวนสิทธิ์ในการเปลี่ยนแปลงเงื่อนไขการรับของรางวัล

82 | R P S T
R P S T | 83
| R E G I S T E R |

84 | R P S T

You might also like