Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 12

วิชาฟสิกส เรื่อง คลื่นแมเหล็กไฟฟา ( e-Learning พื้นที่เสี่ยงภาคใต ) หนา1

คลืน่ แม่เหล็กไฟฟ้า

1. ข้อใดไม่มีความเกี่ยวข้องกับคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า หรือ แหล่งกําเนินคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า


1. ไฟฟ้ากระแสสลับความถีส่ งู ที่ไหลผ่านลวดตัวนํา
2. อิเล็กตรอนพลังงานสูงที่เคลื่อนที่ในสนามแม่เหล็ก
3. แอลฟา และ บีตา จากการสลายตัวของสารกัมมันตรังสี
4. อะตอมของไฮโดรเจนในสถานะกระตุ้น

2. คํากล่าวใดไม่ถูกต้อง
1. การเปลี่ยนแปลงระดับพลังงานของอะตอม สามารถทําให้เกิดคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าในย่าน
อินฟราเรด จนถึง รังสีเอ๊กซ์
2. เครื่องบินหรือเฮลิคอปเตอร์ที่บินผ่านหลังคาบ้านสามารถรบกวนสัญญาณคลื่นวิทยุ - โทรทัศน์ได้
3. รังสีแกมมาอาจมีแหล่งกําเนิดจากทั้งการสลายตัวของสารกัมมันตรังสีหรือการเปลี่ยนแปลงระดับ
พลังงานของอะตอมของธาตุหนักๆ เช่น ยูเรเนียม ทอเรียม หรือ พลูโตเนียม ก็ได้
4. เตาไมโครเวฟใช้คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าความถี่ 2,400 MHz เพื่อทําให้โมเลกุลของน้ําในอาหารสั่น
อย่างรุนแรงจนเกดความร้อนไปทําให้อาหารสุกได้

3. ตามทฤษฎีของแมกเวลล์ ปรากฏการณ์ใดไม่สามารถทําให้เกิดคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าได้
1. อิเล็กตรอนพลังงานสูงที่เคลื่อนที่ในสนามแม่เหล็ก
2. โปรตอนความเร็วสูงมากวิ่งเข้าชนอะตอมของธาตุหนัก
3. เส้นลวดตัวนําที่มีกระแสไฟฟ้าตรงจากแหล่งกําเนิดไฟฟ้าความต่างศักย์สูงมากไหลผ่าน
4. การหลอมโลหะในเตาหลอมอุณหภูมิสูงมาก

สอนโดย อ.จุลินทิพย พุทธวงศ (อ.จือ) เอกสารโดย อ.คมฤทธิ์ วัฒนวาที ภาควิชาฟสิกส คณะวิทยาศาสตร ม.สงขลานครินทร
วิชาฟสิกส เรื่อง คลื่นแมเหล็กไฟฟา ( e-Learning พื้นที่เสี่ยงภาคใต ) หนา2

4. จงพิจารณาข้อความที่เกี่ยวข้องกับคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าต่อไปนี้
ก. เคลื่อนที่ด้วยความเร็วแสงในสุญญากาศ แต่ความเร็วจะลงเมื่อเคลื่อนที่ในตัวกลางอื่นๆ
ข. มีสนามแม่เหล็กตั้งฉากกับสนามไฟฟ้าและตั้งฉากกับทิศการเคลื่อนที่
ค. มีการเหนี่ยวนําซึ่งกันและกันระหว่างสนามไฟฟ้าและสนามแม่เหล็ก
ง. สนามไฟฟ้าและสนามแม่เหล็กมีเฟสต่างกัน 90°
จ. เกิดขึ้นได้ก็ต่อเมื่อมีการสั่นของอะตอมหรือโมเลกุลของอนุภาคตัวกลางเท่านั้น
ข้อความใดถูกต้อง
1. ก ข และ ค 2. ก ข และ จ 3. ก ค และ ง
4. ก ง และ จ 5. ง และ จ เท่านั้น

5. คํากล่าวต่อไปนี้มีถูกต้องกี่ข้อความ
ก. คลื่นเอเอ็ม มีแอมปลิจูดคงที่ สามารถเคลือ่ นที่ผ่านบรรยากาศชั้นไอโอโนสเฟียร์ได้ดี
ข. แสงทุกสีมีความเร็วในตัวกลางเดียวกันเท่าๆ กัน แต่จะมีความถี่และความยาวคลื่นต่างกันออกไป
ค. Remote control ของโทรทัศน์เป็นการประยุกต์ใช้งานของรังสีอินฟราเรด
ง. รังสีเอ๊กซ์เคลื่อนที่ผ่านตะกั่วได้ดีกว่ารังสีแกมมาเพราะมีความยาวคลื่นมากกว่า
1. 4 2. 3 3. 2 4. 1

6. ข้อใดต่อไปนี้ประยุกต์ใช้คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าอย่างไม่ถูกต้อง
1. รังสีเอ๊กซ์: การศึกษาโครงสร้างผลึก ขนาดของผลึก
2. ไมโครเวฟ: สื่อสารระหว่างสถานีภาคพื้นดิน-สถานีอวกาศ
3. อินฟราเรด: ใช้นําวิถีจรวจไปสู่เป้าหมาย
4. เลเซอร์: ใช้ตัดแผ่นโลหะ
5. คลื่นวิทยุเอเอ็ม: ส่งสัญญาณกระจายเสียงจากสถานี

สอนโดย อ.จุลินทิพย พุทธวงศ (อ.จือ) เอกสารโดย อ.คมฤทธิ์ วัฒนวาที ภาควิชาฟสิกส คณะวิทยาศาสตร ม.สงขลานครินทร
วิชาฟสิกส เรื่อง คลื่นแมเหล็กไฟฟา ( e-Learning พื้นที่เสี่ยงภาคใต ) หนา3

7. จากรูป A – E คือสเปกตรัมของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเรียงลําดับจากความยาวคลื่นสูงไปหาต่ํา
A B C D E
ถ้า C คือคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่แผ่ออกมาจากสิ่งมีชีวิตและสามารถทะลุผา่ นเมฆหมอกหนาทึบได้ดี
แล้วรังสี A, B, D และ E อาจจะเป็นรังสีใดต่อไปนี้
ก. D = ไมโครเวฟ, E = รังสีเอ๊กซ์
ข. A = คลื่นวิทยุ, B = แสง
ค. D = อัลตร้าไวโอเลต, E = รังสีเอ๊กซ์
ง. B = ไมโครเวฟ, D = แสง
จ. B = แสง, E = รังสีแกมมา
ข้อใดสรุปผิด
1. ก และ ข 2. ก ข และ จ 3. ข ค และ ง
4. ข ง และ จ 5. ค และ ง เท่านั้น

8. คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าชนิดหนึ่งมีคุสมบัติต่อไปนี้
ก. มีแหล่งกําเนิดทั้งจากนอกโลก และ ในโลก
ข. เคลื่อนที่ผ่านชั้นไอโอโนสเฟียร์ได้
ค. ทําให้ก๊าซแตกตัวเป็นไอออนได้
ง. ทําให้เกิดรอยดําบนแผ่นฟิล์มได้
จ. มีอํานาจการทะลุทะลวงสูง แต่สามารถถูกดูดกลืนในวัสดุที่มีความหนาแน่นสูงได้
รังสีนี้คือรังสีอะไร
1. อินฟราเรด
2. แสง
3. อัลตราไวโอเลต
4. รังสีแกมมา

สอนโดย อ.จุลินทิพย พุทธวงศ (อ.จือ) เอกสารโดย อ.คมฤทธิ์ วัฒนวาที ภาควิชาฟสิกส คณะวิทยาศาสตร ม.สงขลานครินทร
วิชาฟสิกส เรื่อง คลื่นแมเหล็กไฟฟา ( e-Learning พื้นที่เสี่ยงภาคใต ) หนา4

9. จากรูปข้อใดไม่ถูกต้องสําหรับการเคลื่อนที่ของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
z
1.
r
r E
v y
r
x B

z
2. r
E
y
r r
v B
x
z
r
r E
3. B

r
y
v

x
z
r r
E B
4.
y
r
v
x

สอนโดย อ.จุลินทิพย พุทธวงศ (อ.จือ) เอกสารโดย อ.คมฤทธิ์ วัฒนวาที ภาควิชาฟสิกส คณะวิทยาศาสตร ม.สงขลานครินทร
วิชาฟสิกส เรื่อง คลื่นแมเหล็กไฟฟา ( e-Learning พื้นที่เสี่ยงภาคใต ) หนา5

10. สมมติว่าโลกกลมเกลี้ยง มีรัศมี R = 10,000 km และเสาอากาศส่งสัญญาณคลื่นโทรทัศน์มีความสูง


H = 0.5 km อยากทราบว่าถ้าจะส่งสัญญาณไปยังเครื่องรับอีกเครื่องหนึ่งบนพื้นดินโดยตรงโดยไม่ต้องมีสถานี
ถ่ายทอดเป็นระยะๆ นั้นจะส่งสัญญาณไปได้ไกลกี่กิโลเมตร
1. 80 km
2. 100 km
3. 120 km
4. 160 km

11. ถ้าวงจรเรโซแนนซ์ในเครือ่ งส่งสัญญาณวิทยุเป็นดังรูป


วงจรเรโซแนนซ์
เครื่องกําเนิด
สัญญาณ

C
L

เมื่อ L = 2.5x10-6 H และ C = 1.0x10-12 F แล้วเสาอากาศเพื่อรับคลื่นวิทยุนี้ให้ได้ชัดเจนที่สุดควรมี


ความยาวกี่เมตร
1. 3.0 เมตร
2. 2.0 เมตร
3. 1.5 เมตร
4. 1.0 เมตร

สอนโดย อ.จุลินทิพย พุทธวงศ (อ.จือ) เอกสารโดย อ.คมฤทธิ์ วัฒนวาที ภาควิชาฟสิกส คณะวิทยาศาสตร ม.สงขลานครินทร
วิชาฟสิกส เรื่อง คลื่นแมเหล็กไฟฟา ( e-Learning พื้นที่เสี่ยงภาคใต ) หนา6

12. ถ้าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าระนาบมีการเคลื่อนที่ดังรูป ถามว่าเสาอากาศสําหรับรับคลื่นแม่เหล็กควรมีรูปร่างและ


การวางตัวอย่างไร z
r
E
y
r r
B v
x

1. 2.
z z
r r
E E
เสาอากาศ เสาอากาศ
y y
r r r r
B v B v
x x

3. 4.
z z
r เสาอากาศ r เสาอากาศ
E E
(วางตัวในระนาบ xy) (วางตัวในระนาบ yz)
y y
r r r r
B v B v
x x

สอนโดย อ.จุลินทิพย พุทธวงศ (อ.จือ) เอกสารโดย อ.คมฤทธิ์ วัฒนวาที ภาควิชาฟสิกส คณะวิทยาศาสตร ม.สงขลานครินทร
วิชาฟสิกส เรื่อง คลื่นแมเหล็กไฟฟา ( e-Learning พื้นที่เสี่ยงภาคใต ) หนา7

r
13. กําหนดให้สนามแม่เหล็ก B(t ) พุ่งตัดผ่านและตั้งฉากกับระนาบของขดลวด ABCD ดังรูป (ก) และถ้า
สนามแม่เหล็กมีการเปลี่ยนแปลงตามเวลาตามกราฟในรูป (ข)
r
B (t )

r B0
D B (t ) C t (s)
0 T/4 T/2 3T/4 T
A B -B0
รูป (ก) รูป (ข)

ทิศทางของแรงเคลื่อนไฟฟ้าเหนี่ยวนํา และ กระแสไฟฟ้าเหนี่ยวนําในขดลวด ABCD จะเป็นอย่างไร


ในช่วงเวลา T/2 – 3T/4

แรงเคลื่อนไฟฟ้าเหนี่ยวนํา กระแสไฟฟ้าเหนี่ยวนํา
1. B→A→D→C B→A→D→C
2. A→B→C→D B→A→D→C
3. B→A→D→C A→B→C→D
4. A→B→C→D A→B→C→D

สอนโดย อ.จุลินทิพย พุทธวงศ (อ.จือ) เอกสารโดย อ.คมฤทธิ์ วัฒนวาที ภาควิชาฟสิกส คณะวิทยาศาสตร ม.สงขลานครินทร
วิชาฟสิกส เรื่อง คลื่นแมเหล็กไฟฟา ( e-Learning พื้นที่เสี่ยงภาคใต ) หนา8

14. จากรูป X และ Y คือแหล่งกําเนิดคลื่นไมโครเวฟแบบอาพันธ์ เริ่มต้นตัวรับสัญญาณ C (Receiver) อยู่ที่


ตําแหน่ง O จะตรวจจับสัญญาณได้ชัดเจนที่สุด ต่อมาระดับสัญญาณทีต่ รวจจับได้จะค่อยๆ ลดลงจน
เกือบศูนย์และมีค่าต่ําสุดที่ตําแหน่ง P จงความถี่ของคลื่นไมโครเวฟนี้
0.3 m
1. 100 MHz
X Y 2. 500 MHz
0.2 m 3. 1,500 MHz
0.4 m
4. 3,000 MHz
จุด P จุด O
C = ตัวรับ
สัญญาณ

15. เมื่อให้แสงสีขาวผ่านแผ่นโพลารอยด์ 1 แผ่น ข้อความใดต่อไปนี้ถูกต้อง


1. แสงที่ผ่านออกมาจะมีความยาวคลื่นเพียง 1 ค่า
2. แสงที่ผ่านออกมาจะมีเฉพาะสนามไฟฟ้า หรือ สนามแม่เหล็ก อย่างใดอย่างหนึ่ง ซึ่งจะสั่นในทิศทาง
ใดทิศทางหนึ่งเดียวเท่านั้น
3. แสงที่ผ่านออกมาจะมีความเข้มเฉลี่ยเหลือเพียงครึ่งหนึ่งของค่าความเข้มเดิมเท่านั้น
4. แสงที่ผ่านออกมาจะมีแอมปลิจูดของสนามไฟฟ้า หรือ สนามแม่เหล็ก เหลือเพียงครึ่งหนึ่งของ
ค่าเดิมเท่านั้น

สอนโดย อ.จุลินทิพย พุทธวงศ (อ.จือ) เอกสารโดย อ.คมฤทธิ์ วัฒนวาที ภาควิชาฟสิกส คณะวิทยาศาสตร ม.สงขลานครินทร
วิชาฟสิกส เรื่อง คลื่นแมเหล็กไฟฟา ( e-Learning พื้นที่เสี่ยงภาคใต ) หนา9

16. แผ่นโพลารอยด์ 2 แผ่นวางขนานกัน โดยที่แกนของแผ่นโพลารอยด์แต่ละแผ่นทํามุม θ ใดใด ต่อกันแล้ว


เมื่อให้แสงที่ไม่โพลาไรซ์ซึ่งมีความเข้ม Ι0 ผ่าน พบว่าเมื่อผ่านแผ่นแรกจะมีความเข้มเหลือ Ι1 และเมื่อ
ผ่านแผ่นทีส่ องจะมีความเข้มเหลือ Ι2
แล้วข้อใดต่อไปนี้ผิด
I2
1. ถ้า θ = 0° แล้ว ค่า =1
I1
I 3
2. ถ้า θ = 30° แล้ว ค่า 2 =
I1 4
I2 2
3. ถ้า θ = 45° แล้ว ค่า =
I1 2
I
4. ถ้า θ = 90° แล้ว ค่า 2 = 0
I1

สอนโดย อ.จุลินทิพย พุทธวงศ (อ.จือ) เอกสารโดย อ.คมฤทธิ์ วัฒนวาที ภาควิชาฟสิกส คณะวิทยาศาสตร ม.สงขลานครินทร
วิชาฟสิกส เรื่อง คลื่นแมเหล็กไฟฟา ( e-Learning พื้นที่เสี่ยงภาคใต ) หนา10

17. จากรูปรังสีสะท้อนจะโพลาไรซ์ก็ต่อเมื่อมุมตก
กระทบมีค่าเท่าใด
อากาศ n = 1
1. 30°
แก้ว n = 1.33 θp 2. 37°


3. 45°
4. 53°
แหล่งกําเนิดแสงไม่โพลาไรซ์

18. ทําไมจึงเรียกเลเซอร์ว่า “แสงอาพันธ์ (Coherent light)


1. มีพลังงานสูง มีความถี่เดียว และ มีทิศทางเดียวกัน
2. มีพลังงานเท่ากัน มีความถี่เดียวกัน และ มีเฟสเดียวกัน
3. มีความเป็นโพลาไรเซชันสูง และ มีความเข้มสูง
4. มีทิศทางเดียวกัน พลังงานเท่ากัน และ มีความเข้มสูง

สอนโดย อ.จุลินทิพย พุทธวงศ (อ.จือ) เอกสารโดย อ.คมฤทธิ์ วัฒนวาที ภาควิชาฟสิกส คณะวิทยาศาสตร ม.สงขลานครินทร
วิชาฟสิกส เรื่อง คลื่นแมเหล็กไฟฟา ( e-Learning พื้นที่เสี่ยงภาคใต ) หนา11

19. จากรูปกระบวนการใดเรียกว่า “Stimulated emission” ในการผลิตเลเซอร์


ก่อน หลัง
1. E3 = -3.5 eV E3 = -3.5 eV
E2 = -5 eV E2 = -5 eV
Photon 6.5 eV

E1 = -10 eV E1 = -10 eV

2. Photon 1.5 eV
E3 = -3.5 eV E3 = -3.5 eV
E2 = -5 eV E2 = -5 eV

E1 = -10 eV E1 = -10 eV

3.
E3 = -3.5 eV E3 = -3.5 eV
E2 = -5 eV E2 = -5 eV
Photon 5 eV
Photon 5 eV
E1 = -10 eV E1 = -10 eV

4.
E3 = -3.5 eV E3 = -3.5 eV
E2 = -5 eV E2 = -5 eV
Photon 1.5 eV
Photon 5 eV
E1 = -10 eV E1 = -10 eV

สอนโดย อ.จุลินทิพย พุทธวงศ (อ.จือ) เอกสารโดย อ.คมฤทธิ์ วัฒนวาที ภาควิชาฟสิกส คณะวิทยาศาสตร ม.สงขลานครินทร
วิชาฟสิกส เรื่อง คลื่นแมเหล็กไฟฟา ( e-Learning พื้นที่เสี่ยงภาคใต ) หนา12

20. แสง (light) และ เลเซอร์ (Laser) ต่างเป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าในย่านที่ตามองเห็นได้ แต่มีคุณสมบัติด้านใด


ต่อไปนี้ที่ทําให้ทั้งสองแตกต่างกัน
ก. พลังงานของเลเซอร์สูงกว่าแสง
ข. ความเข้มของเลเซอร์สูงกว่าแสง
ค. เลเซอร์มคี วามเป็นโพลาไรเซชันบริสุทธิสงู กว่าแสง
ง. เลเซอร์มีการกระจายของทิศทางการเคลื่อนที่มากแสง
จ. ความสามารถในการทะลุทะลวงวัตถุของเลเซอร์มากกว่าแสงที่พลังงานเดียวกัน

1. ก ค และ ง
2. ข ค และ ง
3. ค ง และ จ
4. ค และ ง เท่านั้น

สอนโดย อ.จุลินทิพย พุทธวงศ (อ.จือ) เอกสารโดย อ.คมฤทธิ์ วัฒนวาที ภาควิชาฟสิกส คณะวิทยาศาสตร ม.สงขลานครินทร

You might also like