Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 56

กลศาสตรวิศวกรรม ภาคสถิตยศาสตร บทที่ 2 สมดุลของอนุภาคและวัตถุแข็งเกร็ง

บทที่ 2
สมดุลของอนุภาคและวัตถุแข็งเกร็ง
2.1 สภาวะสมดุล คือ สภาวะที่วัตถุหยุดนิ่ง (หากหยุดนิ่งอยูกอนแลว) หรือ เคลื่อนที่ดวย
ความเร็วคงที่ (หากเคลื่อนที่มากอนเริ่มสังเกต) เนื่องจากแรงลัพธที่มากระทํากับวัตถุ มีคา
เทากับศูนย

รูปที่ 2.1 แสดงเงื่อนไขสมดุลของวัตถุ

เมื่อพิจารณาสมดุลของวัตถุ เราจะสามารถพิจารณาเงื่อนไขสมดุลของวัตถุได โดยแบง


ออกเปน 2 กรณี คือ กรณีของอนุภาค และ กรณีของวัตถุแข็งเกร็ง
กรณีของอนุภาค
เงื่อนไขสมดุลของอนุภาคใน 2 มิติ เปนดังนี้
R = ∑F = 0 (2.1)
เมื่อพิจารณาองคประกอบของสมการเวคเตอร (2.1) จะสามารถเขียนสมการสเกลารซึ่ง
เปนสมการพีชคณิตไดดังนี้ (สําหรับระบบ 2 มิติ)
R x = ∑ Fx = 0 (2.2)
R y = ∑ Fy = 0 (2.3)
เงื่อนไขสมดุลของอนุภาคใน 3 มิติ เปนดังนี้
R = ∑F = 0 (2.1)

ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล [61]
บทที่ 2 สมดุลของอนุภาคและวัตถุแข็งเกร็ง กลศาสตรวิศวกรรม ภาคสถิตยศาสตร

เมื่อพิจารณา องคประกอบของสมการเวคเตอร (2.1) ในกรณี 3 มิติ จะสามารถเขียน


สมการพีชคณิตไดจํานวน 3 สมการ ดังนี้
R x = ∑ Fx = 0 (2.4)
R y = ∑ Fy = 0 (2.5)
R z = ∑ Fz = 0 (2.6)
สําหรับเงื่อนไขโมเมนตของอนุภาคไมมีเนื่องจากแรงทุกแรงกระทําที่อนุภาคที่จุด
เดียวกัน ดังนั้น ในกรณีของอนุภาคจึงไมมีโมเมนต

กรณีของวัตถุแข็งเกร็ง (Rigid body)


เงื่อนไขสมดุลของวัตถุแข็งเกร็งสามารถเขียนไดดังนี้
R = ∑F = 0 (2.7)
และเนื่องจากแรงที่กระทํากับวัตถุแข็งเกร็ง อาจไมไดกระทําที่จุดเดียวกัน ดังนั้น ผลจากการ
ยายแรงมารวมที่จุดๆเดียวกันจะทําใหเกิดโมเมนตขึ้น ดังนั้น ในกรณีของวัตถุแข็งเกร็งจะมี
เงื่อนไขสมดุลเพิ่มมาอีก 1 สมการ คือ
∑M = 0 (2.8)
ในกรณีสมดุลของวัตถุแข็งเกร็งใน 2 มิติจะสามารถเขียนองคประกอบของสมการ (2.7)
ไดเปนสมการพีชคณิตดังนี้
R x = ∑ Fx = 0 (2.9)
R y = ∑ Fy = 0 (2.10)
และเนื่องจากปญหา 2 มิตินั้น หากกําหนดให แรงและพิกัดตางๆ วางตัวอยูบนระนาบ x− y

แลว จะพบวา โมเมนตที่เกิดขึ้นจะมีองคประกอบตามแกน z เทานั้น ในกรณี 2 มิติ จึงสามารถ


เขียนสมการ (2.8) ไดเปนสมการพีชคณิตเพียงสมการเดียว คือ
∑Mz = 0 (2.11)

ในกรณีวัตถุแข็งเกร็งใน 3 มิติ จะสามารถเขียนสมการองคประกอบของสมการ (2.7)


และสมการ (2.8) ในรูปของสมการพีชคณิตไดเปน

[62] ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล
กลศาสตรวิศวกรรม ภาคสถิตยศาสตร บทที่ 2 สมดุลของอนุภาคและวัตถุแข็งเกร็ง

∑ Fx = 0 (2.12) และ ∑Mx = 0 (2.15)


∑ Fy = 0 (2.13) ∑My = 0 (2.16)
∑ Fz = 0 (2.14) ∑Mz = 0 (2.17)

เป น ที่ น า สั ง เกตว า จํ า นวนสมการพี ช คณิ ต ที่ เ ป น เงื่ อ นไขสมดุ ล จะเป น ตั ว กํ า หนด
จํานวนตัวไมรูคา (Unknown) ดวย กลาวคือ
ในกรณีอนุภาคใน 2 มิติ; จะมีสมการสมดุลไดสูงสุด 2 สมการ จะสามารถหาตัวไมรูคา
ไดสูงสุด 2 ตัว
ในกรณีวัตถุแข็งเกร็งใน 2 มิติ; จะมีสมการสมดุลไดสูงสุด 3 สมการ จะสามารถหาตัวไม
รูคาไดสูงสุด 3 ตัว
ในกรณีอนุภาคใน 3 มิติ; จะมีสมการสมดุลไดสูงสุด 3 สมการ จะสามารถหาตัวไมรูคา
ไดสูงสุด 3 ตัว
ในกรณีวัตถุแข็งเกร็งใน 3 มิติ; จะมีสมการสมดุลไดสูงสุด 6 สมการ จะสามารถหาตัวไม
รูคาไดสูงสุด 6 ตัว

2.2 แผนภูมิอิสระของวัตถุ (Free Body Diagram: FBD)


เป น แผนภูมิที่ แ สดงแรงที่ ก ระทํ ากั บ วัต ถุ โดยใหร ายละเอี ย ดของแรงและข อมู ล
ทิศ ทางของแรงที่ ก ระทํ า กั บ วั ต ถุ โดยปกติ แ ผนภูมิ อิ ส ระของวั ต ถุ จ ะไมเ ขี ย นทั บ ไปบนรู ป
กายภาพ ( รูปโจทย ) แตจะเขียนแยกออกมาจากรูปโจทย

หลักการในการเขียน FBD
1. ปลดตัวรองรับออกแลวแทนดวยแรง
การแทนตัวรองรับดวยแรงอาศัยหลักการที่วา “จะมีแนวแรงกระทํากับวัตถุในทิศทางที่
ตานไมใหวัตถุสามารถเคลื่อนที่ไปได” ตัวอยางเชน หากพิจารณาตัวรองรับแบบลูกลอ (Roller)
ดังแสดงในตารางที่ 2.1 จะพบวา วัตถุไมสามารถเคลื่อนที่จมลงไปในพื้นได ซึ่งแสดงวามีแรงที่
พื้นกระทํากับลูกลอในแนวดันขึ้นอยู ดังนั้นหากปลดพื้นออกจากลูกลอก็จะพบวามีแรงกระทํากับ

ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล [63]
บทที่ 2 สมดุลของอนุภาคและวัตถุแข็งเกร็ง กลศาสตรวิศวกรรม ภาคสถิตยศาสตร

ลูกลอดังแสดงในตารางที่ 2.1 รายละเอียดการแทนตัวรองรับดวยแรงแตละชนิดเปนดังแสดงไว


ในตารางที่ (2.1) และ (2.2)

2. เขียนแรงภายนอกที่มากระทํากับวัตถุ
แรงภายนอกในที่นี้คือ แรงที่ไมใชแรงที่จุดรองรับและไมใชแรงที่เกิดในเนื้อของวัตถุ

3. ตรวจสอบวามีการเขียนแรงภายในหรือไมหากมีใหแกไข
แรงภายในเปนแรงที่เกิดขึ้นในเนื้อวัตถุหรือเกิดขึ้นระหวางผิวสัมผัส 2 ผิวที่แนบชิดกัน
แรงประเภทนี้ไมสามารถมองเห็นได หากไมตัดเนื้อวัตถุหรือแยกผิวสัมผัสออกจากกัน และเมื่อ
แยกออกจากกันจะเห็นแรงกระทําที่ผิวหนึ่งและแรงคูปฏิกิริยา (Reaction) ของแรงนั้นกระทําที่
อีกผิวหนึ่งเสมอ เพื่อใหเกิดความเขาใจมากขึ้นเกี่ยวกับแรงภายใน จะยกตัวอยางเพื่อพิจารณา
ดังนี้
- แรงตึงเชือก เมื่อพิจารณารูป 2.2 ก จะพบวาไมเห็นแรงตึงเชือก แมวาจะปลดพื้น
ออกแลวดังรูป 2.2 ข ก็ยังไมเห็นแรงตึงเชือก ที่เปนเชนนี้เนื่องจากแรงตึงเชือกเปนแรงภายใน
เสนเชือก หากจะเห็นแรงตึงเชือกตองตัดเสนเชือกดังรูป 2.2 ค แรงตึงเชือกซึ่งเปนแรงภายในก็
จะปรากฏขึ้น แรงภายในนี้เปนไปตามกฎขอที่ 3 ของนิวตัน โดยจะพบแรงสองแรงที่มีขนาด
เทากันและทิศทางอยูตรงขามกัน

ก. รูปกายภาพ ข. ไมเห็นแรงตึงเชือก ค. เห็นแรงตึงเชือก


รูปที่ 2.2 การพิจารณาแรงภายในแรงตึงเชือก

[64] ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล
กลศาสตรวิศวกรรม ภาคสถิตยศาสตร บทที่ 2 สมดุลของอนุภาคและวัตถุแข็งเกร็ง

ตาราง 2.1 แรงเมื่อปลดตัวรองรับในสองมิติ

จํานวนตัว
ประเภทตัวรองรับ แรงเมื่อปลดตัวรองรับ
ไมรูคา

1
ลูกลอ ตัวโยก พื้นเรียบลื่น
(Rollers) (Rocker) (Frictionless surface) แนวแรงกระทําตั้งฉากกับพื้น

1
เชือกสั้น ขอตอ แนวแรงอยูตามแนวเชือก
(Short cable) (Short link) หรือขอตอ

1
แนวแรงตั้งฉากกับเพลา
ลูกเลื่อนลื่น สลักและรองลื่น หรือผิวรอง
(Collar on frictionless rod) (Frictionless pin in slot)

2
สลักขอตอลื่น พื้นผิวขรุขระ
(Frictionless pin hinge) (rough surface) แนวแรงกระทําเปนมุมใดๆ

พื้นตรึงแนน ประกอบไปดวยแรงและ
(Fixed support) โมเมนต

ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล [65]
บทที่ 2 สมดุลของอนุภาคและวัตถุแข็งเกร็ง กลศาสตรวิศวกรรม ภาคสถิตยศาสตร

ตาราง 2.2 แรงเมื่อปลดตัวรองรับในสามมิติ

ประเภทตัวรองรับ แรงเมื่อปลดตัวรองรับ จํานวนตัวไม


รูคา

พื้นเรียบลื่น
(Smooth or Frictionless Surface)

2
ลอวางบนราง บนพื้นฝด
(Wheel on lateral constraint) (Wheel on Frictionless Fz Fy
Surface)

พื้นฝด ลูกบอลและเบารับ
(Frictionless Surface) (Ball and Socket)

เจอรนัลแบริ่ง
(Journal Bearing)

สลักลื่น
(Smooth Pin)

5
บานพับ
(Single Hinge)

[66] ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล
กลศาสตรวิศวกรรม ภาคสถิตยศาสตร บทที่ 2 สมดุลของอนุภาคและวัตถุแข็งเกร็ง

ประเภทตัวรองรับ แรงเมื่อปลดตัวรองรับ จํานวนตัวไม


รูคา

แบริ่งกันรุน
(Thrust Bearing)

เจอรนัลแบริ่งที่มีเพลาเปนสี่เหลี่ยม
(Journal Bearing with Square Shaft)

พื้นตรึงแนน
(Fixed support)

- แรงที่ผิวสัมผัส เมื่อพิจารณารูป 2.3 ก จะพบวาไมสามารถมองเห็นแรงที่พื้นกระทํา


กับกลองมวล m1 และไมเห็นแรงที่กลองมวล m1 และ m2 กระทําตอกัน แตเมื่อปลดพื้นออกดัง
แสดงในรูป 2.3 ข จะพบวาแรงภายใน ( N ) ที่พื้นดันกลองมวล m1 และ แรงที่กลองมวล m1

ดันพื้นจะปรากฏขึ้นมา แรงทั้งสองนี้เปนแรงภายในที่มีขนาดเทากันและมีทิศทางตรงกันขาม
ดังนั้น เมื่อนํากลองมวล m1 และพื้นมาประกอบเขากันใหม แรงทั้งนี้ก็จะหักลางกันจนหมด และ
กลับไปเปนดังรูป 2.3 ก คือไมเห็นแรงภายใน ในทํานองเดียวกัน เราไมเห็นแรงระหวางกลอง
มวล m1 และ m2 แตเมื่อแยกกลองออกจากกัน ดังรูป 2.3 ค แรงภายในระหวางผิวสัมผัสก็จะ
ปรากฏขึ้น

ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล [67]
บทที่ 2 สมดุลของอนุภาคและวัตถุแข็งเกร็ง กลศาสตรวิศวกรรม ภาคสถิตยศาสตร

m2g

m1g ′

ก. รูปกายภาพ ข. มองเห็นเฉพาะแรงที่พื้น ค. มองเห็น N 2 N 2′ และ N 1


กับกลองดานลาง
รูปที่ 2.3 การพิจารณาแรงที่ผิวสัมผัส

แบบฝกหัดเสริมประสบการณ
1. จงเขียน FBD ของโครงถัก ABCD

2. จงเขียน FBD ของชิ้นสวน AB

[68] ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล
กลศาสตรวิศวกรรม ภาคสถิตยศาสตร บทที่ 2 สมดุลของอนุภาคและวัตถุแข็งเกร็ง

3. จงเขียน FBD ของชิ้นสวน AB หากชิ้นสวน AB อยูในสภาวะสมดุล (คําแนะนํา: หากวัตถุรับ


แรง 3 แรงแลวสมดุล แรงทั้งสามแรงนี้จะพบกันที่จุดๆ หนึ่ง)

4. จงเขียน FBD ของมวล m1 หากระบบนี้อยูในสภาวะสมดุล (คําแนะนํา: โปรดพิจารณาพื้น


ตามความเปนจริง)

5. จงเขียน FBD ของคาน AB

ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล [69]
บทที่ 2 สมดุลของอนุภาคและวัตถุแข็งเกร็ง กลศาสตรวิศวกรรม ภาคสถิตยศาสตร

6. จงเขียน FBD ของคาน AB

7. จงเขียน FBD ของมวล m2 (คําแนะนํา: แนวแรงสปริงจะอยูตามแนวตัวสปริง เชนเดียวกับ


แรงตึงเชือก)

8. จงเขียน FBD ของคาน A

9. จงเขียน FBD ของมวล m (คําแนะนํา; พิจารณาพื้นใหละเอียด)

[70] ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล
กลศาสตรวิศวกรรม ภาคสถิตยศาสตร บทที่ 2 สมดุลของอนุภาคและวัตถุแข็งเกร็ง

ขอสังเกตในการเขียนแผนภูมิอิสระของวัตถุ
ในกรณีที่ เ ราไม ส ามารถกํ า หนดทิ ศ ทางที่ ถูก ตอ งของแรงได เราจะกํ า หนดให แ รงมี
ทิศทางไปตามทิศที่เปนบวกไวกอน สําหรับกรณีของโมเมนตก็เชนเดียวกัน แตเปนที่หนาสังเกต
วาในบางกรณีเราอาจกําหนด ทิศทางที่ถูกตองของแรงไดโดยการพิจารณาสภาพสมดุลไดดังนี้

รูปที่ 2.4 ตัวอยางการพิจารณาหาทิศทางที่ถูกตองของแรง

จากรูปที่ 2.4 จะพบวาในแนวราบมีแรงอยู 2 แรงคือ องคประกอบของแรงตึงเชือกตาม


แกนราบ ( Tx ) และแรงที่จุดรองรับกระทํากับคาน ( R x ) เมื่อแรง Tx มีทิศทางไปทางขวา แรง
Rx จะมี ทิ ศ ทางไปทางซ า ยเท า นั้ น คานจึ ง จะสมดุ ล ได ดั้ ง นั้ น จึ ง สรุ ป ได ว า R x มี ทิ ศ ทางไป
ทางซาย
ในการพิจารณาทิศทางที่ถูกตองของแรง Ry สามารถทําไดโดยการคิดโมเมนตรอบจุด
B และเมื่อพิจารณาโมเมนตเนื่องจากแรงโนมถวงของโลก (แรง mg) รอบจุด B จะเห็นวาแรง
mg ทํ าให เ กิ ด โมเมนต หมุ น ในทิ ศ ทวนเข็ ม นาฬิก า ในเมื่ อมี แ รง Ry เท านั้ น ที่ จ ะทํา ใหเ กิ ด
โมเมนตรอบจุด B ได ดังนั้นคาน AB จะอยูในสภาพสมดุลไดก็ตอเมื่อ แรง Ry ทําใหเกิด
โมเมนตหมุนในทิศทางตามเข็มนาฬิกา ดังนั้นจึงเห็นไดชัดเจนวา Ry ตองมีทิศขึ้นเทานั้น
นอกจากนี้ยังจะพบวาในบางกรณีการคิดสภาพสมดุล จะทําใหการเขียนแรงใน FBD มี
ความสมบูรณขึ้นไดดังตัวอยางตอไปนี้

ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล [71]
บทที่ 2 สมดุลของอนุภาคและวัตถุแข็งเกร็ง กลศาสตรวิศวกรรม ภาคสถิตยศาสตร

รูปที่ 2.5 ตัวอยางการพิจารณาเขียน FBD เพื่อใหเกิดความสมบูรณ

จากรูปที่ 2.5 จะพบวาเมื่อเขียน FBD ของกาน AB โดยพิจารณารองวาเปนรองเรียบ


ลื่น (Smooth Slot) จะไดผลลัพธดังรูป แตเมื่อลากเสนตอระหวางแนวแรง T และ Rx จะพบวา
แรงทั้งสองแนวมาตัดกันที่จุด O ดังนั้นหากคิดโมเมนตรอบจุด O ก็จะพบวามีเพียงแรง mg ที่
ทําใหเกิดโมเมนตเทานั้น ดังนั้นจึงสรุปไดวาตองมีแรงอื่นอีกที่ไมไดปรากฏอยูในรูปซึ่งในกรณีนี้
ความเปนไปไดมีเพียงอยางเดียวคือผิวรอง (Slot surface) จะตองมีความเสียดทาน และแผนภูมิ
อิสระของวัตถุที่ถูกตองในกรณีนี้ สามารถเขียนไดดังรูปที่ 2.6

รูปที่ 2.6 แผนภูมิอิสระในรูปที่ 2.5 ที่มีความสมบูรณแลว

ตัวรองรับที่ทําใหเกิดโมเมนตที่เกินความจําเปน (Redundant moment)


อีกประเด็นหนึ่งที่มีความสําคัญอยางยิ่งในการเขียน FBD สําหรับปญหา 3 มิติ ก็คือ ตัว
รองรับประเภท แบริ่ง (Single journal bearing), ทรัสแบริ่ง (Single thrust bearing), สลักลื่น
(Single smooth pin) และขอตอหมุน (Single hinge) ตัวรองรับเหลานี้เปนตัวรองรับที่อาจทําให
เกิดโมเมนตที่เกินความจําเปนในการทําใหเกิดสภาพสมดุล (Redundant moment) ในกรณี
เชนนี้ อาจตัดโมเมนตเหลานั้นออกได เพราะการมีอยูของโมเมนตที่แทนตัวรองรับเหลานี้อาจ

[72] ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล
กลศาสตรวิศวกรรม ภาคสถิตยศาสตร บทที่ 2 สมดุลของอนุภาคและวัตถุแข็งเกร็ง

ทําใหไมสามารถแกสมการสมดุลเพื่อหาคําตอบได และอีกประการหนึ่งคือ การมีเพียงแรงที่แทน


ตัวรองรับเหลานี้ ก็เพียงพอที่จะทําใหเกิดสมดุลได ดังนั้น จึงอาจสรุปไดวา “สําหรับตัวรองรับที่
กลาวมาขางตน หากการเขียนแรงแทนตัวรองรับเพียงพอที่จะทําใหเกิดสภาพสมดุล ก็อาจไม
จํ า เป น ต อ งเขี ย นโมเมนต ที่ ตั ว รองรั บ เพิ่ ม เข า ไป แต อ ย า งไรก็ ดี หากแรงแทนตั ว รองรั บ ไม
เพียงพอที่จะทําใหเกิดสภาพสมดุล ก็จําเปนที่จะตองเขียนโมเมนตเพิ่มเขาไปเพื่อแทนตัวรองรับ
ดวย” ตัวอยางการพิจารณาในกรณีนี้อาจดูไดจากตัวอยางตอไปนี้

รูปที่ 2.7 การพิจารณาโมเมนตที่เกินความจําเปน

จากรูปที่ 2.7 จะพบวา แรงเนื่องจากมวลของประตู (mg) จะทําใหเกิดโมเมนตรอบแกน


y เทานั้น ซึ่งในกรณีนี้แรง PZ และ QZ ก็เพียงพอที่จะทําใหเกิดโมเมนตเพื่อทําใหเกิดสภาพ
สมดุลได (พิสูจนไดจากการคิดคาโมเมนตรอบจุด A หรือจุด B จะเห็นวามีแรงสองแรงที่ทําให
เกิดโมเมนตตานกันเสมอ) ดังนั้น โมเมนตที่ตัวรองรับทั้งหมดจึงตัดออกไมตองนํามาคิดได ซึ่งก็
จะทําใหในกรณีนี้มีตัวไมรูคา (Unknown) เพียง 6 ตัว ( Px , Py , Pz , Q x , Q y และ Qz ) ซึ่ง
สามารถแกสมการหาคําตอบได
แตหากเราพิจารณาปญหานี้ใหมอีกครั้งหนึ่งโดยประตูนี้ไมมีจุดรองรับ (Hinge) ที่
ดานบนของประตู จะพบวาในกรณีนี้แรง Qz เพียงแรงเดียวไมเพียงพอที่จะทําใหเกิดสมดุล
โมเมนตได (ลองพิจารณาไดโดยคิดโมเมนตรอบจุด A ซึ่งจะมีแรง mg เพียงแรงเดียวที่ทําให
เกิดโมเมนต) ดังนั้นจึงตองเพิ่มโมเมนต My เขาไปที่ตัวรองรับ เพื่อทําใหเกิดสมดุลโมเมนต
รอบแกน y

ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล [73]
บทที่ 2 สมดุลของอนุภาคและวัตถุแข็งเกร็ง กลศาสตรวิศวกรรม ภาคสถิตยศาสตร

ถอดบานประตู
ที่จุดนี้ออกไป

รูปที่ 2.8 การพิจารณาประตูในกรณีที่มีตัวรองรับเพียงอันเดียวที่จุด A

ในการคํานวณปญหา 3 มิติที่มีความซับซอนของรูปมากๆ นั้น การพิจารณาดวยวิธีการ


ขางตนอาจทําไดยาก วิธีการที่ชวยใหการคํานวณสะดวกขึ้นก็คือ การคิดโมเมนตที่ตัวรองรับไป
ทั้งหมดกอน และเมื่อทําการเขียนสมการสมดุลและแกปญหาแลวพบวา วัตถุอยูในสภาพสมดุล
ได โดยไมตองมีโมเมนตที่ตัวรองรับเหลานี้ ก็จึงคอยกําหนดใหมันมีคาเทากับศูนย (นั่นคือคิดวา
โมเมนตเหลานี้เปนตัวเกิน หรือ Redundant ทําใหสามารถตัดออกได) วิธีการนี้ทําใหสะดวกใน
การเขียน FBD แตอยางไรก็ดีพึงระลึกไวเสมอวา จะตองเขียนสมการสมดุลทั้งหมดขึ้นกอนแลว
จึงพิจารณาตัดโมเมนตที่เปนตัวเกินออกจากสมการ และโมเมนตที่ตัดอออกจากสมการเหลานั้น
ได ตองเปนโมเมนตที่เกิดจากตัวรองรับสามมิติประเภท Journal bearing, thrust bearing,
smooth pin และ Single hinge เทานั้นสําหรับการคํานวณปญหา 3 มิตินั้นจะไดกลาวถึง
รายละเอียดในหัวขอตอไป

ชิ้นสวนที่รบั แรง 2 แรงและชิ้นสวนทีร่ ับแรง 3 แรง


(Two - force members and Three - force members)
หากมีวัตถุเกร็งใดๆ มีแรงกระทํา 2 แรง และไมมีโมเมนตกระทําบนวัตถุเกร็งนั้น จะ
พบวาวัตถุเกร็งนั้นจะอยูในสภาพสมดุลได ก็ตอเมื่อแรง 2 แรงนั้นอยูในแนวเดียวกันเทานั้น และ

[74] ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล
กลศาสตรวิศวกรรม ภาคสถิตยศาสตร บทที่ 2 สมดุลของอนุภาคและวัตถุแข็งเกร็ง

แรงทั้ง 2 แรงนี้จะมีขนาดเทากัน แตมีทิศทางตรงกันขาม เราเรียกวัตถุเกร็งที่มีแรงกระทําใน


ลักษณะนี้วา ”Two - force members”
การพิสูจนความจริงขางตน ในประเด็นทีว่ า ”วัตถุเกร็งจะอยูในสภาพสมดุลไดเมื่อ แรง
ทั้ง 2 แรง อยูในแนวเดียวกันเทานั้น” ทําไดโดยการคิดโมเมนตรอบจุด B ดังแสดงในรูที่ 2.9 ซึ่ง
จะไดวา

รูปที่ 2.9 แสดงชิ้นสวนที่รับแรงสองแรง (Two force member)

∑M B = F1 sin θ 1 (l 1 ) − F1 cos θ1 (l 2 )

ในกรณีที่เกิดสภาพสมดุลจะไดวา
F1 sin θ1 (l 1 ) − F1 cos θ1 (l 2 ) = 0
จัดรูปสมการขางตนจะไดวา
sin θ1 l
= tan θ1 = 2 = tan β
cos θ1 l1

เมื่อพิจารณาสมการขางตน จะเห็นวา β = θ1 ดังนั้นจึงสรุปไดวาแนวแรง F1 ตองอยู


บนแนวเดียวกับแนวเสนประซึ่งลากเชื่อมตอระหวางจุดที่แรง F2 กระทําอยู ในทํานองเดียวกัน
เมื่อคิดโมเมนตรอบจุด A จะไดวา
∑M A = F2 sin θ 2 (l 1 ) − F2 sin θ 2 (l 2 )
sin θ 2 l
ในกรณีสมดุลจะไดวา = tan θ 2 = 2 = tan β หรือ θ2 = β
cos θ 2 l1

ดังนั้นจึงสรุปวาแนวแรง F1 และ F2 ในกรณีนี้จะทําใหเกิดสภาพสมดุลได เมื่อแนว


แรงทั้ง 2 แรงนี้อยูบนแนวเดียวกัน

ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล [75]
บทที่ 2 สมดุลของอนุภาคและวัตถุแข็งเกร็ง กลศาสตรวิศวกรรม ภาคสถิตยศาสตร

เมื่อสรุปไดแลววา แนวแรงทั้งสองอยูบนแนวเดียวกัน จะพบวา เมื่อคิดสมดุลแรงบน


แนวเดียวกัน จะพบวา เมื่อคิดสมดุลแรงบนแนวเสนประในรูปที่ 2.8
จะพบวา; ∑F AB =0 +

แทนคาจะไดวา; F1 - F2 = 0 หรือ F1 = - F2

ดังนั้น จึงสามารถสรุปไดวา F1 และ F2 มีขนาดเทากันแตมที ิศทางตรงกันขาม

สรุป ชิ้นสวนที่มีแรง 2 แรงกระทํา และไมมีโมเมนตกระทําบนชิ้นสวน จะพบวาแรงที่


กระทําบนชิ้นสวนจะอยูบนแนวที่ลากตอระหวางจุดที่แรงทั้ง 2 แรงกระทําอยู และแรงทั้งสองแรง
นี้จะมีขนาดเทากัน แตมีทิศทางตรงกันขาม เรียกชิ้นสวนในลักษณะนี้วา “Two - force
members” ตัวอยางอื่นๆ ของ Two - force members เปนดังแสดงในรูปที่ 2.10

รูปที่ 2.10 แสดงชิ้นสวนที่เปน Two - force members

สําหรับวัตถุเกร็งที่มี แรงกระทํา 3 แรง โดยไมมีโมเมนตกระทํากับวัตถุเกร็ง จะพบวา


วัตถุเกร็งนั้น จะอยูในสภาพสมดุลไดก็ตอเมื่อ แนวแรงทั้งสามมาพบกันที่จุดๆ หนึ่ง เราเรียก
วัตถุเกร็งในลักษณะนี้วา ”Three - force members” การพิสูจนความจริงในประเด็นนี้สามารถ
ทําไดโดยการคิดโมเมนตรอบจุดที่แรงกระทํา แลวพิจารณาเงื่อนไขสมดุล ตัวอยางของ Three -
force members แสดงไวในรูปที่ 2.11

[76] ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล
กลศาสตรวิศวกรรม ภาคสถิตยศาสตร บทที่ 2 สมดุลของอนุภาคและวัตถุแข็งเกร็ง

กรณีกลุมแรงพบกันที่จุดๆ หนึ่ง กรณีกลุมแรงพบกันที่จุดๆ อนันต


รูปที่ 2.11 แสดงชิ้นสวนที่เปน three force member

2.3 หลักการในการคํานวณสภาพสมดุล
ในการคํานวณสภาพสมดุลนั้น ทําโดยการใชสมการสมดุล (2.1) - (2.17) แลวแต
เงื่อนไขของวัตถุที่พิจารณา อยางไรก็ดีในการเริ่มตนฝกหัดคํานวณสภาพสมดุลมีหลักเกณฑ
เพื่อชวยใหการคํานวณงายขึ้นดังนี้
1. ใหระลึกไวเสมอวา การเขียนแผนภูมิอิสระของวัตถุ (FBD) นั้น เราสามารถเขียนได
หลายรูปจากรูปกายภาพ (รูปโจทย) ที่กําหนดให ในบางกรณีอาจใชรูปแผนภูมิอิสระของแรง
เพียงรูปเดียวก็ไดคําตอบ บางกรณีอาจตองใชหลายๆ รูปพิจารณารวมกัน ดังนั้น “อยายึดติด
กับแผนภูมิอิสระของวัตถุเพียงรูปเดียว” ใหฝกเขียนแผนภูมิอิสระของวัตถุไวหลายรูป แลว
ฝกพิจารณาความเปนไปไดในการใชรูปแผนภูมิอิสระของวัตถุในการหาคําตอบ
2. ใหนับจํานวนตัวไมรูคา (Unknown) จากแผนภูมิอิสระของแรง แลวนับจํานวนสมการ
สมดุลที่ใชได หากจํานวนสมการสมดุลนอยกวาจํานวนตัวไมรูคา ก็อาจสรุปไดวา รูปแผนภูมิ
อิสระของวัตถุที่นํามาใชนั้นใชไมได หรืออาจตองใชแผนภูมิอิสระของวัตถุรูปอื่นมาชวย
3. ในการคํานวณใหเริ่มจากการคิดโมเมนต (Take moment) รอบจุดที่มีแรงไมรูคาผาน
มากที่สุด เพื่อใหการแกสมการหาตัวไมรูคาทําไดงายขึ้น และในทํานองเดียวกันในกรณีปญหา 3
มิติ ใหใชการคิดสมดุลรอบจุดหรือโมเมนตรอบแกนที่มีแรงไมรูคาผานมากที่สุด
4. เครื่องหมายลบทีเ่ กิดขึ้นจากการคํานวณ ใหความหมายวา แรงที่คํานวณไดมีทศิ ทาง
“ตรงขาม” กับที่กําหนดไวในแผนภูมิอิสระของวัตถุ

ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล [77]
บทที่ 2 สมดุลของอนุภาคและวัตถุแข็งเกร็ง กลศาสตรวิศวกรรม ภาคสถิตยศาสตร

ตัวอยาง 2.1 จงหาแรงที่จุดรองรับที่กระทํากับโครงสรางดังแสดงในรูป

วิธีทํา จากโจทยสามารถเขียน FBD ไดดังนี้

จากรูป FBD จํานวน Unknown = 3 แรง


มีสมการสมดุลใชได = 3 สมการ
∴ แกหาคําตอบได

ในกรณีนี้เปนการยากในการกําหนดทิศทางที่ถูกตองของแรงไมรูคา (Unknown) ดังนั้น


จึงกําหนดใหคา Px และ Rx มีทิศเปนบวก
∑M A =0

(พิจารณาโมเมนตรอบจุด A เนื่องจากจะทําให Unknown Px และ Py หายไป)


(4) (3)
R x (1)-1200 (1) +1200 (0.5) = 0
5 5
R x = 960 − 360

= 600 N
(คาที่ไดเปนบวกแสดงวาทิศทางที่กําหนดไวถูกตอง)

[78] ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล
กลศาสตรวิศวกรรม ภาคสถิตยศาสตร บทที่ 2 สมดุลของอนุภาคและวัตถุแข็งเกร็ง

∑F x =0 ⎯+
⎯→
(3)
Px + R x − 1200 =0
5
Px = 720 − 600

= 120 N
(คาที่ไดเปนคาบวก แสดงวาทิศทางที่กําหนดไวถูกตองแลว)
∑F y =0 ↑+
(4)
1200 − Py = 0
5
Py = 960 N

สรุปคําตอบ R x = 600 N ทิศ →

P x = 120 N ทิศ ←

Py = 960 N ทิศ ↓ ตอบ

ตัวอยาง 2.2 จงหาแรงที่กระทําที่จุด B, C และ D ของชิ้นสวนที่มีแรง 800 N กระทําตาม


แนวราบดังแสดงในรูป

ขอสังเกต 1. รูป FBD รูปนี้แสดงตัวไมรคู าตัว 3 ตัว และใชสมการสมดุลได 3 สมการ ดังนั้นจึง


นาจะใชรูปนี้ในการคํานวณได
2. แรงที่ลอดันพื้นจะมีเพียงดานเดียว เพราะมีการกดหรือดันเพียงดานเดียวเทานั้น
ทั้งในจุด B และ C ทําใหเขียน FBD ไดดังรูป

ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล [79]
บทที่ 2 สมดุลของอนุภาคและวัตถุแข็งเกร็ง กลศาสตรวิศวกรรม ภาคสถิตยศาสตร

วิธีทํา ∑M D =0

− 800(0.24) − N 1 (0.2) − N 2 (0.1) = 0


0.2 N 1 − 0.1N 2 = −192 (1)
∑F x =0 ⎯+
⎯→

800 + N 1 cos 37 ° + N 2 cos 37 ° = 0


0.8 N 1 + 0.8 N 2 = −800 (2)
แกสมการ (1) และ (2) จะไดวา;
0.4 N 2 = −32

N 2 = −80 N
และ N 1 = −920 N

∑F y =0 +↑

N 1 sin 37° + N 2 sin 37° + N 3 = 0

0.6 N 1 + 0.6 N 2 + N 3 = 0

N 3 = −0.6[N 1 + N 2 ]

= 600 N

สรุปคําตอบ N 2 = 80 N ทิศ
N 1 = 920 N ทิศ
N 3 = 600 N ทิศ ↑ ตอบ

ข อ สั ง เกต ในการคํ า นวณหากไม ท ราบทิ ศ ทางที่ แ ท จ ริ ง ของแรงไม ท ราบค า ให


กําหนดทิศทางไปในทางเดียวกันทั้งหมดกอน และไมควรกลับทิศทางเมื่อไดคาติดลบในระหวาง
การคํานวณ ใหแทนคาติดลบไปจนจบการคํานวณ แลวจึงสรุปทิศทางที่แทจริงของแรงทั้งหมด
เมื่อคํานวณเสร็จ

[80] ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล
กลศาสตรวิศวกรรม ภาคสถิตยศาสตร บทที่ 2 สมดุลของอนุภาคและวัตถุแข็งเกร็ง

ตัวอยาง 2.3 หากแรงตึงเชือกในรูปมีคา 1300 นิวตัน และสปริงมีคานิจ 100N/m จงคํานวณหา


แรงที่จุดรองรับ A

วิธีทํา รูป FBD 1, FBD 2 และ FBD 4 ไมเหมาะที่จะใชในการเริ่มคํานวณ เนื่องจากแตละรูปมี


จํานวน Unknown มากกวา สมการสมดุล (FBD 1 มี 4 Unknown แตใชสมการสมดุลได 3
สมการ FBD 2 มี 4 Unknown แตใชสมการสมดุลได 3 สมการ FBD 4 มี 4 Unknown แตใช
สมการสมดุลได 3 สมการ)
และ FBD 3 ใชสมการสมดุลไมได จึงไมควรนํามาเริ่มคิดเชนกัน ในขณะที่รูป FBD 5 มี
ความเหมาะในการเริ่มคํานวณ เพราะมีตัวไมรูคา 2 ตัว ในขณะที่สมการที่ใชงานได 3 สมการ
ดังนั้นจึงใชรูป FBD 5

ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล [81]
บทที่ 2 สมดุลของอนุภาคและวัตถุแข็งเกร็ง กลศาสตรวิศวกรรม ภาคสถิตยศาสตร

จาก FBD 5; ∑F x = 0⎯+


⎯→

T cos 45° + T − FS = 0

FS = 2219.24 N

∑F y =0 ↑+

T sin 45° − N = 0

N = T sin 45°

= 919.24 N
จาก FBD 5 จะเห็นไดวา จุดรองรับ A มีแรง FS และ N มากระทํา ดังนั้นขนาดของแรงลัพธ
( R A ) ที่จุดรองรับ A หาไดจาก
∴ R A = 2219.24 2 + 919.24 2

= 2401.98 N
919.24
tan θ =
2219.24

θ = 22.5

ดังนั้นแรงที่จุดรองรับ A มีคา 2401.58 N ทิศ ตอบ

ขอสังเกต ตัวอยางนี้แสดงใหเห็นวารูป FBD ที่เขียนไดจากรูปโจทยอาจไมไดมีเพียงรูปเดียว


ดังนั้น สิ่งที่สําคัญที่สุดคือ “อยายึดติดกับรูป FBD เพียงรูปใดรูปหนึ่ง เพราะ FBD เขียนไดหลาย
รูป ดังนั้นรูปที่เหมาะสมดังรูปที่มีจํานวนตัวไมรูคา (Unknown) นอยกวาหรือเทากับจํานวน
สมการสมดุล”

ตัวอยาง 2.4 จากรูป จงหาระยะยืดของสปริงที่ทําใหมวล 20 kg อยูในสภาวะสมดุลเมื่อมวล


ทางดานขวามือนอยมากจนไมตองนํามาคิด

[82] ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล
กลศาสตรวิศวกรรม ภาคสถิตยศาสตร บทที่ 2 สมดุลของอนุภาคและวัตถุแข็งเกร็ง

ขอสังเกต; FS = k ( x 1 − x0 )

เมื่อ k คือคานิจสปริง
x1 คือระยะสุดทายหลังสปริงยืด
x0 คือระยะความยาวกอนยืดตัว (Unstretch length) ของสปริง
FS คือ แรงสปริง

วิธีทํา เขียนแผนภูมิอิสระของแรง จะได FBD ของแตละรูปดังนี้

จะพบวา FBD 2 และ FBD 3 ไมเหมาะสมในการใชงานเริ่มในการคํานวณ เนื่องจากทั้ง


รูปนี้มีตัวไมรูคา (Unknown) มากกวาสมการสมดุล (FBD 2 ใชสมการสมดุลไมได และ FBD 3
ใชสมการสมดุลได 1 สมการแตมี 2 Unknown) ในขณะที่ FBD 1 มี Unknown 2 ตัวแต ใช
สมการสมดุลได 2 สมการดังนั้นจะเห็นวา FBD 1 มีความเหมาะสมในการใชในการคํานวณ
จาก FBD1; ∑F y =0 +↑
N sin 37° − mg = 0
mg 20(9.81)
N= =
sin 37° sin 37°
= 326.01 N

∑F x =0 ⎯+
⎯→

FS − N cos 37° = 0

FS = N cos 37° = 326.01cos 37°

= 260.37 N
จาก FS = k ( x 1 − x0 )

260.37 = 400( x 1 −4)

x 1 = 4.65 m
ดังนั้นระยะยืดมีคา Δx = 4.65 − 4 = 0.65 m ตอบ

ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล [83]
บทที่ 2 สมดุลของอนุภาคและวัตถุแข็งเกร็ง กลศาสตรวิศวกรรม ภาคสถิตยศาสตร

ตัวอยาง 2.5 จากรูปจงหาแรงที่จุดรองรับ B

วิธีทํา เขียน FBD ของกาน AB จะไดผลดังรูป (ในกรณีนี้หากพิจารณาคราวๆ จะพบวา


FBD ที่เขียนขึ้นใชงานไดและสมบูรณแลว แตจากที่กลาวมาขางตน จะพบวามีขอบกพรองอยู)
ในตอนนี้จะแสดงใหเห็นวา สภาวะสมดุลของรูป FBD นี้จะไมเกิดขึ้น
∑F y =0 ↑+ ∑F x =0 ⎯+
⎯→

T sin θ − mg = 0 R x − T cos θ = 0
mg 20(9.81)
T= = R x = 226.55 cos 60°
sin 60 sin 60°
= 113.28 N
= 226.55 N

ตรวจสอบสภาพสมดุลโดยคิดโมเมนตทจี่ ุดA

R x (2 sin 45°) − mg (1 cos 45) = 0

แทนคาจะได;
113.28(2 sin 45°) − (20)(9.81) cos 45 = 0

21.47 ≠ 0

สิ่งนี้แสดงใหเห็นวา FBD รูปนี้ไมสามารถสมดุลตอการหมุนได หรือแรงในรูป FBD นี้ไม


ครบนั้นเอง
กลับมาพิจารณารูป FBD ที่ถูกตองซึ่งในกรณีนี้จะตองเพิ่มแรงเสียดทานในรอง (slot)

[84] ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล
กลศาสตรวิศวกรรม ภาคสถิตยศาสตร บทที่ 2 สมดุลของอนุภาคและวัตถุแข็งเกร็ง

FBD 1

จาก FBD 1; ∑M B =0

mg (1) cos 45° + T cos 60°(2 sin 45°) − T sin 60°(2 cos 45°) = 0
แทนคาจะได; T = 268.01 N

∑F y =0 ↑+

T sin 60° + R y − mg = 0

R y = −35.91 N

∑F x =0 ⎯
⎯+

R x − T cos 60° = 0

R x = 268.01cos 60°

= 134 N

หาขนาดของ R = 134 2 + (−35.91) 2

= 138.73 N
ตรวจสอบสภาพสมดุลโยคิดโมเมนตรอบจุดA;

R y (2 cos 45°) + R x (2 sin 45°) − mg (1cos 45°) = 0

− 35.91(2 cos 45°) + 134(2 sin 45°) − (20)(9.81)(1cos 45°) = 0

0=0

ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล [85]
บทที่ 2 สมดุลของอนุภาคและวัตถุแข็งเกร็ง กลศาสตรวิศวกรรม ภาคสถิตยศาสตร

ดั ง นั้ น จะเห็ น ได ว า เมื่ อ FBD ถู ก ต อ ง ไม ว า จะตรวจสอบสภาพสมดุ ล ที่ จุ ด ใดก็ ต าม


เงื่อนไขสมดุล (สมการสมดุล) จะเปนจริงเสมอ และตัวอยางนี้แสดงใหเห็นวาการเขียน FBD ที่
ถูกตองจําเปนที่จะตองประเมินสภาพสมดุล ดังรายละเอียดดังที่กลาวไว ในตัวอยางการเขียน
FBD เสียกอน
อีกประเด็นหนึ่งที่นาสนใจคือ กาน AB มีลักษณะเปนชิ้นสวนที่รับแรง 3 แรง ดังนั้น แรง
สามแรงนี้จะตองพบกันที่จุดๆ เดียว ดวยเหตูนี้ การคํานวณยังสามารถทําไดอีกวิธีหนึ่ง ดวยวิธี
กราฟฟค ดังนี้
ตามความเปนจริง เราสามารถเขียนรูปที่ถูกสัดสวน แลววัดมุมที่แรง R กระทํากับ
แนวราบ (มุม β ) ไดทันที แตในที่นี้จะแสดงวิธีหามุม B โดยการใชกฎของโคซายนและซายน
ตามที่เรียนมาแลว

จากรูป ΔACD ใชกฎของซายนจะไดวา


AC AD
=
sin 30° sin 135°
AC
AD = (sin 135°)
sin 30°
1
= (sin 135°)
sin 30°

= 1.414
จากรูป ΔABD ใชกฎของโคซายนจะไดวา
BD 2 = AB 2 + AD 2 − 2( AB )( AD ) cos 15°

[86] ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล
กลศาสตรวิศวกรรม ภาคสถิตยศาสตร บทที่ 2 สมดุลของอนุภาคและวัตถุแข็งเกร็ง

= 2 2 + (1.414) 2 − 2(2)(1.414) cos15°

= 4 + 2 − 5.463

BD = 0 .733
จากรูป ΔABD ใชกฎของซายนจะไดวา
AB BD
=
sin(30 + γ ) sin 15°
2 0.733
=
sin(30 + γ ) 0.259

γ = 14.97
ดังนั้น B = 90 − 14.97 = 75.03°

เขียนรูปสามเหลี่ยมของแรงไดดังนี้
จากกฎของซายนจะไดวา
W R
=
sin 135.03° sin 30°
196.2(sin 30°)
R=
sin 135.03°

= 138.81 N ทิศ

ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล [87]
บทที่ 2 สมดุลของอนุภาคและวัตถุแข็งเกร็ง กลศาสตรวิศวกรรม ภาคสถิตยศาสตร

แบบฝกหัดเสริมประสบการณ
1. จากรูปรถยกคันหนึ่งยกมวลขนาด 500 kg และตัวรถมีมวล 150 kg จงหามวล m1 ซึ่งเปน
มวลถวงน้ําหนัก ที่ทําใหรถยกนี้ไมคว่ําหนาลงเมื่อยกมวล 500 kg

Hint 1 เขียน FBD โดยปลดตัวรองรับชนิดลูกลอ (Roller) ออกแลวแทนดวยแรงและใสแรง


ภายนอกเนื่องจากน้ําหนัก
Hint 2 หากรถยกจะเริ่มคว่ําหนาพอดี ลอ A จะยกขึ้น ดังนั้นกอนลอ A จะยกขึ้น แรง
ปฏิกิริยาที่ลอ A ( N A ) = 0

วิธีทํา เขียนแผนภูมิอิสระของวัตถุไดดังนี้
…………………………………………………...
…………………………………………………...
…………………………………………………...
…………………………………………………...
…………………………………………………...
…………………………………………………...
…………………………………………………...
…………………………………………………...
…………………………………………………...
…………………………………………………...
…………………………………………………...
[ทําไมจึงคิดโมเมนตรอบจุด B ] …………………………………………………...
…………………………………………………... …………………………………………………...
…………………………………………………... …………………………………………………...
…………………………………………………... …………………………………………………...
…………………………………………………...
…………………………………………………...

[88] ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล
กลศาสตรวิศวกรรม ภาคสถิตยศาสตร บทที่ 2 สมดุลของอนุภาคและวัตถุแข็งเกร็ง

2. จากรูปหากตัวรถ ( m2 ) มีมวล 150 kg จงหามวล m1 และความสามารถในการยกของสูงสุด


ของรถคันนี้

Hint1 เขียน FBD โดยปลดตัวรองรับชนิดลูกลอ (Roller) ออกแลวแทนดวยแรงและใส


แรงภายนอกเนื่องจากน้ําหนัก
Hint2 หากรถยกอยูในสภาวะตัวเปลา มวล m1 จะไมมากจนทําใหรถยกกระดกไป
ดานหลัง ดังนั้นที่สภาวะตัวเปลามวล m1 ที่มากที่สุดจะทําใหลอ B เริ่มยกขึ้น (หรือ แรง
ปฏิกิริยาที่ลอ B : N B = 0 )
Hint3 น้ําหนักที่มากที่สุดที่รถยกไดคือ น้ําหนักที่ทําใหรถเริ่มคว่ําไปขางหนา
วิธีทํา เขียนแผนภูมิอิสระของวัตถุ (FBD) ไดดังนี้

FBD กอนยก

FBD ขณะยกน้ําหนักไดมากที่สุด

ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล [89]
บทที่ 2 สมดุลของอนุภาคและวัตถุแข็งเกร็ง กลศาสตรวิศวกรรม ภาคสถิตยศาสตร

กรณี FBD กอนยก


∑M
[ทําไมจึงคิดโมเมนตรอบจุด A ]
A =0
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………

กรณี FBD ขณะยกน้ําหนักไดมากที่สุด


∑M A[ทําไมจึงคิดโมเมนตรอบจุด B ]
=0
[ทําไมแรง N A = 0 ]
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………

คํ า อธิ บ ายเพิ่ ม เติ ม การคํ า นวณในลั ก ษณะนี้ คื อ การหาพิ กั ด การยกของรถยก


(Crane) นั่ น เอง ขนาดของมวลที่ ถ ว งอยู ด า นหลั ง ( m1 ) จะเป น ป จ จั ย สํ า คั ญ ในการกํ า หนด
น้ําหนักที่รถยกจะสามารถยกไดโดยรถยกไมคว่ําหนาลง (ภาษาชางเรียกวา รกยกไหวเจา)

[90] ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล
กลศาสตรวิศวกรรม ภาคสถิตยศาสตร บทที่ 2 สมดุลของอนุภาคและวัตถุแข็งเกร็ง

3. จากรูปหากตัวรถ ( m2 ) มีมวล 150 kg จงหามวล m1 และหากแขนยกสามารถเลื่อนที่ยืด


ออกได จงหาน้ําหนักที่รถยกไดมากที่สุดเมื่อแขนยกยืดออกไปไกลสุด

วิธีทํา เขียนแผนภูมิอิสระของวัตถุ (FBD) ไดดังนี้

FBD กอนยก

ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล [91]
บทที่ 2 สมดุลของอนุภาคและวัตถุแข็งเกร็ง กลศาสตรวิศวกรรม ภาคสถิตยศาสตร

FBD ขณะยกน้ําหนักไดมากที่สุด เมื่อแขนยกยืดออกไปไกลสุด

………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………

คําอธิบายเพิ่มเติม จากคําตอบที่ไดเทียบกับขอที่แลวจะพบวาน้ําหนักที่รถยกทําไดมี
คาลดลงตามระยะแขนยกที่ยืดยาวขึ้น หากคํานวณน้ําหนักยกทุกระยะที่แขนยืดออกแลวนําไป
เขียนกราฟความสัมพันธระหวางระยะยืด (แกน x ) และน้ําหนักที่รถยกได จะเรียกกราฟนี้วา
แผนภูมิการยกน้ําหนัก (Lifting chart) ซึ่งเปนกราฟสําคัญในการยกวัตถุในงานวิศวกรรม โดย
วิศวกรจะใช Lifting chart นี้ในการชวยกําหนดขนาดน้ําหนักมากที่สุดที่รถยกจะยกที่ระยะยืด
ของแขนยกนั้นๆ

[92] ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล
กลศาสตรวิศวกรรม ภาคสถิตยศาสตร บทที่ 2 สมดุลของอนุภาคและวัตถุแข็งเกร็ง

4. จากรูปจงหาแรง P ที่นอยที่สุดที่ทําใหคานดังรูปอยูในสภาวะสมดุล

วิธีทํา เขียนแผนภูมิอิสระของวัตถุ (FBD) ไดดังนี้


(จุด A เปนตัวรองรับชนิด Roller แทนจุด A ดวย แรงตามตาราง)
(จุด B เปนตัวรองรับชนิด Pin แทนจุด B ดวย แรงตามตาราง)

………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………

ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล [93]
บทที่ 2 สมดุลของอนุภาคและวัตถุแข็งเกร็ง กลศาสตรวิศวกรรม ภาคสถิตยศาสตร

5. จากรูปจงคํานวณหาแรงที่จุดรองรับ A และ B หากมีแรง P ขนาด 100 N กระทําดังรูป


นอกจากนี้ จงสังเกตอัตราสวนของแรงที่จุดรองรับ B เทียบกับแรง P และอภิปรายผล

วิธีทํา เขียนแผนภูมิอิสระของวัตถุ (FBD) ไดดังนี้


(ปลดตัวรองรับออกแลวแทนดวยแรง)

………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………

[94] ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล
กลศาสตรวิศวกรรม ภาคสถิตยศาสตร บทที่ 2 สมดุลของอนุภาคและวัตถุแข็งเกร็ง

6. คานกระดกอันหนึ่งมีแรง P ขนาด 1000 นิวตันกระทําอยูในแนวดิ่งที่จุด A และที่ปลาย C ถูก


ยึดไวดวยเชือก ดังแสดงในรูป จงหาแรงตึงเชือกและแรงที่จุดรองรับ B

Hint 1 ใชกฎโคซายนและซายน คํานวณมุมที่แรงตึงเชือก TCD กระทํากับคาน ABC จากนั้นจึง


ทําการคํานวณสมดุลตอไป
Hint 2 ในกรณีใชวิธีกราฟฟค ในการคํานวณอยาลืมวาชิ้นงานที่มีแรง 3 แรง กระทําอยู จะ
สมดุลไดแรง 3 แรงนั้น ตองมาพบกันที่จุดๆ เดียว

………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………

ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล [95]
บทที่ 2 สมดุลของอนุภาคและวัตถุแข็งเกร็ง กลศาสตรวิศวกรรม ภาคสถิตยศาสตร

7. จากรูปหากแรง P ที่กระทํากับกาน AC มีคา 750 N และผิวกาน AC ลื่นมาก จงคํานวณหา


แรงที่จุด A และ B

Hint การพบกันของแรง 3 แรงที่จุดๆ เดียว บนชิ้นงานที่สมดุล อาจพบกันที่จุดตัดของแรงที่


เกิดขึ้นจริง หรือแรงทั้งสามแรงอาจไปพบกันที่จุดอนันตก็ได ในกรณีที่แรงสามแรง พบกันที่จุด
อนันต แรงสามแรงนั้นจะขนานกัน

………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………

[96] ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล
กลศาสตรวิศวกรรม ภาคสถิตยศาสตร บทที่ 2 สมดุลของอนุภาคและวัตถุแข็งเกร็ง

8. จากรูปหากลูกเลื่อน A เคลื่อนที่ในกานบังคับทีล่ ื่นมากจงหามุมที่แรง P กระทํากับกาน AC

Hint วัตถุที่มแี รง 3 แรง มากระทําจะสมดุลไดหากแรง 3 แรงนี้ มาพบกันที่จุดๆ เดียว


วิธีทํา

………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………

ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล [97]
บทที่ 2 สมดุลของอนุภาคและวัตถุแข็งเกร็ง กลศาสตรวิศวกรรม ภาคสถิตยศาสตร

9. วงแหวนเรียบลื่นถูกยึดไวดวยสปริงซึ่งมีความยาวกอนรับแรง ( L0 ) 6 เมตร และสปริงมีคานิจ


500 N/m จงหาระยะยืดเมื่อสปริงรับแรง
B

Hint 1 แรงสปริง ( Fs ) = k (l − l0 )
เมื่อ l คือ ระยะยืดสุดทาย เมื่อสปริงรับแรง
l 0 คือ ความยาวตั้งตนของสปริงกอนรับแรง

วิธีทํา เขียน FBD ของวงแหวนเรียบลื่นได เขียน FBD ของมวล 20 kg ไดดังนี้


ดังนี้

Hint 2 พิจารณาสามเหลี่ยม ABC ในขณะที่สปริงยืดตัวแลว ระยะ AB และ AC คือระยะยืดของ


สปริง มุมภายในสามเหลี่ยมที่เกิดขึ้น จะทําใหคํานวณสมการสมดุลตอไปได
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………

[98] ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล
กลศาสตรวิศวกรรม ภาคสถิตยศาสตร บทที่ 2 สมดุลของอนุภาคและวัตถุแข็งเกร็ง

10. คานกระดกอันหนึ่งมีแรง P ขนาด 500 นิวตัน กระทําตามแนวดิ่งที่จุด A และปลายที่จุด C


ถูกยึดไวดวยแรงสปริงซึ่งมีคานิจ 2000 N/m โดยในสภาวะเริ่มตนกอนรับแรงนั้นสปริงยาว 1
เมตร ดังรูป จงหาแรงสปริงที่ทําใหคาน AC อยูในสภาวะสมดุล

สภาพโครงสรางกอนรับแรง
Hint ตัวรองรับสปริงทั้งสองขางหมุนไดโดยอิสระ

………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………

ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล [99]
บทที่ 2 สมดุลของอนุภาคและวัตถุแข็งเกร็ง กลศาสตรวิศวกรรม ภาคสถิตยศาสตร

2.4 เทคนิคการคํานวณปญหาสมดุล 3 มิติ


ในกรณีปญหา 3 มิติจะพบวาตัวรองรับบางชนิดตองแทนดวยแรงไมรูคาจํานวนมาก ซึ่ง
ทําใหการใชสมการสมดุลแรงตามแนวแกน x, y และ z หรือการคิดสมดุลโมเมนตรอบจุดใดๆทํา
ไดยาก หรือไมสามารถแกปญหาได ดังนั้นเพื่อใหการแกปญหาในกรณี 3 มิติ สามารถทําไดงาย
ขึ้น การพิจารณาสมดุลขององคประกอบโมเมนตบนแกน (Moment about axis) จึงเปนวิธีที่
นิยมนํามาใชในการเริ่มตนการคํานวณโดยหากวัตถุอยูในสภาพสมดุลแลว

∑M axis =0 (2.18)

เมื่อ ∑ M axis คือ องคประกอบของโมเมนตบนแกนที่ตองการพิจารณา


อยางไรก็ตามการเขียน FBD ในปญหา 3 มิติมีรายละเอียดดังที่กลาวไวแลวในหัวขอกอนหนานี้
โดยเฉพาะอยางยิ่ง กรณีของตัวรองรับประเภท เจอนัลแบริ่ง (Journal bearing), แบริ่งกันรุน
(Thrust journal bearing), สลักเลื่อน (smooth pin) และ ตัวหมุน (Hinge) ที่ตองระวังปญหาการ
เกิดตัวเกิน (Redundant) จากการเขียนโมเมนตแทนตัวรองรับ ตัวอยางการคํานวณปญหา 3
มิติ เปนดังแสดงตอไปนี้

ตัวอยาง 2.6 จากรูปมวล 100 kg ถูกแขวนดวยเชือก 3 เสน ระยะตางๆ เปนดังแสดงในรูป


จงคํานวณหาแรงตึงเชือกในเสนเชือก CD

[100] ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล
กลศาสตรวิศวกรรม ภาคสถิตยศาสตร บทที่ 2 สมดุลของอนุภาคและวัตถุแข็งเกร็ง

วิธีทํา เลือกคิดสมการสมดุลโมเมนตรอบแกน AB ซึ่งจะทําใหเหลือเพียงแรง W และ TCD ที่


ทําใหเกิดองคประกอบของโมเมนตบนแกน AB สวนแรง TAD และแรง TBD ตัดผานแกน AB
ทําใหองคประกอบของโมเมนตเทากับศูนย ดังนั้น
y
B x
C
A เขียน TCD ;
rBD
z CD = (3 − 2)i + (0 − (−2)) j + (1 − 3)k

= i + 2 j − 2k
D
CD = 12 + 2 2 + (−2) 2 = 9
1
eˆCD = (i + 2 j − 2k )
9
เขียน rBD ; T
TCD = CD (i + 2 j − 2k )
rBD = (2 − 0)i + (−2 − 0) j + (3 − 0)k 9

= 2 i − 2 j + 3k

เขียน W ; W = − mgj

เขียน ê AB ; AB = 4k และ AB = 4

eˆ AB = k

∑M AB =0

0 0 1 0 0 1
2 −2 3 +2 −2 3 =0
TCD 2TCD − 2TCD
0 − mg 0
9 9 9

ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล [101]
บทที่ 2 สมดุลของอนุภาคและวัตถุแข็งเกร็ง กลศาสตรวิศวกรรม ภาคสถิตยศาสตร

2 ⎛⎜⎜ 2TCD ⎞⎟⎟ – ⎛⎜⎜ − 2TCD ⎞⎟⎟ + 2(−mg ) = 0


⎝ 9 ⎠ ⎝ 9 ⎠
6TCD
= 2mg = 2 × 100 × 9.81
9
2 × 100 × 9.81 × 9
TCD =
6
TCD = 981 นิวตัน Ans

ในกรณีนี้ เราสามารถคํานวณแรงตึงเชือก TCD ไดโดยการคิดสมดุลแรงดังนี้


เขียน TAD ; AD = ( 0 − 2 ) i + ( 0 − ( − 2 )) j + ( 4 − 3 )

AD = −2i + 2 j + k
AD = (−2) 2 + 2 2 + 12

= 9
1
eˆ AD = (−2i + 2 j + k )
9
T
∴ T AD = AD (−2i + 2 j + k )
9

เขียน TCD ; BD = (0 − 2)i + (0 − (−2)) j + (0 − 3)k

BD = −2i + 2 j − 3k
BD = (−2) 2 + 2 2 + (−3) 2

= 17
1
eˆ BD = (−2i + 2 j − 3k )
17
T
∴ TBD = BD (−2i + 2 j − 3k )
17

∑F x =0
− 2T AD 2TBD TCD
− + =0 (1)
9 17 9

∑F y =0
2T AD 2TBD 2TCD
+ + − mg = 0 (2)
9 17 9

[102] ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล
กลศาสตรวิศวกรรม ภาคสถิตยศาสตร บทที่ 2 สมดุลของอนุภาคและวัตถุแข็งเกร็ง

∑F z =0
T AD 3TBD 2TCD
− − =0 (3)
9 17 9

เขียนสมการใหมในรูป Matrix;

−2 −2 1
9 17 9 T AD 0
2 2 2
TBD = mg
9 17 9
1 −3 − 2 TCD 0
9 17 9
−2 −2
0
9 17
2 2
mg
9 17
1 −3 −2
9 17 9
TCD =
−2 −2 1
9 17 9
2 2 2
9 17 9
1 −3 −2
9 17 9

−2⎡ (−3) ⎤ ⎛ − 2 ⎞ ⎡ (1) ⎤


⎢− mg ⎥ + ⎜⎜ ⎟⎟ ⎢mg ⎥
9⎣ 17 ⎦ ⎝ 17 ⎠ ⎣ 9⎦
TCD =
⎛ − 2 ⎞⎡ 2 ⎛ 2 ⎞ 2 ⎛ 3 ⎞ ⎤ ⎛ − 2 ⎞ ⎡ 2 ⎛ 1 ⎞ 2 ⎛ − 2 ⎞⎤ ⎛ 1 ⎞ ⎡ 2 ⎛ − 3 ⎞ 2 ⎛ 1 ⎞⎤
⎜⎜ ⎟⎟ ⎢ ⎜⎜ − ⎟⎟ − ⎜⎜ − ⎟⎟⎥ + ⎜⎜ ⎟⎟ ⎢ ⎜⎜ ⎟⎟ − ⎜⎜ ⎟⎟⎥ + ⎜⎜ ⎟⎟ ⎢ ⎜⎜ ⎟⎟ − ⎜⎜ ⎟⎟⎥
⎝ 9 ⎠ ⎣ 17 ⎝ 9⎠ 9⎝ 17 ⎠⎦ ⎝ 17 ⎠ ⎣ 9 ⎝ 9 ⎠ 9 ⎝ 9 ⎠⎦ ⎝ 9 ⎠ ⎣ 9 ⎝ 17 ⎠ 17 ⎝ 9 ⎠⎦

− 6mg 2mg

3 17 3 17
TCD =
⎡ 8 12 ⎤ ⎡ − 4 8 ⎤ ⎡ −6 2 ⎤
⎢ − ⎥+⎢ − ⎥+⎢ − ⎥
⎣ 9 17 9 17 ⎦ ⎣ 9 17 9 17 ⎦ ⎣ 9 17 9 17 ⎦
− 8mg

TCD =
3 17
= − 8mg × 9 17
− 24 3 17 − 24
9 17

ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล [103]
บทที่ 2 สมดุลของอนุภาคและวัตถุแข็งเกร็ง กลศาสตรวิศวกรรม ภาคสถิตยศาสตร

TCD = mg = 100 × 9.81


981
∴ TCD = 981 นิวตัน หรือ TCD = (i + 2 j − 2k )
9

จะพบวาวิธีการนี้คอนขางยุงยากในการคํานวณและใชเวลาในการคํานวณมาก จึงเห็น
ไดชัดเจนวาวิธีการ คิดสมดุลองคประกอบของโมเมนตรอบแกนใดๆ เปนวิธีการที่งายกวามาก
จึงเปนวิธีการที่แนะนําใหใชในการเริ่มตนการคํานวณกอน โดยใหคิดสมดุลขององคประกอบ
โมเมนตบนแกนที่มีแรงไมรูคาตัดผานมากที่สุด ซึ่งจะมีผลทําใหตัวไมรูคาในสมการสมดุลที่
เกิดขึ้นมีจํานวนลดลง

ตัวอยาง 2.7 บานแขวนมวล 20 kg ถูกเปดออกดวยไมค้ํา AB ดังแสดงในรูป จงหาแรงที่


จุด B
Rx
Rz
Ry

0.4

วิธีทํา ในกรณีของบานพับจะพบวามีโมเมนตรอบแกน y แกน z เมื่อปลดบานพับ


ออก (ดูตารางที่ ) แตจะพบวา แรง Ry และ Py สามารถทําใหเกิดโมเมนตตานแรง mg ได
ดังนั้น จึงไมมีความจําเปนตองมีโมเมนตจากจุดรองรับบานพับรอบแกน z หรือโมเมนตของจุด
รองรับเปนตัวเกิน (Redundant moment) นั่นเอง เราสามารถตัดโมเมนตตัวเกินนี้ออกไปได ใน
กรณีของโมเมนตรอบแกน y ของบานพับก็เชนกัน จะพบวาแรง Pz, Rz และ F1 เพียงพอตอ
การสมดุลโมเมนตอยูแลว ดังนั้นจะเห็นไดชัดเจนวาโมเมนตรอบแกน y จากตัวรองรับเปนตัว
เกิน ซึ่งตัดออกไดเชนกัน

[104] ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล
กลศาสตรวิศวกรรม ภาคสถิตยศาสตร บทที่ 2 สมดุลของอนุภาคและวัตถุแข็งเกร็ง

เมื่อพิจารณาได ดังนี้ ก็จะเขียนแผนภูมิอิสระของวัต ถุไดดังรูป ในกรณีนี้จะเลือกคิ ด


สมดุลโมเมนตรอบแกน x เพราะจะทําใหแรงไมทราบคา (Unknown) หายไปจนเหลือเพียงแรง
F1 เทานั้น ทําใหหาคําตอบงายขึ้น

เขียน rF ; rF = 0.6 j − 0.4k ∑M x =0


1 0 0 1 0 0
0 0.6 − 0.4 + 0.6 0.3 − 0.2 = 0
เขียน rmg ; rmg = 0.6 j + 0.3 j − 0.2k
0 0 − F1 0 mg 0

(-0.6F1 ) - (-0.2mg) = 0
เขียนแรง F1 ; F1 = − F1 k
F1 =
0.2mg
0.6
0.2 × 20 × 9.81
=
เขียนแรง mg ; W = mgj 0.6

= 65.4 N

หมายเหตุ ใหนักศึกษาลองสรางสมการสมดุลโดยไมตัดโมเมนตทจี่ ุดรองรับ แลวทําการคํานวณ


โดยพิจารณาตัดโมเมนตทจี่ ุดรองรับออกภายหลังจากสรางสมการสมดุลแลว

ตัวอยาง 2.8 ชิ้นสวนทางกลถูกยึดดวยหมุด (Pin) ที่จุด A และรั้งสายเคเบิล้ BC ถาน้ําหนักที่ D


เทากับ 750 N จงคํานวณหาแรงปฏิกิริยาที่หมุด A และแรงดึงของเคเบิล้ BC

ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล [105]
บทที่ 2 สมดุลของอนุภาคและวัตถุแข็งเกร็ง กลศาสตรวิศวกรรม ภาคสถิตยศาสตร

วิธีทํา เขียนแรง TCB จาก


CB = (−0.1 − (−0.4))i + (0 − 0.6) j + (0.2 − 0)k

= 0.3i − 0.6 j + 0.2k


CB = (0.3) 2 + (−0.6) 2 + (0.2) 2

= 0. 7
1
TCB = ( 0.3i − 0 .6 j + 0 .2 k )TCB
0 .7
เขียนแรง mg จาก
mg = −750k
เขียน rAB ; rAB = (−0.4i + 0.6 j + 0k )

เขียน rAP ; rAP = (−0.2i + 0.6 j + 0k )

คิดโมเมนตรอบจุด A;
MA =0

(rAB × TCB ) + (rAB × mg ) + M A = 0

i j k i j k
− 0.4 0.6 0 + − 0 .2 0 .6 0 +MA =0
0.3 − 0.6 0.2
TCB TCB TCB 0 0 − 750
0.7 0.7 0.7

⎛ 0 .2 ⎞ ⎡ ⎛ 0 .2 ⎞ ⎤ ⎡ ⎛ 0 .6 ⎞ ⎛ 0 .3 ⎞ ⎤
(0.6)⎜ ⎟TCB i + ⎢− (−0.4)⎜ ⎟TCB ⎥ j + ⎢(0.4)⎜ ⎟TCB − (0.6)⎜ ⎟TCB ⎥ k
⎝ 0 .7 ⎠ ⎣ ⎝ 0 .7 ⎠ ⎦ ⎣ ⎝ 0 .7 ⎠ ⎝ 0 .7 ⎠ ⎦
+ (0.6)(−750)i + [− (−0.2)(−750)] j + 0k + M y j + M z k = 0

พิจารณาตามแกน x , y และ z จะไดวา


0.12
TCB − 450 = 0 (1)
0.7

0.08
TCB − 150 + M y = 0 (2)
0.7

[106] ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล
กลศาสตรวิศวกรรม ภาคสถิตยศาสตร บทที่ 2 สมดุลของอนุภาคและวัตถุแข็งเกร็ง

0.06
TCB + M Z = 0 (3)
0.7

450(0.7)
จาก (1) ; TCB = = 2625 N
0.12

0.08(2625)
จาก (2) ; M y = 150 − = −150 Nm
0.7

0.06(2625)
จาก (3) ; Mz = − = −225 Nm
0.7
∑F = 0
TCB + mg + A = 0

พิจารณาตามแกน x y และ z จะไดวา


0.3
TCB − Ax = 0
0.7
0 .3( 2625 )
Ax = = 1125 N
0 .7
− 0.6
TCB − Ay = 0
0.7
0 .6 ( 2625 )
Ay = = 2250 N
0 .7
0.2
TCB − Az − 750 = 0
0.7
0.2(2625)
Az = 750 − = 0N
0.7
สรุปคําตอบ
Ax = 1125 N

Ay = 2250 N

Az = 0 N
TCB = 2625 N

M y = −150 N ⋅ m

M z = −225 N ⋅ m

ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล [107]
บทที่ 2 สมดุลของอนุภาคและวัตถุแข็งเกร็ง กลศาสตรวิศวกรรม ภาคสถิตยศาสตร

ในกรณีนี้จะพบวา ไมสามารถตัดโมเมนต เนื่องจากตัวรองรับออกได ทั้งนี้เนื่องจาก


โมเมนตที่ตัวรองรับในกรณีนี้ไมใชตัวเกิน จะสังเกตไดจากสมการที่ (3) หากเราตัดโมเมนตที่ตัว
รองรับออกเพราะคิดวามันเปนตัวเกิน แรง TCB ในสมการที่ (3) จะเทากับศูนย ซึ่งแสดงวาแรง
ตึงเชือกไมมี แตจากรูปเห็นไดชัดเจนวามีแรงตึงเชือก ดังนั้นการตัดโมเมนตที่ตัวรองรับออก
ทั้งๆ ที่มันไมใชตัวเกินจะทําใหการคํานวณขัดแยงกับความจริง

จากตัวอยางที่ 7 และ 8 แสดงใหเห็นตัวอยางที่พิจารณาตัดโมเมนตตัวเกินออกไดและ


ตัวอยางที่ไมใชโมเมนตตัวเกิน การพิจารณาอาจทําไดยาก และมีความสับสนอยางไรก็ดี การทํา
การคํานวณบอยๆ และการพิจารณาหลักเกณฑที่วา ในกรณีตัวรองรับประเภท เจอนัลแบริ่ง
(Journal bearing), แบริ่งกันรุน (Thrust journal bearing), สลักเลื่อน (smooth pin) และ
ตัวหมุน (Hinge) หากการมีอยูของโมเมนตที่ตัวรองรับเหลานั้น ทําใหระบบสมการแกหาคําตอบ
ไมได ก็อาจสงสัยไดวา โมเมนตที่รองรับเหลานี้เปนตัวเกิน (Redundant Moment) แตหากตัด
มันออกจากระบบสมการแลว พบวาคําตอบที่ได ขัดแยงกับความเปนจริงทางกายภาพ ก็อาจ
สงสัยไดวาโมเมนตที่ตัวรองรับเหลานี้ไมใชโมเมนตตัวเกิน

[108] ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล
กลศาสตรวิศวกรรม ภาคสถิตยศาสตร บทที่ 2 สมดุลของอนุภาคและวัตถุแข็งเกร็ง

แบบฝกหัดเสริมประสบการณ
1. จากรูปมีแรง P = 10 kN อยูในระนาบ x-y กระทําที่จุด C โดยทํามุม 30 องศากับแกน x
สวนจุด A เปนตัวรองรับประเภท ball and socket เสานี้ถูกยึดไวดวยเสนเชือก BD และ BE จง
คํานวณหาแรงที่จุดรองรับ A และแรงตึงเชือก BE กําหนดใหเสา AC มีมวล 200 kg

30°

Hint คิดสมดุลโมเมนตรอบจุด A หรือคิดสมดุลโมเมนตรอบแกน AE และ AD เพื่อหาแรงตึง


เชือก BE และ BD ตามลําดับ

………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………

ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล [109]
บทที่ 2 สมดุลของอนุภาคและวัตถุแข็งเกร็ง กลศาสตรวิศวกรรม ภาคสถิตยศาสตร

………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………

[110] ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล
กลศาสตรวิศวกรรม ภาคสถิตยศาสตร บทที่ 2 สมดุลของอนุภาคและวัตถุแข็งเกร็ง

2. จากรูปแรง 100 นิวตัน กระทําที่กาน AB โดยกาน AB เบามาก ตัวรองรับที่จุด A เปนแบบ


Pin และกาน AB ถูกยึดไวดวยเชือก BC และเชือก BD จงหาแรงที่จุดรองรับ A และเชือก BD

………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………

ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล [111]
บทที่ 2 สมดุลของอนุภาคและวัตถุแข็งเกร็ง กลศาสตรวิศวกรรม ภาคสถิตยศาสตร

………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………

[112] ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล
กลศาสตรวิศวกรรม ภาคสถิตยศาสตร บทที่ 2 สมดุลของอนุภาคและวัตถุแข็งเกร็ง

3. จากรูปกาน CD ถูกยึดไวดวย Ball and socket ที่จุด C และแรงตึงเชือก BD ที่ปลาย D มี


แรง 5000N กระทําในแนวดิ่ง นอกจากนี้ยังมีลูกเลื่อน (Collar) ที่จุด F ซึ่งลูกเลื่อนนี้ถูกยึดไว
ดวยเชือก FA และ FE จงหาแรงในเชือกแตละเสน และจงสรุปวาลูกเลื่อนนี้มีความฝดหรือไม

………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………

ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล [113]
บทที่ 2 สมดุลของอนุภาคและวัตถุแข็งเกร็ง กลศาสตรวิศวกรรม ภาคสถิตยศาสตร

………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………

[114] ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล
กลศาสตรวิศวกรรม ภาคสถิตยศาสตร บทที่ 2 สมดุลของอนุภาคและวัตถุแข็งเกร็ง

4. จากรูปหากประตูมีมวล 500 kg จงหาแรงตึงเชือก DA

………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………

ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล [115]
บทที่ 2 สมดุลของอนุภาคและวัตถุแข็งเกร็ง กลศาสตรวิศวกรรม ภาคสถิตยศาสตร

………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………

[116] ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล

You might also like