Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 269

สรุปผลการดาเนินงาน

โครงการ Music Project ครั้งที่ 16


“Disco Inferno”

วันที่ 20 เมษายน พ.ศ.2561


ณ โรงละครคณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

ผู้รับผิดชอบโครงการ

นักศึกษาชั้นปีที่ 4 สาขาวิชาดุริยางคศิลป์ แขนงวิชาดนตรีตะวันตก


คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ปีการศึกษา 2560

กิตติกรรมประกาศ

นั ก ศึ ก ษาชั้ น ปี ที่ 4 สาขาดุ ริ ย างคศิ ล ป์ แขนงวิ ช าดนตรี ต ะวั น ตก คณะศิ ล ปกรรมศาสตร์


มหาวิทยาลัยขอนแก่น ขอกราบขอบพระคุณ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ เจนวิทย์ พิทักษ์ อาจารย์ที่ปรึกษา
โครงการ ที่ให้คาปรึกษาและข้อชี้แนะเกี่ยวกับการจัดโครงการการจัดการแสดงในครั้งนี้
ขอกราบขอบพระคุ ณ ผู้ ช่ ว ยศาสตราจารย์ เอกพงษ์ ศรี ง าม, Ms. Sun Young Kim, ผู้ ช่ ว ย
ศาสตราจารย์ ผจญ พีบุ้ง, ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. พงษ์พิทยา สัพโพ, ผู้ช่วยศาสตราจารย์ กฤษฎา วงศ์คา
จันทร์, ดร. พรพรรณ แก่นอาพรพันธ์, อาจารย์พิจักษณ์ วีระไทย, อาจารย์เชิงรบ กาจัดภัย, อาจารย์วิรากร
ธนะกิตติภูมิ และอาจารย์คณาธิป ชูพันธ์ ที่ประสิทธิ์ประสาทวิชา ทักษะ ความรู้ กระบวนการทางาน และให้
คาแนะนาต่าง ๆ ตลอดการศึกษา
ขอกราบขอบพระคุ ณ พ่ อ แม่ แ ละครอบครั ว ที่ มี ค วามเข้ า ใจและสนั บ สนุ น ตลอดมา ขอกราบ
ขอบพระคุณผู้ที่ให้การสนับสนุนทุกท่าน ในโครงการการจัดการแสดงดนตรีครั้งนี้ สุดท้ายนี้ขอขอบคุณพี่
เพื่อน และน้อง ๆ ทุกคน ที่ให้การสนับสนุนและให้ความช่วยเหลือ รวมถึงผู้ที่มีส่วนร่วมทุกท่านที่ ไม่ได้เอ่ย
นามมา ณ ที่นี้ด้วย

นักศึกษาชั้นปีที่ 4 สาขาดุริยางคศิลป์ แขนงวิชาดนตรีตะวันตก รุ่นที่ 16


คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

คานา

คณะศิ ล ปกรรมศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย ขอนแก่ น ได้ เ ปิ ด หลั ก สู ต รศิ ล ปกรรมศาสตร์ บั ณ ฑิ ต


สาขาวิชาดุริยางคศิลป์ แขนงวิชาดนตรีตะวันตก ซึ่งผู้ที่จะสาเร็จการศึกษา จะต้องมีความรู้ความสามารถ
ทางด้านดนตรี ในด้านต่าง ๆ ทั้งทางทฤษฎีและปฏิบัติ นอกจากนี้ยังต้องมีความรู้และประสบการณ์
ทางด้านการบริ ห ารจั ดการการแสดงดนตรี เพื่อเป็นประสบการณ์แก่ผู้ ที่จะส าเร็จการศึก ษา ให้ ได้มี
ประสบการณ์ในการจัดการแสดงดนตรี ได้มีโอกาสติดต่อประสานงานกับบุคคล และหน่วยงานต่าง ๆ ซึ่ง
เป็นการเริ่มต้นนาไปสู่การทางานในวิชาชีพของตนเองต่อไป
ดังนั้นนักศึกษาชั้นปีที่ 4 สาขาดุริยางคศิลป์ แขนงวิชาดนตรีตะวันตก คณะศิลปกรรมศาสตร์
มหาวิทยาลั ย ขอนแก่น จึ งได้จั ดโครงการ Music Project #16 ภายในชื่อ “Disco Inferno” เป็นการ
เผยแพร่ผลงานดนตรีในยุคดิสโก้โดยได้นาเสนอให้เห็นผลงานอันทรงคุณค่าของเพลงในยุคนั้น ผู้จัดทาหวัง
ว่าสารนิพนธ์ฉบับนี้จะเป็นประโยชน์แก่ผู้ที่สนใจต่อไป

นักศึกษาชั้นปีที่ 4 สาขาดุริยางคศิลป์ แขนงวิชาดนตรีตะวันตก รุ่นที่ 16


คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

สารบัญ

เรื่อง หน้า
บทที่ 1 บทนา 1
1.1 ที่มาและความสาคัญ 1
1.2 วัตถุประสงค์ 3
1.3 ขอบเขตของการจัดการแสดง 3
1.4 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 5
1.5 ระเบียบวิธีการจัดการแสดง 5

บทที่ 2 ทบทวนวรรณกรรม 6
2.1 ประวัติของแนวดนตรีดิสโก้ 6
การแต่งกายในยุคดิสโก้ 14
ประวัติศิลปินและบทเพลงที่นามาใช้ในการแสดง 21
เพลงเอวี่บอดี้ แดนซ์ (Everybody Dance) 21
เพลงรัสปูติน (Rasputin) 22
เพลงดิสโก้อินเฟอร์โน (Disco Inferno) 23
เพลงไนท์ฟีเวอร์ (Night Fever) 23
เพลงแดนซิงควีน (Dancing Queen) 24
เพลงแดตส์เดอะเวย์ไอไลท์อิท (That’s the way (I like it) 25
เพลงเก็ทอะเวย์ (Getaway) 25
เพลงลูสยัวร์เซลฟ์ทูแดนซ์ (Lose Yourself to Dance) 27
เพลงวันมอร์ไทม์ (One More Time) 28
เพลงเก็ตลักกี้ (Get Lucky) 29
เพลงด้นท์กิฟท์เฮทอะเชนจ์ ((Don’t) Give Hate a Chance) 31

สารบัญ(ต่อ)
เพลงแอดเวนเจอร์ออฟอะไลฟ์ไทม์ (Adventure of a Lifetime) 31
เพลงไอฟิวอิทคัมส์มิง (I Feel It Coming) 32
เพลงแทรชเชอร์ (Treasure) 33
เพลงเลิฟออนท็อป (Love on Top) 35
เพลงเป็นโสดทาไม 36
เพลงไอ้หนุ่มตู้เพลง 37
เพลงหนูไม่ยอม 38
เพลงผู้ชายในฝัน 39
เพลงสาวอีสานรอรัก 40
เพลงทีเอสโอพี (TSOP) 41
เพลงไอวิลเซอร์ไวว์ (I Will Survive) 41
เพลงฮ็อตสตัฟฟ์ (Hot Stuff) 42
เพลงริงมายเบล (Ring My Bell) 43
เพลงเลดี้บัมพ์ (Lady Bump) 44
เพลงฟังค์กี้ทาวน์ (Funky town) 45
เพลงวายเอ็มซีเอ (YMCA) 45
เพลงลาสต์ แดนซ์(Last Dance) 46
บทที่ 3 วิธีการดาเนินโครงการ 48
3.1 การจัดแบ่งฝ่ายต่าง ๆ 48
3.2 การทางานของฝ่ายต่าง ๆ 50
3.3 ขั้นตอนการดาเนินงาน 52
3.4 งานออกแบบสื่อประชาสัมพันธ์ 53
3.5 การออกแบบเวที 77
3.6 เครื่องแต่งกายในวันแสดง 79
3.7 การเงิน 79
3.8 ลาดับการแสดง 74

สารบัญ(ต่อ)
3.9 วิธีการวางแผนซ้อม 84
3.10 ลาดับการแสดง 85
บทที่ 4 อรรถาธิบายบทเพลง 94
เพลงเอวี่บอดี้ แดนซ์ (Everybody Dance) 94
เพลงดิสโก้อินเฟอร์โน (Disco Inferno) 102
เพลงรัสปูติน (Rasputin) 106
เพลงไนท์ฟีเวอร์ (Night Fever) 110
เพลงแดนซิงควีน (Dancing Queen) 112
เพลงแดตส์เดอะเวย์ไอไลท์อิท (That’s the way (I like it) 115
เพลงเก็ทอะเวย์ (Getaway) 117
เพลงลูสยัวร์เซลฟ์ทูแดนซ์ (Lose Yourself to Dance) 125
เพลงวันมอร์ไทม์ (One More Time) 129
เพลงเก็ตลักกี้ (Get Lucky) 131
เพลงด้นท์กิฟท์เฮทอะเชนจ์ ((Don’t) Give Hate a Chance) 134
เพลงไอฟิวอิทคัมส์มิง (I Feel It Coming) 136
เพลงแอดเวนเจอร์ออฟอะไลฟ์ไทม์ (Adventure of a Lifetime) 139
เพลงแทรชเชอร์ (Treasure) 141
เพลงเลิฟออนท็อป (Love on Top) 144
เพลงฮิปทูเดอะกรูฟ (Hip to the groove) 148
เพลงเป็นโสดทาไม 151
เพลงไอ้หนุ่มตู้เพลง 155
เพลงหนูไม่ยอม 159
เพลงผู้ชายในฝัน 161
เพลงสาวอีสานรอรัก 164
เพลงทีเอสโอพี (TSOP) 166
เพลงไอวิลเซอร์ไวว์ (I Will Survive) 174

สารบัญ(ต่อ)
เพลงฮ็อตสตัฟฟ์ (Hot Stuff) 178
เพลงริงมายเบล (Ring My Bell) 184
เพลงเลดี้บัมพ์ (Lady Bump) 189
เพลงฟังค์กี้ทาวน์ (Funkytown) 192
เพลงวายเอ็มซีเอ (YMCA) 195
เพลงลาสต์ แดนซ์(Last Dance) 198
บทที่ 5 สรุปผลและข้อเสนอแนะ 205
5.1 ผลการดาเนินโครงการ 205
5.2 สรุปผลการทากิจกรรม 208
5.3 ปัญหาและข้อเสนอแนะในการจัดโครงการ 209
ข้อเสนอแนะในการแก้ปัญหา 213
บรรณานุกรม 214
ภาคผนวก 215
บทที่ 1
บทนำ

1.1 ที่มำและควำมสำคัญ
คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ได้เปิดสอนหลักสูตรศิลปกรรมศาสตร์ บัณ ฑิต
สาขาวิชาดุริยางคศิลป์ แขนงวิชาดนตรีตะวันตก โดยมีหลักสูตรดุริยางคศิลป์ แขนงวิชาดนตรีตะวันตก
โดยมีรายวิชา 860495 Music performance วิชานี้มีเป้าหมายเพื่อให้นักศึกษาชั้นปีที่ 4 ได้เรียนรู้การ
บริ ห ารจั ด การแสดงดนตรี การสร้ า งสรรค์ ผ ลงาน รู ป แบบการน าเสนอผลงานทางดนตรี และการ
ประยุกต์ใช้ความรู้ตลอดการศึกษาที่ผ่านมาในการจัดงานครั้งนี้ ซึ่งจัดครั้งแรกในปี พ.ศ. 2542 และในแต่
ละปี หัวข้อการแสดงจะถูกกาหนดโดยคณะผู้จัดการแสดง ซึ่งในปีนี้ทางคณะผู้จัดการแสดงมีความสนใจใน
การแสดงดนตรีของบทเพลงแนวดิสโก้ (Disco) โดยเลือกบทเพลงในยุคดังกล่าวที่ติดอันดับในบิลบอร์ด
ชาร์ต (Billboard charts) และให้ชื่องานว่า “Disco Inferno”
แนวเพลงดิสโก้ถือว่าเป็นแนวเพลงที่ได้รับความนิ ยมอย่างแพร่หลาย โดยเฉพาะในช่วงปี 1975-
1979 โดยคาว่าดิสโก้นั้น มีที่มาจากคาว่า “Discovery” เนื่องจากในช่วงกลางยุค 70 ได้เริ่มมีการใช้เครื่อง
เล่นแผ่นเสียง (Turntable) ในคลับต่าง ๆ แทนวงดนตรี คนจึงเรียกช่วงสมัยนี้ว่า “the great discovery”
หรือการค้นพบที่ยิ่งใหญ่อันเป็นที่มาของคาว่าดิสโก้ อีกที่มาหนึ่งสันนิษฐานว่ามาจากคาว่า “ดิสโก้เธค
(discothèque)” ในภาษาฝรั่งเศสที่แปลว่าห้องสมุดแผ่นเสียงหรือห้องเก็บแผ่นเสียง ซึ่งเป็นคาที่ใช้เรียก
ไนต์คลับในกรุงปารีส (ทัยพรรณ วงศ์ไชย, 2557)
ดิสโก้ (Disco) เป็นแนวเพลงประเภทหนึ่งซึ่งมีลักษณะเป็นดนตรีสาหรับเต้นรา มีต้นกาเนิดมา
จากรัฐฟิลาเดเฟีย ประเทศสหรัฐอเมริกา มีการผสมผสานจากแนวดนตรี ฟังก์ (Funk) โซล (Soul) ป็อป
(Pop) และซัลซ่า (Salsa) เข้าด้วยกัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งในจังหวะซัลซ่า และยังส่งอิทธิพลต่อเพลงอีก
หลาย ๆ แนวเพลงไม่ว่าจะเป็น เฮาส์ (House) ซินธ์พอป แดนซ์ (Synthpop Dance) คลับแดนซ์ (Club
Dance) ในปัจจุบัน ช่วงแรกที่ยุคดิสโก้เฟื่องฟูมีเพลงฮิตติดชาร์ ตมากมายตัวอย่างเช่น "Fly Robin Fly",
2

"Rock The Boat", "Love's Theme", "The Hustle" และเพลงที่ถือได้ว่าเป็นอมตะตลอดกาลซึ่งน้อยคน


นักที่จะไม่รู้จักนั่นก็คือเพลง "I Will Survive" (ทัยพรรณ วงศ์ไชย, 2557)
ดนตรีดิสโก้มีเอกลักษณ์ทางดนตรีที่เด่นชัดในเรื่องของจังหวะ โดยส่วนมากจะอยู่ในอัตราจังหวะ
4/4 และมีที่ 120 bpm อีกทั้งยังมีชื่อเรียกเฉพาะว่า “โฟร์ ออน เดอะ ฟลอร์ (Four on the floor)” ซึ่ง
หมายถึงจังหวะของเบสดรัมที่มีการเล่นในจังหวะตกและมีไฮ-แฮทเล่นในจังหวะยก แนวทานองของกีตาร์
เบสไฟฟ้าที่มักอยู่ในจังหวะขัด การตีคอร์ดเป็นพื้นหลังของกีตาร์ที่มีรูปแบบที่เด่นชัด มีการใช้เอฟเฟกต์
เสียงก้องกังวาน (Reverb) มาใช้สาหรับเสียงร้องภายในบทเพลง นอกจากนี้ดนตรีดิสโก้ยังมีอิทธิพลต่อ
สังคมโลกในหลาย ๆ ด้าน เช่น การแต่งกาย การเต้น การท่องเที่ยวสถานบันเทิง เป็นต้น (Espie Estrella,
2017)
ด้วยแนวเพลงดิสโก้นั้นมีความนิยมอย่างแพร่ลายและมีอิทธิพลต่อสังคมหลาย ๆ ด้าน เช่น ด้าน
สังคม ด้านเศรษฐกิจ ด้านการแต่งกาย และด้านวัฒนธรรม เป็ นต้น ทางคณะผู้จัดการแสดงจึงได้นาเสนอ
แนวเพลงดิสโก้สู่สาธารณะ ซึ่งมีทั้งบทเพลงดิสโก้ในช่วงยุค 70 และบทเพลงดิสโก้ในยุคปัจจุบัน อีกทั้งยังมี
การนาบทเพลงดิสโก้มาเรียบเรียงใหม่สาหรับการบรรเลงโดยวงบิกแบนด์ นอกจากนี้ยังมีการนาบทเพลง
ลูกทุ่งอมตะของไทยที่ยังคงความนิยมอยู่ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน มาเรียบเรียงให้อยู่ในแนวดนตรีดิส โก้
เนื่องด้วยคณะผู้จัดทาเล็งเห็นว่าบทเพลงลูกทุ่งเป็นบทเพลงที่สามารถเข้าถึงผู้ฟังได้ทุกเพศทุกวัยและยังมี
เนื้อหาของบทเพลงที่เข้าใจได้ง่าย การแสดงครั้งนี้นาแสดงโดยนักศึกษาชั้นปีที่ 4 คณะศิลปกรรมศาสตร์
สาขาวิชาดุริยางคศิลป์ แขนงวิชาดนตรีตะวันตก คณะผู้จัดการแสดงหวังว่าในการแสดงจะสร้างความ
สนุกสนานความประทับใจให้แก่ผู้เข้าร่วม และเป็นการเผยแพร่องค์ความรู้ของบทเพลงเหล่านี้ รวมถึงเป็น
การแสดงความสามารถของนักศึกษาชั้นปีที่ 4 คณะศิลปกรรมศาสตร์ สาขาดุริยางคศิลป์ แขนงวิชาดนตรี
ตะวันตก
3

1.2 วัตถุประสงค์
1.2.1 เพื่อพัฒนาศักยภาพการแสดงดนตรีของนักศึกษาชั้นปีที่ 4 สาขาวิชาดุริยางคศิลป์ แขนง
วิชาดนตรีตะวันตก
1.2.2 เพื่อให้นักศึกษาได้ฝึกกระบวนการบริหารจัดการในการจัดการแสดงดนตรี
1.2.3 เพื่อเป็นการเผยแพร่ความรู้และศิลปวัฒนธรรมด้านดนตรีตะวันตกสู่สาธารณะชน
1.2.4 เพื่อให้นักศึกษาได้ประสบการณ์การทางานร่วมกับบุคลากร และหน่วยงานต่าง ๆ ทั้ง
ภาครัฐและเอกชน
1.3 ขอบเขตของกำรจัดกำรแสดง
คณะผู้จัดการแสดงได้คัดเลือกบทเพลงจากบิลบอร์ดชาร์ตปี 1970-1979 และปี 2000-2017 โดย
คัดเลือกจากความเหมาะสมตามรูปแบบวงดนตรีที่จะใช้ในการแสดงครั้งนี้ และนอกเหนือจากการแสดง
บทเพลงใน billboard charts แล้ว ในการแสดงครั้งนี้ยังมีการนาบทเพลงลูกทุ่งอมตะมาเรียบเรียงให้อยู่
ในแนวดนตรีดิสโก้อีกด้วย ในการแสดงครั้งนี้แบ่งการแสดงออกเป็น 5 ชุดการแสดง ดังนี้
การแสดงชุดที่ 1
- Everybody dance – Chic
- Rasputin - Bonney M
- Disco inferno – The Tramps
- Night fever – Bee Gees
- Dancing queen – ABBA
- That’s the way (I like it) - KC & The Sunshine Band
- Getaway – Earth Wind & Fire
การแสดงชุดที่ 2
- Daft Punk medley
- One more time
- Lose yourself to dance
4

- Get lucky
- (Don’t) Give hate a chance – Jamiroquai
- Adventure of a life time – Coldplay
- I feel it coming – The Weekend
- Treasure – Bruno Mars
- Love on top - Beyoncé
การแสดงชุดที่ 3
- Hip to the groove
การแสดงชุดที่ 4
- เปนโสดทาไม - สุรพล สมบัติเจริญ
- ไอหนุมตูเพลง - ยอดรัก สลักใจ
- หนูไมยอม – หฤทัย หิรัญญา
- ผูชายในฝน – พุมพวงดวงจันทร
- สาวอีสานรอรัก - อรอุมา สิงหศิริ
การแสดงชุดที่ 5 medley
- TSOP – MFSB feat. Three Degrees
- Disco medley
- I will survive - Gloria Gaynor
- Hot stuff – Donna Summer
- Ring my bell – Anita Ward
- Lady bump – penny Mclean
- Funky town – Lipps Inc
- YMCA - Village People
- Last Dance – Donna Summer
5

1.4 ประโยชน์ที่คำดว่ำจะได้รับ
1.4.1 นักศึกษาได้แสดงทักษะความรู้ความสามารถทางด้านดนตรี
1.4.2 นักศึกษาได้รู้จักฝึกฝนกระบวนการบริหารจัดการ และการจัดการแสดง
1.4.3 นักศึกษารู้จักทางานการติดต่อประสารงานกับหน่วยงานทั้งภาครัฐ และเอกชน
1.4.4 นักศึกษาได้เผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมและความรู้ด้านดนตรีตะวันตกสู่สาธารณชนในรูปแบบ
การแสดงคอนเสิร์ต

1.5 ระเบียบวิธีกำรจัดกำรแสดง
1.5.1 นักศึกษาร่วมกันกาหนดรูปแบบการแสดง
1.5.2 นักศึกษาค้นคว้าและคัดเลือกบทเพลงเพื่อให้ตรงกับกรอบเป้าหมาย
1.5.3 นาบทเพลงมาเสนออาจารย์ที่ปรึกษา
1.5.4 ผ่านการเห็นชอบโดยอาจารย์ที่ปรึกษา
1.5.5 ศึกษาค้นคว้าข้อมูลที่เกี่ยวข้อง
1.5.6 นาเสนอโครงร่าง
1.5.7 จัดทาตารางซ้อม
1.5.8 เสนอสอบการแสดง
1.5.9 นาเสนอการแสดง
บทที่ 2
ทบทวนวรรณกรรม

ในบทนี้จะกล่าวถึงบทวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องกับประวัติของแนวดนตรีดิสโก้ โดยได้นามาจาก
หนั กสื อ “เทิร์ น เดอะบี ต อะราวด์ (Turn the beat around)” เขียนขึ้นโดยปีเตอร์ ชาพิโ ร (Peter
Shapiro) ซึ่งหนังสือเล่มนี้ได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวางให้เป็นหนังสือที่เกี่ยวข้องกับยุคดิสโก้ที่ดีที่สุด
เล่มหนึ่ง อีกทั้งยังถูกนาไปใช้เป็นข้อมูลอ้างอิงในหลาย ๆ เว็บไซต์อีกด้วย และยังมีการกล่าวถึง การแต่ง
กายในยุคดิสโก้ ข้อมูลของศิลปินและบทเพลงที่นามาใช้ในการแสดงครั้งนี้

1. ประวัติของแนวดนตรีดิสโก้
แนวดนตรีดิสโก้นั้นยังคงมีความสนุกสนานอยู่ในยุคศตวรรษที่ 21 และแฟชั่นการแต่งตัวของยุค
สมัยดนตรีดิสโก้ยังถูกผลักดันให้ไปอยู่ในส่วนของงานสังสรรค์ย้อนยุคอีกด้วย โดยสิ่งที่ทาให้การแต่งกายน
ยุคดิสโก้มีความนิยมอยู่ก็เพราะสีสันที่ฉู ดฉาดของเครื่องแต่งกายและความคิดสร้างสรรค์ในการแต่งกายที่
สามารถบ่งบอกคววามเป็นตัวของตัวเองได้ ยุคสมัยที่รุ่งเรืองที่สุดของแฟชั่นการแต่งกายแบบดิสโก้เริ่มขึ้น
เมื่อดนตรีดิสโก้ได้ทาการบรรเลงที่คลับชาวรักร่วเพศใต้ดินในเมืองนิวยอร์ค ยกตัวอย่างเช่น เดอะ ลอฟต์
(The Loft), เท็น ฟลอร์ (Tenth Floor) และ 12 เวสต์ (12 West) ในช่วงต้นปี 1970 หรือในไนต์คลับอื่น
ๆ เช่น อินฟินิตี (Infinity), ฟลามิงโก้ (Flamingo), เดอะ พาราไดส์ การาจ (The Paradise Garage), เลอ
จาดีน (Le Jardin) และ เดอะเซนท์ (The Saint) ซึ่งนามาในส่วนของเอกลักษณ์และวัฒนธรรมของยุคดิส-
โก้
ความสาเร็จของภาพยนตร์เรื่อง แซทเทอร์เดย์ ไนท์ ฟีเวอร์ (Saturday Night Fever) ในปี 1977
ทาให้ดิสโก้ยังคงมีความนิยมอยู่ไม่กี่ปี ก่อนที่จะถูกต่อต้านจากแนวดนตรีพังค์ร็อค (Punk Rock) และนิว
เวฟ (New Wave) และมองว่าดิสโก้เป็นอะไรที่ล้าสมัยก่อนที่จะค่อย ๆ เสื่อมความนิยมลงไป แต่ในช่วง
ก่อนหน้ายุค 1970 มีหลายสิ่งเกิดขึ้นมากมายซึ่งถือได้ว่าเป็นสิ่งที่มีอิทธิพลต่อรูปแบบของแนวดนตรีดิสโก้
เป็นอย่างมาก
7

ปี 1900-1933 ในประเทศสหรัฐอเมริกาประชาชนมักเต้นตามคลับต่าง ๆ โดยจะเต้นกับบทเพลง


ที่ บ รรเลงผ่ า นเปี ย โนหรื อ ตู้ เ พลงหยอดเหรี ย ญ (Jukebox) โดยก่ อ นหน้ า นั้ นไนท์ ค ลั บถื อ เป็ น สถานที่
ต้องห้าม แต่ต่อมาในปี 1933 เมื่อไนท์คลับเริ่มได้รับความนิยมจากประชาชนก็ได้ทาการเปลี่ยนจากการใช้
ตู้เพลงหยอดเหรียญมาเป็นการใช้วงแจ๊สบิกแบนด์และทาการบรรเลงบทเพลงในจังหวะสวิง

ฤดูใบไม้ผลิปี 1939 กลุ่มของเยาวชนในประเทศเยอรมันได้ให้ความสาคัญกับดนตรีแจ๊ส และ


แฟชั่นการแต่งกายเป็นอย่างมาก โดยพวกเขามักจะรวมตัวกันเพื่อมาเต้นร่วมกันและแสดงความสามารถ
หรื อการแต่งกายชนิ ดใหม่ ๆ แก่กัน ซึ่งกลุ่ มของเยาวชนกลุ่ มนี้ต้องการที่จ ะต่ อ ต้านแนวคิด ของนาซี
เยอรมันในขณะนั้นที่ทาการควบคุมประเทศอยู่ และมองว่าดนตรีแจ๊สส่งผลกระทบที่ไม่ดีต่อวัฒนธรรมของ
เยอรมัน ถึงแม้ว่าการต่อต้านนี้จะไม่ก่อให้เกิดความรุนแรงขึ้นก็ตาม แต่สุดท้ายแล้วกลุ่มเยาวชนนี้ก็ได้ถูก
ปิดตัวลงโดยทหารหน่วยเอสเอส (SS) ซึ่งเป็นองค์กรกึ่งทหารสังกัดพรรคนาซีภายใต้คาสั่งของอดอล์ฟ ฮิต
เลอร์ (Adolf Hitler) แต่ขณะเดียวกันในประเทศฝรั่งเศสนั้นดนตรีแจ๊ส , บีบ็อป และการเต้นแบบจิตเตอร์
บั๊ก ถือเป็นสิ่งต้องห้ามโดยกลุ่มนาซีซึ่งมองว่ามีอิทธิพลที่เลวร้ายและไม่ก่อให้เกิดผลดี แต่ก็ได้มีกลุ่มต่อต้าน
ฝรั่งเศสที่มักจะนัดรวมตัวกันที่คลับใต้ดินแห่งหนึ่งที่พวกเขาเรียกกันว่า “ดิสโก้เธค (Discotheques)”
เพื่อที่จะไปเต้นราและสังสรรค์กันโดยการเปิดเพลงจากตู้เพลงหยอดเหรียญและเครื่องเล่นแผ่นเสียงเป็น
หลัก
ในปี 1942 ลา ดิสโก้เธค (La Discotheque) ถือเป็นไนท์คลับใต้ดินแห่งเดียวในปารีสที่มีการใช้
เครื่องเล่นแผ่นเสียงเพียงอย่างเดียวแทนวงดนตรี ซึ่งคาว่า “Discotheque” ถูกใช้ในยุโรปเพื่อเป็นคา
จากัดความของสถานบันเทิงยามวิกาลที่ไม่มีการเล่นดนตรีสด ต่อมาภายหลังในปี 1947 ณ เมืองปารีส
พอล ปาไคน์ (Paul Pacine) ได้ทาการเปิดไนต์คลับที่มีชื่อว่า “วิสกี้ อะ-โก-โก (Whiskey A-Go-Go)” ซึ่ง
เป็นไนต์คลับแห่งแรกที่ทาการเปิดอย่างถูกกฎหมาย ซึ่งไนต์คลับแห่งนี้ในปี 1953 มีดีเจ (DJ หรือย่อมา
จาก Disc Jockey หมายถึงผู้ที่ทาการเปิดแผ่นเสียงในไนท์คลับ ) ที่มีชื่อว่า “ดีเจ รีจีน (DJ Regine)” โดย
เขาได้ทาการนาเครื่องเล่นแผ่นเสียงมาเปิดบทเพลงต่อกันเพื่อไม่ให้เกิดการหยุดชะงักในระหว่างการเต้น
และที่ไนท์คลับแห่งนี้ยังมีการทาเวทีสาหรับเต้นราที่มีการตกแต่งแสงสีต่าง ๆ เข้าไปอยู่ใต้พื้นเวทีอีกด้วย
8

ในช่วงปลายปี 1950 ณ กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ ร้านกาแฟในย่านโซโฮ (Soho) กลายเป็น


สถานที่ยอดนิยมเหมือนดั่งเช่นนิยายเรื่อง “เลส เอ็นแฟนท์ส เทอรริเบิลส (Les Enfants Terribles)”
ที่ตั้งอยู่บนถนน 93 Dean St. ซึ่งผู้อพยพชาวฝรั่งเศสและอิตาเลี่ยนมักจะไปเต้นรากันในยามบ่าย และใน
ระหว่างนั้นกลุ่มร็อคแอนด์โรลก็ได้ใช้คาว่า “ไนท์คลับ” ในการเรียกบาร์และร้านเหล้าต่าง ๆ ต่อมาช่วงปี
1962 ในเมืองนิวยอร์ค ประเทศสหรัฐอเมริกา เพปเปอร์มินท์ เลานจ์ (Peppermint Lounge) ก็กลายม
มาเป็นสถานที่ยอดฮิตในการออกมาสังสรรค์เต้นราทั้งมาคนเดียวหรือมากับคู่ขาก็ตาม

ในปี 1965 ไนต์คลับที่ชื่อ “อาเธอร์ (Arthur)” ก็ได้เปิดตัวขึ้นในเมืองนิวยอร์ค โดยมีเทอร์รี โน


เอล (Terry Noel) เป็นดีเจ ซึ่งเทอร์รีนั้นถือได้ว่าเป็นดีเจคนแรกที่เริ่มต้นในการนาเพลงที่มีการบันทึกมา
ตัดต่อหรื อรวมเข้าด้ว ยกัน และต่อจากนั้นก็ ได้ มีไ นต์ คลั บ มากมายเปิ ดตัว ขึ้ นมาในช่ว งกลางปี 1960
ตัวอย่างเช่น รีจีนส (Regine’s), เลอ คลับ (Le Club), เชพเฟิร์ด (Shepheard’s), ชีต้า (Cheetah), ออน-
ดีน (Ondine) เป็นต้น ขณะเดียวกันในยุโรปปี 1966 บทเพลง เช่น Hold me Close และ Baby come
back กลายมมาเป็นบทเพลงที่ได้รับความนิยมอย่างมากและกลายเป็นจุดเริ่มต้นของแนวดนตรียูโรดิสโก้
(Eurodisco) และก็ได้มีคลับแห่งใหม่เปิดขึ้น ณ กรุงปารีสชื่อ เชซ แคสเตล (Chez Castel) และ เชซ รี-
จีน (Chez Regine)
เมืองนิวยอร์คปี 1969 ได้มีคลับที่ชื่อว่า “เดอะ คอนเทนตินัล บาธ (Contentinal Baths)” และ
“แซงทูอารี (Sanctuary)” ได้เปิดตัวขึ้นบนถนนเวสต์ 43 พร้อมกับดีเจฟรานซิส กราสโซ (DJ Francis
Grasso) ที่ต่อมาได้กลายมาเป็นตานาน และในปีนี้เพลงของเจอร์รี บัตเลอร์ (Jerry Butler) ที่ชื่อ “ออนลี
เดอะ สตรอง เซอร์ไวฟ์ (Only the strong survive)” ก็ได้ทาการเผยแพร่สู่สาธารณะชน และถือเป็นบท
เพลงแรกที่บุกเบิกสาเนียงทางดนตรีของฟิลาเดลเฟีย (Philly Sound) ซึ่งกลายมาเป็นองค์ประกอบสาคัญ
ของดนตรีดิสโก้ นอกจากนั้นแล้วคลับต่าง ๆ ไม่ได้เป็นเพียงแค่สถานที่ที่ให้ความบันเทิงเพียงเท่านั้น แต่
กลายเป็นสิ่งที่ทาให้กลุ่มคนที่ไม่ได้รับการยอมรับทางสังคมในเมืองนิว ยอร์คและเมืองฟิลาเดลเฟียเช่น คน
ผิวสี, หญิงรักหญิง, ชายรักชาย, ผู้ที่ติดยา, กลุ่มชาวละติน เป็นต้น เกิดความมั่นใจในตนเองและกล้ าที่
เปิดเผยตัวเองและแสดงออกทางสังคมมากขึ้นในช่วงปลายปี 1960 จนถึงต้นปี 1970 ในช่วงระยะเวลา 10
9

แห่งการเติบโตและขยายตัวของกลุ่มผู้ตื่น ตัวทางสังคมอีกทั้งยังมีการต่อต้านดนตรีร็อคของคนผิวขาว ดิส


โก้ยังได้รับความมสนใจจากกลุ่มของหญิงสาวทั่วไปอีกด้วย โดยพวกเธอมองว่าคลับต่าง ๆ เปรียบเสมือนที่
ปลดปล่อยหลังจากการทางานอันแสนหนักมาทั้งวันเพียงเพื่อที่จะไปเต้นราและดื่มด่าบทเพลงฟังค์, ละติน
และโซล
เอกลักษณ์หลาย ๆ อย่างของวัฒนธรรมดิสโก้นั้นได้รับอิทธิพลมาจากวัฒนธรมมฮิปปี้ยกตัวอย่าง
เช่น การมึนเมา ฟรีเลิฟ การแต่งกายสี สันฉูดฉาด และการเสพยาเสพติด ซึ่งถือได้ว่าเป็นยุคแห่ ง การ
ต่อต้านวัฒนธรรมและเป็นยุคแห่งการปลดปล่อยและการเป็นอิสระ ขณะเดียว ณ กรุงปารีส คลับต่าง ๆ ก็
ได้ทาการเปิดเพลงที่มีความอีโรติกเช่น เพลงเชอร์แตม (Je T’Aime) และ มัว นอง พลัส (Moi NonPlus)
ของศิลปินเสิร์ก เกนสเบิร์ก (Serge Gainbourg) และบทเพลงที่มีความนุ่มนวลของศิลปินไอแซค เฮเยส
(Isaac Hayes) ในบทเพลง วอล์ค ออน บาย (Walk on by) และในปี 1970 ดีเจ เดวิด แมนคุสโซ (DJ
David Mancuso) ได้จัดปาร์ตี้ส่วนตัวขึ้นที่ห้องพักของเขาซึ่งต่อมาได้กลายเป็นคลับส่วนตัวที่สามารถเข้า
ได้เฉพาะสมาชิกเท่านั้น
ก่อนหน้านี้ก็ได้มีบทเพลงหลากหลายบทเพลงที่เปรียบได้เหมือนกับการเกริ่นถึงแนวดนตรีดิสโก้
ตัวอย่างเช่น บลา, บลา ดิดลี่ (Bla, Bla Diddly) ของ จอร์จิโอ โมโรเดอร์ (Giorgio Moroder) ในปี 1966,
ยู คีป มี แฮงกิง ออน (You Keep Me Hangin’ On) ของ เดอะ ซูพรีม (The Supremes) ในปี 1966,
ออนลี เดอะ สตรอง เซอร์ไวฟ์ (Only the strong Survive) ของ เจอร์รี บัตเลอร์ (Jerry Butler) ในปี
1968, เมสเสจ ทู เลิฟ (Message to Love) ของ จิมมี เฮนดริกซ์ แบนด์ ออฟ ยิปซี (Jimi Hendrix’s
Band of Gypsys) ในปี 1970, โซล มาคอสซา (Soul Makossa) ของ มานู ดิแบงโก (Manu Dibango)
ในปี 1972, คีป ออน ทรัคกิน (Keep on truckin’) ของ เอ็ดดี เค็นดริคส (Eddie Kendricks) ในปี 1973
และบทเพลง เดอะ เลิฟ ไอ ลอสท (The Love I Lost) ของ ฮาโรลด์ เมลวิน แอนด์ เดอะ บลู โน้ตส
(Harold Melvin & The Blue Notes) ในปี 1973 อีกทั้งดิสโก้ยังได้เข้าไปสู่รายการทีวีที่มีชื่อรายการว่า
“โซล เทรน (Soul Train)” ที่เป็นรายการเกี่ยวกับดนตรีและการเต้นราในปี 1971 และยังถูกนาไปเป็น
หัวข้อในการเขียนคอลัมส์ของนิตยสารโรลลิง สโตน (Rolling Stone) ที่เขียนโดยวินซ์ อเลทติ (Vince
Aletti) ในปี 1973 ซึ่งถือได้ว่าเป็นนิตยสารแรกที่มีการกล่าวถึงดิสโก้
10

ในปี 1973 คาเรน ลัสท์การ์เตน (Karen Lustgarten) ได้เปิดสถาบันการสอนเต้นดิสโก้ของเธอ


ในเมืองซานฟรานซิสโก ประเทศสหรัฐอเมริกา อีกทั้งยังได้เปิดตัวหนังสือของเธอที่มีชื่อว่า “เดอะ คอมม
พลีท ไกด์ ทู ดิสโก้ แดนซิง (The Complete Guide to Disco Dancing)” ในปี 1978 ซึ่งเป็นหนังสือเล่ม
แรกที่มีการเจาะลึกและการสอนเกี่ยวกับท่าเต้นยอดฮิตต่าง ๆ ในยุคดิสโก้ หนังสือเล่มนี้ถือเป็นหนังสือ
ขายดีได้รับความนิยมเป็นอย่างมากอีกทั้งยังได้ถูกนาไปแปลในหลากหลายภาษาเพื่อนาไปขายอีกด้วย ซึ่ง
ท่าเต้นแต่ละท่านั้นจะถูกออกแบบให้เข้ากับเพลงดิสโก้ที่มีเอกลักษณ์ทางดนตรีและเสีย งร้องที่แตกต่างกัน
และเดอะฮัทเซิล (The Hustle) กลายเป็นชื่อสามัญของท่าเต้นหลาย ๆ ท่าอีกด้วย ท่าเต้นนี้เป็นท่าที่ต้อง
มีผู้ เต้น 2 คน และจะมีการใช้จั งหวะของมือที่ซับซ้อนประกอบกับการโยกเอวและหมุนตัว โดยได้รับ
อิทธิพลมาจากท่าเต้นในยุคดนตรีจังหวะสวิงช่วงปี 1930-1940 และนอกจากนี้ท่าเต้นในจังหวะแมมโบ้
(Mambo) และซัลซ่า (Salsa) ของละตินยังมีอิทธิพลต่อท่าเต้นในจังหวะดิสโก้อีกด้วย โดยการเต้นใน
รูปแบบดิสโก้นั้นได้รับความนิยมในเมืองฟลอริด้า (Florid) เป็นแห่งแรกก่อนที่จะค่อย ๆ ขยายมาจนถึง
เมืองนิวยอร์คในช่วงต้นปี 1970s

ในระหว่างปี 1974-1977 ดนตรีดิสโก้ยังคงดาเนินต่อไปอีกทั้งยังค่อย ๆ ได้รับความนิยมเพิ่มขึ้น


เรื่อย ๆ อันสังเกตได้จากบทเพลงดิสโก้ที่ได้ติดอันดับต่าง ๆ และในปลายปี 1977 ถือได้ว่าเป็นช่วงที่
ประสบความส าเร็ จ ที่สุ ดของดนตรีโ ก้ตั้งแต่ที่มีการฉายภาพยนตร์เรื่อง “แซทเทอร์เ ดย์ ไนท์ ฟีเวอร์
(Saturday Night Fever) ” ที่ ก ากั บ โดยจอห์ น แบดแฮม (John Badham) แสดงน าโดยจอห์ น ทรา
โวลต้า (John travolta) และคาเรน กอร์นีย์ (Karen Gorney) ที่เปรียบเสมือนเครื่องมือในการประกาศ
ถึงความนิยมของดิสโก้และเป็นมากกว่าสิ่งที่ต้อต้านวัฒนธรรมของอเมริกา และการเปิดตัวของภาพยนตร์
เรื่องนี้ถือได้ว่าเป็นความสาเร็จอย่างยิ่งใหญ่ของวงดนตรีฝาแฝด 3 พี่น้องชื่อดังอย่างวงบีจีส์ (Bee Gees)
ซึ่งในภาพยนตร์เรื่องนี้มีการนาบทเพลงของวงบีจีส์ไปใช้ประกอบภาพยนตร์หลากหลายบทเพลงจนทาให้
อัลบั้มเพลงของวงบีจีส์ที่นาไปประกอบภาพยนตร์ เรื่องนี้กลายเป็นอัลบั้มยอดนิยมและขายดีที่สุดตลอด
กาล
11

ในช่วงปลายยุค 1970s ดิสโก้ได้กลายเป็นกระแสดนตรีหลักแห่งวัฒนธรรมสมัยนั้น ถึงขนาดที่ว่า


บทเพลงที่ไม่ใช่ดิสโก้ยังต้องใส่องค์ประกอบของดนตรีดิสโก้ลงไปในบทเพลง และในยุคนี้วงออเคสตรายัง
ได้รับความมั่งคั่งและความรุ่งเรื่องจากการที่เล่นเป็นดนตรีพื้นหลังประกอบให้กับบทเพลงดิสโก้และได้รับ
การจดจาเหมือนดั่งเช่นวงบิกแบนด์ในยุคสวิง อีกทั้งยังทาให้ศิลปินวงบิกแบนด์หลาย ๆ คนหันมาเรียบ
เรียงบทเพลงดิสโก้เช่น เพอร์รี โคโม่ (Perry Como) และยังมีผลงานการเรียบเรียงบทเพลงคลาสสิ คัล
ออเคสตร้าต่าง ๆ ให้อยู่ในรูปแบบดนตรีดิสโก้ รวมไปถึงเอเธล เมอร์แมน (Ethel Merman) นักแสดง
ละครเพลงและนักร้องหญิงอันมีเสียงที่ทรงพลังยังได้ออกวางจาหน่ายอัลบั้มเพลงของเธอที่เป็นดิสโก้ใน
อัล บั้ ม “ดิ เอเธล เมอร์ แมน ดิส โก้ (The Ethel Merman Disco)” ในปี 1979 ซึ่งดู เหมือนว่าในช่ ว ง
ระยะเวลานี้นั้นดิสโก้จะได้รับความนิยมเป็นอย่างมากและทุก ๆ คนก็เริ่มที่จะสร้างสรรค์ผลานของตัวเองท ี่
เป็นดนตรีดิสโก้มากยิ่งขึ้น

ยุคสมัยของดิสโก้นั้นค่อย ๆ ถูกแทนที่มาด้วยรูปแบบพังค์ -ร็อคในช่วงปลายยุค 1970s อีกทั้งยัง


ถูกลดบทบาทลงจากสถานการณ์ของการเมืองในสมัยนั้น ในประเทศสหรัฐอเมริกานั้นได้เกิดกลุ่มที่ต่อต้าน
ดนตรีดิสโก้ขึ้นมา โดยเป็นกลุ่มแฟนเพลงแนวดนตรีร็อคอีกทั้งยังมีการสวมเสื้อยืดที่มีการสกรีนคาว่า “ดิส
โก้ห่วย (Disco Sucks)” ซึ่งเป็นสโลแกนของกลุ่มต่อต้าน จนกระทั่งวันที่ 12 กรกฎาคม ค.ศ.1979 ได้เกิด
เหตุ ก ารณ์ แ ห่ ง วั น ต่ อ ต้ า นดิ ส โก้ ขึ้ น หรื อ ที่ รู้ จั ก กั น ในชื่ อ “ดิ ส โก้ เดโมลิ ชั่ น ไนท์ (Disco Demolition
Night)” ซึ่ ง เหตุ ก ารณ์ ค รั้ ง นี้ เกิ ด ขึ้ น ที่ส นามเบสบอลโคมิ ส กี้ พาร์ ค (Comiskey Park) ในเมื อ งชิ คาโก้
(Chicago) โดยในขณะนั้นเป็นการแข่งขันระหว่างทีมชิคาโก้ ไวท์ ซ็อก (Chicago White Sox) กับทีมดี
ทรอยท์ ไทเกอร์ส (Detriot Tigers) ซึ่งกลุ่มผู้ต่อต้านนั้นได้เดินลงมายังสนามเบสบอลเพื่อก่อจลาจล มีทั้ง
การตะโกนโห่งร้อง การทาลายเก้าอี้ที่นั่งภายในสนาม และสิ่งที่ถือว่ารุนแรงที่ สุดก็คือการเผาทาลายและ
ระเบิดแผ่นเสียงดิสโก้ทิ้งภายในสนาม แต่ก็มีบางคนได้กล่าวว่าเหตุการณ์ในครั้งนี้มีการสนับสนุนจาก
โปรดิวเซอร์ดนตรีร็อคที่ต้องการจะให้ดนตรีร็อคนั้นกลับมานิยมอีกครั้งหนึ่ง หรือการจงใจที่จะทาลาย
วัฒนธรรมดิสโก้ที่ได้รับความนิยมอยู่ในขณะนั้นจากกลุ่มวัฒนธรรมเล็กอื่น ๆ ภายในสังคม
12

ที่มา : http://planethelix.com/wp-content/uploads/2017/07/205-C-Ken-Disco-Sucks.jpg
ภาพประกอบที่ 9 การใส่เสื้อยืดของกลุ่มต่อต้านดิสโก้

ที่มา : http://assets.nydailynews.com/polopoly_fs/1.2707212.1468254342!/img
/httpImage/image.jpg_gen/derivatives/article_750/disco-demolition-night-riot.jpg
ภาพประกอบที่ 10 การเผาทาลายแผ่นเสียงดิสโก้ในเหตุการณ์ Disco Demolition Night
13

ในช่วงปลายยุค 1980s จนตลอดระยะเวลาของช่วงยุค 1990s การนารูปแบบดนตรีดิสโก้มาใช้ใน


บทเพลงทาให้ดิสโก้ได้รับความนิยมมากขึ้น และหลาย ๆ เพลงที่ได้นาอิทธิพลจากดนตรีดิสโก้มาใช้ในบท
เพลงก็ได้รับความนิยม ยูโรดิสโก้ (Eurodisco) เป็นดนตรีที่มุ่งเน้นความนิยมทางดนตรีในสมัยยนั้นให้มาก
ยิ่ งขึ้น และปรั บ ลดความเป็ น ดนตรี โ ซลให้ น้อ ยลงกว่าดนตรีดิส โก้จากฝั่ งประเทศสหรัฐ อเมริกา ซึ่งสิ่ ง
เหล่านั้นยังคงหลงเหลืออยู่ในวัฒนธรรมพอปของทวีปยูโรปและสหราชอณาจักร (UK) และได้ทาให้เกิด
ศิลปินกลุ่มที่ได้ประสบความสาเร็จเป็นอย่างมากเช่นแอบบ้า (ABBA) และบอนนีย์ เอ็ม (BoneyM) และ
จากความสาเร็จนี้ก็ได้แผ่ขยายไปยังฮอลลี้วู้ดและทาให้เกิดวงเพ็ท ช็อป บอยส์ (Pet Shop Boys) และ
ศิลปินอื่น ๆ ขึ้นมา
14

2. การแต่งกายในยุคดิสโก้
แฟชั่นการแต่งกายของยุคดิสโก้นั้นได้รับความนิยมเป็นอย่างมากในช่วงกลางยุค 1970s ซึ่งแม้แต่
เอลวิส เพรสลีย์ (Elvis Presley) ราชาเพลงร็อคแอนด์โรลล์ยังใส่ชุดจัมพ์สูทที่ส่องประกายวิบวับที่มีการ
ตัดผ่ายาวกลางเสื้อไปจนถึงสะดือ โดยการแต่งกายแบบดิสโก้ในนิวยอร์คนั้นมักจะใช้ของที่มีราคาแพงและ
ดูเป็นสินค้าฟุ่มเฟือยเป็น อย่ างมาก ตัวอย่างเช่นชุดสลิงกี้ (Slinky dress) ที่ออกแบบโดย ดิแอน วอน
เฟิร์สเทนเบิร์ก (Diane von Furstenburg) ชุดฮัลสตัน (Halston dress) สาหรับผู้หญิงที่ทามาจากโพลี
เอสเตอร์ เสื้อเชิร์ตเคียน่า (Qiana shirts) สาหรับผู้ชายที่มีปกคอมแหลมขนาดใหญ่และจะมีกระปลด
กระดุมออกเพื่อนเป็นการโชว์หน้าอก และชุดลีเชอร์ สูท (Leisure suit) ที่มักจะใส่เสื้อทับกัน 2 ชั้นเป็น
เชิร์ตและแจ็คเก็ตพร้อมทั้งกางเกงที่มีความเข้าในเรื่องของสี (http://visforvintage.net/2012/06/07/
disco-a-complete-history/, วันที่ค้น 20 มกราคม 2561)

ที่มา : https://f.ptcdn.info/854/022/000/1409310415-o.jpg
ภาพประกอบ 1 การแต่งกายของเอลวิส เพรสลีย์
15

ที่มา : https://i.pinimg.com/736x/cc/09/46/cc09462c63bdd6b3ce27c391ca325dc3--in-
search-of-halston.jpg
ภาพประกอบ 2 ชุดฮัลสตัน

ที่มา : https://i.pinimg.com/originals/d6/2a/3e/d62a3e465b4fdd0f024f779011c74707.jpg
ภาพประกอบ 3 เสื้อเชิร์ตเคียน่า
16

ที่มา : https://flashbak.com/wp-content/uploads/2014/09/denim-hell-1.jpg
ภาพประกอบ 4 ชุดลีเชอร์ สูท

ความนิยมของการแต่งตัวในรูปแบบนี้ สามารถขยายตัวไปได้อย่างรวดเร็ว โดยผู้ชายในสมัยนี้นั้น


เปรียบได้ดั่งนกยูกที่มีสีสันสดสวยพร้อมทั้งลวดลายมากอีกทั้งยังมีการใส่เครื่องเพชรและเครื่องประดับอีก
ด้วยสาหรับผู้หญิงในยุคนี้นั้นแฟชั่นจะเริ่มต้นที่การใส่กระโปรงสั้นที่มีความคล้ายคลึงกับกลุ่มฮิปปี้ในช่วง
ยุคปลายทศวรรษ 1960s แต่ในปี 1970s นั้นดิสโก้ก็ได้นามาซึ่งแฟชั่นรูปแบบใหม่ที่เปลี่ยนจากการแต่งตัว
เหมือนเด็กของแฟชั่นยุค 1960s ให้มีความทันสมัยมากยิ่งขึ้นและยังสามารถบ่งบอกถึงความเนผู้ใหญ่และ
รสนิยมในเรื่องเพศได้อีกด้วย นอกจากนี้ห้องเสื้อที่มีชื่อว่า “สตูดิโอ 54 (Studio 54)” กลายเป็นสถานที่ที่
ซึ่งเหล่าหญิง-ชายทั้งหลายจะมาเลือกหาเสื้อผ้ากัน และยังเป็นสถานที่ที่ทุกคนจะต้องมาเพื่อให้ตัวเองตาม
ทันกระแสแฟชั่นที่ออกใหม่นเวลานั้น ทั้งนี้สิ่งที่ต้องมีในการแต่งตัวให้อยู่ในรูปแบบของยุคดิสโก้มีด้วยกัน
มากมายหลายอย่าง ตัวอย่างเช่น
17

กางเกงขาสั้น (Hot pants) เป็นที่นิยมในหมู่หญิงสาวตั้งแต่ปี 1971 ซึ่งกางเกงประเภทนี้จะต้อง


ทาให้คับที่สุดและสั้นที่สุดเท่าที่จะทาได้ โดยถูกออกแบบมาเพื่อให้ใส่กับถุงน่องที่มีความหนาทึบ

ที่มา : http://1.bp.blogspot.com/-72JiFp-86EY/U7r7VsN8YSI/AAAAAAAADQU/HoVz
QM6bRwM/s1600/1971_fashion_hotpants_main.jpg
ภาพประกอบที่ 5 กางเกงขาสั้น
18

รองเท้าส้นตึก (Platform Shoes) รองเท้าชนิดนี้ปรากฏเป็นแฟชั่นครั้งแรกในปี 1971 ซึ่งเป็น


รองเท้าส้นสูงที่สามารถใส่ได้ทั้งผู้หญิงและผู้ชาย โดยความสูงของส้นจะมีความสูงอย่างน้อย 2-4 นิ้วจาก
พื้นดิน แต่ว่าความสูงของรองเท้านั้นกลับเป็นปัญหาในการเดินเสียเป็นส่วนใหญ่

ที่มา : https://images.thestar.com/content/dam/thestar/life/2013/04
/11/with_its_clubs_disappearing_where_will_toronto_dance/kung_fu_dancing_1975.jpg
ภาพประกอบที่ 6 ร้องเท้าส้นตึก
19

กางเกงขาม้า (Flared jeans/trousers) กางเกงเป็นอีกทางเลือกหนึ่งที่ได้รับความนิยมจาก


ผู้หญิงในช่วงต้นยุค 1970s โดยป้ายชื่อของกางเกงกลายเป็นสิ่งสาคัญและกลายเป็นสัญลักษณ์ทางแฟชั่น
กางเกงยี่ห้อแวนเดอร์บิลธ์ (Vanderbilt) และฟิออรุชชี่ (Fiorucci) กลายเป็นยี่ห้อที่ได้รับความนิยมเป็น
อย่างมากและเป็นยี่ห้อกางเกงที่ทุกคนในยุคนั้นต้องหามาใส่

ที่มา : http://78.media.tumblr.com/tumblr_m8vvssSJ8l1qzdza2o1_500.jpg
ภาพประกอบที่ 7 กางเกงขาม้า
20

ชุ ด สู ท สามชิ้ น (Three-piece suit) ชุ ด แบบนี้ เ ป็ น ที่ นิ ย มขึ้ น มาจากจอห์ น ทราโวลต้ า ใน


ภาพยนตร์เรื่อง แซทเทอร์เดย์ ไนท์ ฟีเวอร์ ซึ่งชุดสูทสีขาวจากโพลีเอสเตอร์นี้กลายเป็นทางเลือกในการ
แต่งตัวของผู้ช ายในยุ คนั้ น และมักจะใส่ร่ว มกับเครื่องประดับเช่น สร้อยข้อมือ เสื้อเชิร์ตที่มีการปลด
กระดุมเพื่อโชว์ห น้าอก กางเกงเอวสู งและมีขากางเกงที่กว้างและมักจะมาในสีสันที่ส ดใสและเข้ า กัน
กับฟลอร์เต้นรา ซึ่งสีที่ดูดีทีสุดคือสีขาวและเป็นสีที่ได้รับความนิยมมากที่สุด

ที่มา : http://i.dailymail.co.uk/i/pix/2012/08/07/article-2184773-019E40AA000004B0-
863_634x669.jpg
ภาพประกอบที่ 8 ชุดสูทสามชิ้นพร้อมทั้งจอห์น ทราโวลต้า และคาเรน กอร์นีย์
21

3. ประวัติศิลปินและบทเพลงที่นามาใช้ในการแสดง
ในหัวข้อนี้จะเป็นกล่าวถึงประวัติของศิลปินและประวัติของบทเพลงที่นามาใช้ในการแสดง โดยมี
การเรียงลาดับตามบทเพลงที่ใช้ในการแสดงดังนี้
ศิลปิน : Chic
บทเพลง : Everybody Dance
ชิ ค (Chic) หรื อ ในปั จ จุ บั น ถู ก เรี ย กว่ า “ชิ ค ฟี ท เจอริ ง ไนล์ ร็ อ ดเจอร์ ส (Chic
featuring Nile Rodgers)” เป็นวงดนตรีดิสโก้และฟังค์จากอเมริกาที่ก่อตั้งขึ้นในปี 1976 โดยมือ
กีตาร์ ไนล์ ร็อดเจอร์ส และมือเบส เบอร์นาร์ด เอ็ดวาร์ด (Bernard Edwards) ซึ่งมีบทเพลงที่
ประสบความสาเร็จอย่างมากในยุคดิสโก้จากบทเพลงต่าง ๆ เช่น แดนซ์, แดนซ์, แดนซ์ (โยวซา,
โยวซา, โยวซา) (Dance, Dance, Dance (Yowsah, Yowsah, Yowsah)) ในปี 1977 เอฟเวอรี่
บอดี้ แดนซ์ (Everybody Dance) ในปี 1977 เลอ ฟรีค (Le Freak) ในปี 1978 ไอ วอนท ยัวร์
เลิฟ (I want your love) ในปี 1978 กู๊ด ไทม์ส (Good times) ในปี 1979 และมาย ฟอร์บิเดน
เลิ ฟ เวอร์ (My forbidden lover) ในปี 1979 โดยพวกเขานั้ น ถื อ ว่ า ตั ว เองเป็ น วงร็ อ คในยุ ค
ของดิสโก้ และในปี 2017 วงชิคได้รับการเสนอชื่อเข้าชิงตาแหน่งในรายการ ร็อค แอนด์ โรล
ฮ อ ล ล์ อ อ ฟ เ ฟ ร ม (Rock abd Roll Hall of Fame) ด้ ว ย กั น ถึ ง 1 1 ค รั้ ง
(https://en.wikipedia.org/wiki/Chic_(band), วันที่ค้น 20 มกราคม 2561)
เอฟเวอรี่ บ อดี้ แดนซ์ เป็ น บทเพลงดิ ส โก้ จ ากวงชิ ค ซึ่ ง ร้ อ งน าโดยนอร์ ม า จี น ไรท์
(Norma Jean Wright) และ ลู เ ธอร์ แวนดรอสส์ (Luther Vandross) ร้ อ งเป็ น พื้ น หลั ง โดย
บทเพลงนี้นั้นเป็นบทเพลงเดี่ยวลาดับที่ 2 จากอัลบั้มเปิดตัวของพวกเขาที่ใช้ชื่ออัลบั้มตามชื่อวง
ของพวกเขาคือ “ชิค (Chic)” ซึ่งบทเพลงนี้ถือเป็นบทเพลงแรกที่ถูกแต่งขึ้นเพื่อวงดนตรีนี้ และ
บทเพลงนี้ยังได้กลายเป็นบทเพลงที่ใช้ในการเปิดตัวของพวกเขาสาหรับการแสดงคอนเสิร์ตต่าง ๆ
อีกทั้งบทเพลงนี้ยังถูกนาไปใช้ประกอบในภาพยนตร์ต่าง ๆ เช่น เดอะ ลาสต์ เดย์ส ออฟ ดิสโก้
(The Last Days of Disco) ในปี 1998 และ ซั ม เมอร์ ออฟ แซม (Summer of Sam) ในปี
22

1999 อีกด้ว ย (https://en.wikipedia.org/wiki/Everybody_Dance_(Chic_song), วันที่ ค้น


20 มกราคม 2561)
ศิลปิน : Boney M.
บทเพลง : Rasputin
บอนนี เอ็ม. (Boney M.) คือกลุ่มนักร้องนักดนตรีดิสโก้สัญชาติเยอรมัน ถูกก่อตั้งโดย
แฟรงค์ แฟเรียน (Frank Farian) โปรดิวเซอร์ชาวเยอรมัน มีสมาชิกประกอบด้วยนักร้องและนัก
เต้นเชื้อสายแอฟริกันและแคริบเบียน ได้แก่ ลิซ มิทเชลล์ (Liz Mitchell) และมาร์เซีย แบเร็ตต์
(Marcia Barrett) จากจาไมกา (Jamaica) เมซี วิลเลียมส์ (Maizie Williams) จากมอนต์เซอร์รัต
(Montserrat) และบ็อบบี แฟร์เรล (Bobby Farrell) จากอารูบา (Aruba) บอนนี เอ็ม. เริ่มก่อตั้ง
วงในปี 1976 และได้รับความนิยมในช่วงปลายยุค 1970s ของยุคดิสโก้ และด้วยยอดขายกว่า
150 ล้านชุด ส่งผลให้บอนนี เอ็ม. ถูกยกย่องให้เป็นหนึ่งในศิลปิน ที่มีผลงานขายดีที่สุดตลอดกาล
(The best-selling artists of all time.) (https://en.wikipedia.org/wiki/Boney_M., วั น ที่
ค้น 20 มกราคม 2561)
รัสปูติน (Rasputin) เป็นบทเพลงยูโรดิสโก้ในปี 1978 โดยวงบอนนี เอ็ม. ซึ่งเป็นบท
เพลงลาดับที่ 2 จากอัลบั้มไนท์ไฟล์ท ทู วีนัส (Nightflight to Venus) ที่มีการปรับแต่งสาเนียง
ของดนตรีให้คล้ายคลึงกับเพลงพื้นบ้านของชาวตุรกีที่ชื่อว่า “คัตติบีม (Kâtibim)” โดยในบท
เพลงนั้นมีเนื้อหาเกี่ยวกับชีวประวัติของกริกอรี รัสปูติน (Grigori Rasputin) ผู้ที่เป็นเพื่อนและผู้ที่
คอยให้คาแนะนาแก่จักรพรรดิซาร์ นิโคลัสที่ 2 แห่งรัสเซีย และครอบครัวของรัสปูตินในช่วงเวลา
ตอนต้นของศตวรรษที่ 20 ซึ่งในบทเพลงจะกล่าวว่าตัวของรัสปูตินนั้นเป็นเพลย์บอย นักการเมือง
และผู้ ใ ช้ เ วทย์ ม นตร์ ลึ ก ลั บ (https://en.wikipedia.org/wiki/Rasputin_(song), วั น ที่ ค้ น 20
มกราคม 2561)
23

ศิลปิน : The Tramps


บทเพลง : Disco Inferno
เดอะ แทรมป์ส (The Tramps) เป็นวงดนตรีโซล/ดิสโก้สัญชาติอเมริกาจากรัฐฟิลาเดล-
เฟีย และถือได้ว่าเป็นวงดนตรีดิสโก้วงแรกในประเทศสหรัฐอเมริกาอีกด้วย โดยความสาเร็จครั้ง
แรกของวงนั้นเริ่มมาจากการนาบทเพลง ซิง ! เวนท์ เดอะ สตริงส์ ออฟ มาย ฮาร์ท (Zing! Went
the strings of my heart) ซึ่งเป็นบทเพลงที่ใช้ในละครบอร์ดเวย์เรื่อง ทัมบ์ส อัพ ! (Thumbs
up) มาเรียบเรียงใหม่ในปี 1972 บทเพลงดิสโก้เพลงแรกของพวกเขาคือบทเพลง “เลิฟ เอพิเด-
มิค (Love epidemic)” ในปี 1973 อย่างไรก็ตามพวกเขานั้นเป็นที่รู้จักดีจากผลงานที่ได้รับ
รางวัลแกรมมี่นั่นก็คือเพลง “ดิสโก้ อินเฟอร์โน (Disco inferno)” ซึ่งเผยแพร่ครั้งแรกในปี 1976
แ ล ะ ไ ด้ รั บ ค ว า ม นิ ย ม อ ย่ า ง ม า ก ทั้ ง ใ น ส ห ร า ช อ ณ า จั ก ร แ ล ะ ส ห รั ฐ อ เ ม ริ ก า
(https://en.wikipedia.org/wiki/The_Trammps, วันที่ค้น 20 มกราคม 2561)
ดิสโก้ อินเฟอร์โน เป็นบทเพลงจากอัลบั้มที่ 4 ของพวกเขาที่ใช้ชื่ออัลบั้มเดียวกันกับตัว
บทเพลง โดยบทเพลงนี้ด้วยกันถึง 2 รูปแบบคือรูปแบบในอัลบั้มที่มีความยาวอยู่ที่ 10:54 นาที
และรูปแบบที่ใช้สาหรับออกอากาศในรายการวิทยุที่มีความยาวอยู่ที่ 3:35 นาที บทเพลงนี้ได้รับ
ความนิยมอย่างมากจนได้ขึ้นไปอยู่ในอันดับหนึ่งของบิลบอร์ด แดนซ์ คลับ ซองส์ (Billboard
dance club songs) ของสหรั ฐ อเมริ ก าในช่ ว งต้ น ปี 1977 อี ก ทั้ ง ยั ง ถู ก น าไปประกอบใน
ภาพยนตร์ชื่อดังอย่างแซทเทอร์เดย์ ไนท์ ฟีเวอร์อีกด้วย(https://en.wikipedia.org/wiki/Disco
_Inferno, วันที่ค้น 20 มกราคม 2561)
ศิลปิน : Bee Gees
บทเพลง : Night Fever
บีจีส์ (Bee Gees) เป็นวงดนตรี 3 พี่น้องจากฝั่งอังกฤษซึ่งประกอบไปด้วยแบร์รี่ กิบบ์
(Barry Gibb) โรบิ น กิ บ บ์ (Robin Gibb) และ มอริ ซ กิ บ บ์ (Maurice Gibb) โดยพวกเขานั้ น
ประสบความสาเร็จอย่างมากในช่วงกลางถึงปลายยุค 1970s โดยพวกเขานั้นเป็นที่จดจาได้จาก
รูปแบบการร้องอันเป็นเอกลักษณ์ที่จะร้องประสานเสียงกันได้อย่างลงตัว บีจีส์นั้นเป็นคนเขียน
24

และแต่งเพลงต่าง ๆ ของพวกเขาขึ้นมาเอง อีกทั้งยังแต่งเพลงและเป็นโปรดิวเซอร์ให้แก่นักดนตรี


ดังคนอื่น ๆ อีกหลายคน บีจีส์ มีผลงานเพลงที่ขายดีที่สุด โดยสามารถทารายได้สูงถึง 220 ล้าน
จนทาให้พวกเขาติดอันดับ 1 ใน 5 งานดนตรีที่ขายดีที่สุดตลอดกาล และในปี 1997 พวกเขาก็ยัง
ได้ถูกบันทึกลงในร็อค แอนด์ โรล ฮอลล์ ออฟ เฟรม (https://en.wikipedia.org/wiki/ee_Gees,
วันที่ค้น 20 มกราคม 2561)
ไนท์ ฟีเวอร์ (Night Fever) บทเพลงไนท์ ฟีเวอร์ เป็นบทเพลงที่แต่งขึ้นโดยวงบีจีส์เอง
และบทเพลงนี้ได้ปรากฏขึ้นครั้งแรกในภาพยนตร์เรื่องแซทเทอร์เดย์ ไนท์ ฟีเวอร์ โดยโปรดิวเซอร์
โรเบิร์ต สติกวู้ด (Robert Stigwood) ที่เป็นทั้งโปรดิวเซอร์ประจาวงบีจีส์ และเป็นโปรดิวเซอร์
ของภาพยนตร์ต้องการที่จะใช้ชื่อภาพยนตร์ว่า “แซทเทอร์เดย์ ไนท์ (Saturday Night)” และ
ขอให้บีจีส์แต่งเพลงที่ใช้ชื่อนี้เป็นชื่อของบทเพลง แต่ทางบีจีส์นั้นกลับคิดว่าชื่อ “แซทเทอร์เดย์
ไนท์” เป็นชื่อที่ดูเชยเกินไป ประกอบกับในขณะนั้นพวกเขาได้เขียนเพลงไนท์ ฟีเวอร์ขึ้นมาก่อน
แล้ว พวกเขาจึงได้เสนอให้สติกวู้ดเปลี่ยนชื่อภาพยนตร์จาก “แซทเทอร์เดย์ ไนท์” มาเป็น “แซท
เทอร์เดย์ ไนท์ ฟีเวอร์” โดยสิ่งที่น่าสนใจอย่างหนึ่งของเพลงนี้ก็คือในส่วนของเนื้อร้องที่พวกเขา
ทั้ง 3 คนได้ช่วยกันแต่งจนเสร็จในขณะที่กาลังนั่งคิดอยู่บนบันได เช่นเดียวกันกั บเพลงยอดนิยม
ของพวกเขาในปี 1967 ที่มีชื่อว่า “นิวยอร์ค ไมน์นิง ดิสแซสเตอร์ 1941 (New York Mining
Disaster 1941)” (https://en.wikipedia.org/wiki/Night_Fever, วันที่ค้น 20 มกราคม 2561)
ศิลปิน : ABBA
บทเพลง : Dancing Queen
แอ็บบา (ABBA) เป็นวงดนตรีป็อปสัญชาติสวีเดน ก่อตั้งขึ้น ณ กรุงสตอกโฮล์มในปี ค.ศ.
1972 ประกอบด้วยสมาชิก อักเนตา ฟัลส์ค็อก (Agnetha Fältskog) บียอร์น อัลเวอุส (Björn
Ulvaeus) เบนนี อั น เดอร์ ส สั น (Benny Andersson) และแอนนี - ฟริ ด ลิ ง สตั ด (Anni-Frid
Lyngstad) คาว่า "แอ็บบา" จึงมาจากชื่อตัวอักษรแรกของสมาชิกทั้งสี่คน ที่เรียงจากคู่สามีภรรยา
2 คู่ ซึ่งก็คือ คู่ของอักเนตากับบียอร์น (AB) และเบนนีกับแอนนี -ฟริด (BA) นั่นเอง แอ็บบาได้
กลายมาเป็นหนึ่งในกลุ่มดนตรีที่ประสบความสาเร็จสูงสุดในประวัติศาสตร์ดนตรีทั่วโลก ด้วยการ
25

ยืนหยัดบนชาร์ตต่าง ๆ ทั่วโลก เป็นระยะเวลาตั้งแต่ปี ค.ศ. 1974 ถึง 1982 แอ็บบา เริ่มโด่งดัง


จากการชนะเวทีการประกวดเพลงยูโรวิชันในปี 1974 จากซิงเกิลวอเตอร์ลู (Waterloo) ที่เมือง
ไบรตัน ประเทศสหราชอาณาจักร และทาให้ พวกเขาและเธอเป็นศิลปินจากสวีเดนวงแรกที่
สามารถชนะรายการนี้ได้ รวมไปถึงเป็ นวงที่ประสบความสาเร็จสูงสุดในเวลาต่อมาจากรายการนี้
(https://en.wikipedia.org/wiki/ABBA, วันที่ค้น 20 มกราคม 2561)
แอ็บบามียอดบันทึกแผ่นเสียงที่ได้รับการประมาณไว้ในช่วง 140 ถึง 500 ล้านชุดทั่วโลก
อ้างอิงจากค่ายเพลงโพลาร์มิวสิก แอ็บบาได้จาหน่ายไปแล้วกว่า 380 ล้านชุด และในปี 2014
แอ็บบาได้กลายเป็นหนึ่งในศิลปินที่มียอดจาหน่ายสูงสุดตลอดกาล แอ็บบานั้นยังถูกนับเป็นกลุ่ม
ศิลปินกลุ่มแรกที่มาจากประเทศที่ไม่ใช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษาราชการที่ประสบความสาเร็จ ด้วย
การขึ้ น ชาร์ ต นอกประเทศไม่ ว่ า จะเป็ น สหราชอณาจั ก ร ไอร์ แ ลนด์ แคนาดาออสเตรเลี ย
นิวซีแลนด์ แอฟริกาใต้ และบางส่วนในสหรัฐอเมริกา ในสหราชอาณาจักรอัลบั้มของแอ็บบา
สามารถครองอันดับหนึ่งต่อเนื่องกันถึง 8 อัลบั้ม นอกจากนี้วงยังสามารถเจาะตลาดไปถึงกลุ่ม
ล า ติ น อ เ ม ริ ก า แ ล ะ ยั ง เ ค ย บั น ทึ ก เ สี ย ง ใ น อั ล บั้ ม ฮิ ต เ ป็ น ภ า ษ า ส เ ป น อี ก ด้ ว ย
(https://en.wikipedia.org/wiki/Dancing_Queen, วันที่ค้น 20 มกราคม 2561)
ศิลปิน : KC & The Sunshine Band
บทเพลง : That’s the way (I like it)
เคซีแอนด์เดอะซันไชน์แบนด์ (KC and the Sunshine Band) เป็นวงดนตรีจากอเมริกัน
ที่ก่อตั้งขึ้นในปี ค.ศ. 1973 โดยแฮร์รี เวย์น เคซี หรือก็คือ KC โดยในขณะนั้นเขาทางานอยู่ในร้าน
ขายแผ่ น เสี ย งและท างานพาร์ ท ไทม์ ที่ ที เ ค เรคคอร์ ด (TK Records) ในเมื อ งไฮอาลี อ าห์
รัฐฟลอริด้า โดยก่อนหน้านี้เขาใช้ชื่อวงว่า “เคซี แอนด์ เดอะ ซันไชน์ จังกะนู แบนด์ (KC & The
Sunshine Junkanoo Band)” โดยเขาได้สมาชิกมาจากนักดนตรีภายในห้องอัดของทีเค เรค-
คอร์ ดและจากวงขบวนพาเหรดจังกะนูท้องถิ่นที่ใช้ชื่อวงว่า “ไมอามี จังกะนู แบนด์ (Miami
Junkanoo Band)” หลังจากนั้นเขาก็ได้นาความคิดนี้ไปเสนอแก่ริชาร์ด ฟินช์ (Richard Finch)
ซึ่งทางานเป็นวิศวกรเสียงให้กับทีเค เรคคอร์ดในขณะนั้น และต่อมาในปี 1975 พวกเขาก็ได้ทา
การเผยแพร่อัลบั้มเพลงที่ 2 ที่ใช้ชื่ออัลบั้มเดียวกันกับชื่อวงของพวกเขาที่ชื่อว่า “เคซี แอนด์
เดอะ ซันไชน์ แบนด์ ” จนทาให้พวกเขาได้รับความนิยมขึ้นมาจากบทเพลง “เก็ต ดาวน์ ทูไนท์
26

(Get Down tonight)” และได้ขึ้นถึงอันดับ 1 ในบิลบอร์ด ฮ็อต 100 (Billboard Hot 100) ใน
เดือนสิงหาคม (https://en.wikipedia.org/wiki/KC_and_the_Sunshine_Band, วันที่ค้น 20
มกราคม 2561)
บทเพลง “แดท เดอะ เวย์ (ไอ ไลค์ อิท) (That’s the way (I Like It))” เป็นบทเพลงใน
ล าดับ ที่ 2 ของอัล บั้ มที่ได้ขึ้นอันดับ 1 ในบิล บอร์ด ฮ็อต 100 และยังได้ขึ้นชาร์ตต่าง ๆ อีก
มากมายภายในเดือนพฤศจิกายนจนถึงเดือนธันวาคม และบทเพลงนี้ยังได้ขึ้นไปอยู่ในอเมริกัน
พอป ชาร์ท เป็นเวลา 1 สัปดาห์ ก่อนที่จะถูกแทนที่ด้วยบทเพลง “ฟลาย, โรบิน, ฟลาย (Fly,
Robin, Fly)” โดยซิลเวอร์ คอนเวนชัน (Silver Convention) เป็นระยะเวลา 3 สัปดาห์ แต่แล้ว
บทเพลงนี้ก็กลับขึ้นมาแทนที่ได้อีกครั้งและยังขึ้นเป็นอันดับ 1 ในโซลซิงเกิล ชาร์ต นอกจากนี้บท
เพลงแดท เดอะ เวย์ (ไอ ไลค์ อิท) ยังได้รับความนิยมทั้งในประเทศแคนนาดา เนเธอร์แลนด์
ออสเตรเลีย เบลเยียม เยอรมนี ไอร์แลนด์ นิวซีแลนด์ นอร์เวย์ และสหราชอาณาจักรอีกด้วย
(https://en.wikipedia.org/wiki/That%27s_the_Way_(I_Like_It), วั น ที่ ค้ น 20 มกราคม
2561)
ศิลปิน : Earth, Wind & Fire
บทเพลง : Getaway
เอิร์ธ, วินด์ แอนด์ ไฟร์ (Earth, Wind & Fire) เป็นวงดนตรีจากอเมริกันที่ทอดผ่านยุค
ของดนตรีที่หลากหลายไม่ว่าจะเป็นอาร์แอนด์บี, โซล, ฟังค์, แจ๊ส, ดิสโก้, พอป, ร็อค, ละติน และ
แอฟริกัน และยังถือได้ว่าเป็นวงที่ประสบความสาเร็จที่สุดในยุค 1970s วงเอิร์ธ วินด์ แอนด์ ไฟร์
ก่อตั้งขึ้น ในเมื อ งชิ ค าโก้โ ดยเมอริ ซ ไวท์ (Maurice White) ในปี 1970 โดยประกอบไปด้ ว ย
สมาชิกจากวงดนตรีอยู่ก่อนหน้าคือวง “ซอลตี้ เปปเปอร์ (Salty Peppers)” และสมาชิกคนอื่น
ๆ คือ ฟิลิป ไบลีย์ (Philip Bailey), เวอร์ดีน ไวท์ (Verdine White), เฟรด ไวท์ (Fred White),
ราล์ฟ จอห์นสัน (Ralph Johnson), แลร์รี ดันน์ (Larry Dunn), อัล แม็คเคย์ (Al McKay) และ
แอนดรูว วูลโฟล์ค (Andrew Woolfolk) เอิร์ธ วินด์ แอนด์ ไฟร์ ได้รับการเสนอเข้าชิงรางวัลแก
รมมีถึง 20 ครั้ง โดยได้รับรางวัลแบบกลุ่มถึง 6 ครั้ง และสมาชิก 2 คนในวงคือเมอริซและไบลีย์
ได้รับรางวัลต่าง ๆ อีกมากมาย อีกทั้งยังได้รับรางวัลจากเวทีอเมริกันอวอร์ดถึง 4 ครั้งจากการถูก
27

เสนอชื่อเข้าชิงรางวัลถึง 12 ครั้ง และพวกเขายังได้ถูกจัดให้ อยู่ในร็อค แอนด์ โรล ฮอลล์ ออฟ


เ ฟ ม แ ล ะ โ ว ค อ ล ก รุ๊ ป ฮ อ ล ล์ อ อ ฟ เ ฟ ม (Vocal Group Hall of Fame) อี ก ด้ ว ย
(https://en.wikipedia.org/wiki/Earth,_Wind_%26_Fire, วันที่ค้น 20 มกราคม 2561)
เก็ทอะเวย์ (Getaway) เป็นบทเพลงยอดนิยมของวงเอิร์ธ วินด์ แอนด์ ไฟร์ จากอัลบั้ ม
สปิริต (Spirit) ที่ถูกเผยแพร่ครั้งแรกในปี 1976 แต่งโดยบีลอยด์ เทเลอร์ (Beloyd Taylor) และ
ปีเตอร์ คอร์ เบเลงกี (Peter Cor Belenky) บทเพลงนี้สามารถไต่อันดับขึ้นไปอยู่ในอันดับที่ 1 ใน
อาร์แอนด์บีซิงเกิ้ล ชาร์ตได้นานถึง 2 สัปดาห์ ขึ้นไปถึงอันดับที่ 12 ในบิ ลบอร์ด ฮ็อท 100 และ
อันดับที่ 12 ในดิสโก้ ชาร์ต บทเพลงเก็ทอะเวย์สามารถขายได้มากกว่า 1 ล้านก็อปปี้และยังถูก
นาไปใช้เป็นบทเพลงประกอบภายในเกมแข่งรถชื่อดังอย่าง “แกรน เทอริสโม 4 (Gran Turismo
4)” ในปี 2005 (https://en.wikipedia.org/wiki/Getaway_(Earth,_Wind_%26_Fire_song)
, วันที่ค้น 20 มกราคม 2561)
ศิลปิน : Daft Punk
บทเพลง : Lose Yourself to Dance
ดาฟต์ พังค์ (Daft Punk) เป็นวงดนตรีดูโอ้แนวอิเล็คโทรนิคจากประเทศฝรั่งเศสโดย
กาย-มานูเอล เดอ โฮเมม-คริสโต (Guy-Manuel de Homem-Christo) และโทมัส แบงกัลเตอร์
(Thomas Bangalter) พวกเขาทั้ง 2 ได้ประสบความสาเร็จในช่วงปลายยุค 1990s จากการที่
พยายามขับเคลื่อนแนวดนตรีเฟรนช์ เฮาส์ (French House) โดยการนาแนวดนตรีฟังค์ เทคโน
(Techno) ดิสโก้ ร็อค และซินท์พอป (Synthpop) มาผสมผสานกัน ซึ่งจุดเริ่มต้นของการก่อตั้ง
วงเกิดจากการที่โทมัส แบงกัลเตอร์และกาย-มานูเอล เดอ โฮเมม-คริสโต เริ่มพบกันในปี 1987 ที่
โรงเรียนลีย์ซี การ์น็อท (Lycée Carnot) ในเมืองปารีส ต่อมาโทมัส แบงกัลเตอร์และกาย-มานู
เอล เดอ โฮเมม-คริสโต ก็ได้ตั้งวงที่มีชื่อว่า “ดาร์ลิน’ (Darlin')) โดยมีสมาชิกเป็นเพื่อนอีกคน
คือลอเรนต์ บรานโควิตซ์ (Laurent Brancowitz) เข้าเป็นสมาชิกในปี 1992 ซึ่งเป็นวงดนตรีแนว
อิ น ดี้ ร็ อ ค ต่ อ มาได้ ถู ก นิ ต ยสารชื่อ ดั ง ได้วิ จารณ์ เ ขาว่า “A daft punk thrash” หรื อ เศษขยะ
นั่นเอง จึงทาให้เขาได้กลับไปปรับปรุงแนวเพลงและเปลี่ยนชื่อวงใหม่เป็น Daft punk ในปี 1993
โดยดาฟต์ พั ง ค์ ไ ด้ อ อกขายอั ล บั้ ม ชุ ด แรกที่ มี ชื่ อ ว่ า “โฮมเวิ ร์ ค (Homework)” โดยเริ่ ม การ
บั น ทึ ก เสี ย งในปี 1993 จนถึ ง ปี 1996 และออกจ าหน่ า ยในวั น ที่ 25 มี น าคม 1997 และ
ประสบความสาเร็จกับซิงเกิล “ดา ฟังค์ (Da Funk)” และ “อราวด์ เดอะ เวิร์ลด (Around the
28

World)” และสามารถขึ้นชาร์ตที่อันดับ 1 บนฮ็อท แดนซ์ คลับ เพลย์ ชาร์ต (Hot Dance Club
Play chart) (https://en.wikipedia.org/wiki/Daft_Punk, วันที่ค้น 20 มกราคม 2561)
ลู ส ยั ว ร์ เซลฟ์ ทู แดนซ์ (Lose Yourself to Dance) เป็นเพลงของดาฟต์ พั ง ค์ แ ละมี
นักร้องนักแต่งเพลงชาวอเมริกัน ฟาร์เรลล์ วิลเลียมส์ (Pharrell Williams) เป็นนักร้องร่วม เพลง
นี้ถูกแต่งขึ้นโดยดาฟต์พังค์ , ฟาร์เรลล์ วิลเลียมส์ และนักดนตรีชาวอเมริกันไนล์ ร็อดเจอร์ส ซึ่ง
เป็นมือกีตาร์ชื่อดังจากวงดนตรีชิค โดยบทเพลงนี้เป็นเพลงลาดับที่ 6 ในสตูดิโออัลบั้มที่ 2 ของ
ดาฟต์พังค์ที่ใช้ชื่ออัลบั้มว่า “แรนดอม แอคเซส เมมโมรีส์ (Random Access Memories)” บท
เพลงนี้ได้รับการกระจายเสียงผ่านทางวิทยุเป็นลาดับที่ 2 จากบทเพลงทั้งหมดในอัลบั้มนี้ในวันที่
13 สิ ง หาคม ค.ศ. 2013 ตามด้ ว ยบทเพลงที่ มี ค วามนิ ย มไปทั่ ว โลกอย่ า ง “เก็ ต ลั ค กี้ (Get
Lucky)” ก่อนที่บทเพลงลูส ยัวร์เซลฟ์ ทู แดนซ์ จะทาการขึ้นชาร์ตในประเทศต่าง ๆ รวมถึง
ฝรั่งเศส, สวีเดน, สวิตเซอร์แลนด์ และสหราชอาณาจักร โดยในสหราชอาณาจักรนั้นได้มีการนา
บ ท เ พ ล ง นี้ ไ ป ใ ส่ ไ ว้ ใ น ล า ดั บ ก า ร เ ล่ น เ พ ล ง ข อ ง ช่ อ ง BBC Radio 1 ,BBC Radio 2
(https://en.wikipedia.org/wiki/Lose_Yourself_to_Dance, วันที่ค้น 20 มกราคม 2561)
ศิลปิน : Daft Punk
บทเพลง : One More Time
ดาฟต์ พังค์ (Daft Punk) เป็นวงดนตรีดูโอ้แนวอิเล็คโทรนิคจากประเทศฝรั่งเศสโดย
กาย-มานูเอล เดอ โฮเมม-คริสโต (Guy-Manuel de Homem-Christo) และโทมัส แบงกัลเตอร์
(Thomas Bangalter) พวกเขาทั้ง 2 ได้ประสบความสาเร็จในช่วงปลายยุค 1990s จากการที่
พยายามขับเคลื่อนแนวดนตรีเฟรนช์ เฮาส์ (French House) โดยการนาแนวดนตรีฟังค์ เทคโน
(Techno) ดิสโก้ ร็อค และซินท์พอป (Synthpop) มาผสมผสานกัน ซึ่งจุดเริ่มต้นของการก่อตั้ง
วงเกิดจากการที่โทมัส แบงกัลเตอร์และกาย-มานูเอล เดอ โฮเมม-คริสโต เริ่มพบกันในปี 1987 ที่
โรงเรียนลีย์ซี การ์น็อท (Lycée Carnot) ในเมืองปารีส ต่อมาโทมัส แบงกัลเตอร์และกาย-มานู
เอล เดอ โฮเมม-คริสโต ก็ได้ตั้งวงที่มีชื่อว่า “ดาร์ลิน’ (Darlin')) โดยมีสมาชิกเป็นเพื่อนอีกคน
คือลอเรนต์ บรานโควิตซ์ (Laurent Brancowitz) เข้าเป็นสมาชิกในปี 1992 ซึ่งเป็นวงดนตรีแนว
29

อิ น ดี้ ร็ อ ค ต่ อ มาได้ ถู ก นิ ต ยสารชื่อ ดั ง ได้วิ จารณ์ เ ขาว่า “A daft punk thrash” หรื อ เศษขยะ
นั่นเอง จึงทาให้เขาได้กลับไปปรับปรุงแนวเพลงและเปลี่ยนชื่อวงใหม่เป็น Daft punk ในปี 1993
โดยดาฟต์ พั ง ค์ ไ ด้ อ อกขายอั ล บั้ ม ชุ ด แรกที่ มี ชื่ อ ว่ า “โฮมเวิ ร์ ค (Homework)” โดยเริ่ ม การ
บั น ทึ ก เสี ย งในปี 1993 จนถึ ง ปี 1996 และออกจ าหน่ า ยในวั น ที่ 25 มี น าคม 1997 และ
ประสบความสาเร็จกับซิงเกิล “ดา ฟังค์ (Da Funk)” และ “อราวด์ เดอะ เวิร์ลด (Around the
World)” และสามารถขึ้นชาร์ตที่อันดับ 1 บนฮ็อท แดนซ์ คลับ เพลย์ ชาร์ต (Hot Dance Club
Play chart) (https://en.wikipedia.org/wiki/Daft_Punk, วันที่ค้น 20 มกราคม 2561)
วั น มอร์ ไทม์ (One More Time) ถู ก เผยแพร่ ค รั้ ง แรกแบบเพลงเดี่ ย วในวั น ที่ 30
พฤศจิกายน 2000 และภายหลังในอัลบั้มดิสคัฟเวอร์รี (Discovery) เมื่อปี 2001 โดยมีดีเจชาว
อเมริกันชื่อว่า “โรมันโธนี (Romanthony)” มาทาการร้องร่ว มโดยการใช้เอฟเฟคต์ออโต้จูน
(Auto Tune) บทเพลงวัน มอร์ ไทม์ ได้ประสบความสาเร็จในการนาบทเพลงไปใช้ในเชิงพาณิชย์
อีกทั้งยังติดอันดับ 1 ในซินดิเคต เนชั่นแนล เดอ เลดิชั่น โฟโนกราฟฟิค อันดับที่ 2 ในยูเค ซิงเกิ้ล
ชาร์ต (UK Singles Chart) และอันดับที่ 61 ในบิลบอร์ด ฮ็อต 100 นอกเหนือจากความสาเร็จ
ก่อนหน้ าแล้ ว บทเพลงวัน มอร์ ไทม์ ยังถูกจัดให้ อยู่ในอันดับที่ 5 ของพิทช์ฟอร์คท็อป 500
(Pitchfork) ของยุ ค 2000s นิ ต ยสารโรลลิ่ ง สโตนยั ง ได้ จั ด ให้ เ พลงนี้ อ ยู่ ใ นอั น ดั บ ที่ 33 ของ
100 เพลงยอดเยี่ยมแห่งทศวรรษ และยังได้ถูกจัดให้เป็นหนึ่งใน 500 เพลงยอดเยี่ยมตลอดการ
เมื่อเดือนพฤษภาคม 2010อีกด้วย (https://en.wikipedia.org/wiki/One_More_Time_(Daft
_Punk_song), วันที่ค้น 20 มกราคม 2561)
ศิลปิน : Daft Punk
บทเพลง : Get Lucky
ดาฟต์ พังค์ (Daft Punk) เป็นวงดนตรีดูโอ้แนวอิเล็คโทรนิคจากประเทศฝรั่งเศสโดย
กาย-มานูเอล เดอ โฮเมม-คริสโต (Guy-Manuel de Homem-Christo) และโทมัส แบงกัลเตอร์
(Thomas Bangalter) พวกเขาทั้ง 2 ได้ประสบความสาเร็จในช่วงปลายยุค 1990s จากการที่
พยายามขับเคลื่อนแนวดนตรีเฟรนช์ เฮาส์ (French House) โดยการนาแนวดนตรีฟังค์ เทคโน
30

(Techno) ดิสโก้ ร็อค และซินท์พอป (Synthpop) มาผสมผสานกัน ซึ่งจุดเริ่มต้นของการก่อตั้ง


วงเกิดจากการที่โทมัส แบงกัลเตอร์และกาย-มานูเอล เดอ โฮเมม-คริสโต เริ่มพบกันในปี 1987 ที่
โรงเรียนลีย์ซี การ์น็อท (Lycée Carnot) ในเมืองปารีส ต่อมาโทมัส แบงกัลเตอร์และกาย-มานู
เอล เดอ โฮเมม-คริสโต ก็ได้ตั้งวงที่มีชื่อว่า “ดาร์ลิน’ (Darlin')) โดยมีสมาชิกเป็นเพื่อนอีกคน
คือลอเรนต์ บรานโควิตซ์ (Laurent Brancowitz) เข้าเป็นสมาชิกในปี 1992 ซึ่งเป็นวงดนตรีแนว
อิ น ดี้ ร็ อ ค ต่ อ มาได้ ถู ก นิ ต ยสารชื่อ ดั ง ได้วิ จารณ์ เ ขาว่า “A daft punk thrash” หรื อ เศษขยะ
นั่นเอง จึงทาให้เขาได้กลับไปปรับปรุงแนวเพลงและเปลี่ยนชื่อวงใหม่เป็น Daft punk ในปี 1993
โดยดาฟต์ พั ง ค์ ไ ด้ อ อกขายอั ล บั้ ม ชุ ด แรกที่ มี ชื่ อ ว่ า “โฮมเวิ ร์ ค (Homework)” โดยเริ่ ม การ
บั น ทึ ก เสี ย งในปี 1993 จนถึ ง ปี 1996 และออกจ าหน่ า ยในวั น ที่ 25 มี น าคม 1997 และ
ประสบความสาเร็จกับซิงเกิล “ดา ฟังค์ (Da Funk)” และ “อราวด์ เดอะ เวิร์ลด (Around the
World)” และสามารถขึ้นชาร์ตที่อันดับ 1 บนฮ็อท แดนซ์ คลับ เพลย์ ชาร์ต (Hot Dance Club
Play chart) (https://en.wikipedia.org/wiki/Daft_Punk, วันที่ค้น 20 มกราคม 2561)
เก็ต ลัคกี้ (Get Lucky) เป็นเพลงของดาฟต์พังค์และมีนักร้องนักแต่งเพลงชาวอเมริกัน
ฟาร์เรลล์ วิลเลียมส์ (Pharrell Williams) เป็นนักร้องร่วม เพลงนี้ถูกแต่งขึ้นโดยดาฟต์พังค์ , ฟาร์
เรลล์ วิลเลียมส์ และนักดนตรีชาวอเมริกันไนล์ ร็อดเจอร์ส ซึ่ง เป็นมือกีตาร์ชื่อดังจากวงดนตรีชิค
บทเพลงนี้เป็นบทเพลงลาดับที่ 1 ในสตูดิโออัลบั้มที่ 4 “แรนดอม แอคเซส เมมโมรีส์” และก่อนที่
บทเพลงนี้จะถูกเผยแพร่นั้นได้มีการนาไปใช้ในระหว่างการออกรายการโทรทัศน์ที่ใช้ชื่อรายการ
ว่า “แซตเทอร์เดย์ ไนท์ ไลฟ์ (Saturday Night live)” บทเพลงเก็ต ลัคกี้ เป็นบทเพลงดิสโก้ที่มี
เนื้อหาเกี่ยวกับโชคชะตาที่ทาให้มาพบเจอกับใครบางที่มีความคล้ายคลึงกัน หลังจากที่บทเพลงนี้
ได้ทาการเผยแพร่ในช่วงกลางเดือนเมษายนก็ได้มีการปล่อยบทเพลงออกมาในรูปแบบดิจิตอล
ดาวน์โหลดในวันที่ 19 เมษายน 2013 บทเพลงเก็ต ลัคกี้ ได้รับคายกย่องจากนักวิจารณ์มากมาย
และถูกนาไปขับร้องใหม่อีกหลายครั้ง อีกทั้งบทเพลงเก็ต ลัคกี้ ยังติดอันดับ 1 ใน 10 ชาร์ตเพลง
ต่าง ๆ มากกว่า 32 ประเทศและมียอดขายมากกว่า 7.3 ล้านชุดตั้งแต่เดือนกันยายน ค.ศ. 2013
เพลงนี้ชนะรางวัลแกรมมีสาขาบันทึกเสียงแห่งปีและสาขาเพลงพอปกลุ่ม/ดูโอ้ที่ดีที่สุดในงาน
แอนนัล แกรมมี่อวอร์ด ครั้งที่56 (56th Annual Grammy Awards) (https://en.wikipedia
.org/wiki/Get_Lucky_(Daft_Punk_song), วันที่ค้น 20 มกราคม 2561)
31

ศิลปิน : Jamiroquai
บทเพลง : (Don’t) Give Hate a Chance
จามิโรไคว (Jamiroquai) เป็นวงดนตรีจากอังกฤษที่นาโดยนักร้องนาเจย์ เคย์ (Jay Kay)
แจ้งเกิดในยุคปฏิวัติทางดนตรีของเอซิดแจ๊ส (Acid Jazz) เมื่อต้นยุค 1990s จามิโรไควคือศิลปิน
อังกฤษที่มีเอกลักษณ์โดดเด่นมากที่สุดอีกวงหนึ่ง ชื่อเสียงของวงนั้นโด่งดังไปทั่วยุโรปไม่ว่าจะเป็น
ฝรั่งเศส สเปน อิตาลี อเมริกาใต้ แอฟริกาใต้ ออสเตรเลีย และญี่ปุ่น รวมทั้งอเมริกาเหนือตลาด
ดนตรีที่ใหญ่ที่สุดของโลก ชื่อวง “Jamiroquai” นั้นมาจากการรวมคา 2 คานั่นก็คือคาว่า “แจม-
เซสชัน (Jam session)” ที่หมายถึงการที่นักดนตรีมาร่วมบรรเลงกับวงดนตรีอื่น ๆ และคาว่า “
อิโรไคว (Iroquai)” มาจากคาว่า “อิโรเควียส (Iroquois)” ซึ่งเป็นชื่อของชนเผ่าอินเดียนแดงเผ่า
หนึ่ง โดยเจย์ เคย์นั้นเป็นผู้ผลักดันในเกิดวงดนตรีนี้ขึ้นมาหลังจากที่เขาพลาดจากการสมัครเป็น
นักร้องให้แก่วงเดอะ แบนด์ นิว เฮฟวี่ (The Brand New Heavies) (https://en.wikipedia.org
/wiki/Jamiroquai, วันที่ค้น 20 มกราคม 2561)
(ดอนท์) กิฟ เฮท อะ แชนซ์ ((Don’t) Give hate a chance) เป็นบทเพลงในสตูดิโ อ
อัลบั้มที่ 6 ของวงที่ใชชื่ออัลบั้มว่า “ไดนาไมท์ (Dynamite)” บทเพลงนี้ถูกเขียนขึ้นโดยเจย์ เคย์,
ร็อบ แฮร์ริส (Rob Harris) และแมทท์ จอห์นสัน (Matt Johnson) และมีเจย์ เคย์ กับไมค์ สเปน-
เซอร์ (Mike Spencer) ท าหน้ า ที่ เ ป็ น โปรดิ ว เซอร์ บทเพลงนี้ ถู ก เผยแพร่ ค รั้ ง แรกในวั น ที่ 7
พฤศจิ ก ายน 2005 และสามารถไต่ อั น ดั บ ขึ้ น ไปอยู่ ใ นอั น ดั บ ที่ 27 ของยู เ ค ซิ ง เกิ้ ล ชาร์ ต
(https://en.wikipedia.org/wiki/(Don%27t)_Give_Hate_a_Chance, วันที่ค้น 20 มกราคม
2561)
ศิลปิน : Coldplay
บทเพลง : Adventure of a Lifetime
โคลด์เพลย์ (Coldplay) เป็นวงดนตรีร็อคจากสหราชอณาจักรที่ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี 1996
โดยนักร้องนาและมือคีย์บอร์ดของวงคือ คริส มาร์ติน (Chris Martin) และมือกีตาร์จอห์นนี บัค-
แลนด์ (Johnny Buckland) ที่มหาวิทยาลัยคอลเลจลอนดอน (University College London)
โดยในตอนแรกพวกเขาใช้ชื่อวงว่า “เพคโตรัลซ์ (Pectoralz)” จากนั้นกาย เบอร์รีย์แมน (Guy
Berryman) ก็ได้เข้าร่วมวงในฐานะมือเบสและพวกเขาก็ได้ ทาการเปลี่ยนชื่อววงมาเป็น “สตาร์-
ฟิช (Starfish)” ต่อมาพวกเขาได้วิล ล์ แชมป์เปียน (Will Champion) เข้าร่ว มวงในฐานะมื อ
กลองและนักร้องเสียงประสาน และได้นับฟิล ฮาร์วีย์ (Phil Harvey) ผู้กากับงานศิลป์ของวงเป็น
32

สมาชิกคนที่ 5 พวกเขาได้ทาการเปลี่ยนชื่อวงเป็นโคลด์เพลย์ในปี 1998 ก่อนที่จะทาการเผยแพร่


บทเพลงออกมาด้วยกัน 3 บทเพลงคือ เซฟตี้ (Safety) ในปี 1998 บทเพลง บราเธอร์ส แอนด์
ซิส เตอร์ ส (Brothers & Sisters) และเดอะ บลู รูม (The Blue Room) ในปี 1999 ในตลอด
ระยะเวลาในการทางานของวงโคลด์เพลย์พวกเขาถูกเสนอชื่อให้เข้าชิงรางวัลต่าง ๆ กว่า 252
รางวัลละได้รับรางวัลมาแล้วทั้งสิ้น 85 รางวัล ซึ่งประกอบไปด้วย 9 รางวัลจากบริต อวอร์ด (Brit
Awards) 6 รางวัลจากเอ็มทีวี วิดีโอ มิวสิค อวอร์ด (MTV Video Music Awards) 7 รางวัลจาก
เอ็มทีวี ยุโรป มิวสิค อวอร์ด (MTV Europe Music Awards) และ 7 รางวัลจากแกรมมี่ อวอร์ด
(Grammy Awards) จากการถูกเสอนชื่อเข้าชิงกว่า 32 รางวัล พวกเขาสามารถทายอดขายได้
มากกว่ า 90 ล้ า นชุ ด ทั่ ว โลกและท าให้ พ วกเขากลายเป็ น หนึ่ง ในศิ ล ปิ น ที่ มี ย อดขายที่ ดีที่สุ ด
(https://en.wikipedia.org/wiki/Coldplay, วันที่ค้น 20 มกราคม 2561)
แอดเวนเจอร์ ออฟ อะ ไลฟ์ไทม์ (Adventure of a Lifetime) เป็นบทเพลงลาดับที่ 1
จากสตูดิโออัลบั้มลาดับที่ 7 ที่ใช้ชื่อว่า “อะ เฮด ฟูล ออฟ ดรีมส (A Head of Dreams)” โดยถูก
เผยแพร่ครั้งแรกของวันที่ 6 พฤศจิกายน 2015 ในรูปแบบดิจิตอลดาวน์โหลด ภายใต้สังกัดของ
ค่ายพาร์ โ ลโฟน (Parlophone) และแอตแลนติก (Atlantic) บทเพลงแอดเวนเจอร์ ออฟ อะ
ไลฟ์ไทม์ สามารถไต่ขึ้นไปอยู่ในอันดับที่ 7 ของยูเค ซิงเกิ้ล ชาร์ต และลาดับที่ 13 ของบิลบอร์ด
ฮ็อต 100 อีกทั้งยังสามารถติ ดอันดับท็อป 20 ในชาร์ตเพลงของประเทศต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็น
ออสเตรเลี ย , ออสเตรี ย , แคนาดา, สาธารณรั ฐ เช็ ก , ฝรั่ ง เศส, เยอรมนี , ไอร์ แ ลนด์ , อิ ต าลี ,
เนเธอร์แลนด์, นิวซีแลนด์ และสวิตเซอร์แลนด์ (https://en.wikipedia.org/wiki/Adventure
_of_a_Lifetime, วันที่ค้น 20 มกราคม 2561)
ศิลปิน : The Weeknd
บทเพลง : I Feel It Coming
อาเบล มัคโคเนน เทสเฟย์ (Abel Makkonen Tesfaye) หรือชื่อในวงการคือ “เดอะ วีก
เอนด์ (The Weeknd)” เป็นนักร้อง นักแต่งเพลง และโปรดิว เซอร์ช าวแคนาดา โดยในช่ว ง
ปลายปี 2010 เขาได้ทาการอัปโหลดเพลงลงในเว็บไซต์ชื่อดังอย่างยูทูบ (YouTube) โดยที่ไม่มี
ใครรู้จักเขาภายใต้ชื่อ “เดอะวีกเอนด์ (The Weeknd)” เขาออกมิกซ์เทปหลายชุดแต่ละชุดมี
จานวนเพลง 9 เพลงตลอดปี 2011 ได้แก่ เฮาส์ ออฟบอลลูนส์ เทิร์สเดย์ (House of Balloons,
Thursday) และเอคโคส์ ออฟ ไซเลนส์ (Echo of Silence) ซึ่งได้รับคาชื่นชมเป็นอย่างมาก ในปี
ต่อมาเขาได้ออกอัลบั้มรวมเพลงชื่อ “ทริโลจี (Trilogy)” ซึ่งได้บรรจุบทเพลงจากมิกซ์เทปของเขา
33

ที่นามาเรียงเรียงดนตรีใหม่จานวน 30 เพลงและเพิ่มเพลงใหม่ลงไปอีก 3 เพลง อัลบั้มดังกล่าว


ออกจาหน่ายภายใต้สังกัดรีพับบลิก เรคคอร์ดส (Republic Records) และค่ายเพลงของเขาเอง
ที่มีชื่อว่า “เอกซ์โอ (XO)” ต่อมาในปี 2013 เขาได้ออกสตูดิโออัลบั้มแรกชื่อ “คิส แลนด์ (Kiss
Land)” ซึ่งมีบทเพลงซิงเกิล “คิส แลนด์ (Kiss Land)” และ “ลีฟ ฟอร์ (Live For)” ในสตูดิโอ
อั ล บั้ ม ที่ 2 ที่ ใ ช้ ชื่ อ ว่ า “บิ ว ตี้ บี ไ ฮนด์ เดอะ แมดเนส (Beauty Behind the Madness)”
กลายเป็นอัลบั้มแรกของเขาที่สามารถขึ้นอันดับหนึ่งบนชาร์ตบิลบอร์ด 200 ในสหรัฐอเมริกา อัน
ประกอบไปด้วยซิงเกิ้ล “เอินด์ อิท (Earned It)” และมีซิงเกิ้ลอันดับหนึ่งอย่าง “เดอะ ฮิลส์ (The
Hills)” และ “แคนต์ ฟีล มาย เฟซ (Can’t Feel My Face)” ซึ่งบทเพลงของเขาเคยอยู่ใน 3
อันดับแรกพร้อมกันบนบิลบอร์ด ฮ็อต อาร์แอนด์บี ซองส์ (Billboard Hot R&B Songs) เป็นคน
แรกในประวัติศาสตร์ (https://en.wikipedia.org/wiki/The_Weeknd, วันที่ค้น 20 มกราคม
2561)
ไอ ฟี ล อิ ท คั ม มิ่ ง (I Feel It Coming) เป็ น บทเพลงในสตู ดิ โ ออั ล บั้ ม ที่ 3 ที่ ใ ช้ ชื่ อ ว่า
“สตาร์บอย (Starboy)” ของเดอะวีกเอนด์ โดยได้คู่หูนักดนตรีเฟรนช์ เฮาส์ชาวฝรั่งเศส ดาฟต์
พังค์ มาร่วมบรรเลง บทเพลงนี้ถูกแต่งโดยเดออะ วีกเอนด์ , ดาฟต์ พังค์, ด็อค แม็คคินนีย์ (Doc
McKinney), เซอร์คัต (Cirkut) และอีริค เชเดไวลย์ (Eric Chedeville) โดยมีเดอะ วีกเอนด์ และ
ดาฟต์ พังค์ ทาหน้าที่เป็นโปรดิวเซอร์ และด็อค แม็คคินนีย์กับเซอร์คัตทาหน้าที่เป็นผู้ช่วยโปรดิว -
เซอร์ บทเพลงถูกเผยแพร่ออกมาในรูปแบบดิจิตอลดาวน์โหลดในวันที่ 18 พฤศจิกายน 2016
พร้อมกับเพลงปาร์ตี้ มอนสเตอร์ (Party Monster) โดยบทเพลงนี้สามารถขึ้นไปอยู่ในอันดับที่ 4
ของบิลบอร์ด ฮ็อต 100 ได้ในวันที่ 15 เมษายน 2017 และยังสามารถขายได้กว่า 888,000 ก็อป
ปี้ในประเทศสหรัฐอเมริกา (https://en.wikipedia.org/wiki/I_Feel_It_Coming, วันที่ค้น 20
มกราคม 2561)
ศิลปิน : Bruno Mars
บทเพลง : Treasure
ปี เตอร์ จี น เฮอร์ แนนเดซ (Peter Gene Hernandez) หรือที่รู้จักกันในนาม “บรูโ น
มาร์ส (Bruno Mars)” เป็นนักร้อง นักแต่งเพลง โปรดิวเซอร์ นักพากย์ และนักออกแบบท่าเต้น
ชาวอเมริกัน เขาเกิดและเติบโตในเมืองโฮโนลูลู รัฐฮาวาย ในครอบครัวนักดนตรี มาร์สได้เริ่มทา
เพลงในช่วงวัยเด็กและเริ่มแสดงในสถานที่จัดงานดนตรีต่าง ๆ ในย่านบ้านเกิดของเขา เขาจบ
34

การศึกษาในระดับมัธยมศึกษาหลังจากนั้นก็ย้ายไปยังลอสแอนเจลิสเพื่อทาตามความฝันในการ
เป็นนักดนตรี มาร์สยังเป็นโปรดิวเซอร์เพลงให้กับศิลปินหลายคนจานวนมาก และเป็นผู้ก่อตั้ง
เดอะ สมีซซิงตันส์ (The Smeezingtons) ซึ่งเป็นบริษัทที่รับแต่งเพลงและเป็นโปรดิวเซอร์ในการ
ทาบทเพลง มาร์สยังได้รับรางวัลเป็น จานวนมากและถูกเสนอชื่อเข้าชิงอยู่บ่อยครั้ง ประกอบด้วย
รางวัลแกรมมี 2 ครั้ง บริต อวอร์ด 3 ครั้ง กินเนสส์ เวิร์ลด เร็คคอร์ด 3 ครั้ง และในปี 2011
นิตยสารไทม์ (Time) ยังได้จัดให้เขาเป็น 1 ใน 100 บุคคลที่มีอิทธิพลมากที่สุดในโลกในปี 2011
ในปี 2014 เขายังได้รั บการขนานนามว่าเป็นศิลปินแห่งปีโดยบิลบอร์ดและยังติดอันดับ 1 ใน
นิตยสารฟอบส์จากทั้งหมด 30 รายชื่อ และตลอดช่วงระยะเวลาในการเป็นนักร้องมาร์สนั้นมี
ยอดขายมากกว่า 11 ล้านอัลบั้มและ 68 ล้านซิงเกิ้ล (https://en.wikipedia.org/wiki/Bruno_
Mars, วันที่ค้น 20 มกราคม 2561)
เทรเชอร์ (Treasure) เป็นบทเพลงจากอัลบั้มที่ 2 ของเขาในปี 2012 ที่ใช้ชื่อว่า “อัน
ออร์ธอด็อกซ์ จู๊คบ็อกซ์ (Unorthodox Jukebox)” ซึ่งได้รับแรงบันนดาลใจมากจากบทเพลง
“เบบี้ แอม ยัวร์ส (Baby I’m Yours)” ของศิลปินเบรคบ็อท (Breakbot) ถูกแต่งขึ้นโดยบรูโน
มาร์ ส , ฟิลิ ป ลอร์ เรนซ์ (Phillip Lawrence), เอริ เลวีนย์ (Ari Levine) และเฟรดลี ย์ บราวน์
(Phredley Brown) บทเพลงนี้เป็นบทเพลงอันดับที่ 4 และถูกเลือกมาให้เป็นซิงเกิ้ลลาดับที่ 3
โดยแอตแลนติก เรคคอร์ด บทเพลงเทรเชอร์ถูกเผยแพร่ครั้งแรกผ่านทางสถานีวิทยุนประเทศ
อิตาลีเมื่อวันที่ 10 พฤษภาคม 2013 และกลายเป็นบทเพลงลาดับที่ 7 ของมาร์สที่ติดอันดับท็อป
10 ในประเทศสหรัฐอเมริกาตั้งแต่ที่เขาเริ่มงานในการเป็นศิลปินเมื่อปี 2010 อีกทั้งยังติดท็อป 5
ในหลายประเทศเช่น แคนาดา, อิสราเอล, และแอฟริกาใต้ (https://en.wikipedia.org/wiki/
Treasure_(Bruno_Mars_song), วันที่ค้น 20 มกราคม 2561)
35

ศิลปิน : Beyoncé
บทเพลง : Love on Top
บียอนเซ่ จิเซลล์ โนวส์ (Beyoncé Giselle Knowles) เกิดเมื่อวันที่ 4 กันยายน ค.ศ.
1981 เป็นนักร้องสไตล์อาร์แอนด์บี , นักแต่งเพลง, โปรดิวเซอร์ , นักแสดง และ นางแบบชาว
อเมริกัน บียอนเซ่เกิดและเติบโตที่ ฮิวส์ตัน รัฐเท็กซัส ในวัยเด็กบียอนเซ่ได้เข้าร่วมในการแสดง
หลากหลายครั้งในระหว่างที่เธอกาลังเรียนอยู่ในระดับชั้นอนุบาลจนถึงประถม ซึ่งรวมไปถึงการ
ร้องเพลง อันเป็นการปูทางสาหรับอาชีพการเป็นนักร้องของเธอ บียอนเซ่เริ่มมีชื่อเสียงเป็นที่รู้จัก
ในช่วงปี 1990 ในฐานะสมาชิกคนสาคัญของเดสทินีส์ ไชลด์ (Destiny’s Child) วงดนตรีหญิง
ล้วนแนวอาร์แอนด์บีชื่อดังในยุคนั้น ตลอดชีวิตการทางานของเธอ เธอสามารถทายอดขายเกิน
กว่า 100 ล้านชุดได้ในฐานะศิลปินเดียว จากความสาเร็จอย่างสูงของการเป็นศิลปินเดี่ยวของบี
ยอนเซ่ ทาให้เธอได้รับการยกย่องให้เป็นศิลปินคนสาคัญคนหนึ่งของอุตสาหกรรมดนตรีในยุค
ปัจจุบัน และเธอก็ยังขยายงานอาชีพของเธอไปสู่งานทางการแสดงและเซ็นสัญญากับบริษัทสินค้า
ต่าง ๆ เธอได้เริ่มอาชีพทางการแสดงของเธอเมื่อปี ค.ศ. 2001 ใน ภาพยนตร์เพลงเรื่อง คาร์เมน:
อะ ฮิป ฮ็อป อีรา (Carmen: A Hip Hop era) ในปี ค.ศ. 2006 เธอได้รับบทนาในภาพยนตร์ทา
ใหม่ของละครบรอดเวย์ปี 1981 เรื่องดรีมเกิร์ลส (Dream Girls) และทาให้เธอได้เข้าชิงรางวัล
ลูกโลกทองคาถึง 2 รางวัล บียอนเซ่ได้มีธุรกิจสายงานแฟชั่นที่เธอได้ร่วมกับครอบครัว โดยใช้ชื่อ
ว่า “เฮาส์ ออฟ เดเรออน (House of Deréon)” และได้เซ็นสัญญาเป็นพรีเซ็นเตอร์ให้กับบริษัท
ต่าง ๆ เช่น เป๊ปซี่, ทอมมี ฮิล ฟิกเจอร์, อาร์มานิ และลอเรอัล และในปี ค.ศ. 2009 นี้ นิตยสาร
ฟอร์บยังได้จัดอันดับให้เธออยู่ในอันดับ 4 ของคนดังที่มีอิทธิพลมากที่สุด, อันดับ 3 ของนักดนตรี
ที่มีรายได้มากที่สุด, และอันดับหนึ่งของคนดังอายุต่ากว่า 30 ที่มีรายได้มากที่สุด ด้วยรายได้กว่า
87 ล้านดอลลาร์สหรัฐระหว่างปี ค.ศ. 2008 - ค.ศ. 2009 (https://en.wikipedia.org/wiki/
Beyoncé, วันที่ค้น 20 มกราคม 2561)
บทเพลง เลิฟ ออน ท็อป (Love on Top) เป็นบทเพลงจากสตูดิโออัลบั้มลาดับที่ 4 ของ
บียอนเซ่ ซึ่งได้รับแรงบันดาลใจมาจากสภาพจิตใจและความรู้สึกของเธอหลังจากการรับบทเป็น
36

เอ็ตตา เจมส์ (Etta James)ในภาพยนตร์อัตชีว ประวัติเรื่อง “คาดิแลค เรคคอร์ด (Cadillac


Records)” เมื่อปี 2008 โดยเธอเขียนเพลงนี้ขึ้นมากับทีเรียส แนช (Terius Nash) และเชีย เท
เลอร์ (Shea Taylor) โดยบทเพลงนี้มีการเพิ่มความเร็วของบทเพลงขึ้นมาให้มีความคล้ายคลึงกับ
รูปแบบเพลงของศิลปินชื่อดังอย่างสตวี วันเดอร์ (Stevie Wonder), วิทนีย์ ฮุสตัน (Whitney
Houston) และเดอะ แจ็คสัน 5 (The Jackson 5) ซึ่งบทเพลงนี้มีความพิเศษที่มีการเปลี่ยนคีย์
ให้ สู ง ขึ้ น ไปถึ ง 4 ครั้ ง ในตอนท้ า ยของบทเพลงที่ จ ะมี ก ารกลั บ มาร้ อ งท่ อ น ฮุ ค ซ้ า
(https://en.wikipedia.org/wiki/Love_On_Top, วันที่ค้น 20 มกราคม 2561)
ศิลปิน : สุรพล สมบัติเจริญ
บทเพลง : เป็นโสดทาไม
สุรพล สมบัติเจริญ เกิดที่อาเภอเมือง จังหวัดสุพรรณบุรี เมื่อวันที่ 24 กันยายน พ.ศ.
2473 มีชื่อเดิมว่า “ลาดวน สมบัติเจริญ ” เป็นบุตรชายคนที่ 2 ในบรรดาพี่น้องทั้งหมด 6 คน
บิดาชื่อนายเปลื้อง สมบัติเจริญ เป็นข้าราชการแผนกสรรพกร จังหวัดสุพรรณบุรี มารดาชื่อ นาง
วงศ์ สมบัติเจริญ เป็นแม่ค้าขายของชา สุรพลได้สมัครเข้าไปเป็นนักเรียนจ่าพยาบาลอยู่ที่โรงเรียน
พยาบาลกรมแพทย์ทหารเรือ กองทัพเรือ ด้วยความที่ชื่น ชอบการรองเพลงเป็นอย่างยิ่งจึงหนี
ออกไปร้ องเพลงยามค่าคืนอยู่บ่อยครั้ง แต่สิ่งที่ไม่คาดคิดก็เกิดขึ้นหลั งจากเขาได้ห นีราชการ
ทหารเรือจนได้รับโทษถูกคุมขัง เขากลายเป็นขวัญใจของนักโทษด้วยการร้องเพลงกล่อมก่อน
นอน เมื่อได้รับอิสรภาพสุรพลได้ทิ้งเส้นทางทหารเรือและมีโ อกาสได้ร้องเพลงในงานสังสรรค์
กองทัพอากาศ น้าเสียงของเขาได้เป็นที่ถูกใจเรืออากาศเอกปราโมทย์ วัณณะพงษ์ ซึ่งเป็นผู้ก่อตั้ง
ค่ายมวยและหั ว หน้ า คณะนั ก มวยของกองทั พ อากาศชื่ อ “ค่ายมวยเลื อ ดชาวฟ้า ” ดังนั้น ใน
วันรุ่งขึ้นสุรพลจึงถูกเรียกตัวให้เข้าพบ และยื่นโอกาสให้เขาได้เข้าไปรับราชการประจากองกอง
ดุริยางค์ทหารอากาศ ซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นที่เขาได้รับความรู้เกี่ยวกั บการดนตรีและร้องเพลง ซึ่งสิ่งนี้
จึงถือได้ว่าเป็นจุดพลิกผันครั้งสาคัญของชีวิต ที่ทาให้ สุรพล สมบัติเจริญ ได้ถูกบันทึกในหน้า
ประวัติศาสตร์ว่าเป็น “ราชาเพลงลูกทุ่งไทย” (https://th.wikipedia.org/wiki/สุรพล_สมบัติ
เจริญ, วันที่ค้น 20 มกราคม 2561)
37

สุร พล สมบัติ เ จริญ ราชาเพลงลูก ทุ่ง ไทย ขับ ร้อ งเพลงอมตะ “เป็น โสดทาไม” ไว้
กว่า หลายสิบ ปีแ ล้ว ปัจ จุบัน เพลงนี้ยัง ได้รับ ความนิย มนามาขับ ร้อ งซ้าเป็น ที่รู้จัก กัน ไปทั่ว
เด็ก ผู้ใหญ่ คนชราต่างขับร้อ งเพลงนี้กัน อย่างสนุกสนาน เนื้อเพลงแม้จ ะขึ้น ด้ว ยคาถามว่า
“เป็น โสดทาไม” แต่ตลอดเนื้ อ ร้อ งนั้น กลับ ไม่มีคาตอบของคาถามว่า เป็นโสดไปเพื่อ อะไร
ตลอดเนื้อร้อ งนั้น มีแต่บ อกถึง ข้อ ดีข องการมีคู่ค รอง มีลูก ไม่เหงา มีความสุข มีคนชิด ใกล้
อีกทั้งการไม่เป็น โสด และเลือกจะแต่ง งานนั้นยัง เป็น คุณ ประโยชน์แ ก่ป ระเทศอย่า งยิ่ง ถึง
ขนาด “รักชาติชูเชิด ” ส่วนข้อเสี ยของการเป็นโสดนั้นเนื้อเพลงบอกถึงการเผชิญความเหงา
ว่า ไม่ด ีต ่า งนา ๆ รุน แรงถึง ขนาดว่า ตายไปอาจจะไม่ไ ด้ก ลับ มาเกิด อีก ในชาติห น้า
(https://www.detectteam.com/3279, วันที่ค้น 20 มกราคม 2561)
ศิลปิน : ยอดรัก สลักใจ
บทเพลง : ไอ้หนุ่มตู้เพลง
ยอดรัก สลักใจ มีชื่อเล่นคือ “แอ๊ว” เกิดวันที่ 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2499 ที่ตาบลงิ้วราย
อาเภอตะพานหิน จังหวัดพิจิตร เป็นบุตรนายบุญธรรม และนางบ่าย ไพรวัลย์ มีพี่น้อง 8 คน
ชาย 7 คน หญิง 1 คน โดยยอดรักเป็นคนสุดท้อง เมื่อยอดรักยังเด็กเขาไปสมัครร้องเพลงกับ
คณะราวง “เกตุน้อยวัฒนา” ซึ่งได้เงินมาครั้งละ 5-10 บาท และต่อมามีโอกาสไปร้องเพลงใน
ห้องอาหารที่อาเภอตาคลี จังหวัดนครสวรรค์ โดยได้ใช้เพลงของไพรวัลย์ ลูกเพชร, ชาย เมือง-
สิงห์, สุรพล สมบัติเจริญ, ไวพจน์ เพชรสุพรรณ เป็นต้น จนกระทั่งวันหนึ่งเด็ดดวง ดอกรัก นัก
จัดรายการของสถานีวิทยุ ท.อ.04 ตาคลีได้มาฟังเพลงที่ห้องอาหารและประทับใจยอดรักที่ร้อง
เพลง “ใต้เงาโศก” ของไพรวัลย์ ลูกเพชร จึงได้มาชักชวนเข้าสู่วงการโดยนามาฝากกับฝังอาจารย์
ชลธี ธารทอง และยอดรักก็ได้อยู่เลี้ยงลูกให้อาจารย์ชลธีเกือบหนึ่งปีและตั้งชื่อให้ว่า “ยอดรัก ลูก
พิ จิ ต ร” และได้ บั น ทึ ก แผ่ น เสี ย ง 3 เพลงคื อ สงกรานต์ บ้ า นทุ่ ง , น้ าสั ง ข์ น้ าตา และเต่ า มอง
จันทร์ (https://th.wikipedia.org/wiki/ยอดรัก_สลักใจ, วันที่ค้น 20 มกราคม 2561)
ชวนชัย ฉิมพะวงษ์ ครูเพลงชื่อดังหรือชื่อจริงว่า “ประทวน ฉิมพะวงษ์” เกิดเมื่อวันที่ 3
พฤษภาคม พ.ศ. 2481 ที่ อ. บ้านนา จ.นครรายก พ่อชื่อม้วน แม่ชื่อ ฉิม ฉิมพะวงษ์ เข้าสู่วงการ
โดยการเป็นนักร้องวงชุมนุมศิลป์ของครูจารัต วิภาคฉิมพะวัน ตั้งแต่ยุคแรกของวง เป็นทั้งนักร้อง
และนักแต่งเพลง โดยเพลงยุคแรกที่ร้องจนประชาชนรู้จักคือเพลงผู้อัปลักษณ์, กุหลาบจ๋า, หัวอก
คนจน, ชาวนาสารภาพ, จักรยานคนยาก และพี่ไม่มีแฟน ชวนชัย ฉิมพะวงษ์เป็นหนึ่งในทีมงานผู้
ที่สร้างยอดรัก สลักใจ ให้โด่งดังในวงการเพลงลูกทุ่งและเป็นผู้ตั้งนามสกุล “สลักใจ” ให้แก่ยอด-
38

รัก สลักใจ และได้แต่งเพลงที่ทาให้ยอดรักโด่งงดังอีกหลายเพลง เช่น จักรยานคนจน, โชคดีที่รัก,


พี่มีแต่ให้, ทุยเพื่อนรัก, ขาดเงินขาดรัก และไอ้หนุ่มตู้เพลง (http://www.komchadluek.net
/news/ent/241557, วันที่ค้น 20 มกราคม 2561)
ศิลปิน : หฤทัย หิรัญญา
บทเพลง : หนูไม่ยอม
หฤทัย หิรัญญาเป็นนักร้องหญิงประจาวงดนตรีจุฬารัตน์ซึ่งเป็นวงดนตรี ลูกทุ่งที่ประสบ
ความสาเร็จมากวงหนึ่งในช่วงปี พ.ศ. 2500-2516 ก่อตั้งวงโดยครู มงคล อมาตยกุล ซึ่งท่านได้
ตั้งขึ้นแทนวงดนตรีราวงของครูมงคลที่ได้ยุบวงไป โดยในวงจุ ฬารัตน์นั้นประกอบด้วยนักแต่ง
เพลง นั กดนตรี และนั กร้ องมากมาย เช่น พร ภิรมย์ , ปอง ปรีดา, ชาย เมืองสิ งห์ และพนม
นพพร เป็นต้น โดยมีนักร้องดัง 4 คนซึ่งมีฉายาว่า 4 ทหารเสือ วงจุฬารัตน ได้แก่ ปอง ปรีดา,
กุงกาดิน (นคร ถนอมทรัพย์) , พร ภิรมย์ และทูล ทองใจ ซึ่งบทเพลงที่ทาให้หฤทัยโด่งดังเป็น
อย่างมากคือบทเพลง “หนูไม่ยอม” และทาให้มีเพลงตามออกมาอีกคือเพลง “หนูยอมแล้วค่ะ”
แต่กลั บ ไม่ป ระสบความส าเร็จ (http://poccom19.wixsite.com/poccomtuktuk/about1-
cm96, วันที่ค้น20 มกราคม 2561)
บทเพลง “หนูไม่ยอม” นั้นถูกแต่งขึ้นโดยสุชาติ เทียนทอง หรือชื่อจริงคือ “ประเทือง
เที ย นสุ ว รรณ” เกิ ด ที่ ต.ส าเภาร่ ม อ.เมื อ ง จั ง หวั ด พระนครศรี อ ยุ ธ ยา เมื่ อ ปี พ .ศ. 2481 มี
ประสบการณ์ทางานมาหลายอย่าง เช่น พายเรือขายของ ทางานรับจ้าง ชกมวย เนื่องจากมีฐานะ
ยากจน เมื่ออายุ 18 ปี ได้เข้าเป็นสมาชิกวงจุฬารัตน์ของครูมงคล อมาตยกุล บันทึกเสียงครั้งแรก
ด้วยผลงานเพลงจากฝีมือการแต่งเพลงของตัวเองในเพลง “บ้านนาของเรา” และมีเพลงที่ประสบ
ความสาเร็จเช่น ครวญหาแม่ , ปักษ์ใต้วิปโยค, ปลาบู่ทอง, วันสุดท้าย และวิวาห์อาดูร หลังจาก
นั้นได้ลาออกจากวงจุฬารัตน์และมาตั้งวงดนตรีของตนเอง ต่อมาเกิดปัญหาคออักเสบต้องผ่าตัด
ต่อมทอนซิล ทาให้เสียงของสุชาติที่เคยหวานก็กลับใหญ่ ไม่สามารถร้องเพลงแบบเดิมได้ สุชาติ
จึงเปลี่ยนแนวมาร้องเพลงแนวสนุกสนานเช่นเพลงเหล้าจ๋า , เพราะคุณคนเดียว, รักกันบ่ได้ และ
แว่นวิเศษซึ่งได้รับความนิยมเป็นอย่างมาก อีกทั้งยังได้นาเอาเพลงสากลมาแปลงเนื้อเป็นเพลง
ไทยลูกทุ่งอย่างมารักกันและดิงดองกันบ่ ต่อมาในปีพ.ศ. 2527 สุชาติต้องยุบวงดนตรี และทุ่มเท
กับการแต่งเพลงเพื่อเก็บเงินไว้ทาศพแม่ โดยเพลงสุดท้ายที่สุชาติได้แต่งไว้มีชื่อว่า “พบกันที่เชิง
39

ตะกอน” รวมแล้ ว สุ ช าติ เที ย นทองมี ผ ลงานเพลงที่ ป ระพั น ธ์ ไ ว้ ทั้ ง สิ้ น 484 เพลง
(https://th.wikipedia.org/wiki/สุชาติ_เทียนทอง, วันที่ค้น 20 มกราคม 2561)
ศิลปิน : พุ่มพวง ดวงจันทร์
บทเพลง : ผู้ชายในฝัน
พุ่มพวง ดวงจันทร์ เกิดเมื่อวันที่ 4 สิงหาคม พ.ศ. 2504 ชื่อเล่น ผึ้ง หรือชื่อจริง ราพึง
จิตรหาญ นักร้องเพลงลูกทุ่ง เจ้าของฉายา “ราชินีลูกทุ่ง” ได้ชื่อว่ามีน้าเสียงออดอ้อน หวานหยด
ย้อย สามารถจาเนื้อร้องได้แม่นทั้งที่ไม่รู้หนังสือ และเป็นแม่แบบให้กับนักร้องรุ่นหลัง พุ่มพวงเกิด
ในครอบครัวที่ยากจนมากและเรียนจบเพียงแค่ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 ทาให้อ่านหนังสือไม่ออก
แต่มีความจาดีและมีความสามารถด้านการร้องเพลงจึงทาให้ไวพจน์ เพชรสุพรรณ ซึ่งได้เข้ามาทา
การแสดงที่วัดทับกระดาน จังหวัดสุพรรณบุรีซึ่งเป็นบ้านของเธอได้เห็นแววความสามารถของเธอ
จึงรับไปเป็นบุตรบุญธรรม เธอมีเพลงดังในวงการมากมาย เช่น นักร้องบ้านนอก, กระแซะเข้ามา
ซิ, อื้อหือหล่อจัง, หนูไม่ร,ู้ หัวใจถวายวัด, ขุดดินแช่ง, ขอให้รวย, หม้ายขันหมาก, อนิจจาทิงเจอร์,
เสียสาวเมื่ออยู่ ม.ศ. ฯลฯ และทุก ๆ เพลงของพุ่มพวงก็ได้ประสบความส าเร็จหมดทุก เพลง
(https://th.wikipedia.org/wiki/พุ่มพวง_ดวงจันทร์, วันที่ค้น 20 มกราคม 2561)
ประยงค์ ชื่นเย็น เป็นนักเรียบเรียงเสียงประสานเพลงลูกทุ่งชื่อดังที่อยู่ในวงการมานาน
หลายสิ บ ปี โดยมี ผ ลงานการเรี ย บเรี ย งเพลงไว้ ม ากมายและเป็ น ศิ ล ปิ น แห่ ง ชาติ ส าขา
ศิลปะการแสดงประจาปี พ.ศ. 2552 ประยงค์เริ่มทางานด้านการเรียบเรียงเสียงประสานในปี
พ.ศ. 2516 โดยเป็นผู้เรียบเรียงเพลงทุกรูปแบบและควบคุมการบรรเลงเพลงให้กับวงดนตรีไทย
ลูกทุ่งและไทยสากล ผลงานบันทึกเสียงเพลงแรกในฐานะผู้เรียบเรียงเสียงประสานคือเพลง ทน
หนาวอีกปี ขับร้องโดย เด่น บุรีรัมย์ ต่อมาได้เรียบเรียงเสียงประสานเพลงมากมายนับพันเพลง
รวมถึงเพลงของพุ่มพวง ดวงจันทร์ เช่น หัวใจถวายวัด ผู้ชายในฝัน ห่างหน่อยถอยนิด เป็นต้น อีก
ทั้งยังได้เรียบเรียงเสียงประสานเพลงพระราชนิพนธ์ในสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรม
ราชกุมารี เพลงที่ รู้ จั กกัน ดีคือ เพลงส้ มตา ฉบับที่ขับร้องโดย พุ่มพวง ดวงจันทร์ และ สุ นารี
ราชสีมา (https://th.wikipedia.org/wiki/ประยงค์_ชื่นเย็น, วันที่ค้น 20 มกราคม 2561)
40

ศิลปิน : อรอุมา สิงห์ศิริ


บทเพลง : สาวอีสานรอรัก
อรอุมา สิงห์ศิริ เกิดเมื่อวันที่ 12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2504 ภูมิลาเนาบ้านเกิด ตาบลจุมพล
อาเภอโพนพิสัย จังหวัดหนองคาย บิดาชื่อนายผ่อน สิงห์ศิริ มารดาชื่อนางสายทอง สิงห์ศิริ มีพี่
น้อง 1 คน จบการศึกษาจาก โรงเรียนชุมชนโพนพิสัย อรอุมา สิงห์ศิริ คือนางเอกหมอลาจาก
คณะเมืองพลรุ่งพัฒนา โดยมีสยามพล รพีพรรณเป็นผู้ชักนาเข้าวงการ อรอุมา สิงห์ศิริมีบทเพลง
ที่โด่งดังมากมายเช่นอรอุมาจะบานีบี, ออนซอนเสียงซอ, สาวหมอลา, ช้ารัก, แม่ค้าส้มตา, บ่ลืมพี
ที่ยโสธร, รัสปูตินข้าวเหนียว และสัญญารักที่ศาลาลอย แต่บทเพลงที่ทาให้เธอโด่งดังที่สุดคือบท
เพลงสาวอีสานรอรักที่แต่งขึ้นโดยสุมทุม ไผ่รึมบึง ซึ่งบทเพลงสาวอีสานรอรักเคยถูกเลือกให้ไป
เล่นในมหกรรมดนตรีนานาชาติมาแล้ว และยังส่งผลให้อรอุมาได้รับรางวัลตุ๊กตาทองมหาชนจาก
หนังสือพิมพ์บ้านเมืองอีกด้วย (http://www.isangate.com/new/15-art-culture/artist/472-
on-uma-sing-siri.html, วันที่ค้น 20 มกราคม 2561)
สุมทุม ไผ่ริมบึง หรือชื่อจริงคือชื่อจริงนามสกุลจริงคือ “แสนคม พลโยธา” เป็นอาจารย์
ใหญ่อีกท่านหนึ่ งของวงการเพลงลู ก ทุ่ง และกลอนล า มีภูมิล าเนาเดิมอยู่ที่อาภอพล จังหวัด
ขอนแก่น สุมทุม ไผ่ริมบึงได้เข้ามายังกรุงเทพมหานคร ฯ เพื่อศึกษาจนจบในระดับ ม.ศ.3 ที่
โรงเรียนวัดพิชัย ญาติ เป็นชาวนามาแต่กาเนิดและเคยรับจ้างขับรถให้ฝรั่งในค่ายเคเอ็ม 6 ที่
ประเทศลาวในช่วงปี พ.ศ. 2516-2517 และถือเป็นจุดเริ่มต้นชีวิตศิลปินที่ฝั่งประเทศลาว สุมทุม
ไผ่ริมบึงได้ไปฉายแววศิลปินให้พลโทแพงสี พนาเพชร นายทหารชั้นผู้ใหญ่ที่ค่ายโพนเค็ง นคร
เวียงจันทน์ได้เห็น พลโทแพงสีจึงให้การสนับสนุนและได้ทาการบันทึกเสียงชื่อเพลง “คณะผัว
เผลอ” กับเพลง “เสน่ห์สาวโต้รุ่ง” ซึ่งเป็นบทเพลงที่สุมทุม ไผ่ริมบึงเป็นคนร้องเองแต่งเอง และ
กลายเป็นบทเพลงยิดนิยมที่ฝั่งประเทศลาวในช่วงเวลานั้น จากนั้นก็ได้สร้างงานเพลงต่อมาอีก จน
เดินทางกลับประเทศไทยและได้ก้าวเข้าสู่วงการเต็มตัวในฐานะคนเขียนเพลงมากกว่าบทบาทของ
คนร้ อ งเพลง (https://star.kapook.com/กั ว ราช่ า %20(สุ ม ทุ ม %20ไผ่ ริ ม บึ ง ), วั น ที่ ค้ น 2
มกราคม 2561)
41

ศิลปิน : MFSB feat. Three Degrees


บทเพลง : TSOP
เอ็ ม เอฟเอสบี (MFSB) หรื อ ย่ อ มาจากค าว่ า “มาเธอร์ ฟาเธอร์ ซิ ส เตอร์ บราเธอร์
(Mother Father Sister Brother)” เป็นกลุ่มของนักดนตรีมืออาชีพกว่า 30 คนจากซิกม่า ซาวด์
สตู ดิ โ อ (Sigma Sound Studios) จากเมื อ งฟิ ล าเดลเฟี ย รั ฐ เพนน์ ซิ ล วาเนี ย ประเทศ
สหรัฐอเมริกา พวกเขาทางานร่วมกันกับทีมผลิตแกมเบิ้ล แอนด์ ฮัฟฟ์ (Gamble and Haff) และ
โปรดิวเซอร์/ผู้เรียบเรียงทอม เบลล์ (Thom Bell) นอกจากนี้พวกเขายังเคยร่วมงานกับศิลปิน
หลาย ๆ คนเช่น ฮาโรลด์ เมลวิน แอนด์ เดอะ บลู โน้ตส์ (Harold Melvin & The Blue Notes),
ดิ โอ’เจย์ ส (The O’Jays), เดอะ สไตล์ ลิ ส ติ ก ส (The Stylistics), เดอะ สปิ น เนอร์ (The
Spinners), วิ ล ล์ สั น พิ ค เ ก็ ต ต์ (Willson Pickett) แ ล ะ บิ ล ลี่ พ อ ล (Billy Paul)
(https://en.wikipedia.org/wiki/MFSB, วันที่ค้น 20 มกราคม 2561)
ทีเอสโอพี (TSOP) หรือย่อมาจาก “เดอะ ซาวด์ ออฟ ฟิลาเดลเฟีย (The Sound of
Philadelphia)” อัน เป็ น ผลงานยอดนิ ยมของเอ็ม เอฟเอสบี ในปี 1974 ที่ได้ศิล ปินทรี ดีกรี ส์
(Three Degrees) มาร่ ว มร้ อ งในบทเพลงนี้ บทเพลงนี้ ถู ก เขี ย นขึ้ น โดยเคนเน็ ธ แกมเบิ้ ล
(Kenneth Gamble) และลีออน ฮัฟฟ์ (Leon Huff) สาหรับใช้ในรายการโทรทัศน์ที่เกี่ยวข้องกับ
ดนตรีที่มีชื่อรายการว่า “โซลเทรน (Soul Train)” บทเพลงได้รับความนิยมจนสามารถขึ้นไปอยู่
ในอันดับที่ 1 ของบิลบอร์ด ฮ็อต 100 ได้เป็นระยะเวลาถึง 2 สัปดาห์ด้วยกัน อีกทั้งบทเพลงนี้ยัง
ถือเป็นบทเพลงที่มาจากรายการโทรทัศน์และบทเพลงดิสโก้บทเพลงแรกที่สามารถขึ้นไปอยู่ยัง
อันดับ 1 ของบิลบอร์ด ฮ็อต 100 ได้อีกด้วย (https://en.wikipedia.org/wiki/TSOP_(The_
Sound_of_Philadelphia), วันที่ค้น 20 มกราคม 2561)

ศิลปิน : Gloria Gaynor


บทเพลง : I Will Survive
กลอเรีย เกย์เนอร์ (Gloria Gaynor) คือนักร้องหญิงชาวอเมริกันที่เป็นที่รู้จักกันดีจากบท
เพลงยอดนิยมของเธอในยุคดิสโก้เช่น ไอ วิล เซอร์ไวฟ์ (I Will Survive), เนเวอร์ แคน เซย์ กู๊ด
บาย (Never Can Say Goodbye), เล็ท มี โนว (ไอ แฮฟ ไรท์) (Let Me Know (I Have Right))
และไอ แอม ว็อท ไอ แอม (I Am What I Am) ซึ่งก่อนหน้าที่เธอจะมีผลงานเดี่ยวนั้น เธอเคย
เป็นนักร้องให้กับวงแจ๊ส/อาร์แอนด์บีที่ชื่อว่า “โซล ซาทิสฟายเออร์ส (Soul Satisfires)” ในช่วง
ยุค 1960s ก่อนที่เธอจะมาออกบทเพลงในนามกลอเรีย เกย์เนอร์ ในปี 1966 กับบทเพลงที่มีชื่อ
42

ว่า “ชี วิล บี ซอร์รี/เลต มี โก เบบี้ (She’ll Be Sorry/Let Me Go Baby)” ซึ่งเธอนั้นเริ่มประสบ


ความส าเร็ จ จริ ง ๆ ในปี 1975 เมื่ อ เธอได้ เ ซ็ น สั ญ ญากั บ ค่ า ยเพลงโคลั ม เบี ย เรคคอร์ ด ส
(Columbia Records) และเธอก็ได้ออกอัลบั้มแกของเธอคือ “เนเวอร์ แคน เซย์ กู๊ด บาย” กับ
ค่ายโคลัมเบีย เรคคอร์ดส ซึ่งภายในอัลบั้มประกอบไปด้วยบทเพลงทั้งหมด 3 บทเพลง รวม
ระยะเวลาทั้งหมด 19 นาที โดยที่เพลงทั้ง 3 จะเชื่อมต่อกันทั้งหมดโดยไม่มีการหยุดเพื่อขึ้นเพลง
ใหม่ (https://en.wikipedia.org/wiki/Gloria_Gaynor, วันที่ค้น 20 มกราคม 2561)
บทเพลงไอ วิล เซอร์ไวฟ์ เป็นบทเพลงยอดนิยมตลลอดกาลของกลอเรีย เกย์เนอร์ที่ได้
เผยแพร่ออกมาครั้งแรกในเดือนตุลาคม 1978 ถูกแต่งขึ้นโดยเฟรดดี้ เพอร์เร็น (Freddie Perren)
และดิโน่ เฟคาริส (Dino Fekaris) ซึ่งหลังจากเพลงนี้ถูกเผยแพร่ออกมาก็สามารถทายอดขายไป
ได้กว่า 14 ล้านก็อปปี้ทั่วโลก อีกทั้งยังถูกเปรียบเป็นเพลงชาติของดนตรีดิสโก้อีกด้วย โดยเนื้อหา
ของบทเพลงจะเป็นการบอกเล่าถึงความสามารถที่แท้จริงของผู้หญิงที่ถูกทุกคนมองข้าม และ
สามารถมีชีวยิตอยู่ได้ด้วยตัวเอง ซึ่งบทเพลงนี้เป็นบทเพลงที่ถูกขอให้เปิดผ่านวิทยุอยู่บ่อยครั้ง
และถูกขอให้เปิดในทุก ๆ วั น จนทาให้บทเพลงนี้สามารถขึ้นไปอยู่บนอันดับ 1 ของยูเค ซิงเกิ้ล
ชาร์ต และบิลบอร์ด ฮ็อต 100 ได้เป็นเวลาหลายสัปดาห์ติดต่อกัน
(https://en.wikipedia.org/wiki/I_Will_Survive, วันที่ค้น 20 มกราคม 2561)
ศิลปิน : Donna Summer
บทเพลง : Hot Stuff
ดอนนา ซัมเมอร์ (Donna Summer) หรือชื่อจริงของเธอคือ “ลาดอนนา เอเดรียน
เกนส์ (LaDonna Adrian Gaines)” เกิดเมื่อวันที่ 31 ธันวาคม 1948 เป็นนักร้อง นักประพันธ์
เพลง ศิลปินชาวอเมริกันโด่งดังในช่วงยุคสมัยดนตรีดิสโก้ โดยเธอนั้นเป็นที่รู้จักจากผลงานเพลง
ดังหลากหลายบทเพลงอันได้แก่เพลง เลิฟ ทู เลิฟ ยู เบบี้ (Love to Love You Baby), ไอ ฟีล
เลิฟ (I Feel Love), ฮ็อต สตัฟฟ์ (Hot Stuff), แม็คอาร์เธอร์ ปาร์ค (MacArthur Park) และแบด
เกิร์ลส (Bad Girls) และเธอนั้นยังได้รับการขนานนามว่าเป็น “ราชินีแห่งดิสโก้” ดอนนา ซัมเมอร์
สามารถคว้ารางวัลแกรมมี่ อวอร์ดมาได้ด้วยกันถึง 5 ครั้ง และยังเป็นศิลปินคนแรกที่มีอัลบั้มติด
อยู่ในอันดับที่ 1 ของบิลบอร์ด ฮ็อต 200 ได้ติดต่อกันถึง 3 ครั้ง มีผลงานเพลงติดอันดับที่ 1-4 อยู่
บนชาร์ตติดต่อกันเป็นระยะเวลายาวนานถึง 12 เดือนและมียอดขายอัลบั้มทั่ วโลกรวมมากกว่า
43

100 ล้านชุด โดยชื่อ “ดอนนา ซัมเมอร์ ” ที่เธอใช้ในการแสดงนั้นมาจากนามสกุล ซอมเมอร์


(Sommer) หลังจากเธอสมรสครั้งแรกกับเฮลมุต ซอมเมอร์ (Helmut Sommer) นักแสดงชาว
เยอรมนี ระหว่างปี ในระหว่ า งปี 1973 (https://en.wikipedia.org/wiki/Donna_Summer,
วันที่ค้น 20 มกราคม 2561)
ฮ็อต สตัฟฟ์ เป็นบทเพลงจากสตูดิโออัลบั้มที่ 7 ในปี1979 ของดอนนา ซัมเมอร์ ที่ใช้ชื่อ
อัลบั้มว่า “แบด เกิร์ลส” ควบคุมการผลิตโดยโปรดิวเซอร์ชาวอีตาเลี่ยน “จอร์จิโอ โมโรเดอร์
(GiorGio Moroder)” และเป็นบทเพลงนาในอัลบั้มแบด เกิร์ลส ซึ่ งถูกเผยแพร่ครั้งแรกในวันที่
13 เมษายน 1979 ผ่านทางค่ายเพลงคาสซาบลันก้า เรคคอร์ดส (Casablanca Records) ซึ่งที่
ผ่านบทเพลงของซัมเมอร์จะเป็นเพลงดิสโก้เสียเป็นส่วนมาก แต่บทเพลงนี้นั้นกลับมีองค์ประกอบ
ของดนตรี ร็ อคที่มีการโซโล่ ของกีตาร์เข้ามาในบทเพลงโดย เจฟ “สกังค์ ” แบกซ์เตอร์ (Jeff
“Skunk” Baxter) ซึ่งเป็ น มือกีตาร์เก่าของดูบี้ บราเธอร์ (Doobie Brother) และสตีล ลี แดน
(Steely Dan) โดยบทเพลงนี้ถือได้ว่าเป็นบทเพลงที่ได้รับความนิยมสูงสุดของเธอ ซึ่งบทเพลง
ฮ็อต สตัฟฟ์ นั้ น สามารถคว้ ารางวั ล แกรมมี่ อวอร์ด ในสาขาเบสต์ ฟี เมล ร็อค โวคัล เพอร์
ฟอร์แมนซ์ (Best Female Rock Vocal Performance) และในปี 2010 นิตยสารโรลลิ่ง สโตน
ยังได้จัดให้บทเพลงฮ็อต สตัฟฟ์ อยู่ในอันดับที่ 104 ของบทเพลงที่ดีที่สุดตลอดกาล 500 บทเพลง
(https://en.wikipedia.org/wiki/Hot_Stuff_(Donna_Summer_song), วันทีค่ ้น 20 มกราคม
2561)
ศิลปิน : Anita Ward
บทเพลง : Ring My Bell
แอนนิต้า วอร์ด (Anita Ward) เป็นนักร้อง นักดนตรีหญิงชาวอเมริกัน แต่ก่อนที่เธอจะ
มาร้องเพลงนั้นเธอเพิ่งเรียนจบในสาขาจิตวิทยาจากรัสต์ คอลเลจ (Rust College) ในเมืองโฮลี่
สปริงส์ (Holy Springs) รัฐมิสซิสซิปปี้ (Mississippi) และทาอาชีพเป็นคุณครูสอนหนังสือ ต่อมา
ในระหว่ า งที่ เ ธอก าลั งบั น ทึ ก เสี ยงอั ล บั้ ม เปิด ตั ว ของเธออยู่ นั้น เฟรดเดอริ ค ไนท์ (Frederick
Knight) เจ้ าของค่ายเพลงของเธอก็ ได้ นาบทเพลงนึง ที่ เขาเคยเขีย นไว้ใ ห้ ส เตซี่ แลตทิส ซอว
(Stacy Lattisaw) มาน าเสนอให้ เ ธอ แต่ ไ นท์ ก็ ยื น กรานที่ จ ะให้ ว อร์ ด ร้ อ งเพลงนี้ ใ ห้ ไ ด้ อั น
44

เนื่องมาจากกระแสนิยมของดนตรีดิสโก้ในขณะนั้นจนในที่สุดวอร์ดก็ยอมอ่อนข้อให้แก่ไนท์ ซึ่งบท
เพลงที่ ไ นท์ เ อามาให้ เ ธอร้ อ งนั้ น ก็ คื อ บทเพลง “ริ ง มาย เบล (Ring My Bell)” นั่ น เอง
(https://en.wikipedia.org/wiki/Anita_Ward, วันที่ค้น 20 มกราคม 2561)
บทเพลงริง มาย เบล ถูกเขียนขึ้นโดยเฟรดเดอริค ไนท์ ซึ่งมีเนื้อหาเกี่ยวกับการที่เด็ก ๆ
คุยกันผ่านโทรศัพท์ โดยบทเพลงนี้สามารถไต่ขึ้นไปยังอันดับที่ 1 ของบิลบอร์ด ฮ็อต 100, โซล
ซิงเกิ้ล ชาร์ต อันดับ 1 ในยูเค ซิงเกิ้ล ชาร์ตและในประเทศแคนาดาในปี 1979 บทเพลงริง มาย
เบล นั้ น ถูกน าไปเรี ย บเรี ย งใหม่ อี กมากมายหลายครั้งนับ ตั้งแต่ถู กเผยแพร่ ออกมาอย่า งเป็ น
ทางการ ซึ่งบทเพลงนี้ถือเป็นบทเพลงเดียวของวอร์ดที่ได้รับความนิยมและทาให้เธอโด่งดัง เพราะ
บทเพลงต่อมาของเธอที่ใช้ชื่อว่า “เมค บีลีฟ เลิฟเวอร์ส (Make Believe Lovers)” ก็ไม่สามารถ
ประสบความสาเร็จได้ดั่งเช่นเพลงริง มาย เบล (https://en.wikipedia.org/wiki/Ring_My_Bell
, วันที่ค้น 20 มกราคม 2561)
ศิลปิน : Penny McLean
บทเพลง : Lady Bump
เพนนีย์ แม็คลีน (Penny McLean) หรือชื่อจริงคือ “เกอร์ทรูดย์ เวอชิงเกอร์ (Gertrude
Wirschinger)” นักร้องชาวออสเตรีย โดยในช่วงต้นยุค 1970s เธอเป็นส่วนหนึ่งของวงดนตรีคู่
บาร์ บ ร้ า แอนด์ เฮลมุท (Barbra & Helmut) พวกเขาได้ทาการเผยแพร่ บทเพลงไฮด์ อ ะเวย์
(Hidedaway) และสต็อป (Stop) ออกมา หลังจากนั้นนานเธอก็ได้ยายไปอยู่กับวงโทนี่ แอนด์
ลิซ่า แอนด์ เพนนีย์ (Tony & Liza & Penny) ซึ่งเป็นวงดนตรีสามคนและพวกเขาก็ได้เผยแพร่
บทเพลงออกมาด้ ว ยกั น 2 บทเพลงคื อ ไวท์ อั พ เดอะ ไฟร์ (Light Up The Fire) และเดอ
เฟรมเด (Der Fremde) และในช่วงกลางยุค 1970s เธอก็ได้ย้ายมาอยู่กับวงซิลเวอร์ คอนเวนชั่น
(Silver Convention) ซึ่ ง ภายในกลุ่ ม ยั ง มี ลิ น ดา จี . ทอมป์ สั น (Linda G. Thompson) และ
ราโมนา วูล์ฟ (Ramona Wulf) นักร้องชื่อดังชาวเยอรมนี (https://en.wikipedia.org/wiki/
Penny_McLean, วันที่ค้น 20 มกราคม 2561)
เลดี้ บั มพ์ (Lady Bump) เป็นบทเพลงของเพนนีย์ แม็คลี นซึ่งถกเผยแพร่ออกมาใน
ระหว่างที่เธอนั้นยังร่วมงานอยู่กับวงซิลเวอร์ คอนเวนชั่น ซึ่งถูกเผยแพร่ครั้งแรกในเดือนมิถุนายน
1975 ในด้านเอ-ไซด์ ส่วนในด้านบี-ไซด์ของแผ่นนั้นเป็นเพลงบรรเลงที่ชื่อว่า “เดอะ เลดี้ บัมพ์ส
อ อ น (The Lady Bumps on)” ซึ่ ง เ ป็ น บ ท เ พ ล ง เ ล ดี้ บั ม พ์ ใ น เ ว อ ร์ ชั่ น บ ร ร เ ล ง
(https://en.wikipedia.org/wiki/Lady_Bump, วันที่ค้น 20 มกราคม 2561)
45

ศิลปิน : Lipps Inc.


บทเพลง : Funkytown
ลิป ซิงค์ (Lipps Inc.) เป็นวงดนตรีฟังค์/ดิสโก้จากเมืองมินเนียโปลิส (Minneapolis) รัฐ
มิน นิ ส โซต้า (Miinesota) ประเทศสหรัฐ อเมริกา ซึ่งสมาชิกในวงนั้นประกอบไปด้ว ย ซินเธีย
จอห์นสัน (Cynthia Johnson) ในตาแหน่งนักร้องนา เดวิด ริฟกิน (David Rivkin) ในตาแหน่ง
มือกีตาร์ ทอม ริโอเปลเล (Tom Riopelle) ในตาแหน่งมือกีตาร์ และเทอร์รีย์ แกรนท์ (Terry
Grant) ในตาแหน่งมือเบส โดยวงนั้นได้สตีเวน กรีนเบิร์ก (Steven Greenberg) ทาหน้าที่เป็น
โปรดิวเซอร์และแต่งเพลงส่วนมากให้แก่วง ซึ่งซิงเกิ้ลแรกของพวกเขา “ร็อค อิต (Rock It)” ถูก
เผยแพร่ครั้งแรกในปี 1979 บนเครื่องบินส่วนตัวของกรีนเบิร์กเอง และก็ได้ถูกนาไปใส่ในอัลบั้ม
เปิดตัวของพวกเขาที่มีชื่อว่า “เมาท์ ทู เมาท์ (Mouth to Mouth)” (https://en.wikipedia.org
/wiki/Lipps_Inc., วันที่ค้น 20 มกราคม 2561)
ฟังค์กี้ทาวน์ (Funkytown) เป็นบทเพลงที่ อ ยู่ใ นอัล บั้ม เมาท์ ทู เมาท์ ซึ่งเป็น อั ล บั้ ม
เปิดตัวของพวกเขาในปี 1980 และเป็นเพลงลาดับที่ 1 ของอัลบั้มนี้อีกด้วย บทเพลงนี้แต่งขึ้นโดย
สตีเวน กรีนเบิร์ก ซึ่งบทเพลงนี้ถูกเขียนขึ้นขณะที่พวกเขายังอยู่ในเมืองมินเนียโพลิสและฝันที่จะ
ย้ายไปยังนิวยอร์ค บทเพลงฟังค์กี้ทาวน์สามารถขึ้นไปอยู่ยังอันดับที่ 1 ของบิลบอร์ด ฮ็อต 100
เป็นระยะเวลา 4 สัปดาห์นับต้งแต่วันที่ 29 มีนาคม 1980 ยังขึ้นเป็นเพลงยอดนิยมของดิสโก้
ชาร์ต อีกทั้งยังขึ้นเป็นอันดับที่ 2 ในสหราชอณาจักร สวีเดน และบนโซลชาร์ตของสหรัฐอเมริกา
อี ก ทั้ ง บทเพลงนี้ ยั ง สร้ า งสถิ ติ ค วามนิ ย มไปยั ง ประเทศอื่ น ๆ ได้ อี ก 28 ประเทศ
(https://en.wikipedia.org/wiki/Funkytown, วันที่ค้น 20 มกราคม 2561)
ศิลปิน : Village People
บทเพลง : YMCA
วิลเลจ พีเพิล (Village People) เป็นกลุ่มดนตรีดิสโก้ที่ก่อตั้งขึ้นในปี 1977 โดยจาเควส
โมราลี่ (Jacques Morali) นักแต่งเพลงและโปรดิวเซอร์ , เฮนรี่ เบโลโล (Henri Belolo) ผู้ดูแล
ทางธุรกิจ และวิคเตอร์ วิลลิส (Victor Willis) นักร้องนาของวง เป็นที่รู้จักในเรื่องของวงดนตรีที่มี
ชุดการแต่งกายสะดุดตา เช่นเดียวกับเพลงที่ติดหูและเนื้อเพลงที่ส่อไปในทางทะลึ่ง โดยจุดเริ่มต้น
ของวงมาจากการที่พวกเขาต้องการที่จะสร้างวงดนตรีที่มีสีสันไม่เหมือนใครจึงได้ควานหาสมาชิก
มาร่ ว มวง ซึ่งในช่ว งแรกก็ไ ด้เ ฟลิ ป เป โรส (Felipe Rose) และอเล็ กซ์ ไบรลี ย์ (Alex Briley)
46

มาร่วมวง ต่อมาไม่นานจึงได้เดวิด โฮโด (David Hodo), เกลนน์ ฮิวส์ (Glenn Hughes) และ
แรนดี้ โจนส์ (Randy Jones) มาเพิ่มในแต่ละตาแหน่ง วิลเลจพีเพิลในยุคที่วิลลิสเป็นนักร้องนา
นั้นตั้งแต่ปี 1977 จนถึง 1979 ได้สร้างผลงานอัลบั้มออกมา 5 ชุดด้วยกัน และมีเพลงยอดนิยม
เช่น โก เวสต์ (Go West), อิน เดอะ เนวี (In The Navy), ซานฟรานซิส โก (San Francisco),
มาโช แมน (Macho Man) และบเพลงยอดนิยมที่สุดของพวกเขานั่นก็คือ “วายเอ็มซีเอ (YMCA)
(https://en.wikipedia.org/wiki/Village_People, วันที่ค้น 20 มกราคม 2561)
วายเอ็มซีเอ เป็นบทเพลงจากสตูดิโออัลบั้มลาดับที่ 3 ของวิลเลจ พีเพิล ที่ใช้ชื่ออัลบั้มว่า
“ครูสซิน’ (Cruisin’)” ซึ่งได้ทาการเผยแพร่ครั้งแรกในวันที่ 13 พฤศจิกายน 1978 บทเพลงนี้
สามารถขึ้นไปอยู่ในอันดับที่ 2 ของชาร์ตเพลงในประเทศสหรัฐอเมริกาในช่วงต้นปี 1979 และ
สามารถขึ้นไปอยู่ยังอันดับหนึ่งในชาร์ตเพลงของฝั่งสหราชอาณาจักรในช่วงเวลาเดียวกัน ซึ่งบท
เพลงวายเอ็มซีเอยังได้รับความนิยมเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ และมักถูกนาไปใช้ในงานแข่งขันกีฬาต่าง ๆ
ของสหรัฐ ฯ และฝั่งทวีปยุโรป ที่เหล่าแฟน ๆ กีฬาจะใช้ท่าเต้นของบทเพลงที่มีการขยับ ให้เป็น
รูปร่างตัวอักษรตามชื่อของบทเพลง เพื่อใช้ในการยืดเส้นสายและกระตุ้นให้ตัวเองตื่นตัว และในปี
2009 บทเพลงวายเอ็มซีเอได้ถูกบันทึกลงกินเนสบุ๊คเมื่อแฟน ๆ ของวงวิลเลจ พีเพิล ได้มารวมตัว
กันกว่า 44,000 คนเพื่อที่จะเต้นเพลงวายเอ็มซีเอพร้อมกัน ในงานซัน โบวล์ (Sun Bowl) เมื่อปี
2008 ที่วงวิลเลจ พีเพิลไปทาการแสดงสด และบทเพลงวายเอ็มซีเองยัได้รับการจัดอันดับให้อยู่
ในอันดับที่ 7 ของเพลงเต้น 100 เพลงที่ดีที่สุดตลอดกาลในยุคศตวรรษที่ 20 โดยช่องเคเบิ้ลทีวีวี
เอช 1 (VH1) (https://en.wikipedia.org/wiki/Y.M.C.A._(song), วันที่ค้น 20 มกราคม 2561)
ศิลปิน : Donna Summer
บทเพลง : Last Dance
ดอนนา ซัมเมอร์ (Donna Summer) หรือชื่อจริงของเธอคือ “ลาดอนนา เอเดรียน
เกนส์ (LaDonna Adrian Gaines)” เกิดเมื่อวันที่ 31 ธันวาคม 1948 เป็นนักร้อง นักประพันธ์
เพลง ศิลปินชาวอเมริกันโด่งดังในช่วงยุคสมัยดนตรีดิสโก้ โดยเธอนั้นเป็นที่รู้จักจากผลงานเพลง
ดังหลากหลายบทเพลงอันได้แก่เพลง เลิฟ ทู เลิฟ ยู เบบี้ (Love to Love You Baby), ไอ ฟีล
47

เลิฟ (I Feel Love), ฮ็อต สตัฟฟ์ (Hot Stuff), แม็คอาร์เธอร์ ปาร์ค (MacArthur Park) และแบด
เกิร์ลส (Bad Girls) และเธอนั้นยังได้รับการขนานนามว่าเป็น “ราชินีแห่งดิสโก้” ดอนนา ซัมเมอร์
สามารถคว้ารางวัลแกรมมี่ อวอร์ดมาได้ด้วยกันถึง 5 ครั้ง และยังเป็นศิลปินคนแรกที่มีอัลบั้มติด
อยู่ในอันดับที่ 1 ของบิลบอร์ด ฮ็อต 200 ได้ติดต่อกันถึง 3 ครั้ง มีผลงานเพลงติดอันดับที่ 1-4 อยู่
บนชาร์ตติดต่อกันเป็นระยะเวลายาวนานถึง 12 เดือนและมียอดขายอัลบั้มทั่วโลกรวมมากกว่า
100 ล้านชุด โดยชื่อ “ดอนนา ซัมเมอร์ ” ที่เธอใช้ในการแสดงนั้นมาจากนามสกุล ซอมเมอร์
(Sommer) หลังจากเธอสมรสครั้งแรกกับเฮลมุต ซอมเมอร์ (Helmut Sommer) นักแสดงชาว
เยอรมนี ระหว่างปี ในระหว่ า งปี 1973 (https://en.wikipedia.org/wiki/Donna_Summer,
วันที่ค้น 20 มกราคม 2561)
ลาสต์ แดนซ์ (Last Dance) เป็นบทเพลงประกอบภาพยนตร์ในปี 1978 เรื่อง “แธง
ก็อด อิท’สฟรายเดย์ (Thank God It’s Friday) ที่ดอนนา ซัมเมอร์ ได้ร่วมแสดงในภาพยนตร์
เรื่องนี้โดยรับบทเป็นนิโคล ซิมส์ (Nicole Sims) หญิงที่ต้องการเป็นนักร้องเพลงดิสโก้ ถูกแต่งขึ้น
โดยพอล จาบารา (Paul Jabara) และได้จอร์จิโอ โมโรเดอร์ และบ็อบ เอสตี้ (Bob Esty) มาเป็น
ผู้ช่วยอานวยการผลิต อีกทั้งยังได้สตีเฟน ชอร์ท (Stephen Short) โปรดิวเซอร์ที่ได้รับรางวัลจาก
เวทีแกรมมี่ อวอร์ด มาทาการมิกซ์บทเพลงและร่วมร้องเสียงประสานเป็นพื้นหลัง บทเพลงลาสต
แดนว์ได้รับคาชื่นชมและประสบความสาเร็จเป็นอย่างมาก โดยได้รับรางัลชนะเลิศจากเวทีอะคา
เดมี่ อวอร์ด (Academy Award) และรางวัลลูกโลกทองคา (Golden Globe Award) ในสาขา
เพลงประกอบภาพยนตร์ยอดเยี่ยม (Best Original Song) และรางวัลแกรมมี่ อวอร์ดในสาขา
เบสต์ ฟีเมล อาร์แอนด์บี โวคัล เพอร์ฟอร์แมนซ์ (Best Female R&B Vocal Performance) อีก
ทั้งยังติดอันดับ 3 ในบิลบอร์ด ฮ็อต 100 ตลอดทั้งปี 1978 อีกด้วย(https://en.wikipedia.org
/wiki/Last_Dance_(Donna_Summer_song), วันที่ค้น 20 มกราคม 2561)
บทที่ 3
วิธีการดาเนินโครงการ

เพื่อให้โครงการในครั้งนี้สาเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี จึงต้องมีการวางแผน จัดแบ่งฝ่าย และบุคลากรใน


การดาเนินงานต่าง ๆ ดังนี้
3.1 การจัดแบ่งฝ่ายต่าง ๆ
3.1.1 ฝ่ายโครงการ
ประธาน นายกฤษณพงศ์ จาปามูล
รองประธาน นายชิดณรงค์ บุบผาโสภา
เลขา นางสาวดารามาส สีเกาะ
ทาหน้าที่เป็นผู้นาในการประชุม วางตัวเป็นกลาง ดึงความคิดของสมชิกออกมาให้มาก
ที่สุด ควบคุม ตัดสินใจ และสั่งการได้อย่างมีวิจารณญาณเที่ยงตรงมีคุณธรรม รวมถึง
ประสานงานกับสมาชิก และอาจารย์ที่ปรึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพ
3.1.2 ฝ่ายเอกสารวิชาการ
ประธาน นายกฤษณพงศ์ จาปามูล
กรรมการ นายนวพชร กลิ่นช้าง
กรรมการ นายมตรส สืบโมรา
ทาหน้าที่จัดพิมพ์เอกสารโครงการ รูปเล่ม เอกสาร และบันทึกข้อความต่าง ๆ
3.1.3 ฝ่ายการเงิน
ประธาน นางสาวคฐิญาภรณ์ ศรีคุณเมือง
ทาหน้าที่เก็บรวบรวมเงิน เบิกจ่ายเงินในการดาเนินการโครงการทั้งหมด
3.1.4 ฝ่ายจัดการแสดง
ประธาน นายอัธศักดิ์ พิมหานาม
กรรมการ นายเกียรติภูมิ กิ่งไธสง
49

ทาหน้าที่กาหนดระยะเวลาการแสดง การจัดลาดับการแสดง ออกแบบรายการแสดง


ทั้งหมด
3.1.5 ฝ่ายจัดทาโน้ตเพลง
ประธาน นายวรุต ประทุมโพธิ์
กรรมการ นายนวพชร กลิ่นช้าง
ทาหน้าที่จัดทาโน้ตเพลง เรียบเรียงโน้ตเพลงให้เป็นรูปแบบเดียวกัน และตรวจสอบ
ความถูกต้อง
3.1.6 ฝ่ายเวที เสียง และแสงสี
ประธาน นายธนาธิป สุชัย
กรรมการ นายจักรดุลย์ เสมรบุณย์
กรรมการ นายซาโลม ใสรังกา
กรรมการ นายเกียรติภูมิ กิ่งไธสง
กรรมการ นายเกษมศานต์ ชัยเฉลียว
กรรมการ นายธนัท พรมภักดี
ทาหน้าที่ออกแบบเวที เสียง และแสงสีที่ใช้ประกอบการแสดง
3.1.7 ฝ่ายประสานงาน
ประธาน นายกฤษณพงศ์ จาปามูล
กรรมการ นางสาวคฐิญาภรณ์ ศรีคุณเมือง
กรรมการ นางสาวดารมาส สีเกาะ
ทาหน้าที่ประสานงานให้ความช่วยเหลือกับทุกฝ่าย อานวยความสะดวกเรื่องการ
เดินเรื่องการตามงานต่าง ๆ
3.1.8 ฝ่ายประชาสัมพันธ์
ประธาน นายกฤษณพงศ์ จาปามูล
กรรมการ นายพชรพล อินทรชาทร
50

ทาหน้าที่ประชาสัมพันธ์โครงการแก่บุคคลทั้งภายในและภายนอก
มหาวิทยาลัยขอนแก่นรวมถึงการติดต่อประสานกับผู้สนับสนุนต่าง ๆ และทาหน้าที่
ออกแบบ โลโก้ สูจิบัตร โปสเตอร์ ไวนิล เพื่อการประชาสัมพันธ์โครงการให้บุคคล
ทั่วไปได้รับทราบ
3.1.9 ฝ่ายสวัสดิการ
ประธาน นายเกียรติศักดิ์ ศรีนาเมือง
กรรมการ นายจีระสิทธิ์ คงนาวัง
ทาหน้าที่จัดและควบคุมดูแลสวัสดิการและการให้บริการด้านต่าง ๆ
3.1.10 ฝ่ายเครื่องแต่งกาย
ประธาน นางสาวฐิติชญา กดนอก
ทาหน้าที่จัดหาและดูแลความเรียบร้อยในเรื่องของเครื่องแต่งกายและชุดที่ใช้ในการ
แสดงแต่ละชุดการแสดง
3.2 การทางานของฝ่ายต่าง ๆ
3.2.1 ฝ่ายโครงการ
- วางแผนงาน
- ประชุมร่วมกับสมาชิก
- มอบหมายงานให้แต่ละฝ่าย
3.2.2 ฝ่ายเอกสารวิชาการ
- จัดทาเอกสารขอสปอนเซอร์
- จัดทาหนังสือติดต่อในที่ต่าง ๆ
- จัดทารูปเล่มศิลปะนิพนธ์
3.2.3 ฝ่ายการเงิน
- เก็บรวบรวมเงินจากสมาชิก
- จัดการเงินในการใช้จ่ายต่าง ๆ
51

- เก็บรวบรวมเงินจากสปอนเซอร์
3.2.4 ฝ่ายจัดการแสดง
- จัดตารางในการซ้อม
- ทาคิวการแสดง
- จัดการชุดการแสดงทุกอย่างให้อยู่เวลาที่กาหนดไว้
3.2.5 ฝ่ายจัดทาโน้ตเพลง
- เก็บรวบรวมโน้ตเพลงจากสมาชิกที่เรียบเรียบเพลงพระราชนิพนธ์ใหม่
- เก็บรวบรวมโน้ตเพลงจากสมาชิกที่ประพันธ์เพลงขึ้นมาใหม่
- ตรวจสอบและแก้ไขโน้ตเพลงจากสมาชิก
3.2.6 ฝ่ายเวทีและแสงสี
- ออกแบบสถานที่และเวที
- ติดต่อบริษัทเครื่องเสียงและไฟแสงสี
- จัดวางตาแหน่งให้นักดนตรีที่ขึ้นไปแสดง
3.2.7 ฝ่ายประสานงาน
- ประสานงานเรื่องเก้าอี้
- ประสานงานเรื่องจอภาพยนตร์
- ประสานงานเรื่องสถานที่
3.2.8 ฝ่ายประชาสัมพันธ์
- จัดทาโลโก้งาน
- จัดทาโปสเตอร์
- จัดทาแผ่นไวนิล
- จัดทาสูจิบัตร
3.2.9 ฝ่ายสวัสดิการ
- ดูแลเรื่องอาหารให้นักดนตรีที่มาซ้อม
52

- ดูแลในการงานเดินทางไปซื้ออุปกรณ์ต่าง ๆ ที่จาเป็นต้องใช้ในการซ้อม
3.2.10 ฝ่ายเครื่องแต่งกาย
- จัดหาเครื่องแต่งกายให้นักแสดง
- ดูแลเครื่องแต่งกายของนักแสดงในวันแสดงงาน

3.3 ขั้นตอนการดาเนินงาน
ในการดาเนินโครงการได้มีการวางแผนระยะเวลาของแต่ละฝ่ายได้ดังนี้
ตารางรายเดือนในการทางานแต่ละฝ่าย

เดือน

พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย.

เขียนโน้ต ซ้อม และตรวจเพลง

ออกแบบ
สูจิบัตร โปสเตอร์ แผ่นพับ ไวนิล
โลโก้

ปรึกษา จัดหา
เลือกเพลง
ผู้สนับสนุน ซ้อม
สิ่งที่จะต้องทา

ปรึกษาอาจารย์, อาจารย์,
เลือก VTR ในงาน ใหญ่
concept แก้ไขและเพิ่มเติม, แก้ไข VDO และ
และ เริ่ม รัน
แสดง
หาแขกรับ ติดต่อสถานที่ โปรโมท โปรโมท
เพิ่มเติม, ตาม script จริง
เชิญ งานหา
หา ซ้อม
ติดต่อ ทาเล่มบทที่ พิธีกร
Costume backstage
สถานที่ 1-4
Costume
หา จับเวลา
backstage
53

3.4 งานออกแบบสื่อประชาสัมพันธ์
งานสื่อประชาสัมพันธ์ที่มีการออกแบบได้แก่ โลโก้ที่ใช้ในงาน โปสเตอร์ ในการประชาสัมพันธ์
และสูจิบัตร
3.4.1 การออกแบบโลโก้
ในการออกแบบโลโก้ใช้หลักการดังนี้
1. สร้างเส้นโครงรูปแบบของลูกบอลดิสโก้ เผื่อสื่อถึงยุคสมัยดิสโก้ให้เด่นชัดขึ้น
2. ใช้สีแดงในคาว่าอินเฟอร์โน เพื่อสื่อถึงความเร่าร้อนของไฟ
3. รูปแบบฟอนต์ที่ใช้ เลือกรูปแบบที่สื่อถึงช่วงยุค 70s – 80s
แบบที่ 1
54

แบบที่ใช้จริง
55

3.4.2 การออกแบบโปสเตอร์และป้ายไวนิล
โปสเตอร์และป้ายไวนิลใช้ข้อมูลเดียวกันในการใส่ในการสร้างสื่อประชาสัมพันธ์ โดยมีตัวอย่าง
แบบร่างดังนี้
56

แบบที่ใช้จริง
57

สูจิบัตร
58
59
60
61
62
63
64
65
66
67
68
69
70
71
72
73
74
75
76
77

ไวนิล

3.5 การออกแบบเวที
โดยพื้นหลังฉากที่เป็นผ้าม่านสีแดง เนื่องจากโรงละครของคณะมีผ้าม่านเป็นสีแดง

มุมมองเวทีด้านหน้า ออกแบบเพื่อให้รู้มิติของเวที และกาวางตาแหน่งของเครื่องดนตรีในเบื้องต้นก่อนการ


ลงพื้นที่เวทีจริง
78

เนื่องจากยังไม่สามารถลงพื้นที่ซ้อมในสถานที่จริง จึงมีแผนการวางตาแหน่งยืนไว้สองแผน เพื่อให้น้าหนัก


ของเวทีมีความสมดุล
79

3.6 เครื่องแต่งกายในวันแสดง
จากการแสดงทั้งหมด 5 ชุดการแสดง สามารถแบ่งวิธีการเลือกเครื่องแต่งกายได้ดังนี้
3.6.1 การแสดงชุดที่ 1
เนื่องจากเพลงในชุดการแสดงนี้เป็นเพลงออริจินอลดิส โก้ การแต่งกายจึงออกไปในแนว
ในยุค 70 คือ กางเกงขาม้าสีขาว กับเสื้อสีโทนร้อน เช่น สีแดง ส้ม เป็นต้น
3.6.2 การแสดงชุดที่ 2
เนื่ องจากชุดการแสดงนี้เป็นเพลง Nu-Disco การแต่งกายในช่ว งนี้จึงออกไปในแนว
สมัยใหม่ขึ้น คือจะใส่สูทสีดา เชิ๊ตขาว ในการบรรเลง ส่วนนักร้องก็จะใส่ชุดออกแนวสมัยใหม่ขึ้น
3.6.3 การแสดงชุดที่ 3
เนื่องจากชุดการแสดงนี้มีชื่อชุดว่า “Hip to the Groove” เป็นการแสดงกลอง ผู้เล่นจะ
แต่งกายลักษณะคล้ายหุ่นยนต์ เพื่อให้ได้บรรยาศของดิสโก้ในยุคสมัยใหม่ขึ้น
3.6.4 การแสดงชุดที่ 4
เนื่องจากชุดการแสดงนี้คือการอเร้นท์เพลงลูกทุ่ง การแต่งกายจึงออกไปในแนวทางร่วม
สมัย คือ มีโทนสีที่แตกต่างกันเพื่อจะได้มีความหลากหลาย

3.6.5 การแสดงชุดที่ 5
เนื่องจากชุดการแสดงนี้เป็นการนาเพลงดิสโก้มาทาเป็นเมดเลย์ ซึ่งอเรนทจ์สาหรับวงบิก
แบนด์ โดยเครื่องแต่งกายทางฝั่งริทึ่มจะใส่ชุดสูท และฝั่งเครื่องเป่า การแต่งกายคือเชิ้ตสีขาวและ
หูกระต่าย และกางเกงสแล็กสีดา

3.7 การเงิน
งบประมาณทั้งหมดได
้รับมาจากหลายส
้วนและหลายหน
้วยงาน ้นได
เช ้รับจาก คณะศิลปกรรม
ศาสตร
้,สนับสนุนจากสปอนเซอร
้,เงิน้นทุ
ต นของคณะผู
้จัดทาโครงการ เงิน้นทุ
ต นของคณะผู
้จัดทาโครงการ
นั้น้เก็
ได บรวบรวมรายบุคคลจากสมาชิกในคณะผู
้จัดทาโครงการ
80

รายรับ จานวนเงิน (บาท) คงเหลือ

งานสนับสนุนจากคณะศิลปกรรมศาสตร

20,000 20,000
มหาวิทยาลัยขอนแก
้น

เงิน้นทุ
ต นของคณะผู
้จัดโครงการ 82,000 102,000

เงินสนับสนุนจากสปอนเซอร
์ที่สนับสนุนโครงการ

- หจก.ชัยสถิตวิทยา 3,000

- ตี้กระเพาะปลา
๋ไฮ ้วยเตี
ก ๋ยวเส
้นปลา 500

-้านไชยยั
ร ณ้โลหะ
ต 3,000

- หจก.จ
้อก้อฟาร
้มร้อยเอ็ด 2,000

- โรงแรมเพชรรัต้การ
น ้เด
้นท
้ร
้อยเอ็ด 1,000

- ภัตราคารอ
้วนสมบูร้
ณ 1,500

-้อสนั
พ ่นลาบก
้อย 1,000

- U - Bar ขอนแก
้น 2,000

- Der Lar Jazz 2,000

- โรงเรียนคริสเตียนมารี้พร
ย 1,500

- ตะวันแดง มหาซน ณ ขอนแก


้น 2,000

- โรงเรียนท็อปซายน
้ สาขาขอนแก
้น 3,000
81

- น้าดื่ม Top Cat 2,000

- New Entry vocal studio khinkaen 2,000

- ทีรภัทรค
้าผ้า 1,000

- โรงเรียนพุฒิชัยวิทยส 2,000

- Box 16 Music 1,000

- สหกรณ
้ออมทรัพ้ครู
ย ขอนแก
้น จากัด 3,000

- หมุ
้บ
้านเมืองเอก แกรนด
้วิล้ล ขอนแก
้น 3,000

- Groovin’High Bb Lex Paenphum 500

- สยามวานิช้ย 500

- คีตศิล้ป 3,000

- ลาบเบีย้ล
ร าซิ่ง 1,000

- ้นลาบก
โจ ้อย 1,000

รวม 26,500 บาท

รวมทั้งหมด 128,500 บาท 128,500 บาท

รายจ
้าย จานวนเงิน (บาท) คงเหลือ
82

์าอาหารและเครื
ค ่องดื่มตลอดการซ
์อมและการแสดง
โครงการ

รายจ
์าย์าอาหาร
ค การจัดการแสดง

- 4/4/61้าอาหาร
ค 900
900
- 16/4/61 ขนม 700
700
- 18/4/61้าวห
ข ้อสุโขทัย 60้อ
ห ้อละ
ห 20 บาท
1,300
น้าหวาน 2 ขวด ขวดละ 40 บาท น้าแข็ง 20 บาท

- 19/4/61้าวห
ข ้อสุโขทัย 60้อ
ห ้อละ
ห 20 บาท
น้าหวาน 2 ขวด ขวดละ 40 บาท น้าแข็ง 20 บาท 1,300

- 20/4/61 ้าอาหาร
ค 1200

รวม 3,300 125,200 บาท

้าเช
ค ้าโรงละคร ในส
้วนทางคณะผู
้จัดทาโครงการได
้ใช
้เงิน 145,200
งานสนับสนุนจากคณะศิลปกรรมศาสตร
้ 20,000
มหาวิทยาลัยขอนแก
้น ในการจ
้าย

้าไฟบี
ค ม 1,000

้าจอ
ค LED 18,000

้าวิ
ค ดีโอ 15,000
83

้าไมค
ค ้ wireless 6,000

้าไวนิ
ค ล 5,200

้าเอกสาร
ค 4,000

้าจ
ค้างออกแบบ 5,000

้าน้
ค ามันรถ 300

้าชุ
ค ดในวันแสดง วันที่ 24/4/61 เสื้อ Staff และค
้าสกรีน 31,120

้าสู
ค จิบัตร 10,000

้าฐานยกระดั
ค บความสูง 5,000

้าเช
ค ้าโรงละคร 5 วัน 25,000

้าวิ
ค ศวกรเสียง 5,000

นักแสดงรับเชิญ 7,000

้าดิ
ค ส้บอล
โก 1,500

้าสิ
ค ่งของต
้าง ๆ ภายในงาน 4000

รวม 141,720 2,080


84

3.8 วิธีการวางแผนซ้อม
แผนการซ้อมมีวิธีการจัดตารางโดยดูจากสมาชิกในวงที่เล่น เลือกวันเวลาที่ว่างตรงกัน เพื่อให้การ
ซ้อมมีประสิทธิภาพมากที่สุด จึงสรุปตารางซ้อมได้ดังนี้
วัน

เวลา 9.00 – 12.00 13.00 – 16.00 17.00 – 19.00

จันทร์ Disco Nu Disco Arrange

อังคาร

พุธ Nu Disco Disco Arrange

พฤหัสบดี

ศุกร์ Arrange Nu Disco Disco

เสาร์ ทาเล่ม / ซ้อมแก้

อาทิตย์ ทาเล่ม / ซ้อมแก้

3.9 วิธีการประชาสัมพันธ์และติดต่อขอเงินสนับสนุน
3.9.1 วิธีการดาเนินงานในการหาผู้สนับสนุน
- จากผู้ปกครอง
- จากการแนะนาของบุคคลทั่วไป
- จากสถานที่ที่ขอประจาทุกปี
- จากเครือข่ายของครอบครัว
- จากบริษัท ห้างร้าน ที่รู้จัก
85

3.9.2 ขั้นตอนในการติดต่อผู้สนับสนุน
- ทาหนังสือของบประมาณสนับสนุนจากทางคณะ
- แนบหนังสือแจกแจงรายละเอียดการให้เงินสนับสนุน
- เข้าไปติดต่อตามสถานที่ ที่ต้องการของบประมาณสนับสนุนโดยมีการแนบรายละเอียด
3.9.3 การประชาสัมพันธ์นั้น มีการประชาสัมพันธ์ในหลากหลายช่องทาง ได้แก่
1. การติดโปสเตอร์ประกาศตามสถานที่ในมหาวิทยาลัย เช่น บริเวณศูนย์อาหารและ
บริการ 1 (คอมเพล็ค) ตามคณะต่าง ๆ ในมหาวิทยาลัย เป็นต้น
2. การติดป้ายไวนิลโฆษณางานภายในมหาวิทยาลัย ได้แก่ บริเวณวงเวียนปั๊มน้ามันใน
มหาวิทยาลั ย บริเวณหน้าคณะศิล ปกรรมศาสตร์ และสามแยกศูน ย์ อาหารและ
บริการ 2 (โรงชาย)
3. การทาวิดีโอโปรโมทงาน
4. การแสดงดนตรี ณ ตลาดต้นตาลเพื่อประชาสัมพันธ์นอกสถานที่
5. การแสดงดนตรี ใ นงาน Art lane ครั้ ง ที่ 15 เพื่ อ ประชาสั ม พั น ธ์ ง านในบริ เ วณ
มหาวิทยาลัยขอนแก่น
3.10 ลาดับการแสดง
86
87
88
89
90
91
92
93
บทที่ 4
อรรถาธิบายบทเพลง

ในการวิเคราะห์บทประพันธ์ครั้งนี้จะมีการวิเคราะห์ในส่วนของกุญแจเสียง จังหวะ
คอร์ด ทางเดินคอร์ด ระดับเสียงต่าง ๆ สังคีตลักษณ์ และเทคนิคในการบรรเลง ซึ่งมีแบบแผน
ของการวิเคราะห์มาจากวิธีของโจนาธาน เจมส์ (Jonathan James)
4.1 Everybody Dance – Chic
4.1.1 อรรถาธิบาย
เพลง Everybody Dance อยู่ในกุญแจเสียง อี แฟล็ต เมเจอร์ ใช้เครื่องหมายประจา
จังหวะ 4/4 อัตราความเร็ว 130 bpm สังคีตลักษณ์อยู่ในรูป AABA บรรเลงในรูปแบบของวง
คอมโบ (Combo) ทานองในท่อนอินโทร (Intro) ห้องแรกใน 2 จังหวะแรกใช้กลองชุด (Drum
kit) บรรเลงด้วยโน้ตเขบ็ตหนึ่งชั้นและตัวดาขึ้นมาถึงจังหวะที่ 1 ถัดมาในตอน A กลุ่มเครื่องลม
ทองเหลือง (Brass section) และกลุ่มเครื่องลมไม้ (Woodwind section) บรรเลงด้วยโมทีฟ
(motive) เดียวกัน (ดังภาพตัวอย่าง)
95

และในบทเพลง Everybody Dance มีการใช้ทางเดินคอร์ดแบ่งเป็น 2 แบบ คือ


แบบที่ 1 i – VI – VII – VIM7 – IV – VI

แบบที่ 2 i – VII – i – iv

ห้องที่ 10-14 ทานองหลักของบทเพลงอยู่ที่นักร้อง (Voice) ประสานทานองด้วยคู่ 4 (ดังภาพด้านล่าง)


96

กลุ่มเครื่องลมบรรเลงประสานทานองและกลุ่มเครื่องประกอบจังหวะบรรเลงทานองด้วยกระสวนจังหวะ
เดียวกันจากห้องที่ 10–14 (ดังภาพด้านล่าง)
97

ตอน A2 ทานองหลักของบทเพลงอยู่ที่นักร้อง และนักร้องประสานเสียงบรรเลงประสานทานอง


ด้วยคู่ 4 (ดังภาพด้านล่าง)

ห้อง 34 กลุ่มเครื่องลมบรรเลงโน้ตยูนิซัน (ดังภาพด้านล่าง)


98

ห้องที่ 34 กีตารไฟฟ้าใช้วิธีเล่นโดยการตีคอร์ดซึ่งมีการกาหนดรูปแบบไว้อย่างชัดเจน อันประกอบด้วย


คอร์ด i7 (Cm7) VI (Ab/Bb) หรือคอร์ด Ab sus VII (Bb/C) หรือคอร์ด Bb sus และมีการบรรเลงโน้ต ใน
C Minor Scale

ในตอน B ห้อง 42 – 57 ทานองหลักของบทเพลงอยู่ที่นักร้อง (ตามภาพด้านล่าง)


99

ทางเดินคอร์ดคือ i – VI – VII – VI – IV – VI (ดังภาพด้านล่าง)

ในตอน B2 ทานองหลักของบทเพลงอยู่ที่นักร้อง (ดังภาพด้านล่าง)


100

ตอน C เป็นท่อนบรรเลงวงมีความยาว 8 ห้อง ในตอนนี้เป็นตอนเพลงที่ทานองหลักจะถูกบรรเลงโดยกลุ่ม


เครื่องลมทั้งหมดในลักษณะการบรรเลงแบบโซลิ (Soli) (ดังภาพตัวอย่าง)

ตอน C กีตาร์ไฟฟ้าบรรเลงยูนิซันพร้อมกับกลุ่มเครื่องลม
101

ในห้องที่ 146 กลุ่มเครื่องลมบรรเลงโน้ตตัวดาและกลุ่มเครื่องให้จังหวะ (ยกเว้นกลอง) บรรเลงโน้ตตัวกลม


เพื่อจบบทเพลง นักร้องจะมารับในจังหวะที่ 1 ยกของห้องรองสุดท้าย (ดังภาพตัวอย่าง)
102

4.2 Disco Inferno – The Tramps


4.2.1 อรรถาธิบาย
เพลง Disco Inferno อยู่ในกุญแจเสียง ซี ไมเนอร์ ใช้เครื่องหมายประจาจังหวะ 4/4
อัตราความเร็ว 134 สังคีตลักษณ์อยู่ในรูป ABABC บรรเลงในรูปแบบของวงคอมโบ (Combo)
โครงสร้างของคอร์ดเพลง Disco Inferno ในท่อน A ประกอบด้วย Cm ท่อน B จะเปลี่ยนกุญแจ
เสียงเป็น ซี เมเจอร์ ประกอบด้วยคอร์ด F Bb และC ซึ่งมีทางเดินคอร์ดตามลาดับคือ คอร์ด 4
เมเจอร์ (F) คอร์ด 7 เมเจอร์ (Bb) คอร์ด 1 เมเจอร์ (C) และวนกลับไปคอร์ด 4 เมเจอร์ (F) คอร์ด
7 เมเจอร์ (Bb) คอร์ ด 1 เมเจอร์ (C) คอร์ด 7 เมเจอร์ (Bb) (IV–VII–I–IV–VII–I–VII) ท่อน C
ประกอบด้วยคอร์ด Bb และC ซึ่งมีทางเดินคอร์ดตามลาดับคือ คอร์ด 7 เมเจอร์ (Bb) คอร์ด 1
เมเจอร์ (C) และวนกลับไปคอร์ด 7 เมเจอร์ (Bb) คอร์ด 1 เมเจอร์ (C) (VII–I–VII–I)
ท่อน Intro ในห้องแรกคีย์บอร์ดบรรเลงด้วยโน้ตเขบ็ตสองชั้นประกอบด้วยโน้ต G Eb B
กลุ่มเครื่องลมบรรเลงย้าโน้ต G ของกุญแจเสียงเป็นโน้ตเขบ็ตหนึ่งชั้น กลุ่มเครื่องประกอบจังหวะ
จะบรรเลงด้วยเบสดรัม กลองสแนร์และไฮเฮท เป็นโน้ตเขบ็ตหนึ่งชั้น และเบสบรรเลงด้วยโน้ต
เขบ็ตหนึ่งชั้นประกอบด้วยโน้ต Eb Db B Ab F เพื่อส่งเข้าจังหวะแรกในห้องที่ 2 กีตาร์เข้ามารับ
เป็นทานองหลักในจังหวะที่ 4 ยก
103

ท่อน A กีตาร์และเบสบรรเลงจังหวะเป็นเขบ็ตหนึ่งชั้นแต่จะบรรเลงโน้ตที่เป็นค่าตัวดาที่
จังหวะ 4 ยก ประกอบด้วยโน้ต C G Eb F Bb ซึ่งอยู่ในบันไดเสียง ซี ไมเนอร์

ทางด้านกลุ่มเครื่องประกอบจังหวะจะมีรูปแบบจังหวะเป็นดิสโก้ เบสดรัมจะบรรเลงเป็น
ค่าโน้ตตัวดา กลองสแนร์ตีที่จังหวะ 2 และ 4 ไฮแฮทจะบรรเลงเป็นจังหวะยกสลับกับเบสดรัม
104

ท่อน B นักร้องหลักและนักร้องประสานเสียงจะร้องสลับกันโดยนักร้องประสานเสียงจะร้อง
ก่อนในจังหวะที่ 4 ยก และนักร้องหลักจะร้องในห้องถัดไป

กลุ่มเครื่องลมจะบรรเลงค่าโน้ตเป็นตัวดาในบันไดเสียง เอฟ เมเจอร์ และจะมีโน้ตเขบ็ตหนึ่งชั้น


เป็นทานองส่งในห้องที่ 3 จังหวะที่ 4 ของท่อน B

ทานองของเบสจะบรรเลงค่าโน้ตเขบ็ตหนึ่งชั้นเป็นจังหวะขัดในบันไดเสียง เอฟ เมเจอร์


105

ท่อน C นักร้องหลักและนักร้องประสานเสียง ร้องประสานกันเป็นขั้นคู่ 3 เมเจอร์ ที่ห้อง 2-4


และ6-8 ของท่อน C ทางด้านกลุ่ มเครื่องลมจะค้างโน้ต Bb ไปยังโน้ต C โดยผ่านทานองที่เหมื อ นกับ
ทานองร้อง ส่วนเครื่องประกอบจังหวะจะเปลี่ยนจากบรรเลงปิดไฮแฮทเป็นเปิดสลับปิด
106

4.3 Rasputin – Boney M


4.3.1 อรรถาธิบาย
เพลง Rasputin อยู่ในกุญแจเสียง บี ไมเนอร์ ใช้เครื่องหมายประจาจังหวะ 4/4 อัตรา
ความเร็ว สังคีตลักษณ์อยู่ใน AABA บรรเลงในรูปแบบของวงคอมโบ (combo) ทานองในท่อน
อินโทร (Intro) จะใช้กลองชุด (Drum kit) บรรเลงด้วยโน้ตเขบ็ตสองชั้น และถัดมาจะมีกีตาร์เล่น
ทานองเป็นปิ๊กอัพ (Pickup) ขึ้นมาในห้องที่เจ็ด ดังภาพตัวอย่าง

และในบทเพลง Rasputin มีการใช้ทางเดินคอร์ดคือ i - iv – V -i


107

ห้องที่ 35 ทานองหลักของบทเพลงอยู่ที่นักร้องชายและนักร้องหญิง โดยร้องสลับเสียงต่าและสูงระหว่าง


ฝ่ายชายและฝ่ายหญิง ดังภาพ

ห้องที่ 52 ท่อน B ของเพลงจะมีนักร้องประสานเสียงเข้ามาด้วย ดังภาพ


108

ห้องที่ 60 จบท่อน B จะมีการบรรเลงโน้ตยูนิซัน ดังภาพ

หลังจากจบท่อน A และท่อน B ในรอบที่สองแล้ว ในส่วนของนักร้องชายจะเป็นการร้องที่คล้ายลักษณะ


ของการพูดในห้องที่ 94 ดังภาพ
109

และหลังจากท่อนพูดแล้วจะเข้ าท่อน B อีกสองรอบ และจะจบบทเพลงด้วยการบรรเลงยูนิซันในห้องที่


147 โดยจะจบในจังหวะที่ 4 บรรเลงเป็นโน้ตเขบ็ตหนึ่งชั้น ดังภาพ
110

4.4 NIGHT FEVER - BEE-GEES


4.4.1 อรรถาธิบาย
เพลง NIGHT FEVER - BEE-GEES อยู่ในกุญแจเสียง อี เมเจอร์ ใช้เครื่องหมายประจา
จั งหวะ 4/4 อัตราความเร็ว สั งคีตลั กษณ์ อยู่ ในรูป ABAC บรรเลงในรูปแบบของวงคอมโบ
(Combo) ทานองในท่อนอินโทร (Intro) กีตาร์ (Guitar) จะเล่นปิ๊กอัพ (Pickup) มา 2 จังหวะ
บรรเลงด้วยโน้ตเขบ็ตสองชั้นและ ถัดมาในตอน A กลุ่มเครื่องประกอบจังหวะ (Rhythm) มีการ
ใช้กระสวนจังหวะตามโน้ต (ดังภาพตัวอย่าง)

มีการเปลี่ยนกุญแจเสียงระหว่างกุญแจเสียง อี เมเจอร์ และ เอฟ ชาร์ป เมเจอร์ และมี


การสลั บ การใช้เสี ย งปกติ (Clean) และเสี ยงแตก (Overdirve) อีกทั้งยังมีก ารตี ค อร์ด อยู่ ใ น
รู ป แบบจั งหวะและสั ดส่ ว นที่มีการกาหนดไว้อย่าชัดเจน ซึ่ งอยู่ในกุญแจเสี ยง อี เมเจอร์ อัน
ประกอบไปด้วย vi7-ii7-IM7 และยังมีรูปแบบการตีอคร์ดอีกหนึ่งแบบ ซึ่งเป็นการสลับการเล่น
ระหว่างเสียงแตกและเสียงปก ซึ่งยังคงตีคอร์ดตามรูปแบบที่กาหนดไว้อันประกอบไปด้วยคอร์ด
V – IV - I
111

ในตอน B ห้องที่ 18 ทานองหลักของบทเพลงอยู่ที่นักร้องหลัก (Voice) ซึ่งเป็นโน้ตแถว


บน และนักร้องประสานเสียงซึ่งเป็นโน้ตแถวล่าง ซึ่งแนวเสียงประสาน จะประสานกับทานอง
หลักเป็นคู่ 8 (Octave) (ดังภาพด้านล่าง)

และในตอน C ทานองหลักของบทเพลงอยู่ที่นักร้องหลัก ซึ่งเป็นโน้ตแถวบน และนักร้อง


ประสานเสียงซึ่งเป็นโน้ตแถวล่าง ซึ่งแนวเสีย งประสาน จะประสานกับทานองหลักเป็นคู่ 8 และ
ในตอนสุดท้ายกลุ่มเครื่องประกอบจังหวะเล่นตามส่วนค่าโน้ตที่กาหนดให้
112

4.5 Dancing Queen – Abba


4.5.1 อรรถาธิบาย
เพลง Dancing Queen อยู่ในกุญแจเสียง เอ เมเจอร์ ใช้เครื่องหมายประจาจังหวะ 4/4
ในลีลาแบบดิสโก้ สังคีตลักษณ์อยู่ในรูป ABBABA เริ่มต้นเพลงในจังหวะที่ 4 โดยเปียโนจะบรรเลง
ขึ้นมา และแบนด์จะมารับในห้องที่ 2 โดยทางเดินคอร์ดที่ใช้คือคอร์ด I – IV คือคอร์ด A / D โดย
นักร้องหลักจะร้องคลอกับเสียงสตริงของคีย์บอร์ด โดยทานองหลักของบทเพลงจะอยู่ในจังหวะ
หนักในห้องที่ 4 จนถึงห้องที่ 5 (ดังภาพด้านล่าง)
113

ห้องที่ 8 มีการใช้ลายคลิเช่ในแนวเบสซึ่งจะเคลื่อนที่ลงมาแบบโครมาติก สังเกต


ได้จากคอร์ด A – E/G# - D/F# - A/E เพื่อส่งเข้าท่อนร้องในห้องที่ 10 (ดังภาพ

ด้านล่าง)

ในตอน B จากคอร์ด A - D/A – A จะมีทานองจะอยู่ที่นักร้อง โดยมีการล้อ


ทานองในคอร์ด D/A โดยคีย์บอร์ด ส่งเข้าทานองหลักของนักร้องให้ห้องถัดไปเสมอ (ดัง
ภาพด้านล่าง)
114

ตอน A ส่งเข้าตอน B มีทางคอร์ด A D/A – A D/A โดยมีเปียโนเป็นทานองหลักที่ส่ง


เข้าตอน B โดยแบนด์เล่นส่วนโน้ตเดียวกันกับเปียโน (ดังภาพด้านล่าง)
115

4.6 That’s the way (I like it) - KC & The Sunshine Band
4.6.1 อรรถาธิบาย
เพลง That’s the way (I like it) อยู่ในกุญแจเสียง ซี ไมเนอร์ ใช้เครื่องหมายประจา
จังหวะ 4/4 อัตราความเร็ว 110 สังคีตลักษณ์อยู่ในรูป ABAB บรรเลงในรูปแบบของวงคอมโบ
(Combo) ทางด้ า นโครงสร้ า งของเพลง That’s the way (I like it) จะประกอบด้ ว ยคอร์ ด
จานวนสองคอร์ดคือ Fm และ Cm ซึ่งมีทางเดินคอร์ดได้แก่ iv – i หรือคอร์ดที่ 4 ของกุญแจเสียง
ซี ไมเนอร์ไปคอร์ดที่ 1 โดยใช้หนึ่งคอร์ดต่อหนึ่งท่อน บรรเลงวนซ้าท่อนไปมาระหว่างท่อน A
และ B
ในท่อนแรกใช้ทางเดินคอร์ดคือ Fm มีทานองหลักอยู่ที่นักร้อง กลุ่มเครื่องลม เบส และมี
ทานองประสานคือ กลุ่มนักร้องประสานเสียงโดยร้องประสานเป็นขั้นคู่ 3 ไมเนอร์ ของทานอง
หลัก

ทางด้านเครื่องคอร์ด กีตาร์จะบรรเลงเป็นโน้ตเขบ็ตสองชั้นในทุกสองห้องและเปียโนจะ
บรรเลงคอร์ดโดยมีจังหวะที่เหมือนกับทานองหลัก ซึ่งจะบรรเลงโดยคอร์ด Fm จนจบท่อน
116

ทางด้านกลุ่มเครื่องประกอบจังหวะจะมีรูปแบบจังหวะเป็นฟังก์ สแนร์ตีที่จังหวะ 2 และ


4 ไฮแฮทอยู่ในรูปโน้ตเขบ็ตสองชั้น เบสดรัมจังหวะตกอยู่ที่จังหวะ 1 และ 3 และในจังหวะยกที่
จังหวะ 2 ซึ่งบรรเลงแบบเดียวกันในทุกท่อน

ท่อน B ใช้ทางเดินคอร์ดคือ Cm มีทานองหลักอยู่ที่นักร้องและมีนักร้องประสานเสียง


ร้องเป็นขั้นคู่ 4 5 และ6 ด้านทานองของกลุ่มเครื่องลมเป็นการบรรเลงโดยที่เน้นจังหวะที่ 2 ซึง่
ต่างจากทานองของเบสที่จะบรรเลงรูปแบบจังหวะเป็นฟังก์ โดยจะเน้นในจังหวะที่หนึ่งและ
จังหวะที่ 4
117

4.7 getaway – Earth wind & Fire


4.7.1 อรรถาธิบาย
เพลง Getaway อยู่ในกุญแจเสียง เอฟ ไมเนอร์ ใช้เครื่องหมายประจาจังหวะ 4/4 อัตรา
ความเร็ว 120 สังคีตลักษณ์อยู่ในรูป AABA บรรเลงในรูปแบบของวงคอมโบ (Combo) ทานอง
ในท่อนอินโทร (Intro) ในห้องแรกกลุ่มเครื่องลมและกลุ่มเครื่องให้จังหวะบรรเลงโน้ตเขบ็ตสอง
ชั้นเพื่อส่งเข้าห้องถัดไป (ดังภาพตัวอย่าง)
118

ในท่อนอินโทรกลุ่มเครื่องลมและกลุ่มเครื่องประกอบจังหวะบรรเลงประสานทานอง
หลัก (ดังภาพตัวอย่างด้านล่าง)

และในเพลง Getaway มีการใช้ทางเดินคอร์ด คือ i7 – VI7 – VII – i7 หรือ Fm7 – Dbmaj7 – E –


Fm7 กีตาร์ไฟฟ้าบรรเลงในทานองและใช้สัดส่วนเดียวกันกับกีตาร์เบสและกลุ่มเครื่องลม ซึ่งอยู่ใน
บันไดเสียง เอฟ ไมเนอร์ และมีการใช้โน้ตในบันไดเสียง เอฟ ดอเรียน คือตัว ดี เนเจอร์รอล
119

ถัดมากลุ่มเครื่องลมบรรเลงประสานทานองหลักของบทเพลง โดย (ดังภาพด้านล่าง)


120

ห้องที่ 14 – 17 ทานองหลักอยู่ที่เครื่องลม นักร้องจะเข้ามารับทานองหลักในห้องที่ 17 (ดังภาพตัวอย่าง)


121

ห้อง 25 กลุ่มเครื่องลมและกลุ่มเครื่องให้จังหวะ(ยกเว้นกลองชุด) บรรเลงโน้ตเขบ็ตสอง


ชั้นเพื่อส่งเข้าท่อนถัดไป (ดังภาพตัวอย่าง)
122

ตอน E ทานองหลักอยู่ที่นักร้อง กลุ่มเครื่องงลมบรรเลงทานองประสาน และห้องที่ 28


ได้เปลี่ยนอัตราจังหวะเป็น 2/4 และเปลี่ยนกลับคืนเป็น 4/4 ห้องที่ 29 (ดังภาพด้านล่าง)
123

ห้อง 69 คีย์บอร์ดบรรเลงเดี่ยวด้วยโน้ตเขบ็ต 2 ชั้น 6 พยางค์ กลุ่มเครื่องลมและกลุ่มเครื่องให้


จังหวะรอรับในจังหวะที่ 1 ในห้อถัดไป (ดังภาพด้านล่าง)
124

ห้อง 102 เป็นการนาโน้ตในส่วนของช่วงต้นกับมาบรรเลงอีกครั้ง 3 รอบก่อนที่จะค่ อย ๆ ช้าลงและ


บรรเลงโน้ตตัวขาวในจังหวะที่ 1 ของห้องสุดท้ายเพื่อจบบทเพลง (ดังภาพตัวอย่าง)
125

4.8 Lose Yourself to Dance – Daft Punk


4.8.1 อรรถาธิบาย
เพลงลูสยัวร์เซลฟ์ทูแดนซ์ (Lose Yourself To Dance) ศิลปินดาฟต์พังก์ (Daft Punk) แนว
ดนตรีดิสโก้ฟังก์ (Disco Funk) อยู่ในกุญแจเสียงดีแฟลตเมเจอร์ (Db) ใช้เครื่องหมายประจาจังหวะ
4/4 อัตราความเร็ว 100 bpm สังคีตลักษณ์อยู่ในรูป AABA บรรเลงในรูปแบบของวงคอมโบ

ทานองในท่อนอิน โทร นักร้องร้องห้ องที่ 2 จังหวะที่ 2 โน้ตฟิกเกอร์ส าหรับกลุ่ มเครื่ อ ง


ประกอบจังหวะอยู่ในจังหวะ 1 ยกหลังจากนักร้องร้องจบประโยค “ลูสยัวร์เซลฟ์ทูแดนซ์” แพทเทิน
ของกลองเป็นโฟร์ออนเดอะฟลอ (4 on the floor) ส่งของกลองชุดจะเริ่มในจังหวะที่ 4 ของห้องที่ 2
จากแพทเทิน ออคตาแพทใช้เสียงแฮนส์แคลป (Hands Clap) บรรเลงพร้อมกลองสแนร์ ซินธิไซเซอร์
ใช้ฟังก์ชันเสียงออร์เคสตราฮิต (Orchestra Hit) กดคอร์ดในรูปทรัยแอด กีตาร์เบสบรรเลงโน้ตที่เป็น
ตัวรากของคอร์ด ทางคอร์ดของบทเพลงมีทั้งหมด 4 คอร์ดคือ คอร์ดอีแฟลตเมเจอร์ (Eb) คอร์ดจี
แฟลตเมเจอร์ (Gb) คอร์ดบีแฟลตเมเจอร์ (Bb) และคอร์ดเอเมเจอร์ (A) (ดังภาพตัวอย่าง)
126

จากนั้นเข้าโน้ตฟิกเกอร์ของบทเพลงในห้องที่ 10 ถึง 11 เป็นการกระจายโน้ตทั้ง 4 คอร์ด (ดัง


ภาพตัวอย่าง)

ท่อน A กลุ่มเครื่องประกอบจังหวะบรรเลงคอร์ดแบบวนซ้าคอร์ดละ 2 ห้องของทุก ๆ ท่อนในบทเพลง


กีตาร์ไฟฟ้าใช้เทคนิคการดีดแบบสตรัม (Strum) เป็นการสตรัมในแนวดนตรีฟังก์ที่ให้จังหวะขัดเล็กน้อยใน
รูปโน้ตเขบ็ต 2 ชั้น (16 note) กีตาร์เบสบรรเลงส่วนโน้ตเดียวกันกับโน้ตฟิกเกอร์ในห้องที่ 10 ควบคู่กับ
เทคนิคสแลป (Slap) ในแนวดนตรีฟังก์ไปด้วย กลองชุดบรรเลงแพทเทินโฟล์ออนเดอะฟลอ (ดังภาพ
ตัวอย่าง)
127

ท่อน B นักร้องเริ่มร้องในจังหวะยกที่ 2 เปียโนใช้เสียงเครื่องสาย (String) บรรเลงคอร์ดทั้ง 4 คอร์ดของ


บทเพลง คอร์ดละ 2 ห้องในรูปโน้ตตัวกลม กีตาร์ไฟฟ้าและกีตาร์เบสยังคงบรรเลงเช่นเดียวกันกับท่อน A
กลองชุดบรรเลงเช่นเดียวกันกับท่อน A ควบคุมจังหวะด้วยไฮแฮท (Hi-Hat) ในโน้ตเขบ็ต 1 ชั้น (8 note)
และกลองสแนร์ในจังหวะ 2 และ 4 ท่อน C บรรเลงเช่นเดียวกับท่อน B (ดังภาพตัวอย่าง)
128

ท่อน D นักร้องใช้เทคนิคเคาน์เตอร์พอยท์ (Counterpoint) ด้วยเสียงสังเคราะห์โวคอลเดอร์ (Vocalder)


กลองชุดเปลี่ยนแพทเทินของไฮแฮทเป็นโน้ตตัวดา และเปิดไฮแฮทเล็กน้อยเพื่อให้เสียดสีกัน ในอามรณ์
ของเพลงที่แรงขึ้น (ดังภาพตัวอย่าง)
129

4.9 One More Time – Daft Punk


4.9.1 อรรถาธิบายบทเพลง
เพลงวันมอร์ไทม์ (One More Time) ศิลปินดาฟต์พังก์ แนวดนตรีดิสโก้ อยู่ในกุญแจเสียงบีไม
เนอร์ (Bm) ใช้เครื่องหมายประจาจังหวะ 4/4 อัตราความเร็ว 124 bpm สังคีตลักษณ์อยู่ในรูป AABA
บรรเลงในรูปแบบของวงคอมโบ

ท่อนอินโทร เริ่มด้วยการเดี่ยวกลองชุด 2 ห้อง ซินธิไซเซอร์บรรเลงเป็นแพทเทินจากการกระจาย


โน้ตในคอร์ดของบทเพลงเป็นจังหวะขัดดังภาพตัวอย่าง 1.1 ก่อนจะบรรเลงไปพร้อมกับกลองชุดและกีตาร์
เบสในห้องที่ 7 (ดังภาพตัวอย่าง)
130

เมื่อเข้าท่อน A แพทเทินของกลองชุดนั้นเป็นแพทเทินดิสโก สนับสนุนจังหวะเพิ่มมากขึ้นด้วยแทมบูริน


(Tambourine) และเสียงปรบมือ (Hand Clap) บรรเลงเป็นพื้นหลังเพื่อความต่อเนื่องของบทเพลง (ดัง
ภาพตัวอย่าง)

เมื่อเข้าท่อน B คีย์บอร์ดกดคอร์ดเป็นตามแพทเทินของบทเพลง ในบทเพลงนี้เป็ นการเล่นวนซ้าเดิม (ดัง


ภาพตัวอย่าง)
131

4.10 Get Lucky – Daft Punk


4.10.1 อรรถาธิบายบทเพลง

เพลงเก็ตลัคกกี้ (Get Lucky) ศิลปิน Daft Punk อยู่ในกุญแจเสียงบีไมเนอร์ (Bm) ใช้เครื่องหมาย


ประจาจังหวะ 4/4 อัตราความเร็ว 118 bpm สังคีตลักษณ์อยู่ในรูป AABA บรรเลงในรูปแบบของวงคอม
โบ

ในท่อนอินโทรกีตาร์ไฟฟ้าและซินธิไซเซอร์เล่นแพทเทินเดียวกันและพร้อมกัน โดยกีตาร์ไฟฟ้าเริ่ม
เล่นก่อน 4 ห้อง จากนั้นตามด้วยซินธิไซเซอร์อีก 4 ห้อง เป็นแพทเทินในโน้ตเขบ็ต 2 ชั้นจากการกระจาย
โน้ตในคอร์ดและการพลิกกลับในคอร์ด (ดังภาพตัวอย่าง)

ตัวอย่างโน้ตซินธิไซเซอร์

ตัวอย่างโน้ตกีตาร์ไฟฟ้า
132

ท่อน A เพลงนี้มีทั้งหมด 4 คอร์ดด้วยกันคือ คอร์ดบีไมเนอร์ (Bm) คอร์ดดีเมเจอร์ (D) คอร์ดเอฟชาร์ปไม


เนอร์ (F#m) และคอร์ดอีเมเจอร์ (E) เป็นการบรรเลงวนซ้าของคอร์ดทุก ๆ 4 ห้องเรียงกันตามลาดับ
คีย์บอร์ดไฟฟ้ากดคอร์ดเป็นพื้นหลังของบทเพลง กีตาร์เบสบรรเลงแพทเทินของบทเพลงด้วยโน้ตซ้าใน
คอร์ด (ดังภาพตัวอย่าง)
133

เมื่อเข้าท่อน B ดนตรีบรรเลงเหมือนกับท่อน A นักร้องเริ่มเข้าร้องห้องที่ 24 ท่อนของเพลงนั้นวนซ้ากัน 2


รอบ

ท่อน H นั้นกลองชุดจะเหยียบกระเดื่องเป็นโน้ตตัวดา เพื่อให้ออคตาแพด (Octapad) ทาการบรรเลงเป็น


แพทเทินแทนกลองชุดทั้งหมด 8 ห้อง และเปลี่ยนแพทเทินของกลองชุดจากเดิมที่ไฮแฮทบรรเลงเขบ็ต 1
ชั้นเป็นเขบ็ต 1 ชั้นตามด้วยเขบ็ต 2 ชั้นและเปิด -ปิดไฮแฮทสลับกันในทานองของดนตรีคลับแดนซ์ (Club
Dance) ในท่อน I
134

4.11 (Don't) Give Hate A Chance – Jamiroquai


4.11.1 อรรถาธิบายบทเพลง

เพลง (Don't) Give Hate A Chance ของศิ ล ปิ น Jamiroquai อยู่ ใ นกุ ญ แจเสี ย ง F#m ใช้
เครื่องหมายประจาจังหวะ 4/4 อัตราความเร็วอยู่ที่ 126 BPM สังคีตลักษณ์อยู่ในรูป ABABC บรรเลงใน
รูปแบบของวงสตริงคอมโบ ในช่วงอินโทรห้องที่ 1 ถึง 4 ออคตาแพททาหน้าที่เล่นแพทเทิน Funk จากนั้น
กลองชุดส่งในห้องที่ 4 จังหวะ 4 ยก สู่ท่อน A

ท่อน A จังหวะการเล่นกลองจะเล่นในจังหวะ Disco ผสมกับ เบส ที่จะเน้นโน้ตคู่ 8 และจังหวะที่ต้องส่ง


เข้าคอร์ดต่อไป จะเล่นการเล่นโน้ตในคอร์ด เพื่อส่งไปยังคอร์ดต่อไปอย่างต่อเนื่อง ด้านเครื่องดนตรีอื่นๆ
เช่น กีต้าร์ จะเล่นในแบบสตรัปคอร์ด (Strum) และ คีย์บอร์ด จะเป็นเสียงรอง โดยใช้เสียง Organ โดย
เล่นในรูปแบบเสียงยาว เพื่อคอยสนับสนุนคอร์ดให้กับ เสียงร้องที่เป็นทานองหลัก (ดังภาพตัวอย่าง)
135

ท่อน B หรือท่อน Chorus ทานองหลักจะมีการร้องสลับกับเสียงร้องคอรัส ส่งกันไปมา ในภาคของเครื่อง


ดนตรีนั้น เบส และ กีต้าร์ จะมีการเล่นที่เปลี่ยนไปตามตัวอย่าง ทาให้เกิดความแตกต่างอย่างชัดเจนกับ
ท่อน A

ท่อน C หรือท่อน Bridge จะมีสั้นๆ เพียง 4 ห้อง แต่จะมีเสียงที่โดดเด่นออกมาคือเสียงของคีย์บอร์ด โดย


ใช้เสียง String เพื่อสร้างความแตกต่าง

ก่อนที่จะส่งเข้าสู่ท่อนต่อไปที่กลองจะเล่นโน้ตตัวดา และเบสจะเล่นเป็น Groove ดังนี้


136

4.12 I Feel It Coming – The Weeknd ft. Daft Punk


4.12.1 อรรถาธิบาย
เพลง I Feel It Coming – The Weeknd ft. Daft Punk อยู่ในกุญแจเสียงซีไมเนอร์ (c minor)
ใช้เครื่องหมายประจาจังหวะ 4/4 อัตราความเร็ว 100 B Time PM (Beats Per Minute) สังคีตลักษณ์
อยู่ในรูป ABCA บรรเลงในรูปแบบของวงคอมโบ (Combo)
ในท่อนอินโทร เครื่องเปียโน (Piano) จะบรรเลงทานองหลักของบทเพลงจานวน 8 ห้อง เพอร์คัช
ชัน (Percussion) จะใช้เสี ย งวิป ช์ (Whip) จะบรรเลง จังหวะที่ 2 กับ 4 ของทุกห้ อง และเบสจะเริ่ม
บรรเลงในห้องที่ 4 จังหวะที่ 1 ด้วยโน้ตเขบ็ตหนึ่งชั้น (ดังภาพตัวอย่าง)

กลุ่มคอร์ดของบทเพลงนี้มีทั้งหมด 4 คอร์ด ซึ่งจะประกอบไปด้วยคอร์ด i IV vii VII i ที่ได้กล่าวข้างต้น


เป็นการบรรเลงแบบวนซ้า คอร์ดละ 1 ห้องของทุก ๆ ท่อนในบทเพลง (ดังภาพตัวอย่าง)

ถัดมาในห้องที่ 8 นักร้องหลัก (Voice) เริ่มร้องเข้า ในจังหวะที่ 3 กลองชุด (Drum set) จะใช้แพทเทินใน


รูปแบบโฟร์ออนเดอะฟลอ (4 on the Floor) (ดังภาพตัวอย่าง)
137

ในท่อน C ทานองหลักของบทเพลงอยู่ที่นักร้อง ซึ่งจะมีทานองร้องที่เขบ็ตหนึ่งชั้นเป็นส่วนมาก


(ดังภาพด้านล่าง)

ทานองหลักของบทเพลงอยู่ที่นักร้อง กีต้าร์ (Guitar) จะเปลี่ยนแพทเทินการบรรเลงที่กระซับมาก


ขึ้น กลองชุดจะมีการเปิดไฮแฮท (Hi-Hat) ในจังหวะยก (ตามภาพด้านล่าง)
138

ในท่อน H ทานองหลักของบทเพลงอยู่ที่นักร้อง ในท่อนนี้จะมีแค่เปียโนกับกีต้าร์ที่จะบรรเลงให้กับนักร้อง


(ดังภาพด้านล่าง)

ในท่อน J ทานองหลักจะอยู่ที่เครื่องเปียโน ซึ่งในห้องที่ 96 เครื่องดนตรีทุกเครื่องจะจบที่จังหวะที่ 3 (ดัง


ภาพด้านล่าง)
139

4.13 Adventure of a lifetime - Coldplay


4.13.1 อรรถาธิบาย
Adventure of a lifetime บทเพลงของศิลปิน Coldplay อยู่ในกุญแจเสียง Am อัตรา
จังหวะ 4/4 ความเร็วอยู่ที่ 112 สังคีตลักษณ์อยู่ในรูป ABABC บรรเลงในรูปแบบของวงสตริง
คอมโบ Intro 8 ห้องแรก ทานองหลักจะอยู่ในกีต้าร์และคีย์บอร์ดบรรเลงโดยใช้ Riff ประจาเพลง
ดังรูปประกอบ

จนห้องที่ 9 จะมีการเข้ามาของเครื่องดนตรีอื่นๆ โดยคอร์ดที่ใช้ในการเล่นมีการใช้คอร์ดเพียง 3 คอร์ด


เท่านั้น คือ Dm G Am จนจบเพลง แต่ในช่วงของการเปลี่ยนท่อน จะมีการใช้คอร์ด E เพื่อส่งเข้าสู่ท่อน
ต่อไป แพทเทินของกลองชุดเป็นดิสโก้ กลองสแนร์ตกที่จังหวะ 2 และ 4 กระเดื่องเป็นตัวดา ไฮแฮทบร
รเลงในรูปแบบโน้ตเขบ็ตสองชั้นที่เน้นจังหวะ 1, 1a, 2and และ 3e ตามลาดับ
140

ท่อน A ทานองหลักจะอยู่เสียงร้อง โดยกลอง และ เบส จะเล่นในรูปแบบของ Disco ผสมกับ Rhythm


ท่อน B จะเล่นเหมือนท่อน A จนไปถึงท่อน Brige จะเล่นเบาลง โดยมีเสียงคีย์บอร์ดเสียง Organ คลอไป
กับนักร้อง

และกลับไปสู่ท่อน Chorus ใหม่ ที่จะมีการเล่นสวนขึ้นมาของกีต้าร์และคีย์บอร์ดที่เล่นโน้ต Riff หลักสวน


กับเสียงร้องจนจบเพลง
141

4.14 Treasure – Bruno Mars


4.14.1 อรรถาธิบาย
เพลง Treasure – Bruno Mars อยู่ในกุญแจเสียง อี-แฟล็ต เมเจอร์ ใช้เครื่องหมายประจาจังหวะ
4/4 อัตราความเร็ว สังคีตลักษณ์อยู่ในรูป ABAB บรรเลงในรูปแบบของวงคอมโบ (Combo) เริ่มต้นด้วย
การปิกอัพของกลองชุด ( Dum kit ) 4 จังหวะ จึงเริ่มเข้าทานองหลักของท่อนอินโทร (ดังภาพตัวอย่าง)

ในท่อนอินโทรเป็นการเล่น ยูนิซัน ( Unison ) (ดังภาพตัวอย่าง)

ถัดมาในห้องที่ 10 ทานองหลักของบทเพลงอยู่ที่นักร้องหลักโดยมีทางเดินคอร์ดดังนี้
142

IV (Abmaj7) / ii (Fm7) / iii (Gm7) / iv (Cm7) ห้องที่ 26 เป็นท่อน B ซึ่งเป็นท่อนฮุกมีการประสานของ


เครื่องเป่ามากขึ้น (ดังภาพตัวอย่าง)

เมื่อถึงห้องที่ 38 กลับเข้าสู่ท่อน A2 มีการเพิ่มยูนิซันเข้ามาเพื่อเพิ่มความน่าสนใจจนถึงห้อง 39 (ดังภาพ


ตัวอย่าง)
143

ในห้องที่ 102 – 112 จะเป็นท่อนเอาท์โทร ( Outro ) เพลงซึ่งจะมีการเปลี่ยนแปลงโน้ตของเครื่องเป่าโดย


เล่นวนทีละ 4 ห้องจนถึงห้อง 112 (ดังภาพตัวอย่าง)
144

4.15 Love on Top – Beyoncé


4.15.1 อรรถาธิบาย
เพลงเลิ ฟออนท็ อ ป (Love On Top) ศิล ปินบียอนเซ่ โนวส์ (Beyoncé Knowles) อยู่ใ น
กุญแจเสียงเอเมเจอร์ (A) ใช้เครื่องหมายประจาจังหวะ 4/4 อัตราความเร็ว 100 bpm สังคีตลักษณ์
อยู่ในรูป ABCABC บรรเลงในรูปแบบของวงคอมโบ

กีตาร์ลีดจะมีการเล่นลิ คเป็น กลุ่มโน้ตตลอดทั้งเพลง และในส่วนกีตาร์คอร์ดจะสตรัมคอร์ดดังภาพซึ่ง


ประกอบด้วยคอร์ด A D#mb5 D E F E ตั้งแต่ท่อนอินโทรถึงท่อน A แล้วก็ท่อนฮุค ส่วนท่อนพรีฮุคนั้นจะ
เป็นดังภาพข้างล่าง ประกอบด้วยคอร์ด Bm7 E7 C#m7 F#m7 Bm7 E7 C#m7 (ดังภาพตัวอย่าง)
145

ในห้องทึ่ 75 จะมีการเปลี่ยนคีย์เป็นฺคีย์ Bb เพิ่มขึ้นครึ่งเสียง (ดังภาพตัวอย่าง)


146

มีการเปลี่ยนกุญแจเสียงครั้งที่ 2 ในห้องที่ 83 ขึ้นครึ่งเสียงเป็นคีย์ Cb (ดังภาพตัวอย่าง)

ต่อมามีการเปลี่ยนกุญแจเสียงครั้งที่ 3 ในห้องที่ 91 ขึ้นครึ่งเสียงเป็นคีย์ C (ดังภาพตัวอย่าง)


147

และเปลี่ยนกุญแจเสียงครั้งสุดท้ายเปลี่ยนเป็นคีย์ Db ในห้องที่ 99

เบสกีตาร์บรรเลงพร้อมสัดส่วนของนักร้อง จากนั้นบรรเลงตามแพทเทินของเพลงดังรูป

และจะเริ่มเล่นเป็นโน้ตคู่ 8 ในท่อนพรีฮุคและท่อนฮุคหรือท่อนคอรัส

ก่อนเข้าท่อนคอรัสจะมีการเล่นโน้ตยูนิซันกันระหว่างกีตาร์ เบส และคีย์บอร์ด และเข้าท่อนคอรัสและ


ท่อนแยกต่อไป ท่อนแยกเบสก็จะยังมีการเล่นเป็นคู่ 8 อยู่และจากนั้นในท่อนเวิร์ส 2 เบสก็จะกลับมาเล่น
โน้ตตัวดาใหม่อีกรอบ พอถึงท่อนพรีคอรัสครั้งที่ 2 ก็จะเล่นเป็นคู่ 8 จนจบเพลง และเปลี่ยนคีย์จนถึงคีย์ D
148

4.16 Hip to the groove - Intermission

4.16.1 อรรถาธิบาย
ในช่วงแรกนั้นได้มีการกาหนดสัดส่วนโน้ตของสแนร์ให้อยู่ในส่วนของเขบ็ตสองชั้น ซึ่งจะมีการเน้น
จังหวะในแต่ละห้องที่แตกต่างกันไป ตามทานองของเพลงที่เปิดบรรเลงในการแสดง (ดังภาพตัวอย่าง
ด้านล่าง)

มีการใช้เทคนิคบราวส์โรล (Multiple Bounce Roll) และของหกพยางค์เข้ามาเพื่อส่งเข้าท่อน


ต่อไป (ดังภาพตัวอย่างด้านล่าง)

ในส่วนของท่อนโซโลสแนร์ มีการใช้เทคนิคที่เรียกว่า ดับเบิ้ล เข้ามาใช้เพิ่มเติม แต่ก็ยังเน้น


การใช้โน้ตเขบ็ดสองชั้นเป็นหลัก (ดังภาพตัวอย่างด้านล่าง)

มีการใช้เทคนิคดูดิเม้นสติกคอนโทนเข้ามา โดยมีการเขียนมือไว้บอกว่าตีมีข้างซ้ายหรอข้าง
ขวา (ดังภาพตัวอย่างด้านล่าง)
149

ส่วนในห้องที่ 54 จะมีการใช้เขบ็ตหนึ่งชั้นในการเล่น เนื่องจากในท่อนนี้จะให้ผู้เล่นแสดง


ท่าทางต่างๆ จึงให้เล่นโน้ตที่ไม่ซับซ้อนนัก (ดังภาพตัวอย่างด้านล่าง)

ในส่วนท้ายของเพลง มีการใช้เทคนิคของสามพยางค์เข้ามา เพื่อให้ดูแตกต่างจากท่อนอื่นๆ


ก่อนที่จะจบ โดยในส่วนนี้จะให้เล่นพร้อมกันทุกเครื่อง (unisun) (ดังภาพตัวอย่างด้านล่าง)

ในส่วนของ ฟอร์ทอม มีการเล่นโน้ตเขบ็ตสองชั้น และโน้ตตัวดา สลับกันไป เนื่องจากฟอร์


ทอมจะเป็นส่วนคอยสนับสนุนโน้ตในบางจังหวะ (ดังภาพตัวอย่างด้านล่าง)
150

ในบาท่อนฟอร์ทอมนั้นจะให้เล่นขอบกลอง คือตีไปที่ขอบกลองเพื่องสร้างเสียงที่แตกต่าง
และสั้นกว่าเดิม (ดังภาพตัวอย่างด้านล่าง)

กลองชุด ใช้การเล่นโดยใช้จังหวะที่เรียกว่า ดิสโก้ คือ การเล่นโดยใช้ตัวดาที่กระเดือง หรือ


เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า 4 on the floor ส่วนไฮแฮดเล่นโดยมีการเปิดไฮแฮดในจังหวะยก และเน้นสแนร์ใน
จังหวะที่ 2 และจังหวะที่ 4 (ดังภาพตัวอย่างด้านล่าง)
151

4.17 เป็นโสดทาไหม - สุรพล สมบัติเจริญ


4.17.1 อรรถาธิบาย
เพลงเป็นโสดทาไม อยู่ในกุญแจเสียง บี แฟล็ต เมเจอร์ ใช้เครื่องหมายประจาจังหวะ 4/4
อัตราความเร็ว 124 สังคีตลักษณ์อยู่ในรูป AAAA บรรเลงในรูปแบบของวงคอมโบ ทานองในท่อน
อินโทรสามห้องแรกกีตาร์ไฟฟ้าและเปียโนบรรเลงทานองเป็นกระสวนจังหวะเดียวกัน ก่อนที่กลุ่ม
เครื่องลมและซินธีไซเซอร์จะบรรเลงด้วยกระสวนจังหวะเดียวกัน (ดังภาพตัวอย่างด้านล่าง)
152

ทางเดินคอร์ดคือ vi – V – vi – vi – V – vi (ดังภาพตัวอย่างด้านล่าง)

ในตอน A ทานองหลักอยู่ที่นักร้อง (ดังภาพตัวอย่างด้านล่าง)


153

กลุ่มเครื่องให้จังหวะยังคงบรรเลงด้วยกระสวนจังหวะเดิมจากท่อนอินโทร (ดังภาพตัวอย่างหน้า
ถัดไป)

ในตอน B ทานองหลักอยู่ที่นักร้องและกลุ่มเครื่องให้จังหวะยังคงบรรเลงเหมือนในตอน A (ดังภาพตัวอย่าง


ด้านล่าง)

ตอน C กลุ่มเครื่องลมบรรเลงประสานทานองด้วยกระสวนจังหวะเดียวกัน (ดังภาพตัวอย่างหน้าถัดไป)


154

กีตาร์ไฟฟ้าใช้วิธีเล่นแบบตีคอร์ดตามรูปแบบที่มีการกาหนดไว้อย่างชัดเจน ประกอบไปด้วยคอร์ด
vi (Gm) V (F) และมีการบรรเลงโน้ต ในคีย์ บี แฟล็ต ไมเนอร์ สเกล
155

4.18 ไอ้หนุ่มตู้เพลง – ยอดรัก สลักใจ


4.18.1 อรรถาธิบาย
เพลง ไอ้หนุ่มตู้เพลง อยู่ในกุญแจเสียง อี ไมเนอร์ ใช้เครื่องหมายประจาจังหวะ 4/4
อัตราความเร็ว 126 สังคีตลักษณ์อยู่ในรูป AABA บรรเลงในรูปแบบของวงคอมโบ ทานองในท่อน
อินโทร 4 ห้องแรกใช้กลองชุดบรรเลงด้วยโน้ตเขบ็ตสองชั้นและตัวดา ถัดมาซินธีไซเซอร์ และ
กีตาร์ไฟฟ้าบรรเลงด้วยกระสวนจังหวะเดียวกัน เป็นจานวน 7 ห้อง (ดังภาพตัวอย่างด้านล่าง)

ต่อมาทานองหลักอยู่ที่เบสไฟฟ้า(ดังภาพตัวอย่างด้านล่าง)

ทางเดินคอร์ด คือ i – V - i – V - i – V - i – V (ดังภาพตัวอย่างด้านล่าง)


156

ตอน A ทานองหลักอยู่ที่นนักร้อง (ดังภาพตัวอย่างด้านล่าง)

กีตาร์ไฟฟ้าบรรเลงด้วยโน้ตเขบ็ตสองชั้นเป็นทานองวนไปมา (ดังภาพตัวอย่างด้านล่าง)

ในตอน C ห้องที่ 44 มีการเล่นเป็นคู่ยูนิสัน (Unison) ระหว่างกลุ่มเครื่องลมทองเหลือง


กลุ่มเครื่องลมไม้ (Woodwind section) และกีตาร์ไฟฟ้าหลังจากนั้นในห้องที่ 45-48 กลุ่มเครื่อง
เป่าจะบรรเลงทานองหลักตามต้นฉบับเดิมของเพลงก่อนเข้าตอน D
157

ในตอน D กีตาร์ไฟฟ้ามีการแบ่งรูปแบบการบรรเลงกันอย่างชัดเจน กีตาร์ตัวแรกใช้วิธี


เล่นแบบตีคอร์ดประกอบด้วยคอร์ด i (Em) V (B) และ iv (Am) โดยทางเดินคอร์ดคือ i – V - iv
– V - i กีตาร์ตัวที่สองจะบรรเลงด้วยกระสวนจังหวะเดียวกันวนไปมา
158

ตอน G ทานองหลักจะถูกบรรเลงโดยกลุ่มเครื่องลม (ดังภาพตัวอย่าง)

ตอน J เป็นท่อนสุดท้ายของเพลง (ห้อง115-123) มีลักษณะคล้ายกับท่อนอินโทร ห้องที่


123 เป็นห้องสุดท้าย มีการบรรเลงยูนิสันระหว่างกีตาร์ไฟฟ้า 2 ตัว และเบสไฟฟ้าด้วยโน้ตเขบ็ต
หนึ่ ง ชั้ น โดยบรรเลงเป็ น โครมาติ ก สเกล (Chromatic Scale) สลั บ กั น 1 ช่ ว งคู่ แ ปด ซึ่ ง
ประกอบด้วยโน้ต D - D และ D# - D# เพื่อจบบทเพลง
159

4.19 หนูไม่ยอม - หฤทัย หิรัญญา


4.19.1 อรรถาธิบาย
เพลง หนูไม่ยอม อยู่ในกุญแจเสียง D เมเจอร์ ใช้เครื่องหมายประจาจังหวะ 4/4 อัตรา
ความเร็ว สังคีตลักษณ์อยู่ในรูป AABAABA บรรเลงในรูปแบบของวงคอมโบ ทานองในท่อนอิน
โทรในจังหวะสี่ยก ซินธิไซเซอร์จะปิ๊กอัพเข้ามา จากนั้นกลองชุดเข้าจังหวะที่หนึ่งพร้อมริธิมถัดมา
กลุ่มเครื่องลมทองเหลืองและกลุ่มเครื่องลมไม้บรรเลงด้วยโมทีฟเดียวกัน (ดังภาพตัวอย่าง)

ทางเดินคอร์ดแบ่งเป็น 2 แบบ คือ


แบบที่ 1 I-I-ii-V

แบบที่ 2 I-I-V-I
160

กลุ่มเครื่องลมบรรเลงประสานทานองหลักด้วยกระสวนจังหวะเดียวกัน (ดังภาพตัวอย่างด้านล่าง)

ห้องที่ 18 อิเล็กทริกกีต้าร์ใช้วิธีเล่นตามรูปแบบที่มีการกาหนดไว้อย่างชัดเจน( ดังภาพตัวอย่างด้านล่าง)

ทางเดินคอร์ดใน ตอน B คือ IV-IV-V-I-I-I-V


161

4.20 ผู้ชายในฝัน – พุ่มพวง ดวงจันทร์


4.20.1 อรรถาธิบาย
เพลง ผู้ ช ายในฝั น อยู่ ในกุญแจเสี ยง เอฟ เมเจอร์ ใช้เครื่องหมายประจาจัง หวะ 4/4 อัตรา
ความเร็ว 128 bpm สังคีตลักษณ์อยู่ในรูป AAAA บรรเลงในรูปแบบของวงคอมโบ ทานองในท่อนอินโทร
เริ่มด้วยแพทเทินที่เรียบง่าย เบสไฟฟ้าและกลองชุด บรรเลงพร้อมกันในท่อนอินโทรและต่อมาทุกเครื่อง
บรรเลงเป็นกระสวนจังหวะเดียวกัน

ทางเดินคอร์ดคือ I – ii – V – I – I – vii – V - V
162

กลุ่มเครื่องลมบรรเลงโน้ตยูนิซัน และกลุ่ม กลุ่มเครื่องประกอบจังหวะ บรรเลงทานองกระสวน


จังหวะกัน ในห้องที่ 8 (ดังภาพด้านล่าง)
163

ในห้องที่ 105 – 108 ได้ใช้การเปลี่ยนคีย์จาก F เป็น A (ดังภาพตัวอย่างด้านล้าง)


164

4.21 สาวอีสานรอรัก – อรอุมา สิงห์ศิริ


4.21.1 อรรถาธิบาย
เพลงสาวอีสานรอรัก อยู่ในกุญแจเสียง ดี เมเจอร์ ใช้เครื่องหมายประจาจังหวะ 4/4
อัตราความเร็ว 125 bpm สังคีตลักษณ์อยู่ในรูป AABAC บรรเลงในรูปแบบของวงคอมโบ ทานอง
ในท่อนอินโทร ห้องที่ 1 ถึงห้องที่ 4 กลองชุดบรรเลงด้วยโน้ตเขบ็ตสองชั้น (ดังภาพตัวอย่าง)

ต่อมากลุ่มเครื่องลมบรรเลงประสานทานองโดยเป็นกระสวนจังหวะเดียวกันโดยเทเนอร์
แซ็กโซโฟนบรรเลงประสานด้วยคู่สาม (ดังภาพตัวอย่างด้านล่าง)
165

ห้องที่ 13 ก็จะเข้าสู่ท่อน A โดยกีต้าร์ไฟฟ้าจะมีการตีคอร์ดโดยบรรเลงเป็นโน้ตตัวเขบ็ต


1 ชั้น และโน้ตตัวเขบ็ต 2 ชั้น มีการใช้เทคนิคการบรรเลงโน้ตให้สั้นลงจากปกติและเทคนิคการอุดสายจน
มาถึงห้องที่ 31 ก็จะเป็นจุดพักประโยคเพลง (ดังภาพหน้าถัดไป)

ตอน C ทานองหลักอยู่ที่กีต้าร์ไฟฟ้ามีการบรรเลงด้วยเทคนิคเสียงสั้น และกลองชุดบรรเลงด้วยโน้ตเขบ็ต


สองชั้น (ดังภาพตัวอย่างด้านล่าง)
166

4.22 The Sound Of Philadelphia – MFSB


4.22.1 อรรถาธิบาย

ท่อนอินโทรในห้องที่ 1 ถึง ห้องที่ 2 กลุ่มเครื่องลมไม้บรรเลงทานองหลัก โดยห้องที่ 3 มี


กลุ่มเครื่องลมทองเหลืองคอยบรรเลงรับตามทานองหลัก (ดังภาพตัวอย่างด้านล่าง)
167

ในตอน A จะเล่นตัวโน้ตเดี่ยวเป็นฉากหลังของเพลงทาให้มีมิติ วนไปจนจบเพลง โดยมีการเล่นที่ให้กระชับ


คอร์ด ประกอบไปด้วยคอร์ด (C – Am - G7(sus4) - Cm6)

ในแต่ละคอร์ดของเพลงจะใช้การเดินเบสเป็นโน้ตตัวเขบ็ต ตามจังหวะของกลอง เป็นส่วนใหญ่ มี


จังหวะ(Groove) ที่ชัดเจนโดยการเล่นคอร์ดโทนในแต่ละคอร์ด ใช้จังหวะที่กระชับเพื่อให้มีความเหมาะสม
กับรูปแบบเพลงดิสโก้

การเล่นเป็นคอร์ด เล่นเป็นเสียงเครื่องสาย (String Piano) วนไปเรื่อยๆจนจบเพลง ทาให้เพลงดู


มีมิติ คอร์ดประกอบไปด้วยคอร์ด (C – Am - G7(sus4) - Cm6)
168

ในท่อน B ทานองหลักจะอยู่ที่กลุ่มเครื่องลมไม้และมีกลุ่มเครื่องทรอมโบนบรรเลงรับตามทานองหลัก (ดัง


ภาพตัวอย่างด้านล่าง)
169

ในตอน C กลุ่มเครื่องลมทองเหลืองบรรเลงประสานทานองหลัก และกลุ่มเครื่องลมไม้บรรเลง


เป็นคอร์ดประคองทานองหลัก (ดังภาพตัวอย่างด้านล่าง)
170

ห้องที่ 53 กลุ่มเครื่องลมไม้ยังคงบรรเลงตามเดิม แต่จะมีกลุ่มเครื่องทรอมโบนเข้ามารับทานอง


หลักเป็นกระส่วนจังหวะเดียวกัน (ดังภาพตัวอย่างด้านล่าง)
171

ห้องที่ 58 กลุ่มเครื่องลมไม้มีการเปลี่ยนทานองหลั กโดยบรรเลงเป็นกระส่วนจังหวะทั้งหมด และกลุ่ม


เครื่องลมทองเหลืองบรรเลงกระส่วนจังหวะคอยสอดแทรกกับทานองหลักของกลุ่มเครื่องลมไม้
172

ตอน F กลุ่มเครื่องลมไม้และกลุ่มเครื่องทรัมเป็ตสลับกันบรรลงโน้ตทานองหลัก (ดังภาพตัวอย่าง


ด้านล่าง)
173

ห้องที่ 82 กลุ่มเครื่องทรัมเป็ตบรรเลงทานองหลัก ห้องถัดมากลุ่มเครื่องลมไม้และกลุ่มเครื่องทรัมเป็ต


บรรเลงกระส่วนจังหวะเดียวกันและรับกับทานองหลัง เพื่อบรรเลงโน้ตในห้องสุดท้าย ทุกเครื่องดนตรีเล่น
กระส่วนเดียวกันถือเป็นการจบเพลง
174

4.23 I Will Survive - Gloria Gaynor


4.23.1 อรรถาธิบาย
อินโทรเล่นในลักษณะ อาร์เพจจิโอมาในสองห้องแรก เหมือนเป็นการเกริ่นก่อนเข้าท่อน
ร้อง ซึ่งเป็นเอกลักษณ์ของเพลงนี้ (ดังภาพตัวอย่างด้านล่าง)

ทางเดินคอร์ดคือ i – vi – i – V (Cm – Fm – Cm - G)
175

ในแต่ละคอร์ดของเพลงจะใช้การซ้าโน้ต และมีการเดินเบสเป็นโน้ต ตัวดา ตามจังหวะของกลอง


เป็นส่วนใหญ่ โดยมีการเล่นแบบครึ่งเสียงเป็นคู่แปด

ในท่อน B กลุ่มเครื่องทรอมโบนบรรเลงกระส่วนจังหวะโดยบรรเลงด้วยโน้ตในจังหวะขัด และ


บรรเลงประคองกับทานองหลัก เล่นความดังในระดับเบาปานกลาง เพื่อรองรับคาร้อง (ดังภาพตัวอย่าง
ด้านล่าง)
176

ตอน C กลุ่มเครื่องลมไม้และกลุ่มเครื่องทรอมโบนบรรเลงทานองสอดประสานกับ และกลุ่มเครื่องทรัมเป็ต


บรรเลงทานองสอดแทรกกับทานองหลัก (ดังภาพตัวอย่างด้านล่าง)
177

ตอน D ทรัมเป็ตและทรอมโบนจะบรรเลงเป็นโมทีฟตามภาพเล่นความดังในระดับเบาป่นกลาง เพื่อรองรับ


คาร้อง
178

4.24 Hot Stuff - Donna Summer


4.24.1 อรรถาธิบาย
กลุ่มเครื่องลมในท่อนอินโทร กีตาร์จะบรรเลงเป็นทานองหลักและมีกลุ่มเครื่องลมไม้และ
กลุ่มเครื่องทรอมโบนบรรเลงกระสวนจังหวะเดียวกันรองรับกับทานองหลัก
179

ท่อนอินโทร ประกอบไปด้วยคอร์ด (Gm – F – Gm - F ) ท่อน B ประกอบไปด้วยคอร์ด (Cm – Dm -


Gm ) และ ท่อน C ประกอบไปด้วยคอร์ด (Dm – F – Gm – Am ) (ดังภาพตัวอย่างด้านล่าง)

ต่อมากลุ่มเครื่องลมบรรเลงทานองหลักเป็นกระสวนจังหวะเดียวกันทั้งหมด
180

ในห้ องที่ 56 แซกโซโฟนและทรอมโบนจะบรรเลงเป็นโมทีฟเดียวกันเพื่ อรับกับ ทานองหลั ก(ดั ง ภาพ


ตัวอย่างด้านล่าง)
181

ในแต่ละคอร์ดของเพลงจะใช้การซ้าโน้ต และมีการเดินเบสเป็นโน้ตตัวดา ตามจังหวะของกลอง


เป็นส่วนใหญ่ และมีการเดินเบสแบบดีดสลับสายเป็นคู่แปด ใช้จังหวะที่กระชับเพื่อให้มี ความเหมาะสมกับ
รูปแบบเพลงดิสโก้

ตอน G กลุ่มเครื่องลมบรรเลงรองรับกับทานองหลักที่อยู่ในคาร้อง(ดังภาพตัวอย่างหน้าถัดไป)
182
183

ในห้องที่ 75 เครื่องเป่าลากเสียงค้างไว้แล้วค่อย ๆ เบาลงจากนั้นส่งเข้าเพลงถัดไป


184

4.25 Ring My Bell - Anita Ward


4.25.1 อรรถาธิบาย
ท่อนอินโทร ทานองหลักจะที่อัลโต้แซกโซโฟนและทรัมเป็ตแนวที่ 2 และ 3 ก่อนจะมีเท
เนอร์ 1,2 บาริโทนแซ็ก และ ทรอมโบน 1 2 3 คอยรับกับทานองหลัก (ดังภาพตัวอย่างด้านล่าง)

ทางเดินคอร์ดคือ i -iv -i -V (Cm – Fm – Cm - G ) บรรเลงวนไปเรื่อย ๆ จนจบเพลง (ดังภาพ


ตัวอย่างหน้าถัดไป)
185

ตอน I ในแต่ละคอร์ดของเพลงจะใช้การตบเบส (Slap) และมีการเดินเบสเป็นโน้ตตัวเขบ็ต ตาม


จังหวะของกลอง เป็นส่วนใหญ่ และมีการเดินเบสแบบดีดสลับสายเป็นคู่แปด ใช้จังหวะที่กระชับเพื่อให้มี
ความเหมาะสมกับรูปแบบเพลงดิสโก้
186

ตอน K กลุ่มเครื่องอัลโต้แซกโซโฟนและกลุ่มเครื่องทรอมโบนบรรเลงทานองประสานกับทานองหลัก
187

ในห้องที่ 3 ของท่อน K จะมีทรัมเป็ตและเทนเนอร์แซกโซโฟนคอยบรรเลงรับกับทานองของอัลโต้แซก


โซโฟนและทรอมโบน (ดังภาพตัวอย่างด้านล่าง)
188

ในห้องที่ 110 เครื่องเป่าจะเล่นในโมทีฟเดียวกันเพื่อส่งเข้าเพลงถัดไป


189

4.26 Lady Bump - Penny McLean


4.26.1 อรรถาธิบาย
ในท่อนอินโทร มีกลุ่มเครื่องอัล โต้แซกโซโฟนและเทนเนอร์แซกโซโฟนบรรเลงเป็นโมทีฟ
เหมือนภาพเพื่อเป็นการรองรับทานองกับคาร้อง และทรอมโบนบรรเลงเป็นส่วนโน้ตตามภาพ

มีการเดินเบสเป็นโน้ตตัวดาสลับกับเขบ็ต1ชั้น ตามจังหวะของกลอง เป็นส่วนใหญ่ และมีการเดิน


เบสแบบดีดสลับสายเป็น (1-5-6-1) ใช้จังหวะที่กระชับเพื่อให้มีความเหมาะสมกับรูปแบบเพลงดิสโก้
190

ทางเดินคอร์ดคือ I – Vi -IV -V (C – Am – F - G )

ในห้องที่ 126 เครื่องลมทั้งหมดจะเล่นในโมทีฟเดียวกัน (ดังภาพตัวอย่างด้านล่าง)


191

ในห้องที่ 136 เครื่องลมทั้งหมดจะเล่นในโมทีฟเดียวกัน และส่งเข้าเพลงใหม่(ดังภาพตัวอย่าง


ด้านล่าง)
192

4.27 Funkytown - Lipps Inc


4.27.1 อรรถาธิบาย
ในท่อนอินโทร กลุ่มเครื่องลมทั้งหมดยกเว้นเทนเนอร์แซกโซโฟนที่จะเป็นเครื่อง solo
193

การเล่นเป็นคอร์ดทั้งเพลง ทาให้เพลงดูแข็งแรงขึ้น ไม่มีการเล่นทานอง ประกอบไปด้วยคอร์ด (Cm - C7)

เป็นการเล่นคอร์ด (Chord) ตามจังหวะของเพลง คอร์ด ประกอบไปด้วยคอร์ด (Cm - C7) และ


ในท่อนฮุก (Chorus) ดีดสลับคอร์ดขึ้นลงแบบเน้น ทาให้รู้ว่าเป็นท่อนฮุกแล้ว ทาให้เพลงมีมิติมากขึ้น
194

ในแต่ ล ะคอร์ ด ของเพลงจะใช้ ก ารซ้ าโน้ ต โดยมี ก ารเดิ น เบสเป็ น โน้ ต เขบ็ ต 1ชั้ น เป็ น คู่ แ ปด
(Octave) ตามจั งหวะของกลอง เป็นส่ ว นใหญ่ และมีการเล่ นแบบครึ่งเสี ยงเป็นคู่แปด(Chromatic &
Octave)เพื่อเป็ น การส่ งไปยั งคอร์ ดต่อไปในท่อนฮุก (Chorus) และใช้จังหวะที่กระชับเพื่อให้ มีความ
เหมาะสมกับรูปแบบเพลงดิสโก้

ตอน S อัลโต้แซกโซโฟนจะบรรเลงกระสวนจังหวะ เพื่อเป็นการล้อทานองร้อง (ดังภาพตัวอย่าง


ด้านล่าง)
195

4.28 Y.M.C.A. - Village People


4.28.1 อรรถาธิบาย

ในท่อนอินโทร จะมีพาสแซกโซโฟนบรรเลงขึ้นมาก่อนและมีพาสทรอมโบนบรรเลงลาก
ยาวเพื่อเป็นการรองรับกับพาสแซกโซโฟน และทรัมเป็ตเข้ามารับในช่วงของทานอง (ดังภาพ
ตัวอย่างด้านล่าง)

ทางเดินคอร์ดคือ I - V - vi – ii – IV คอร์ดประกอบไปด้วย (Ab – E+ - Fm - Fmi/Ab-A - Bbmi


- Bbmi(ma7) - Bbmi7 - Bbmi6 - Db/Eb) คอร์ดทั้งเพลง ทาให้เพลงดูแข็งแรงขึ้น ไม่มีการเล่นทานอง
196

ในแต่ ล ะคอร์ ด ของเพลงจะใช้ ก ารซ้ าโน้ ต โดยมี ก ารเดิ น เบสเป็ น โน้ ต เขบ็ ต 1ชั้ น เป็ น คู่ แ ปด
(Octave) ตามจั งหวะของกลอง เป็นส่ ว นใหญ่ และมีการเล่ นแบบครึ่งเสี ยงเป็นคู่แปด(Chromatic &
Octave)เพื่อเป็ น การส่ งไปยั งคอร์ ดต่อไปในท่อนฮุก (Chorus) และใช้จังหวะที่กระชับเพื่อให้ มีความ
เหมาะสมกับรูปแบบเพลงดิสโก้
197

ห้องที่ 212 เครื่องลมจะบรรเลงเป็นโมทีฟเดียวกันตามภาพเพื่อส่งเข้าท่อนหลัก


198

4.29 Last dance – Donna Summer


4.29.1 อรรถาธิบาย
ท่อนอินโทร ในห้องแรกพาสทรอมโบนจะบรรเลงลากยาวมาเพื่อรับกับคาร้องตามภาพ

ทางเดินคอร์ดในท่อนอินโทร จะมีเปียโน เบสกีตาร์ ทางเดินคอร์ด คือ I VI V I ดังภาพตัวอย่าง


199

ส่วนใหญ่เป็นการเล่นเป็นคอร์ดและเป็นเมโลดี้(Melody) เล่นเป็นเสียงเครื่องสาย (String Piano)


เล่นเป็นฉากหลัง วนไปเรื่อยๆจนจบเพลง ทาให้เพลงดูมีมิติ คอร์ดประกอบไปด้วยคอร์ด (Abmaj7 –
Bb7/Ab – Gm7 – Cm7 – Abmaj7 - Bb7/Ab – Gsus4 – G7 – Cm7 – F9)
200

เป็นการเล่นคอร์ด (Chord) ตามจังหวะของเพลง ตัวอย่างคอร์ดในท่อน A ประกอบไปด้วยคอร์ด


(Abmaj7 – Bb7/Ab – Gm7 – Cm7 – Abmaj7 - Bb7/Ab – Gsus4 – G7 – Cm7 – F9)

ในแต่ละคอร์ดของเพลงจะใช้การเดินเบสเป็นโน๊ตตัวเขบ็ต ตามจังหวะของกลอง เป็นส่วนใหญ่ มี


กรูฟ (Groove) ที่ชัดเจนโดยการเล่นคอร์ดโทนในแต่ละคอร์ด ใช้จังหวะที่กระชับเพื่อให้มีความเหมาะสม
กับรูปแบบเพลงดิสโก้
201

ในห้องที่ 26 เครื่องลมบรรเลงเป็นโมทีฟเดียวกันจากนั้นบรรเลงเป็นตัวกลมและตามด้วย
โมทีฟตามภาพ เพื่อส่งเข้าท่อนร้อง
202

ในห้องที่ 50 เครื่องลมจะบรรเลงเป็นโมทีฟเดียวกัน จากนั้นตามด้วยการบรรเลงเป็นตัว


ดาโดยมีพาสทรอมโบนและบาริโทนแซกโซโฟนบรรเลงตัวกลมเพื่อให้กับเครื่ องลมจากนั้นเครื่อง
ลมทั้งหมดบรรเลงเป็นโมทีฟเดียวกันเพื่อส่งเข้าโซโล่ (ดังภาพตัวอย่างด้านล่าง)
203

ในท่อน G ทานองหลักจะอยู่ที่พาสแซกโซโฟนและในพาสทรัมเป็ตและพาสทรอมโบนจะบรรเลง
เป็นโมทีฟเดียวกันเพื่อเป็นการล้อทานองหลัก (ดังภาพตัวอย่างหน้าถัดไป)
204

ในห้องที่ 77 เครื่องลมทั้งหมดจะบรรเลงเป็นโมทีฟเดียวกัน ยกเว้นบาริโทน กับทรอมโบน เพื่อเตรียมจบ


เพลงในห้องที่ 82 (ดังภาพตัวอย่างด้านล่าง)
บทที่ 5
สรุปผลและข้อเสนอแนะ

5.1 ผลการดาเนินโครงการ
โครงการจัดการแสดงดนตรี Music Project # 16 ของนักศึกษาชั้นปีที่ 4 คณะศิลปกรรมศาสตร์
สาขาดุริยางคศิลป์ แขนงวิชาดนตรีตะวันตก ประจาปีการศึกษา 2560 เมื่อวันที่ 20 และ วันที่ 24 เมษายน
พ.ศ. 2561 ณ โรงละครคณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น โดยมีวัตถุประสงค์ดังนี้
1. เพื่อพัฒนาศักยภาพการแสดงดนตรีของนักศึกษาชั้นปีที่ 4 สาขาวิชาดุริยางคศิลป์ แขนงวิชา
ดนตรีตะวันตก
2. เพื่อให้นักศึกษาได้ฝึกกระบวนการบริหารจัดการในการจัดการแสดงดนตรี
3. เพื่อเป็นการเผยแพร่ความรู้และศิลปวัฒนธรรมด้านดนตรีตะวันตกสู่สาธารณะชน
4. เพื่อให้นักศึกษาได้ประสบการณ์การทางานร่วมกับบุคลากร และหน่วยงานต่าง ๆ ทั้งภาครัฐ
และเอกชน

ผลจากการเก็บข้อมูลจากแบบประเมิน
ผู้ตอบแบบประเมินมีจานวนทั้งสิ้น 70 คน เป็นเพศชาย จานวน 36 คน (คิดเป็นร้อยละ 51.42)
และเป็นเพศหญิง จานวน 34 คน (คิดเป็นร้อยละ 48.57) สถานภาพนักศึกษา จานวน 54 คน (คิดเป็น
ร้อยละ 77.14) รองลงมาเป็นอื่น ๆ (ผู้ปกครอง, บุคคลภายนอก) จานวน 12 คน (คิดเป็นร้อยละ 17.14)
และอาจารย์หรือบุคลากรภายในมหาวิทยาลัย จานวน 4 คน (คิดเป็นร้อยละ 5.71) รายละเอียดดังตาราง
ที่ 1
206

ตารางที่ 1
ข้อมูลทั่วไป จานวน ร้อยละ

ชาย 36 51.42
เพศ
หญิง 34 48.57

รวม 70 100

นักศึกษา 54 77.14

สถานภาพ บุคลากรภายในมหาวิทยาลัย 4 5.71

อื่น ๆ (ผู้ปกครอง, บุคคลภายนอก) 12 17.14

รวม 70 100

ความคิดเห็นของผู้ตอบแบบประเมิน เมื่อพิจารณาแต่ละรายการพบว่า ความคิดเห็นเฉลี่ยสูงสุด


คือ การแสดงมีความน่าสนใจ (𝑥̅ = 4.71) ความคิดเห็นรองลงมาสามอันดับแรกได้แก่ บรรยากาศ
สถานที่จัดงานมีความเหมาะสม สถานที่จัดมีความเหมาะสม และบทเพลงมีความน่าสนใจเข้าถึงได้ง่าย
สาหรับความคิดเห็นต่าสุด คือ สถานที่จอดรถมีความเหมาะสมเพียงพอ (𝑥̅ = 3.85) รายละเอียดดัง
ตารางที่ 2
207

ตารางที่ 2

ที่ รายการประเมิน ค่าเฉลี่ย x ความหมาย

1 สถานที่จัดมีความเหมาะสม 4.57 ดีมาก

2 บรรยากาศสถานที่จัดงานมีความเหมาะสม 4.6 ดีมาก

3 ช่วงวันเวลาที่จัดมีความเหมาะสม 4.45 ดีมาก

4 การแสดงมีความน่าสนใจ 4.71 ดีมาก

5 การประชาสัมพันธ์ของงาน 4.37 ดีมาก

6 ระบบแสง สี เสียง มีความเหมาะสม 4.45 ดีมาก

7 ความประทับใจต่องาน 4.57 ดีมาก

8 ทางเดินเข้างานมีความชัดเจน เห็นง่าย 4.31 ดีมาก

9 บทเพลงมีความน่าสนใจ เข้าถึงได้ง่าย 4.48 ดีมาก

10 สถานที่จอดรถมีความเหมาะสมเพียงพอ 3.85 ดี
208

หลักเกณฑ์คะแนนที่ใช้ในการประเมินผล
โดยเฉลี่ยทุกรายการคาถามเป็นแบบมาตราประมาณค่า ( Likert Scale )
ค่าเฉลี่ยระหว่าง 4.21 – 5.00 อยู่ในเกณฑ์ ดีมาก

ค่าเฉลี่ยระหว่าง 3.41 – 4.20 อยู่ในเกณฑ์ ดี

ค่าเฉลี่ยระหว่าง 2.61 – 3.40 อยู่ในเกณฑ์ ปานกลาง

ค่าเฉลี่ยระหว่าง 1.81 – 2.60 อยู่ในเกณฑ์ น้อย

ค่าเฉลี่ยระหว่าง 1.00 – 1.80 อยู่ในเกณฑ์ น้อยที่สุด

ซึ่งจากการสรุปผลของการแสดงในครั้งออกมาอยู่ในเกณฑ์ที่ดีมาก แต่ก็ยังคงมีปัญหาในเรื่องของ
สถานที่จอดรถี่ความเหมาะสมเพียงพอที่ออกมาอยู่ในเกณฑ์ดีเพียงเท่านั้น ซึ่งการจัดการแสดงในครั้งต่อไป
ควรนาไปปรับปรุงให้ดียิ่งขึ้น

5.2 สรุปผลการทากิจกรรม
5.2.1 นักศึกษาชั้นปีที่ 4 ได้ใช้ความรู้ที่ศึกษาหาความรู้มาตลอด 4 ปี มาใช้อย่างเต็มที่เช่น การ
เขียนเรียบเรียงเพลงใหม่โดยการใช้ความรู้ทางทฤษฎีดนตรีอย่างเต็มที่ แสดงทักษะความสามารถทางด้าน
ดนตรีของตัวเองอย่างเต็มที่ แสดงศักยภาพด้านการทางานเป็ นอย่างดีเยี่ยมอีกทั้งมอบความสุขให้ กับผู้
ที่มาชมการแสดงคอนเสิร์ตในงานได้อีกด้วย
5.2.2 ได้เผยแพร่บทเพลงบรรเลงดิสโก้ในยุค 70-80 บทเพลงดิสโก้ในยุคสมัยปัจจุบัน การนาบท
เพลงดิสโก้ในยุคสมัยเก่ามาเรียบเรียงใหม่ให้อยู่ในรูปแบบของการบรรเลงในวงบิกแบนด์ และการนาบท
เพลงลูกทุ่งอมตะมาเรียบเรียงใหม่ให้อยู่ในรูปแบบดนตรีดิสโก้ เพื่อเป็นการนาเสนอบทเพลงและความ
แตกต่างของดนตรีดิสโก้ในแต่ละยุคสมัยจากอดีตจนถึงปัจจุบัน
209

5.3 ปัญหาและข้อเสนอแนะในการจัดโครงการ
5.3.1 ปัญหาการประชาสัมพันธ์และการออกแบบสื่อประชาสัมพันธ์
- ประชาสัมพันธ์ล่าช้า
- ประชาสัมพันธ์ไม่ทั่วถึงแก่กลุ่มเป้าหมายหลัก
- การประชาสัมพันธ์ไม่สม่าเสมอ
- การติดตามงานจากผู้ออกแบบเป็นไปได้ล่าช้า ส่งผลให้ระยะเวลาในการประชาสัมพันธ์
ลดน้อยลง จึงไม่เป็นไปตามแผนที่ได้วางไว้
- การประชาสัมพันธ์ทางไวนิลมีระยะเวลาในการประชาสัมพันธ์น้อย เนื่องจาก
ข้อกาหนดของทางมหาวิทยาลัยที่ให้ติดได้ในระยะเวลา 15 วันนับจากวันจัดงานย้อนกลับมา
- มีการตรวจสอบงานไม่รอบคอบทาให้ข้อมูลผิดพลาด
- มีการเข้าปรึกษากับอาจารย์ที่ปรึกษาน้อยในการตรวจสอบความถูกต้องเหมาะสมของ
สื่อประชาสัมพันธ์
- สูจิบัตรขาดข้อมูลบางส่วน
ข้อเสนอแนะในการแก้ปัญหา
- ควรมีการวางแผนการประชาสัมพันธ์ให้รอบคอบมากยิ่งขึ้น เช่น การประชาสัมพันธ์
ผ่ า นเว็ บ ไซต์ ม หาวิ ท ยาลั ย หรื อ เว็ บ ไซต์ ค ณะศิ ล ปกรรมศาสตร์ การประชาสั ม พั น ธ์ ผ่ า นจอ
ประชาสัมพันธ์ของมหาวิทยาลัย หรือการส่งเสียงโฆษณาผ่านวิทยุของมหาวิทยาลัย เป็นต้น
- ควรเน้นประชาสัมพันธ์กับกลุ่มเป้าหมายหลัก คือ นักศึกษาในมหาวิทยาลัย
- ควรมีผู้ควรติดตามข่าวสารว่าการประชาสัมพันธ์ยังส่งไปไม่ทั่วถึงกลุ่มเป้าหมายรองอื่น

- ควรมีการเข้าปรึกษากับอาจารย์ที่ปรึกษาเรื่องความถูกต้องและเหมาะสมของสื่อ
ประชาสัมพันธ์บ่อยยิ่งขึ้น
- ควรมีผู้รับผิดชอบในการตรวจสอบสื่อต่าง ๆ อย่างน้อย 3 คน เพื่อความรอบคอบและ
ป้องกันความผิดพลาดของข้อมูล
210

- ควรมีการประสานงานล่วงหน้ากับฝ่ายออกแบบเพื่อให้งานออกแบบเสร็จตาม
กาหนดเวลา
- ควรวางแผนระยะเวลาให้ดี เพื่อหากเกิดข้อผิดพลาดกับสื่อประชาสัมพันธ์จะได้
สามารถแก้ไขได้ทัน
5.3.2 ปัญหาด้านสถานที่
- จานวน Staff ที่ทาหน้าที่ดูแลที่จอดรถไม่เพียงพอ
- ไม่มี Staff คอยให้คาแนะนาทางผู้เข้าร่วมกิจกรรมในเส้นทางภายในสถานที่จัดงาน
ข้อเสนอแนะในการแก้ปัญหา
- ควรมีการประชุมและพูดคุยกับ Staff ที่ทาหน้าที่ควบคุมดูแลที่จอดรถให้ชัดเจนใน
หน้าที่ที่ต้องทา
- ควรมีการขอความช่วยเหลือจากนักศึกษาสาขาอื่นให้มาช่วยเป็น Staff
- ควรวางแผนฉากเวที ใ ห้ ร อบคอบ มี ค วามพร้ อ มและแข็ ง แรงมากพอที่ จ ะไม่ เ กิ ด
ข้อผิดพลาดก่อนการแสดง หากเกิดข้อผิดพลาดขึ้นควรมีฝ่าย Staff ที่คอยรับผิดชอบ
- ควรมี Staff ในการแนะนาเส้นทางในสถานที่จัดงาน
5.3.3 ปัญหาในการซ้อมและการประชุม
- การมาซ้อมช้า และการมาประชุมช้า
- การขาดหรือลาซ้อมและประชุมบ่อย
- การไม่เตรียมตัวก่อนมาซ้อม หรือไม่รับผิดชอบแก้ไขในส่วนที่ตนต้องรับผิดชอบ
- การประชุมไม่ครอบคลุมแต่ละฝ่ายงาน จึงไม่ทราบความคืบหน้าของงานฝ่ายหนึ่งฝ่าย
ใดในบางครั้ง
- เวลาว่างของนักดนตรีรับเชิญมีน้อยในการมาซ้อมร่วมกับนักดนตรีหลัก
- การซ้อมแบบเต็มวง มีเวลาน้อยเพราะเวลาว่างของนักดนตรีไม่ตรงกัน
ข้อเสนอแนะในการแก้ปัญหา
- ควรมีการสร้างข้อตกลง และบทลงโทษในการมาซ้อมและประชุมช้า
211

- ควรมีการทาความเข้าใจและให้ความสาคัญกับงานมากกว่าเรื่องส่วนตัวบางอย่างใน
การมาซ้อมและประชุม เพื่อลดการขาดซ้อมหรือขาดประชุม
- นักดนตรีควรมีความรับผิดชอบในการแกะเพลงในส่วนของตนเองเพื่อที่เวลาซ้อมจะได้
มีความคืบหน้า
- การมีนักดนตรีรับเชิญควรตรวจสอบความพร้อมของเวลาว่างในการซ้อมอย่างมาก
เพื่อให้มีเวลาซ้อมที่เพียงพอ
- ควรจัดตารางซ้อมให้มีเวลาซ้อมที่เต็มวงมากขึ้น เพื่อให้บทเพลงออกมาสมบูรณ์ยิ่งขึ้น
ในวันแสดง
5.3.4 ปัญหาฝ่ายเอกสารวิชาการ
- การติดตามงานภายในชั้นปีไม่เป็นไปตามกาหนด
- ปัญหาของการใช้คาและการตัดต่อรูปภาพที่ไม่เหมือนกันทาให้ขาดความเรียบร้อย
- เอกสารที่ใช้ติดต่อต่าง ๆ เป็นไปด้วยความล่าช้าเนื่องจากระบบภายในสานักงานและ
ภาระงานต่าง ๆ
ข้อเสนอแนะในการแก้ปัญหา
- ควรมีการติดตามทวงงานให้มากขึ้น
- นักศึกษาภายในชั้นปีควรให้ความสาคัญของการทาเล่มให้มากขึ้น
- ควรเข้าไปตามงานเอกสารที่สานักงานคณบดีให้บ่อยขึ้น
5.3.5 ปัญหาฝ่ายการเงิน
- การเก็บเงินในรุ่นมีความล่าช้า และไม่ตรงตามวันที่กาหนดไว้ จึงทาให้ได้จ่ายเงินเป็น
ก้อนและทาให้บางคนไม่มีเงินสาหรับจ่ายเป็นก้อนอีกด้วย
- การหาสปอนเซอร์ล่าช้า เนื่องจากยังไม่ได้มีการกาหนดวันแสดงที่แน่นอน จึงทาให้
เขียนหนังสือทาเรื่องส่งถึงสปอนเซอร์ไม่ได้ เพราะการเขียนถึงสปอนเซอร์นั้นจะต้องระบุวันที่จัด
แสดงให้ชัดเจน
212

- งบประมาณของฝ่ายจัดการชุดสาหรับใช้ในการแสดงเกินมาจากที่กาหนดไว้ จึงทาให้
ต้องมีการนาเงินส่วนตัวมาใช้จ่ายแทน
- การซื้อของแล้วไม่มีใบเสร็จ จึงทาให้มีการคานวณเงินมีความล่าช้าเนื่องจากต้องตามว่า
ซื้ออะไรมาบ้างที่ไม่ได้ใบเสร็จมา
- ขาดการวางแผนงานของการใข้งบประมาณในแต่ละฝ่าย
- ขาดการสารองเงินเผื่อการใช้ในการซื้อสิ่งขอวเบ็ดเตล็ดที่จาเป็นต่อการจัดงาน
ข้อเสนอแนะในการแก้ปัญหา
- ฝ่ายการเงินควรมีความเด็ดขาดในการจัดการเก็บเงิน
- ทุกฝ่ายควรปรึกษาหากันหาวันที่แน่ชัดและแน่นอนในการจัดงาน
เพื่อที่จะสามารถเขียนหนังสือให้ปอนเซอร์ได้อย่างรวดเร็ว
- ในการซื้อของทุกครั้งควรมีใบเสร็จติดมือมาด้วยเพื่อที่จะได้นามาเป็นข้อมูลในการใช้
จ่าย
- แต่ละฝ่ายควรประขุมวางแผนการใช้งบประมาณ
- ควรมีการสารองเงินเผื่อใข้ซื้อของในยามจาเป็น
5.3.6 ปัญหาฝ่ายการจัดการแสดง
- การร่วมมือของนักศึกษาชั้นปีที่ 1-4 ค่อนข้างจะไม่เต็มที่เท่าที่ควร ว่าด้วยเรื่องการไม่
มาซ้อมในวันที่กาหนดไว้ และขอความร่วมมือในการช่วยเหลือค่อนข้างยาก
- การติดตั้งจอ LED มีความล่าช้า จึงทาให้มีการซ้อมกับ Out Broadcasting ได้น้อยลง
- พิธีกรยังมีปัญหาในเรื่องของการอ่านภาษาอังกฤษผิด
- มีการเปิดประตูเข้าออกภายในโรงละคร จึงทาให้นักดนตรีเสียสมาธิขณะทาการแสดง
- ปัญหาในเรื่องของอุปกรณ์ส่งสัญญาณไร้สายของเครื่องดนตรีที่ในบางช่วงสัญญาณขาด
หายไป
- ถ่านที่นามาใช้ในไมค์ไร้สายมีคุณภาพไม่เพียงพอทาให้แบตเตอร์รี่หมดอย่างรวดเร็ว
213

ข้อเสนอแนะในการแก้ปัญหา
- ควรพูดถึงความสาคัญของงานให้เพื่อนได้รู้และควรพูดให้มีความตระหนักในงานของ
สาขาวิชา
- ควรมีการกาหนดเวลาปิดรับผู้ชมเข้าไปภายในโรงละคร เพื่อไม่ให้ไปรบกวนนักดนตรี
ขณะทาการแสดง
- ควรมีการติวและทบทวนสคริปท์กับพิธีกร หรือเปลี่ยนจากการเขียนภาษาอังกฤษให้
เป็นคาอ่านในภาษาไทย เพื่อความแน่นอนว่าพิธีกรจะไม่อ่านผิดในวันแสดงจริง
- ควรมีการตรวจเช็คอุปกรณ์ให้แน่นอนก่อนการแสดงว่าจะไม่เกิดปัญหา
- ควรมีการใช้ถ่านที่ได้คุณภาพและมีการสารองถ่านที่จะใช้ไว้เยอะ ๆ
บรรณนุกรม

Peter Shapiro (2015). Turn the Beat Around: The Secret History of Disco. Farrar, Straus
and Giroux
Chic (band). (2561, 25 เมษายน). ค้นเมื่อ 20 มกราคม 2561.
จาก https://en.wikipedia.org/wiki/Chic_(band),
Everybody Dance. (2561, 26 เมษายน). ค้นเมื่อ 20 มกราคม 2561.
จาก https://en.wikipedia.org/wiki/Everybody_Dance_(Chic_song)
Boney M. (2561, 17 เมษายน). ค้นเมื่อ 20 มกราคม 2561
จาก https://en.wikipedia.org/wiki/Boney_M
Rasputin (song). (2561, 20 เมษายน). ค้นเมื่อ 20 มกราคม 2561
จาก https://en.wikipedia.org/wiki/Rasputin_(song)
The Tramps. (2561, 17 เมษายน). ค้นเมื่อ 20 มกราคม 2561
จาก https://en.wikipedia.org/wiki/The_Trammps
Disco Inferno. (2561, 17 เมษายน). ค้นเมื่อ 20 มกราคม 2561
จาก https://en.wikipedia.org/wiki/Disco_Inferno
Bee Gees. (2561, 17 เมษายน). ค้นเมื่อ 20 มกราคม 2561
จาก https://en.wikipedia.org/wiki/ee_Gees
Night Fever. (2561, 17 เมษายน). ค้นเมื่อ 20 มกราคม 2561
จาก https://en.wikipedia.org/wiki/Night_Fever
ABBA. (2561, 17 เมษายน). ค้นเมื่อ 20 มกราคม 2561
จาก https://en.wikipedia.org/wiki/ABBA
Dancing Queen. (2561, 17 เมษายน). ค้นเมื่อ 20 มกราคม 2561
จาก https://en.wikipedia.org/wiki/Dancing_Queen
KC & the Sunshine Band. (2561, 17 เมษายน). ค้นเมื่อ 20 มกราคม 2561
จาก https://en.wikipedia.org/wiki/KC_and_the_Sunshine_Band
215

That’s the Way (I like it). (2561, 17 เมษายน). ค้นเมื่อ 20 มกราคม 2561
จาก https://en.wikipedia.org/wiki/That%27s_the_Way_(I_Like_It)
Earth, Wind & Fire. (2561, 17 เมษายน). ค้นเมื่อ 20 มกราคม 2561
จาก https://en.wikipedia.org/wiki/Earth,_Wind_%26_Fire
Getaway (Earth, Wind & Fire song). (2561, 17 เมษายน). ค้นเมื่อ 20 มกราคม 2561
จาก https://en.wikipedia.org/wiki/Getaway_(Earth,_Wind_%26_Fire_song)
Daft Punk. (2561, 17 เมษายน). ค้นเมื่อ 20 มกราคม 2561
จาก https://en.wikipedia.org/wiki/Daft_Punk
Lose Yourself to Dance. (2561, 17 เมษายน). ค้นเมื่อ 20 มกราคม 2561
จาก https://en.wikipedia.org/wiki/Lose_Yourself_to_Dance
One More time (Daft Punk song). (2561, 17 เมษายน). ค้นเมื่อ 20 มกราคม 2561
จาก https://en.wikipedia.org/wiki/One_More_Time_(Daft_Punk_song)
Get Lucky (Daft Punk song). (2561, 17 เมษายน). ค้นเมื่อ 20 มกราคม 2561
จาก https://en.wikipedia.org/wiki/Get_Lucky_(Daft_Punk_song)
Jamiroquai. (2561, 17 เมษายน). ค้นเมื่อ 20 มกราคม 2561
จาก https://en.wikipedia.org/wiki/Jamiroquai
(Don’t) Give Hate a Chance. (2561, 17 เมษายน). ค้นเมื่อ 20 มกราคม 2561
จาก https://en.wikipedia.org/wiki/(Don%27t)_Give_Hate_a_Chance
Coldplay. (2561, 17 เมษายน). ค้นเมื่อ 20 มกราคม 2561
จาก https://en.wikipedia.org/wiki/Coldplay
Adventure of a Life Time. (2561, 17 เมษายน). ค้นเมื่อ 20 มกราคม 2561
จาก https://en.wikipedia.org/wiki/Adventure_of_a_Lifetime
The Weeknd. (2561, 17 เมษายน). ค้นเมื่อ 20 มกราคม 2561
จาก https://en.wikipedia.org/wiki/The_Weeknd
I Feel It Coming. (2561, 17 เมษายน). ค้นเมื่อ 20 มกราคม 2561
จาก https://en.wikipedia.org/wiki/I_Feel_It_Coming
216

Bruno Mars. (2561, 17 เมษายน). ค้นเมื่อ 20 มกราคม 2561


จาก https://en.wikipedia.org/wiki/Bruno_Mars
Treasure. (2561, 17 เมษายน). ค้นเมื่อ 20 มกราคม 2561
จาก https://en.wikipedia.org/wiki/Treasure_(Bruno_Mars_song)
Beyoncé. (2561, 17 เมษายน). ค้นเมื่อ 20 มกราคม 2561
จาก https://en.wikipedia.org/wiki/Beyoncé
Love on Top. (2561, 17 เมษายน). ค้นเมื่อ 20 มกราคม 2561
จาก https://en.wikipedia.org/wiki/Love_On_Top
สุรพล สมบัติเจริญ. (2561, 17 เมษายน). ค้นเมื่อ 20 มกราคม 2561
จาก https://th.wikipedia.org/wiki/สุรพล_สมบัติ เจริญ
เป็นโสดทำไม ?. (2561, 17 เมษายน). ค้นเมื่อ 20 มกราคม 2561
จาก https://www.detectteam.com/3279
ยอดรัก สลักใจ. (2561, 17 เมษายน). ค้นเมื่อ 20 มกราคม 2561
จาก https://th.wikipedia.org/wiki/ยอดรัก_สลักใจ
ชวนชัย ฉิมพะวงษ์. (2561, 17 เมษายน). ค้นเมื่อ 20 มกราคม 2561
จาก http://www.komchadluek.net/news/ent/241557
วงดนตรีจุฬำรัตน์. (2561, 17 เมษายน). ค้นเมื่อ 20 มกราคม 2561
จาก http://poccom19.wixsite.com/poccomtuktuk/about1-cm96
สุชำติ เทียนทอง. (2561, 17 เมษายน). ค้นเมื่อ 20 มกราคม 2561
จาก https://th.wikipedia.org/wiki/สุชาติ_เทียนทอง
พุ่มพวง ดวงจันทร์. (2561, 17 เมษายน). ค้นเมื่อ 20 มกราคม 2561
จาก https://th.wikipedia.org/wiki/พุ่มพวง_ดวงจันทร์
ประยงค์ ชื่นเย็น. (2561, 17 เมษายน). ค้นเมื่อ 20 มกราคม 2561
จาก https://th.wikipedia.org/wiki/ประยงค์_ชื่นเย็น
อรอุมำ สิงห์ศิริ. (2561, 17 เมษายน). ค้นเมื่อ 20 มกราคม 2561
จาก http://www.isangate.com/new/15-art-culture/artist/472-on-uma-sing-siri.html
217

กัวรำช่ำ (สุมทุม ไผ่ริมบึง). (2561, 17 เมษายน). ค้นเมื่อ 20 มกราคม 2561


จาก https://star.kapook.com/กัวราช่า%20(สุมทุม%20ไผ่ริมบึง)
MFSB. (2561, 17 เมษายน). ค้นเมื่อ 20 มกราคม 2561
จาก https://en.wikipedia.org/wiki/MFSB
TSOP (The Sound of Philadelphia). (2561, 17 เมษายน). ค้นเมื่อ 20 มกราคม 2561
จาก https://en.wikipedia.org/wiki/TSOP_(The_Sound_of_Philadelphia
Gloria Gaynor. (2561, 17 เมษายน). ค้นเมื่อ 20 มกราคม 2561
จาก https://en.wikipedia.org/wiki/Gloria_Gaynor
I Will Survive. (2561, 17 เมษายน). ค้นเมื่อ 20 มกราคม 2561
จาก https://en.wikipedia.org/wiki/I_Will_Survive
Donna Summer. (2561, 17 เมษายน). ค้นเมื่อ 20 มกราคม 2561
จาก https://en.wikipedia.org/wiki/Donna_Summer
Hot Stuff (Donna Summer song). (2561, 17 เมษายน). ค้นเมื่อ 20 มกราคม 2561
จาก https://en.wikipedia.org/wiki/Hot_Stuff_(Donna_Summer_song)
Anita Ward. (2561, 17 เมษายน). ค้นเมื่อ 20 มกราคม 2561
จาก https://en.wikipedia.org/wiki/Anita_Ward
Ring My Bell. (2561, 17 เมษายน). ค้นเมื่อ 20 มกราคม 2561
จาก https://en.wikipedia.org/wiki/Ring_My_Bell
Penny McLean. (2561, 17 เมษายน). ค้นเมื่อ 20 มกราคม 2561
จาก https://en.wikipedia.org/wiki/Penny_McLean
Lady Bump. (2561, 17 เมษายน). ค้นเมื่อ 20 มกราคม 2561
จาก https://en.wikipedia.org/wiki/Lady_Bump
Lipps Inc.. (2561, 17 เมษายน). ค้นเมื่อ 20 มกราคม 2561
จาก https://en.wikipedia.org/wiki/Lipps_Inc
Funkytown. (2561, 17 เมษายน). ค้นเมื่อ 20 มกราคม 2561
จาก https://en.wikipedia.org/wiki/Funkytown
218

Village people. (2561, 17 เมษายน). ค้นเมื่อ 20 มกราคม 2561


จาก https://en.wikipedia.org/wiki/Village_People
Y.M.C.A.. (2561, 17 เมษายน). ค้นเมื่อ 20 มกราคม 2561
จาก https://en.wikipedia.org/wiki/Y.M.C.A._(song)
Last Dance (Donna Summer song). (2561, 17 เมษายน). ค้นเมื่อ 20 มกราคม 2561
จาก https://en.wikipedia.org/wiki/Last_Dance_(Donna_Summer_song)
ภาคผนวก
เอกสารที่เกี่ยวข้อง
โครงการ Western Music Festival #16 ประจาปีการศึกษา 2560
ในวันที่ 20 และ 24 เมษายน 2561
------------------------------------------------------------------
หลักการและเหตุผล
ในทุก ๆ ปีทางคณะศิลปกรรมศาสตร์มหาวิทยาลัยขอนแก่น หลักสูตรดุริยางคศิลป์ ได้มีการ
จัดการแสดงดนตรีซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของรายวิชา 860495 Music performance โดยวิชานี้มีเป้าหมาย
เพื่อให้นักศึกษาชั้นปีที่ 4 ได้เรียนรู้การจัดหา การเรียบเรียงบทเพลง และการประยุกต์ใช้ความรู้ตลอด
การศึกษาที่ผ่านมาในการจัดงานครั้งนี้ ซึ่งจัดครั้งแรกในปี พ.ศ. 2542 และในแต่ละปีหัวข้อการแสดง
จะถูกกาหนดโดยคณะผู้จัดการแสดง ซึ่งในปีนี้ทางคณะผู้จัดการแสดงได้มีความสนใจในการแสดง
ดนตรีของยุคดิสโก้โดยใช้ชื่องานว่า “Disco Inferno” โดยจะทาการแสดงในวันที่ 20 เมษายน พ.ศ.
2561 และทางคณะผู้จัดการแสดงยังมีความสนใจในการแสดงบรรเลงบทเพลงเปียโนคลาสสิคโดยใช้
ชื่องานว่า “Shade of Emotions” และจะทาการแสดงในวันที่ 24 เมษายน
วัตถุประสงค์ของกิจกรรม
- เพื่อเป็นประสบการณ์ในการจัดการแสดงดนตรีของนักศึกษาชั้นปีที่ 4 สาขาดุริยางคศิลป์
แขนงวิชาดนตรีตะวันตก
- เพื่อเป็นการเรียนรู้การทางานอย่างเป็นระบบ
- เพื่อให้เกิดการร่วมกิจกรรมกันในระดับ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
- เพื่อเป็นโอกาสในการแสดงศักยภาพของนักศึกษาสาขาดุริยางคศิลป์ แขนงวิชาดนตรี
ตะวันตก

งบประมาณในการจัดกิจกรรม 100,000 บาท


ระยะเวลาในการปฏิบัติงาน ระยะเตรียมงาน 14 ม.ค. 61 - 19 เม.ย. 61
ระยะดาเนินงาน 20 เม.ย. 61 และ 24 เม.ย. 61
ระยะสรุปโครงการ 25 เม.ย. 61 - 30 เม.ย. 61
วัน เวลา และสถานที่ ในวันที่ 20 เมษายน 2561 เวลา 18.00 - 21.00 น. และวันที่ 24 เมษายน
2561
เวลา 18.00 – 21.00 น.
ณ โรงละครคณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
คณะกรรมการการจัดโครงการ
- นายกฤษณพงศ์ จาปามูล ประธานโครงการ
- นายชิดณรงค์ บุบผาโสภา รองประธาน
- นางสาวดารมาส สีเกาะ เลขานุการ
- นางสาวคฐิญาภรณ์ ศรีคุณเมือง เหรัญญิก
- นายจักรดุล เสมรบุญ คณะกรรมการ
- นายพชรพล อินทรชาธร คณะกรรมการ
- นายธนาธิป สุชัย คณะกรรมการ
- นายนวพชร กลิ่นช้าง คณะกรรมการ
- นายมตรส สืบโมรา คณะกรรมการ
- นางสาวฐิติชญา กดนอก คณะกรรมการ
- นายเกียรติภูมิ กิ่งไธสง คณะกรรมการ
- นายอัธศักดิ์ พิมหานาม คณะกรรมการ
- นายเดชาธร ตรีทศ คณะกรรมการ
- นายธนัท พรมภักดี คณะกรรมการ
- นายยุคนธร เพ็งพาทย์ คณะกรรมการ
- นายรัตนพงษ์ แท่นอ่อน คณะกรรมการ
- นายวรุต ประทุมโพธิ์ คณะกรรมการ
- นายศิวรัฐ จ้อยภูเขียว คณะกรรมการ
- นายเกษมศานต์ ชัยเฉลียว คณะกรรมการ
- นายเกียรติศักดิ์ ศรีนาเมือง คณะกรรมการ
- นายจาตุรงค์ ศรีโนนม่วง คณะกรรมการ
- นายจีระสิทธิ์ คงนาวัง คณะกรรมการ
- นายซาโลม ใสรังกา คณะกรรมการ
- นายธีรนนท์ ธัญญพันธ์ คณะกรรมการ
- นายภูวเดช วงษ์บุญชา คณะกรรมการ
- นายสมัชชา เตมียชาติ คณะกรรมการ
อาจารย์ที่ปรึกษาโครงการ
1. ผศ.เจนวิทย์ พิทักษ์
2. ดร.พรพรรณ แก่นอาพรพันธ์
ผู้เข้าร่วมโครงการ
- นักศึกษา มหาวิทยาลัยขอนแก่น
- บุคคลทั่วไปผู้สนใจ
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1. มีประสบการณ์ในการจัดการแสดงดนตรี
2. สร้างความบันเทิงและให้ความรู้ทางด้านดนตรีแก่ผู้เข้าร่วมกิจกรรม
3. แสดงศักยภาพของนักศึกษาชั้นปีที่ 4 คณะศิลปกรรมศาสตร์ สาขาดุริยางคศิลป์ แขนงวิชาดนตรี
ตะวันตก
4. สร้างความมั่นคงของเครือข่ายการทางานภายในองค์กร

....................................... …………………………………
(ดร.พรพรรณ แก่นอาพรพันธ์) (นายกฤษณพงศ์ จาปามูล)
อาจารย์ที่ปรึกษา ประธานโครงการ
บันทึกข้อความ

ส่วนราชการ สโมสรนักศึกษาคณะ ศิลปกรรมศาสตร์ โทร. 088-5636621


ที่ สศก. 2561/พิเศษ วันที่ 18 เมษายน 2561
เรื่อง ขอเชิญเป็นประธานในพิธีเปิดการแสดง Music Project #16
เรียน คณาจารย์คณะศิลปกรรมศาสตร์

ด้วยนักศึกษาคณะศิลปกรรมศาสตร์ ชั้นปีที่ 4 สาขาดุริยางคศิลป์ แขนงวิชาดนตรีตะวันตก


ก าหนดจั ด งานWestern Music Festival #16 ประจ าปี ก ารศึ ก ษา 2560 ภายใต้ ชื่ อ งาน “Disco
Inferno” ในวันศุกร์ที่ 20 เมษายน พ.ศ.2561 ตั้งแต่เวลา 18.00 น. – 22.00 น. และงาน “Shades
of Emotion A graduate piano recital” ในวันอังคารที่ 24 เมษายน พ.ศ.2561 ตั้งแต่เวลา 18.00
น. – 22.00 น. ณ โรงละครคณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น เพื่อเป็นเกียรติและขวัญ
กาลังใจแก่นักศึกษาคณะทางาน ดังนั้นนักศึกษาคณะศิลปกรรมศาสตร์ ชั้นปีที่ 4 สาขาดุริยางคศิลป์
แขนงวิชาดนตรีตะวันตก จึงใคร่ขออนุญาตเรียนเชิญ รศ.ดร.นิยม วงศ์พงษ์คา คณบดีคณะศิลปกรรม
ศาสตร์ เป็นประธานในพิธีเปิดการแสดง Music Project #16 ของนักศึกษาในครั้งนี้

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณา และขอขอบคุณมา ณ โอกาสนี้

(นายกฤษณพงศ์ จาปามูล)
ประธานโครงการ
บันทึกข้อความ
ส่วนราชการ สโมสรนักศึกษาคณะศิลปกรรมศาสตร์ โทร.088-5636621
ที่ สศก....../61 วันที่ 27 มีนาคม 2561
เรื่อง ขอสารเพื่อตีพิมพ์ในสูจิบัตร
เรียน

เนื่องด้วยนักศึกษาชั้นปีที่ 4 คณะศิลปกรรมศาสตร์ สาขาดุริยางคศิลป์ แขนงวิชาดนตรี


ตะวั น ตก ได้ จั ด การแสดงจั ด การแสดงดนตรี ซึ่ ง เป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ของรายวิ ช า 860495 Music
performance โดยวิชานี้มีเป้าหมายเพื่อให้นักศึกษาชั้นปีที่ 4 ได้เรียนรู้การจัดหา การเรียบเรียงบท
เพลง และการประยุกต์ใช้ความรู้ตลอดการศึกษาที่ผ่านมาในการจัดงานครั้งนี้ จึงใคร่ขอความความ
อนุเคราะห์สารเพื่อตีพิมพ์ในสูจิบัตรการแสดงผลงานของนักศึกษา

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณา จักขอบคุณยิ่ง

(นายกฤษณพงศ์ จาปามูล)
ประธานโครงการ
บันทึกข้อความ
ส่วนราชการ สโมสรนักศึกษาคณะศิลปกรรมศาสตร์ โทร. 088-5636621
ที่ สศก. 2561/พิเศษ วันที่ 18 เมษายน 2561
เรื่อง ขอเชิญเป็นประธานในพิธีเปิดการแสดง Music Project #16
เรียน คณาจารย์คณะศิลปกรรมศาสตร์

ด้วยนักศึกษาคณะศิลปกรรมศาสตร์ ชั้นปีที่ 4 สาขาดุริยางคศิลป์ แขนงวิชาดนตรีตะวันตก


กาหนดจั ดงาน Western Music Festival #16 ประจาปีการศึกษา 2560 ภายใต้ชื่องาน “Disco
Inferno” ในวันศุกร์ที่ 20 เมษายน พ.ศ.2561 ตั้งแต่เวลา 18.00 น. – 22.00 น. และงาน “Shades
of Emotion A graduate piano recital” ในวันอังคารที่ 24 เมษายน พ.ศ.2561 ตั้งแต่เวลา 18.00
น. – 22.00 น. ณ โรงละครคณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น เพื่อเป็นเกียรติและขวัญ
กาลังใจแก่นักศึกษาคณะทางาน ดังนั้นนักศึกษาคณะศิลปกรรมศาสตร์ ชั้นปีที่ 4 สาขาดุริยางคศิลป์
แขนงวิชาดนตรีตะวันตก จึงใคร่ขออนุญาตเรียนเชิญ รศ.ดร.นิยม วงศ์พงษ์คา คณบดีคณะศิลปกรรม
ศาสตร์ เป็นประธานในพิธีเปิดการแสดง Music Project #16 ของนักศึกษาในครั้งนี้

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณา และขอขอบคุณมา ณ โอกาสนี้

(นายกฤษณพงศ์ จาปามูล)
ประธานโครงการ
บันทึกข้อความ
ส่วนราชการ สโมสรนักศึกษาคณะศิลปกรรมศาสตร์ โทร. 088-5636621
ที่ สศก /2561 วันที่ 27 มีนาคม 2561
เรื่อง ขอความอนุเคราะห์ติดป้ายโฆษณา
เรียน คณบดีคณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

เนื่องด้วยนักศึกษาชั้นปีที่ 4 คณะศิลปกรรมศาสตร์ สายวิชาดนตรีและการแสดง สาขาวิชา


ดนตรีตะวันตก ได้จัดการแสดงดนตรีซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของรายวิชา 860495 Music Performance
โดยวิชานี้มีเป้าหมายเพื่อให้นักศึกษาชั้นปีที่ 4 ได้เรียนรู้การจัดการแสดงดนตรี การเรียบเรียงบทเพลง
และการประยุกต์ใช้ความรู้ตลอดการศึกษาที่ผ่านมา ในการจัดงานครั้งนี้ จึงใคร่ขอความอนุเคราะห์
สถานที่ในมหาวิทยาลัย ติดป้ายโฆษณางานแสดงในครั้งนี้ จานวน 2 แผ่นป้าย ขนาด 2.4X4.6 เมตร
กาหนดระยะเวลาตั้งแต่วันที่ 10 - 26 เมษายน 2561 สถานที่ได้แก่บริเวณ ด้านหน้าคณะศิลปกรรม
ศาสตร์ฝั่งหอพักนักศึกษาพยาบาล และบริเวณหน้าคณะศิลปกรรมศาสตร์ฝั่งหอศิลป์ใหม่

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาให้ความอนุเคราะห์และขอขอบคุณมา ณ โอกาสนี้

(นายกฤษณพงศ์ จาปามูล)
ประธานโครงการ
บันทึกข้อความ
ส่วนราชการ สโมสรนักศึกษาคณะศิลปกรรมศาสตร์ โทร. 088-5636621
ที่ สศก /2561 วันที่ 17 เมษายน 2561
เรื่อง ขอความอนุเคราะห์ใช้สถานที่
เรียน คณบดีคณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

ด้วยนักศึกษาคณะศิลปกรรมศาสตร์ ชั้นปีที่ 4 สาขาดุริยางคศิลป์ แขนงวิชาดนตรีตะวันตก


กาหนดจั ดงาน Western Music Festival #16 ประจาปีการศึกษา 2560 ภายใต้ชื่องาน “Disco
Inferno” ในวันศุกร์ที่ 20 เมษายน พ.ศ.2561 ตั้งแต่เวลา 18.00 น. – 22.00 น. และงาน “Shades
of Emotion A graduate piano recital” ในวันอังคารที่ 24 เมษายน พ.ศ.2561 ตั้งแต่เวลา 18.00
น. – 22.00 น. ณ โรงละครคณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น เพื่อให้งานในครั้งนี้สาเร็จ
ลุล่วงไปได้ด้วยดี ดังนั้นนักศึกษาคณะศิลปกรรมศาสตร์ ชั้นปีที่ 4 สาขาดุริยางคศิลป์ แขนงวิชาดนตรี
ตะวันตก จึงใคร่ขออนุญาตใช้สถานที่บริเวณลานกลางคณะศิลปกรรมศาสตร์ และบริเวณสนามฟุต
ซอลในวันที่ 20 และ 24 เมษายน 2561 เวลา 9.00 น. – 22.00 น.

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณา และขอขอบคุณมา ณ โอกาสนี้

(นายมตรส สืบโมรา)
ผู้ประสานงาน
รายละเอียดการใช้สถานที่

1. โรงละครคณะศิลปกรรมศาสตร์ เริ่มใช้งานตั้งแต่วันที่ 18-20 และวันที่ 23-24 เมษายน 2561


2. ลานกลางคณะศิลปกรรมศาสตร์ ใช้งานวันที่ 20 เมษายน 2561
3. สนามฟุตซอลคณะศิลปกรรมศาสตร์ ใช้งานวันที่ 20 เมษายน 2561
4. เก้าอี้วัดป่าอดุลยารามศาสตร์ ใช้งานวันที่ 20 เมษายน 2561

โทรศัพท์/โทรสาร.043 202396
หนังสือขอบคุณผู้สนับสนุน
โครงการ Western Music Festival #16 ประจาปีการศึกษา 2561

เรื่อง ขอขอบพระคุณ
เรียน (รายนามผู้สนับสนุน)

ตามที่ (...........รายนามผู้ ส นั บ สนุ น ..........) ได้ ม อบเงิ น สนั บ สนุ น จ านวน


. . . . . . . . . . . . . . . . . . . บ า ท ใ ห้ กั บ ( ห น่ ว ย ง า น ผู้ รั บ บ ริ จ า ค ) . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . เ พื่ อ
(วัตถุประสงค์)............................................................................................................... ......................

บั ด นี้ คณะผู้ จั ด ท าโครงการ ได้ รั บ เงิ น จ านวนดั ง กล่ า วเรี ย บร้ อ ยแล้ ว จึ ง
ขอขอบพระคุณในความอนุเคราะห์ของท่านเป็นอย่างยิ่ง และหวังว่าจะได้รับความอนุเคราะห์จากท่าน
อีกในโอกาสต่อไป

ขอแสดงความนับถือ

(นายกฤษณพงศ์ จาปามูล)
ประธานโครงการ

ติดต่อผู้รับเงินสนับสนุน
โทร 088-5636621
เอกสารแนบไปควบคู่กับการของบสนับสนุน
รายละเอียดเงิน Sponsor

โฆษณา
เงิน
ป้ายทางเข้า ป้ายทางเข้า
สนับสนุน ลง ลง VDO ลง VDO ขึ้น
โรงละคร โรงละคร
(บาท) สูจิบัตร (ขนาดเล็ก) (ขนาดใหญ่) ป้ายไวนิล
(ขนาดเล็ก) (ขนาดใหญ่)
500
1000
1500
2000
3000
ขึ้นไป
สนับสนุน
อุปกรณ์
สาหรับ
ใช้ในการ
แสดง

*ติดต่อสอบถามโทร 088-5636621 กฤษณพงศ์


ใบตอบรับการสนับสนุนโครงการ Western Music Festival #16 ประจาปีการศึกษา
2561
วันศุกร์ ที่ 20 เมษายน พ.ศ. 2561
ผู้ให้การสนับสนุน (บริษัท,ห้างหุ้นส่วน,ร้าน)...........................................................................................
มี ค ว า ม ป ร ะ ส ง ค์ ( ) ใ ห้ ก า ร ส นั บ ส นุ น ( ) ไ ม่ ใ ห้ ก า ร ส นั บ ส นุ น เ พ ร า ะ
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................... ..........
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
..................................................

ลงชื่อ..............................................................
(..............................................................)
วันที่......./......./.......
ภาคผนวก
สื่อประชาสัมพันธ์โครงการ
โลโก้โครงการ Music Project #16 Disco Inferno
บัตรเข้าชมโครงการและโปสเตอร์ที่ใช้ในการประชาสัมพันธ์
สูจิบัตรโครงการ Music Project #16 Disco Inferno
ภาคผนวก
ภาพประกอบโครงการ

ภาพบรรยากาศการโปรโมทงานที่ตลาดมอดินแดง
ภาพบรรยากาศการโปรโมทงานที่ตลาดมอดินแดง (ต่อ)
ภาพบรรยากาศการโปรโมทงานที่
DER LA JAZZ : Restaurant & Live Music
ภาพบรรยากาศการโปรโมทงานที่ DER LA JAZZ : Restaurant & Live Music (ต่อ)
ภาพบรรยากาศวันแสดงจริง
ภาพบรรยากาศวันแสดงจริง (ต่อ)
ภาพบรรยากาศวันแสดงจริง (ต่อ)
ภาพบรรยากาศวันแสดงจริง (ต่อ)
ภาพบรรยากาศวันแสดงจริง (ต่อ)

You might also like