Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 125

ORGANIC

CHEMISTRY

  

DEPARTMENT OF CHEMISTRY 
MAHIDOL WITTAYANUSORN SCHOOL 
 
เคมีอินทรีย์ 2/2554

1. เคมีอินทรีย์
1.1 บทนา
เคมีอนิ ทรียเ์ ป็ นวิชาทีศ่ กึ ษาสมบัตติ ่างๆ ของสารทีม่ อี ะตอมของคาร์บอนเป็ นองค์ประกอบ
หลัก โดยคาว่าอินทรีย์ มาจากคาว่า Organic หมายถึงร่างกาย หรือ สิง่ มีชวี ติ ดังนัน้ เรื่องราวของ
สารอินทรียเ์ ป็ นเรื่องราวที่เกี่ยวข้องกับสิง่ มีชวี ติ สมัยก่อนนักวิทยาศาสตร์เชื่อว่าสารอินทรียไ์ ด้มา
จากสิง่ มีชวี ติ เท่านัน้ แต่ ฟริดริด วูหเ์ ลอร์ นักเคมีชาวเยอรมัน ได้สงั เคราะห์สารอินทรียโ์ ดยการเผา
แอมโมเนียมไซยาเนตซึง่ เป็นสารประกอบอนินทรีย์ ปฏิกริ ยิ าทีเ่ กิดขึน้ เป็นดังนี้

NH4+NCO-  H2NCONH2

ปจั จุบนั นักเคมีได้สงั เคราะห์สารอินทรีย์ได้อย่างมากมาย และยังก่ อให้เกิดอุ ตสาหกรรม


ทางด้า นเคมีอีก ด้ว ย การศึก ษาสารเหล่ า นี้ จ าเป็ น ต่ อ การพัฒ นาอุ ต สาหกรรมและเทคโนโลยี
นอกจากนี้ในการศึกษาเพื่อให้เข้าใจถึงถึงสมบัตจิ ะต้องเข้าใจพันธะทีเ่ กิดระหว่างอะตอมรูปร่างของ
โมเลกุลอีกด้วย ถึงจะเข้าใจสมบัตขิ องสารอินทรียไ์ ด้อย่างลึกซึง้

1.1.1 พันธะของคาร์บอน
คาร์บอนเป็ นธาตุทอ่ี ยู่ในหมู่ 4A หรือหมู่ 14 มีเวเลนซ์อเิ ล็กตรอนทัง้ หมด 4 ตัวจึงสามารถ
เกิดพันธะโคเวเลนซ์ได้ทงั ้ หมด 4 พันธะ โดย C สามารถใช้อเิ ล็กตรอนร่วมกันได้ตงั ้ แต่ 1 คู่ 2 คู่
หรือ 3 คู่ เกิดเป็น พันธะเดีย่ ว (single bond) พันธะคู่ (double bond) หรือ พันธะสาม (triple bond)

C C

พันธะเดีย่ วทัง้ หมด 4 พันธะ พันธะเดีย่ ว 2 พันธะและพันธะคู่ 1 พันธะ

พันธะคู่ 2 พันธะ พันธะเดีย่ ว 1 พันธะและพันธะสาม 1 พันธะ

สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) หน้า 1


เคมีอินทรีย์ 2/2554

1.1.2 ไฮบริ ไดเซชันกับสารประกอบอิ นทรีย์


สารอินทรียเ์ ป็ นสารโคเวเลนซ์ท่มี รี ูปร่างต่างๆ ขึน้ อยู่กบั การสร้างพันธะของคาร์บอน การ
พิจารณาว่าโครงสร้างของสารอินทรียม์ โี ครงสร้างอย่างไรต้องอาศัยทฤษฏีไฮบริไดเซชันเข้าช่วยใน
การอธิบายโครงสร้างดังกล่าว ซึ่ง ทฤษฎีไฮบริไดเซชันเป็ นทฤษฎีท่ชี ่วยอธิบายการเกิดพันธะของ
สารประกอบอินทรีย์ได้เป็ นอย่างดี ซึ่งสามารถอธิบายการเกิดรูปร่างของคาร์บอนได้ ซึ่งชนิดของ
ไฮบริไดเซชันทีเ่ กิดกับสารอินทรียไ์ ด้แก่ sp3 sp2 และ sp

1) sp3 ไฮบริ ดออร์บิทลั


เกิดจากออร์บทิ ลั 2s รวมกับ 2px 2py และ 2pz จัดตัวใหม่จะเกิดเป็ นพันธะเดีย่ ว
ทัง้ หมด รูปร่างทีไ่ ด้จะเป็ นทรงสีห่ น้า (tetrahedral) โดยมีมุมระหว่างแกนทัง้ สีของออร์บทิ ลั เท่ากับ
109.5 องศาดังรูป

ตัวอย่างเช่นโมเลกุล CH4 เกิดไฮบริไดเซชันแบบ sp3 ซึง่ H จะนา s ออร์บทิ ลั สร้างพันธะซิกมากับ


sp3 ไฮบริดออร์บทิ ลั ดังรูป

สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) หน้า 2


เคมีอินทรีย์ 2/2554

2) sp2 ไฮบริ ดออร์บิทลั


เกิดจากการรวมกันของออร์บทิ ลั s ออร์บทิ ลั และออร์บทิ ลั p 2 ออร์บทิ ลั ได้ไฮบริด
ออร์บทิ ลั 3 ออร์บทิ ลั ซึง่ รูปร่างทีไ่ ด้จะเป็ นสามเหลีย่ มแบนราบ (trigonal planar) มุมทีแ่ กนของออร์
บิทลั ทามุมกัน 120 องศา และ p ออร์บทิ ลั ทีเ่ หลือยังคงอยู่ในแนวแกนเดิมซึง่ ตัง้ ฉากกับระนาบของ
ออร์บทิ ลั ทีม่ รี ูปร่างเป็ นสามเหลี่ยมแบนราบ ซึ่งออร์บทิ ลั ดังกล่าวที่เหลือนี้ใช้สาหรับสร้างพันธะไพ
(-bond)

ตัวอย่างการเกิดสร้างพันธะซิกมาของ sp2 ไฮบริดออร์บทิ ลั ได้แ ก่โมเลกุลของอีทนี (C2H4) ซึ่ง


คาร์บอนกับคาร์บอนจะเกิดพันธะซิกมาหนึ่งพันธะกับพันธะไพซึ่งเกิดจาก p ออร์บทิ ลั ทีไ่ ม่ได้เกิด
ไฮบริดออร์บทิ ลั อีกหนึ่งพันธะแสดงดังรูป

สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) หน้า 3


เคมีอินทรีย์ 2/2554

2) sp ไฮบริ ดออร์บิทลั
เกิดจากการรวมกันของออร์บทิ ลั s 1 ออร์บทิ ลั และ ออร์บทิ ลั p 1 ออร์บทิ ลั ซึง่ ได้
รูปร่างทีเ่ ป็นลักษณะเป็นเส้นตรงโดยจะเหลือ p ออร์บทิ ลั 2 ออร์บทิ ลั เพื่อสร้างพันธะไพ sp ทีเ่ กิดขึน้
มีมมุ ตามแนวแกนออร์บทิ ลั เท่ากับ 180 องศาดังรูป

ตัวอย่างโมเลกุลทีง่ า่ ยต่อการอธิบายการซ้อนเหลื่อมของไฮบริดออร์บทิ ลั ดังกล่าวเช่น โมเลกุลของอี


ไทน์ (ethyne) มีพนั ธะซิกมาระหว่างคาร์บอนกับคาร์บอนทีเ่ กิดจาก sp ของคาร์บอนทัง้ สองและ p
ออร์บทิ ลั ที่เหลือจากการสร้างไฮบริดออร์บทิ ลั สองออร์บทิ ลั จะเกิดการซ้อนเหลื่อมเกิดเป็ นพันธะ 2
พันธะดังรูป

1.1.3 การเขียนสูตรโครงสร้างสารประกอบอิ นทรีย์


สูตรโครงสร้างของสารเป็ นสูตรทีแ่ สดงการจัดเรียงตัวของอะตอมโดยการเขียนสูตรนัน้ อาจ
เขียนได้หลายแบบตัวอย่างเช่น สูตรโครงสร้างลิวอิสแบบจุด (dot structure) สูตรโครงสร้างลิวอิส
แบบ dash สูตรโครงสร้างแบบย่อ (condensed formula) และสูตรโครงสร้างแบบเส้นและมุม
(bond-line formula)

สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) หน้า 4


เคมีอินทรีย์ 2/2554

ตาราง 1.1 สูตรโมเลกุลและโครงสร้างของสารประกอบอินทรียบ์ างชนิด


สูตรโครงสร้าง
โครงสร้างแบบ โครงสร้างแบบ
สูตร
ชื่อสาร โครงสร้างลิ วอิ สแบบ dash ย่อ เส้นและมุม
โมเลกุล
formula (condensed (bond-line
formula) formula)
H H H H
CH3CH2CH2CH3
บิวเทน C4H10 H C C C C H หรือ
H H H H CH3(CH2)2CH3
H H H H

H C C C C H
2-เมทิล
C5H12 H H H (CH3)2CHCH2CH3
บิวเทน
H C H

H
H

โพรพีน C 3H 6 H C C C H CH2=CHCH3
H H H
H H
เอ
C 2H 6 O H C C O H CH3CH2OH OH
ทานอล
H H
O H
เอทา
C 2H 4 O H C C H CH3CHO
นาล
H

สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) หน้า 5


เคมีอินทรีย์ 2/2554

สูตรโครงสร้าง
โครงสร้างแบบ โครงสร้างแบบ
สูตร
ชื่อสาร โครงสร้างลิ วอิ สแบบ dash ย่อ เส้นและมุม
โมเลกุล
formula (condensed (bond-line
formula) formula)
H O O
กรดเอ
C 2H 4 O 2 H C C O H C 2H 4O 2
ทาโนอิก
OH
H

การเขียนสูตรโครงสร้างแบบต่างๆ ดังกล่าวมาเป็ นการจัดเรียงตัวของอะตอมทีป่ ระกอบกัน


เป็ นโมเลกุลลักษณะ 2 มิติ แต่ความเป็ นจริงอะตอมของธาตุในโมเลกุลมีการจัดเรียงตัวแบบ 3 มิติ
ดังตาราง 1.2

ตาราง 1.2 โครงสร้าง 3 มิตขิ องโมเลกุลบางชนิด


สูตรโครงสร้าง
สูตร
ชื่อสาร โครงสร้างลิ วอิ สแบบ dash
โมเลกุล โครงสร้าง 3 มิ ติ
formula
H H H H

H C C C C H
บิวเทน C4H10
H H H H

H C C C H
โพรพีน C 3H 6
H H H

H H

เอ H C C O H
C 2H 6 O
ทานอล H H

สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) หน้า 6


เคมีอินทรีย์ 2/2554

สูตรโครงสร้าง
สูตร
ชื่อสาร โครงสร้างลิ วอิ สแบบ dash
โมเลกุล โครงสร้าง 3 มิ ติ
formula

อีไทน์ C 2H 2

เบนซีน C 6H 6

โดยทัวไปโครงสร้
่ างสามมิตแิ สดงได้ยาก ดังนัน้ จึงมีการกาหนดการวาดโครงสร้างสามมิติ
เพื่อสะดวกในบอกการจัดเรียงตัวของอะตอมทีเ่ กิดขึน้ เช่น CH4

ในการวาดโครงสร้างเพื่อแสดงโครงสร้างสามมิตโิ ดยเส้น แสดงว่าพันธะทีเ่ กิดขึน้ และ


อะตอมทีเ่ กาะกับพันธะอยูใ่ นระนาบเดียวกับกระดาษ เส้น แสดงอะตอมทีย่ น่ื ออกมาจาก
ระนาบกระดาษและเส้น แสดงอะตอมทีอ่ ยูด่ า้ นหลังของระนาบกระดาษ

1.1.4 หลักการเขียนกลไกการเกิ ดปฏิ กิริยา


ปฏิกริ ยิ าเคมีคอื การเปลีย่ นแปลงสารตัง้ ต้นไปเป็ นสารผลิตภัณฑ์ซง่ึ เกิดขึน้ ผ่านกระบวนการ
สลายพันธะและสร้างพันธะ ในการสลายพันธะสามารถจาแนกออกเป็ น 2 แบบหลักๆ ได้แก่การ
สลายพันธะแบบ Homolytic cleavage และ heterolytic cleavage
1) การสลายพันธะแบบโฮโมไลติก (Homolytic cleavage) เกิดจากอะตอมเกิดการสลาย
พันธะโดยอิเล็กตรอนสองตัวทีส่ ร้างพันธะร่วมกันแยกออกจากกันไปอยู่ทอ่ี ะตอมหรือหมู่ของอะตอม
คนละ 1 ตัว ซึง่ เรียกว่าอิเล็กตรอนอิสระ (free radical) ซึง่ จะมีสมบัตเิ ป็ นกลางไม่เป็ นประจุบวกหรือ
ประจุลบ ในการเขียนลูกศรเพื่ออธิบายการสลายพันธะชนิดนี้จะเขียนลูกศรครึง่ หัว ซึง่ แสดงให้เห็น

สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) หน้า 7


เคมีอินทรีย์ 2/2554

ว่าการเคลื่อนทีข่ องอิเล็กตรอนนัน้ มีการเคลื่อนทีข่ องอิเล็กตรอนเพียงแค่หนึ่งตัวเท่านัน้ ตัวอย่างการ


สลายพันธะแบบโฮโมไลติก เช่น การสลายพันธะของ Br2 ดังสมการ

ซึง่ โบรมีนเรดิคลั สามารถเกิดปฏิกริ ยิ าต่อได้กบั โมเลกุลอื่นๆ และสามารถเขียนลูกศรแสดงกลไกการ


เคลื่อนทีข่ องอิเล็กตรอนดังรูป

ซึง่ ปฏิกริ ยิ าทีเ่ กิดดังแสดงเรียกว่าปฏิกริ ยิ าแบบเรดิคลั (radical reaction)


2) การสลายพันธะแบบเฮเทอร์โรไลติก (Heterolytic cleavage) การสลายพันธะแบบนี้จะ
เกิดจากอิเล็กตรอนที่ร่วมพันธะเกิดการสลายพันธะโดยให้อิเล็กตรอนทัง้ สองตัวให้แก่ อะตอมใด
อะตอมหนึ่งทัง้ สองตัว ในการแสดงลู กศรการเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนนัน้ จะใช้หวั ลูกศรปกติแสดง
กลไกการเกิดปฏิกริ ยิ า การสลายพันธะแบบนี้จะได้โมเลกุลหรืออะตอมสองชนิดทีม่ ปี ระจุต่างกันคือ
อะตอมหรือโมเลกุลทีม่ ปี ระจุบวกเรียกว่า “แคทไอออน” (cation) และประจุลบเรียกว่า “แอนไอออน”
(anion)

ตัวอย่างปฏิกริ ยิ าทีเ่ กิดขึน้

Ethoxide anion จะไปดึงโปรตอนจาก acetone พันธะระหว่างไฮโดรเจนกับคาร์บอนแตกออกโดย


อิเล็กตรอนทัง้ สองตัวทีส่ ร้างพันธะร่วมกันระหว่างคาร์บอนกับไฮโดรเจนวิง่ ไปทางด้านคาร์บอนทัง้
สองอิเ ล็ก ตรอน สารอิน ทรีย์ท่เี กิด เป็ น ผลิต ภัณฑ์เ กิด เป็ นแอนไอออนเกิดขึ้นโดยประจุล บอยู่ท่ี
ตาแหน่งคาร์บอน เรียกสารประเภทนี้ว่าคาร์แบนไอออน (cabanion)
ปฏิกิรยิ าบางชนิดเมื่อ เกิดการสลายพันธะจะเกิดคาร์โบแคทไอออน (cabocation) ซึ่ง
สารอินทรีย์ด ังกล่ า วมีค าร์ บอนที่ติด ประจุบ วกเช่น ปฏิกิร ิยาของ 2-butene รับ โปรตอนเกิด
ผลิตภัณฑ์ทเ่ี ป็นประจุบวกทีเ่ รียกว่า carbocation แสดงดังสมการ

สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) หน้า 8


เคมีอินทรีย์ 2/2554

และเมือ่ พิจารณาอะตอมคาร์บอนทีม่ ปี ระจุบวกพบว่ามีโครงสร้างแบบแบนราบและความเสถียรของ


คาร์โบแคทไอออนแต่ละชนิ ดขึ้นกับการกระจายตัวของประจุหรือการกระจายตัวของอิเล็กตรอน
หากพิจารณาในแง่ของหมู่แทนทีม่ ผี ลอย่างไรในการช่วยให้คาร์โบแคทไอออนเสถียร เมื่อพิจารณา
ในส่วนของออร์บทิ ลั พบว่า ความหนาแน่ นของอิเล็กตรอนจากพันธะซิกมาที่เกิดจากคาร์บอนกับ
ไฮโดรเจนสร้างพันธะกันสามารถเกิดซ้อนเหลื่อมบางส่วนกับ p ออร์บทิ ลั ว่างของคาร์โบแคทไอออน
ทาให้คาร์โบแคทไอออนมีความเป็ นประจุบวกน้อยลง ส่งผลให้คาร์โบแคทไอออนเกิดความเสถียร
ปรากฏการณ์ทเ่ี กิดขึน้ นี้เรียกว่าการเกิดไฮเปอร์คอนจุเกต (hyperconjugation) สารประกอบอีกชนิด
หนึ่งทีท่ าให้ความเป็นประจุบวกน้อยนัน้ ก็คอื สารประกอบทีม่ พี นั ธะคู่สลับพันธะเดีย่ วซึง่ เรียกโมเลกุล
พวกนี้ว่าเกิด คอนจุเกชัน (conjugation) ซึง่ ทาให้ p ออร์บทิ ลั ทีส่ ร้างพันธะคู่เกิดซ้อนเหลื่อมกับ p
ออร์บทิ ลั ของคาร์โบแคทไอออนดังภาพ
ออร์ บิทลั ที่ซ้อนเหลือ่ ม p ออร์ บิทลั ที่วา่ ง

การเกิดไฮเปอร์คอนจุเกต

การเกิดคอนจุเกชันระหว่างคาร์โบแคทไอออนกับพันธะคู่
ดังนัน้ สามารถเรียงความเสถียรของคาร์โบแคทไอออนได้ดงั นี้

สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) หน้า 9


เคมีอินทรีย์ 2/2554

หมู่ R แทนสารอินทรียท์ ่มี าเกาะกับคาร์บอนซึง่ เรียกหมู่เหล่านี้ว่าหมู่แอลคิล และตาแหน่ งคาร์โบ


แคทไอออนหากมีหมู่แอลคิลมาเกาะสามตัวจะเรียกว่า tertiary carbocation (3o-carbocation)
แทนที่สองตัวเรียกว่า secondary carbocation (2o-carbocation) แทนที่หนึ่งหมู่เรียก primary
carbocation (1o-carbocation)
ความเสถียรของเรดิคลั ก็เป็นแนวโน้มเดีย่ วกับคาร์โบแคทไอออนคือ tertiary radical เสถียร
กว่า secondary radical เสถียรกว่า primary radical ตามลาดับ
ส่วน carbanions จะมีความเสถียรแตกต่างจาก carbocations และ radicals หากมีหมู่
แทนทีม่ ากจะเสถียรน้อยและหากมีหมูแ่ ทนทีน่ ้อยจะมีความเสถียรมาก

1.1.5 ปฏิ กิริยาในเคมีอินทรีย์


ปฏิกริ ยิ าทีเ่ กิดขึน้ ในเคมีอนิ ทรียน์ นั ้ อาจจาแนกออกเป็น 4 ชนิดได้แก่
1) ปฏิกริ ยิ าแทนที่ (substitution reaction) เป็ นปฏิกริ ยิ าที่เกิดจากการแทนที่ของกลุ่ม
โมเลกุลหรืออะตอมด้วยโมเลกุลหรืออะตอมอื่นๆ ดังตัวอย่าง

2) ปฏิกริ ยิ าการเติม (addition reaction) เป็ นปฏิกริ ยิ าทีเ่ กิดจากสารอินทรียท์ ป่ี ระกอบด้วย
พันธะคู่ พันธะสาม เกิดปฏิกริ ยิ ากับสารทีเ่ ข้าทาปฏิกริ ยิ าทาให้จานวนพันธะลดลงเนื่องจากใช้ไปใน
การสร้างพันธะกับสารทีเ่ ข้าทาปฏิกริ ยิ า ดังตัวอย่าง

3) ปฏิกริ ยิ าการกาจัด (elimination reaction) เป็ นปฏิกริ ยิ าที่เกิดตรงกันข้ามกับปฏิกริ ยิ า


การเติม เป็นการกาจัดสารออกจากสารตัวหลัก ดังตัวอย่าง

สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) หน้า 10


เคมีอินทรีย์ 2/2554

4) ปฏิกริ ยิ าย้ายหมู่ (rearrangement reaction) เป็ นปฏิกริ ยิ าทีเ่ กิดจากการย้ายหมู่ทเ่ี กาะ


ทาให้เกิดโครงสร้างใหม่เกิดขึน้ ดังแสดง

1.1.6 ปฏิ กิริยา SN1 SN2 E1 และ E2


ปฏิกิรยิ าเคมีจ ะเกิด ขึ้นเร็ว หรือ ช้า นัน้ เกิดจากสารตัง้ ต้นว่ามีผ ลมากน้ อ ยอย่างไรในการ
เกิดปฏิกริ ยิ า ซึง่ กฎอัตราจะเป็นตัวบ่งบอกว่าสารชนิดนัน้ มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกริ ยิ าตัวอย่างเช่น
ปฏิกริ ยิ าระหว่างเบสกับคลอโรมีเทนได้ผลิตภัณฑ์เป็ นแอลกอฮอล์ เมื่อติดตามปฏิกริ ยิ าเคมีพบว่า
สารทัง้ สองชนิดมีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกริ ยิ าเคมีโดยอัตราการเกิดปฏิกริ ยิ าเคมีมอี นั ดับเท่ากับ สอง
ซึง่ ขึน้ อยูก่ บั เบสอันดับหนึ่งและคลอโรมีเทนอันดับหนึ่ง มีกลไกการเกิดปฏิกริ ยิ าดังนี้

r = k[OH-][CH3Cl]

ซึง่ OH- จะเกิดปฏิกริ ยิ าบริเวณคาร์บอนซึง่ มีสภาพขัว้ เป็ นบวก OH- จึงทาหน้าทีท่ เ่ี รียกว่านิวคลีโอ
ไฟล์ (Nucleophile) และคลอรีนหลุดออกจากโมเลกุ ลเราเรียกสารที่หลุดออกจากโมเลกุ ลนี้ว่า
Leaving group ปฏิกริ ยิ าดังกล่าวเรียกว่าปฏิกริ ยิ าแบบ SN2 ซึง่ มาจาก Substitution, Nucleophilic,
bimolecule เป็นปฏิกริ ยิ าแทนทีข่ องนิวคลีโอไฟล์ทข่ี น้ึ อยูก่ บั โมเลกุลสองโมเลกุล
เมื่อศึกษาปฏิกริ ยิ า 2-chloro-2-methylpropane พบว่าไม่เกิดปฏิกริ ยิ าแบบ SN2 เพราะ
ความเกะกะของโมเลกุลเมทิลที่บดบังคาร์บอนดังนัน้ ปฏิกริ ยิ าจึงยอมหลุดคลอรีนอะตอมออกก่อน
เกิด 3o-คาร์โบแคทไอออนจากนัน้ เบสจึงเข้าทาปฏิกริ ยิ าต่อเราเรียกปฏิกริ ยิ าแบบนี้ว่าเกิดแบบ SN1
(Substitution, Nucleophilic, Unimolecular)

สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) หน้า 11


เคมีอินทรีย์ 2/2554

เมือ่ เปรียบอัตราการเกิดปฏิกริ ยิ าแบบ SN2 กับโมเลกุลต่างๆ ได้ความสัมพันธ์ดงั นี้

Methyl 1o 2o Neopentyl 3o
(30) (1) (0.02) (0.00001) (~0)

ปฏิกิร ิยาเคมีท่เี กิด ปฏิกิร ิย าก าจัดส่ ว นมากเกิดที่อุ ณ หภูม ิสูง และใช้เ บสที่แก่ ดงั ตัว อย่า งซึ่งเป็ น
ปฏิกริ ยิ าทีเ่ กิดแบบ E2

จากปฏิกริ ยิ าข้างต้นพบว่ามีปฏิกริ ยิ าทีเ่ กิดแบบ SN2 เช่นกันแต่รอ้ ยละของผลิตภัณฑ์น้อย


กว่าการเกิดแบบ E2 ผลิตภัณฑ์ท่เี กิดมากจะเรียกผลิตภัณฑ์นัน้ ว่าเป็ น major product และ
ผลิตภัณฑ์ทเ่ี กิดน้อยกว่าเรียกว่า minor product
แต่เมือ่ ใช้นิวคลีโอไฟล์ทแ่ี ย่ (เบสอ่อน) และใช้ตวั ทาละลายทีม่ ขี วั ้ จะเกิดแบบ E1
เมือ่ เปรียบเทียบการเกิดปฏิกริ ยิ า SN1 SN2 E1 และ E2 สรุปได้ดงั ตารางที่ 1.3

สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) หน้า 12


เคมีอินทรีย์ 2/2554

ตารางที่ 1.3 สรุปปฏิกริ ยิ าแบบ SN1 SN2 E1 และ E2


CH3X RCH2X RR’CHX RR’R’’CX
Bimolecular reaction SN1/E1 หรือ E2
ปฏิกริ ยิ าแบบ SN2 ปฏิ กิ ร ิ ย าแบบ SN2 ปฏิ กิ ร ิ ย าแบบ SN2 เกิดปฏิกิรยิ า SN1/E1
ยกเว้นทาปฏิกริ ยิ ากับ ซึ่ ง เกิ ด กั บ เบสอ่ อ น และที่อุ ณ หภู ม ิต่ า จะ
เบสแก่ [(CH3)3CO-] เช่น I- CN- RCO2- เกิด SN1 ได้ดี เมื่อใช้
จะเกิดแบบ E2 และหากท าปฏิกิร ิย า เบสแก่ (RO-) จะเกิด
กับเบสแก่จะเกิดแบบ แบบ E2
E2

1.1.7 อิ ทธิ พลต่างๆ ในปฏิ กิริยาเคมี


การศึก ษาอิทธิพ ลที่เ กิดขึ้นในปฏิกิรยิ าเคมีเ ป็ น ตัว ช่ว ยในการทานายต าแหน่ ง ของการ
เกิดปฏิกิรยิ าเคมีเบื้องต้นได้ ทาให้สามารถเข้าใจขัน้ ตอนกลไกการเกิดปฏิกริ ยิ าแต่ละขัน้ ตอนได้
อิทธิพลทีม่ ใี นปฏิกริ ยิ าเคมีทค่ี วรทราบมีดงั นี้

1) ผลของไฮบริ ไดเซชัน (The effect of hybridization)


ปฏิกิรยิ าเคมีอนิ ทรียบ์ างปฏิกิรยิ าถ้าพิจารณาแล้วพบว่าเป็ นปฏิกริ ยิ าที่เกิดจากเบสมาทา
ปฏิกริ ยิ ากับสารตัง้ ต้น ซึง่ เป็ นทีท่ ราบกันดีว่าเบสจะดึงโปรตอนจากสารอินทรีย์ ดังนัน้ ถ้าหากทราบ
ว่าโปรตอนตัวไหนในโมเลกุลอินทรีย์ม ีความเป็ นกรด ก็จะทราบได้ว่าเบสที่เข้าทาปฏิกิรยิ าจะดึง
โปรตอนที่ตาแหน่ งใดบนโมเลกุลอินทรีย์ เมื่อพิจารณาโมเลกุลของสารอินทรีย์ท่มี ไี ฮบริไดเซชัน
ต่างกันจะมีสภาพความเป็ นกรดต่างกันโดย Ethyne มีความเป็ นกรดมากกว่า Ethene และ Ethene
มีความเป็นกรดมากว่า Ethane

ความเป็ นกรดดังกล่าวสามารถอธิบายได้โดย อิเล็กตรอนที่ 2s ซึ่งมีพลังงานต่ ากว่า 2p ออร์บทิ ลั


ส่งผลให้อเิ ล็กตรอนที่ 2s ถูกดึงดูดจากนิวเคลียสได้มาก ดังนัน้ หากมีเปอร์เซ็นต์ s ในไฮบริดออร์
บิทลั มากก็จะทาให้อเิ ล็กตรอนระหว่างคาร์บอนกับไฮโดรเจนเบาบางส่งผลให้โปรตอนหลุดได้ง่าย
เมื่อคานวณเปอร์เซ็นต์ของ s ออร์บทิ ลั ในไฮบริดออร์บทิ ลั ของ sp จะได้เปอร์เซ็นต์เท่ากับ 50% s

สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) หน้า 13


เคมีอินทรีย์ 2/2554

character ของ sp2 ได้เท่ากับ 33.3 s character และ sp3 มีเปอร์เซ็นต์ s character เท่ากับ 25%
ดังนัน้ จึงสรุปได้ว่ายิง่ มีเปอร์เซ็นต์ s character มากจะมีความเป็นกรดทีแ่ รง

2) ผลของการเหนี่ ยวนาอิ เล็กตรอนผ่านพันธะ (Inductive effect)


เป็ นผลของการเหนี่ยวนาดึงกลุ่มหมอกอิเล็กตรอนผ่านพันธะส่งผลให้โปรตอนในโมเลกุล
อินทรียห์ ลุดได้ง่ายขึน้ เช่นเมื่อมี F ในโมเลกุล F จะดึงกลุ่มหมอกอิเล็กตรอนผ่านพันธะส่งผลให้
โปรตอนทีอ่ ยูใ่ กล้กบั F มีความเป็นกรดสูงเมือ่ เปรียบเทียบกับโปรตอนทีอ่ ยูห่ ่างจาก F

3) ผลของเรโซแนนซ์ (Resonance effect)


สารอินทรียบ์ างชนิดเมื่อหลุดโปรตอนสามารถเกิดเรโซแนนซ์ได้จงึ ทาให้โมเลกุลดังกล่าว
สามารถอยูใ่ นสภาพทีเ่ ป็นประจุลบได้ดงั ตัวอย่าง

4) ผลของความเกะกะ (Steric effect)


เป็ นผลเนื่องจากความเกะกะของโมเลกุล ดังตัวอย่างที่แสดงเบส OH- ไม่สามารถเข้าทา
ปฏิกริ ยิ ากับสารตัง้ ต้นได้เนื่องมาจากผลของ steric effect นัน้ เอง

สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) หน้า 14


เคมีอินทรีย์ 2/2554

1.2 สารประกอบอิ นทรีย์


1.2.1 หมู่ฟังก์ชนั
การจาแนกสารประกอบอินทรียน์ นั ้ สามารถแบ่งตามหมู่ฟงั ก์ชนั ของสาร ซึ่งหมู่ฟงั ก์ชนั เป็ น
ตัว บอกสมบัติเ ฉพาะในโมเลกุ ล ของสารประกอบอิน ทรีย์ สมบัติข องการเกิด ปฏิกิร ิย าของ
สารประกอบอินทรียจ์ ะเป็ นไปตามหมู่ฟงั ก์ชนั ที่เป็ นองค์ประกอบของสารนัน้ จึงอาจใช้หมู่ฟงั ก์ชนั
เป็ นเกณฑ์ในการจาแนกสารประกอบอินทรียช์ นิดต่ างๆ ได้ ตัวอย่างหมู่ฟงั ก์ชนั และประเภทของ
สารประกอบอินทรียแ์ สดงดังตารางที่ 2.1

สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) หน้า 15


เคมีอินทรีย์ 2/2554

ตารางที่ 1.4 ตารางหมูฟ่ งั ก์ชนั ชื่อ สูตรโครงสร้าง


ตัวอย่างสารประกอบ
ประเภทของ
หมู่ฟังก์ชนั ชื่อหมู่ฟังก์ชนั ชื่อ สูตร
สารประกอบ
โครงสร้าง
ไม่มหี มูฟ่ งั ก์ชนั
เป็นพันธะเดีย่ ว แอลเคน มีเทน CH4
(single bond)
พันธะคู่ระหว่าง C
แอลคีน อีทนี
(double bond)
พันธะสามระหว่าง
C แอลไคน์ อีไทน์
(triple bond)
ไฮดรอกซี
แอลกอฮอล์ เอทานอล
(hydroxy)
เมทอกซี
แอลคอกซี มีเทน
อีเทอร์
(alkoxy) (ไดเมทิล
อีเทอร์)
คาร์บอกซิล กรดอินทรีย์ กรดเอทาโน
(carboxyl) หรือกรดคาร์ อิก (กรดแอ
บอกซีลกิ ซิตกิ )
แอลคอกซีคาร์บอ เมทิลโพร
นิล พาโนเอท
เอสเทอร์
(alkoxycarbonyl) (เมททิลแอ
ซีเตต)

คาร์บอกซาลดีไฮด์ แอลดีไฮด์ เมทานาล


(carboxaldehyde)
คาร์บอนิล
(carbonyl) คีโตน โพรพาโนน

สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) หน้า 16


เคมีอินทรีย์ 2/2554

ตัวอย่างสารประกอบ
ประเภทของ
หมู่ฟังก์ชนั ชื่อหมู่ฟังก์ชนั ชื่อ สูตร
สารประกอบ
โครงสร้าง
อะมิโน อะมิโน
เอมีน
(amino) มีเทน
เอไมด์ เมทานา
(amide) เอไมด์
ไมด์

การแบ่งประเภทของสารประกอบอินทรีย์ นอกจากจะแบ่งตามชนิดของหมู่ฟงั ก์ชนั แล้วอาจ


แบ่ง เป็ น กลุ่ ม ใหญ่ ๆ ตามชนิดของธาตุ ท่เี ป็ นองค์ประกอบ เช่น สารประกอบที่มแี ต่ ค าร์บอนกับ
ไฮโดรเจนเราจะเรียกสารกลุ่มนี้ว่า สารประกอบไฮโดรคาร์บอน สารทีม่ อี อกซิเจนเป็ นองค์ประกอบ
สารที่มไี นโตรเจนเป็ นองค์ประกอบ และสารประกอบอินทรีย์ท่มี ที งั ้ ออกซิเจนและไนโตรเจนเป็ น
องค์ประกอบ

1.2.2 การเรียกชื่อ (Nomenclature)


1.2.2.1 การเรียกชื่อสารประกอบแอลเคน
แม้ว่าการเรียกชื่อ n-alkane (normal alkane) จะไม่มปี ญั หาเพราะเป็ นการเรียก
จากตัวเลขในภาษากรีก แต่เมื่อโครงสร้างของคาร์บอนอะตอมมีโซ่กิ่ งจะทาให้เกิดปญั หาในการ
เรียกชื่อ นักเคมีสมัยแรกๆ จึงเรียกชื่อโครงสร้างแต่ละชนิดแตกต่างกันออกไป โดยถ้ามีคาร์บอน 1
อะตอมต่อกับอะตอมที่ 2 จากปลายโซ่จะเรียกว่า ไอโซ- (iso- ) ดังนัน้ butane จึงมี 2 การจัดเรียง
ตัวได้ 2 แบบหรือเรียกว่า butane มี 2 ไอโซเมอร์นนั ้ คือ

สาหรับเพนเทนยังมีไอโซเมอร์ทม่ี คี าว่า นีโอ- (neo- ) นาหน้าอีกด้วยจึงทาให้ม ี 3 ไอโซเมอร์ คือ

สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) หน้า 17


เคมีอินทรีย์ 2/2554

อย่างไรก็ตามเมือ่ จานวนคาร์บอนอะตอมเพิม่ ขึน้ จานวนไอโซเมอร์กเ็ พิม่ ขึน้ ด้วย เช่น เฮกเซนจะมี 5


ไอโซเมอร์ เฮปเทนมี 8 ไอโซเมอร์ ทาให้การเรียกชื่อมีปญั หามากขึน้ เรื่อยๆ จึงมีความจาเป็ นต้อง
ตัง้ ระบบการเรียกชื่อขึน้
ระบบ IUPAC นักเคมีกลุ่มหนึ่งได้ประชุมกันทีเ่ จนีวาในปี ค.ศ.1892 และได้ช่วยกันร่างกฎ
การเรียกชื่อขึน้ มา เรียกว่าระบบ IUPAC (International Union of Pure and Applied Chemistry)
โ ด ย จ า น ว น นั บ ใ น ภ า ษ า ก รี ก ร ะ บุ จ า น ว น อ ะ ต อ ม ข อ ง ค า ร์ บ อ น แ ล ะ ล ง ท้ า ย ด้ ว ย เ -น
(-ane) จานวนนับภาษากรีกมีดงั นี้

1 = มีทหรือเมท (meth-) 6 = เฮกซ (hex-)


2 = อีทหรือเอท (eth-) 7 = เฮปท (hept-)
3 = โพรพ (prop-) 8 = ออกท (oct-)
4 = บิวท (but-) 9 = โนน (non-)
5 = เพนท (pent-) 10 = เดกค (deca-)

และมีขนั ้ ตอนในการเรียกดังนี้
1) เลือกโซ่คาร์บอนทีย่ าวทีส่ ุดเป็นโซ่หลัก (parent name) เช่น

CH 3 CHCH 2 CH 2CHCH 2CH 3

CH 3 CH 2 CH 3

จะเห็นได้ว่าโซ่คาร์บอนทีย่ าวทีส่ ุดมีคาร์บอนต่อกัน 7 อะตอม จึงเรียกชื่อโซ่หลักว่า เฮปเทน


(heptane)
2) กาหนดตาแหน่ งของคาร์บอนอะตอมในโซ่หลัก โดยให้ตาแหน่ งของคาร์บอนที่มหี มู่
แทนที่ (substituent) มีตวั เลขต่าสุด เช่น

1 2 3 4 5 6 7
CH 3CHCH 2CH 2CHCH 2CH 3

CH 3 CH 2CH 3

สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) หน้า 18


เคมีอินทรีย์ 2/2554

ถ้านับจากขวาไปซ้ายจะทาให้หมู่แทนทีอ่ ยู่ทต่ี าแหน่ งที่ 3 และ 6 แต่ถ้านับจากซ้ายไปขวา


หมู่แทนที่จะอยู่ท่ตี าแหน่ งที่ 2 และ 5 ดังนัน้ จึงนับจากซ้ายไปขวาเพราะตัวเลขของหมู่
แทนทีจ่ ะต่ากว่า
3) หมู่แ ทนที่ต่ อ อยู่ก ับตาแหน่ งใดของคาร์บอนอะตอมในโซ่หลักการอ่ านชื่อ ก็จะระบุ
ตาแหน่งของคาร์บอนอะตอมนัน้ แล้วตามด้วยชื่อของหมู่แทนที่ โดยจานวนคาร์บอนของหมู่
แทนที่จะลงท้ายด้ว ย อิล เช่น ในตัว อย่างข้างต้นอ่ านว่าหมู่ 2–methyl และ 5–ethyl
ตามลาดับ
4) ในการเรียกชื่อจะเริม่ ด้วยชื่อของหมู่แทนทีเ่ รียงตามลาดับตัวอักษรแล้วตามด้วยชื่อหลัก
ดังนัน้ สารประกอบในตัวอย่างข้างต้นจึงมีช่อื เรียกว่า 5–ethyl-2–methylheptane
5) ถ้าในโมเลกุลมีหมู่แทนทีช่ นิดเดียวกันมากกว่า 1 หมู่ ให้เติมคาว่า di, tri, tetra, … เพื่อ
บอกถึงจานวนของหมูแ่ ทนทีด่ ว้ ย และถ้าหมูแ่ ทนทีช่ นิดเดียวกันแทนทีอ่ ยู่ทค่ี าร์บอนอะตอม
เดียวกันทัง้ 2 หมูใ่ ห้ระบุตวั เลขของตาแหน่งนัน้ ซ้าด้วย เช่น
CH 3 CH 3

CH 3CHCHCH 2CH 3 CH 3CH 2 CH 2 CCH 2 CH 3

CH 3 CH 3
2,3–dimethylpentane 3,3–dimethylhexane

6) สาหรับหมู่แอลคิล (alkyl group) ซึง่ เป็ นหมู่แทนทีน่ นั ้ เกิดจากการลดจานวนอะตอมของ


ไฮโดรเจนในแอลเคนลง 1 อะตอม จึงมีสตู รทัวไป ่ CnH2n+1 ดังตาราง 2.2

ตาราง 1.5 แสดงชื่อและสูตรโครงสร้างของหมูแ่ อลคิลทีส่ าคัญ


ชื่อหมู่แอลคิ ล สูตรโครงสร้าง
methyl
CH 3

ethyl
CH 2CH 3

n – propyl
CH 2CH 2CH 3

isopropyl CHCH 3

CH 3

สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) หน้า 19


เคมีอินทรีย์ 2/2554

ชื่อหมู่แอลคิ ล สูตรโครงสร้าง
n – butyl
CH2CH2CH2CH3

isobutyl CH 2CHCH 3

CH 3
sec – butyl CH 3CHCH 2CH 3

CH 3

tert - butyl CCH 3

CH 3

ในบางครัง้ อาจพบว่าหมู่แอลคิลมีโครงสร้างทีซ่ บั ซ้อนมากกว่าในตาราง 2.2 แต่หลักในการ


เรียกชื่อยังคงเป็นไปในทานองเดียวกัน โดยจะต้องนับคาร์บอนทีส่ ร้างพันธะกับโซ่หลักเป็ นตาแหน่ ง
ที่ 1 เสมอ เช่น
CH 3
6 5 3 2 1
CH 3CHCHCH 2 CH 2CH 2
4
CH 3
4, 5 – dimethylhexyl

1.2.2.2 การเรียกชื่อสารประกอบไซโคลแอลเคน
การเรียกชื่อไซโคลแอลเคนจะเรียกทานองเดียวกับแอลเคน ยกเว้นแต่ช่อื หลักซึ่ง
บอกจานวนคาร์บอนในวงนัน้ จะต้องนาหน้าด้วยคาว่า ไซโคล– (cyclo- ) ซึง่ แสดงดังตาราง

ตาราง 1.6 แสดงตัวอย่างของไซโคลแอลเคนบางชนิด


สูตรโครงสร้าง ชื่อ จุดเดือด (C)
Cyclopropane
-33
หรือ

สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) หน้า 20


เคมีอินทรีย์ 2/2554

สูตรโครงสร้าง ชื่อ จุดเดือด (C)


Cyclobutane
13
หรือ

Cyclopentane 49
หรือ

Cyclohexane 81
หรือ

การเขียนสูตรแสดงโมเลกุลของไซโคลแอลเคนนิยมเขียนเป็ นรูปเรขาคณิตเพราะเขียนง่าย
แต่การใช้สูตรแบบนี้จะต้องระลึกเสมอว่าแต่ละอะตอมของคาร์บอน (ซึง่ เขียนแสดงเพียงมุมของรูป
เหลีย่ มเท่านัน้ ) จะต้องสร้างพันธะกับไฮโดรเจน 2 อะตอม และจากตาราง 2.3 จะเห็นว่าไซโคลแอ
ลเคนมีจดุ เดือดสูงกว่า n–alkane ทีม่ จี านวนคาร์บอนเท่ากัน
ไซโคลแอลเคนที่มหี มู่แอลคิลแทนที่จะเรียกชื่อเป็ นอนุ พนั ธ์ของไซโคลแอลเคน โดยถ้ามี
การแทนทีเ่ พียง 1 หมู่ ก็ไม่จาเป็ นต้องระบุตาแหน่ งทีแ่ ทนที่ เพราะทุก ๆ ตาแหน่ งในวงจะสมมาตร
กันหมด เช่น

แต่ถ้ามีการแทนที่ตงั ้ แต่ 2 ตาแหน่ งขึ้นไป จาเป็ นต้องระบุตาแหน่ งที่มกี ารแทนที่ด้วย


โดยทัวไปให้
่ มกี ารนับตาแหน่ งที่มกี ารแทนที่ใด ๆ เป็ นตาแหน่ งที่ 1 แล้วนับวนไปจนรอบวงใน
ทิศทางทีท่ าให้หมูแ่ ทนทีม่ ตี วั เลขน้อยทีส่ ุด เช่น

1,3–dimethylcyclopentane 1–ethyl–3–methylcyclohexane

สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) หน้า 21


เคมีอินทรีย์ 2/2554

ถ้าวงของไซโคลแอลเคนต่ออยูก่ บั หมูแ่ อลคิลทีม่ โี ครงสร้างซับซ้อน มักนิยมเรียกหมู่ไซโคล


แอลคิลเป็นหมูแ่ ทนทีต่ ่อกับแอลเคน เช่น

3–cyclopentyl–2,5–dimethylhexane

1.2.2.3 การเรียกชื่อสารประกอบแอลคีน
การเรียกชื่อโดยระบบ IUPAC นัน้ ถ้ามีหมู่ฟงั ก์ชนั จะต้องพิจารณาถึงหมู่ฟงั ก์ชนั
ของสารประกอบเพื่อใช้เป็นชื่อหลัก ในกรณีของแอลคีนมีขนั ้ ตอนดังนี้
1) เลือกโซ่คาร์บอนทีย่ าวทีส่ ุดและมีพนั ธะคู่อยู่ในโซ่นนั ้ ด้วยเป็ นชื่อหลัก แต่ในกรณีทม่ี พี นั ธะคู่
มากกว่า 1 พันธะ ให้เลือกโซ่ท่มี พี นั ธะคู่มากทีส่ ุดเป็ นชื่อหลัก แม้ว่าจะไม่ใช่โซ่ทย่ี าวทีส่ ุดก็
ตาม
2) กาหนดตาแหน่งคาร์บอนอะตอมในโซ่หลัก โดยให้พนั ธะคู่อยูใ่ นตาแหน่งทีม่ เี ลขน้อยทีส่ ุด
3) ถ้ามีพนั ธะคู่เพียง 1 พันธะ ให้ลงท้ายชื่อว่า – อีน (-ene) ถ้ามี 2 พันธะใช้ – ไดอีน
(-diene)
4) ตาแหน่งของพันธะคู่ให้ระบุดว้ ยตัวเลขของคาร์บอนอะตอมแรกทีส่ ร้างพันธะคู่นนั ้
5) ถ้ามีโซ่กงิ่ ให้ระบุทานองเดียวกันกับสารประกอบแอลเคน

ตาราง 1.7 การเรียกชื่อของสารประกอบแอลคีนบางชนิด


สูตรโครงสร้าง ชื่อที่เรียก
1 3
2 4 5–methyl–1–hexene
6
5
1 3
1,3–butadiene
2 4

สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) หน้า 22


เคมีอินทรีย์ 2/2554

สูตรโครงสร้าง ชื่อที่เรียก
1
2–ethyl–1–butene
2 4

2 7 2,4,6,6–tetramethyl–2-heptene
4 6
1 3 5

แอลคีนโมเลกุลเล็กๆ บางโมเลกุลมีช่อื สามัญทีน่ ิยมใช้มากกว่าชื่อ IUPAC เช่น


CH 3

H2C CH 2 H2C CH CH3 H3C C CH 2


ethylene propylene isobutylene

1.2.2.4 การเรียกชื่อสารประกอบไซโคลแอลคีน
ถ้าในวงของสารประกอบมีพนั ธะคู่เพียง 1 พันธะ ให้นับคาร์บอนอะตอมที่สร้าง
พันธะคู่เป็ นตาแหน่ งที่ 1 และไม่จาเป็ นจะต้องระบุตาแหน่ งของพันธะคู่นนั ้ แต่ถ้ามีพนั ธะคู่ 2 พันธะ
จะต้องระบุตาแหน่งของพันธะทัง้ สองด้วย เช่น

2
3 3
1
2 4
6 4
1 5 5
3–methylcyclopentene 2–ethyl–1,3–cyclohexadiene
1.2.3.5 การเรียกชื่อสารประกอบแอลไคน์
การเรียกชื่อแอลไคน์จะเหมือนกับแอลคีนแต่ให้เปลี่ยนคาลงท้ายชื่อเป็ น –ไอน์ (-
yne) ในกรณีทใ่ี นโมเลกุลมีทงั ้ พันธะคู่และพันธะสาม โซ่หลักจะต้องมีทงั ้ พันธะคู่และพันธะสาม และ
คาลงท้ายชื่อจะเป็ น –อีน - ไอน์ (-en -yne) ส่วนในการนับตาแหน่ งจะต้องให้พนั ธะคู่มตี วั เลขน้อย
กว่า เช่น

สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) หน้า 23


เคมีอินทรีย์ 2/2554

CH 3

HC CCHCH 2 CH 3
1 2 3 4 5 หรือ
3–methyl–1–pentyne

1 2 3 4 5 6
H 2C CHCH 2 CH 2 C CH หรือ

1–hexene–5–yne
แม้ว่าชื่อ IUPAC ของสารประกอบตัวแรกของแอลไคน์จะเป็ นอีไทน์ (ethyne) แต่
มักนิยมเรียกว่า อะเซทิลนี (acetylene) และสารประกอบตัวแรกๆ ของแอลไคน์ก็นิยมเรียกเป็ น
อนุพนั ธ์ของอะเซทิลนี โดยพิจารณาว่าสารนัน้ ๆ เกิดจากการแทนทีไ่ ฮโดรเจนของอะเซทิลนี ด้วยหมู่
แอลคิล เช่น
HC CH H3CC CH H3CC CCH3
acetylene methylacetylene dimethylacetylene

1.2.3.6 การเรียกชื่อสารประกอบอะโรมาติ ก
อนุพนั ธ์ของเบนซีน เกิดจากไฮโดรเจนอะตอมในโมเลกุลของเบนซีนถูกแทนทีด่ ว้ ย
ธาตุใดธาตุหนึ่ง หรือหมู่ธาตุใดหมู่ธาตุหนึ่ง สารประกอบอะโรมาติกไฮโดรคาร์บอนทีเ่ ป็ นอนุ พนั ธ์
ของเบนซีนจึงมีอยูม่ ากมายและการเรียกชื่อ IUPAC ของอนุพนั ธ์เหล่านี้จะอ่านโดยใช้เบนซีนเป็ นชื่อ
หลัก ดังต่อไปนี้
ถ้าเบนซีนมีหมูแ่ ทนทีเ่ พียงหมูเ่ ดียวให้อ่านหมูแ่ ทนทีแ่ ล้วตามด้วยชื่อหลักเบนซีน สารประกอบ
เหล่านี้โดยมากมีช่อื สามัญ และบางครัง้ ชื่อสามัญมักนิยมเรียกมากกว่าชื่อ IUPAC เช่น
methylbenzene เรียกชื่อสามัญว่า toluene aminobenzene มีช่อื สามัญว่า aniline เป็นต้น
CH 3
H 3C
CH 2

methylbenzene
(toluene) ethylbenzene

สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) หน้า 24


เคมีอินทรีย์ 2/2554

CH 2
H 3C CH 3
HC CH

vinylbenzene isopropylbenzene
(styrene) (cumene)

OH NH 2
Cl

hydroxybenzene aminobenzene
(phenol) (aniline) chlorobenzene

ถ้าหมูท่ ต่ี ่อกับเบนซีนเป็ นหมู่ทซ่ี บั ซ้อนมาก ๆ อาจจะเรียกชื่อเป็ นสารประกอบของ


แอลเคน หรือแอลคีน หรืออื่น ๆ แล้วเรียกเบนซีนเป็ นหมู่แทนที่ เป็ นหมู่ฟีนิล (phenyl group)
ั ลักษณ์แทนฟีนิวดังนี้ Ph- หรือ - เช่น
และเรามักใช้สญ

3–ethyl–5–phenyl–1–pentene phenylacetylene biphenyl

เบนซีนทีม่ หี มูแ่ ทนที่ 2 หมู่ อาจมีไอโซเมอร์ได้ 3 ไอโซเมอร์ เช่น diethylbenzene

สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) หน้า 25


เคมีอินทรีย์ 2/2554

Note: ตาแหน่ง ortho meta และ para


R
ortho ortho

meta
meta

para

การระบุตาแหน่งทัง้ สองทีห่ มูเ่ อทิลแทนทีอ่ ยูอ่ าจระบุเป็ นตัวเลขก็ได้ หรือทีส่ ะดวกและนิยมมากกว่า


คือใช้คานาหน้าว่า ortho– สาหรับตาแหน่ ง 1, 2 meta– สาหรับตาแหน่ ง 1, 3 และ para– สาหรับ
ตาแหน่ง 1, 4 โดยมักใช้เป็นตัวย่อ o– m– และ p– แทน ortho– meta– และ para– ตามลาดับ

แต่ถา้ มีหมูแ่ ทนทีม่ ากกว่า 2 หมูข่ น้ึ ไปจะระบุตาแหน่งทีแ่ ทนทีด่ ว้ ยตัวเลขอย่างปกติ เช่น
NO 2
Br

1,2,3-trimethylbenzene 3-bromo-2-nitrotoluene

สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) หน้า 26


เคมีอินทรีย์ 2/2554

I NH 2
2-amino-4-iodotoluene

ถ้ามีวงอะโรมาติกมาเชื่อมต่อกันโดยมีด้านใดด้านหนึ่งร่วมกันเรียกว่าพอลินิวเคลียร์อะโร
มาติกไฮโดรคาร์บอน (polynuclear aromatic hydrocarbon) เช่น

naphthalene phenanthrene anthracene

1.2.3.7 การเรียกชื่อแอลกอฮอล์
ชื่ อสามัญ นิย มใช้เ รีย กแอลกอฮอล์โมเลกุ ล เล็กมีมวลโมเลกุ ล น้ อ ย โดยให้เ รีย กชื่อ หมู่
แอลคิลก่อนแล้วลงท้ายด้วยคาว่าแอลกอฮอล์ เช่น

OH
H 3C OH HO
Methyl alcohol ethyl alcohol iso-propyl alcohol

ชื่อ IUPAC มีหลักการเรียกดังนี้


1) เรียกโซ่คาร์บอนทีย่ าวทีส่ ุดและมีหมู่ – OH เกาะอยูด่ ว้ ยเป็นโซ่หลัก
2) นับตาแหน่ งคาร์บอนอะตอมในโซ่หลัก ให้คาร์บอนที่มหี มู่ –OH เกาะอยู่เ ป็ น
ตาแหน่ งต่าทีส่ ุด และเรียกเลขตาแหน่งของหมู่ –OH ไว้หน้าชื่อโซ่หลัก
3) ให้เรียกเช่นเดียวกับหลักการเรียกชื่อแอลเคนโดยให้ตดั –e ท้ายชื่อแอลเคนออก
แล้วเติม –ol แทน
4) หมู่แทนที่ให้เรียกโดยใช้หลักเดียวกับการเรียกชื่อแอลเคน คือเรียกเลขตาแหน่ ง
และชื่อหมูแ่ ทนทีก่ ่อนจึงตามด้วยชื่อของโซ่หลัก
5) ส าหรับโมเลกุ ล ที่เ ป็ นวงให้ต าแหน่ งคาร์บอนอะตอมที่หมู่ –OH เกาะอยู่เ ป็ น
ตาแหน่ งที่ 1 เสมอ ดังนัน้ ในการเรียกชื่อจึงไม่ต้องเรียกเลขตาแหน่ งของหมู่ – OH

สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) หน้า 27


เคมีอินทรีย์ 2/2554

หมายเหตุ: ปจั จุบนั IUPAC ได้ใช้การเรียกชื่อทีอ่ ยูใ่ นวงเล็บเช่นกัน


6) หากมีหมู่ hydroxyl group มากกว่า 1 ให้เติมคานาหน้า –ol เพื่อบอกจานวน
hydroxyl และชื่อของสายโซ่หลักต้องไม่ตดั e เช่น HOCH2CH2OH = 1,2-
ethanediol
7) โครงสร้างที่มหี มู่ฟงั ก์ชนั alkene หรือ alkyne กับ alcohol ต้องนับให้ตาแหน่ ง
hydroxyl group ทีต่ าแหน่งทีน่ ้อยทีส่ ุด

1.2.3.8 การเรียกชื่ออีเทอร์
1) การเรียกชื่อสามัญโดยทัวไปเราพบว่
่ าการเรียกชื่อของอีเทอร์แบบสามัญจะพบมาก
เนื่องจากมีความซับซ้อนน้อยและไม่ยุ่งยากเหมือนการเรียกชื่อตามระบบ IUPAC
ในการเรียกชื่อสามัญจะเรียกเป็ นหมู่แอลคิลทีต่ ่อกับออกซิเจนโดยเรียงลาดับตาม
อักษรภาษาอังกฤษ แล้วลงท้ายด้วยอีเทอร์ เช่น

สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) หน้า 28


เคมีอินทรีย์ 2/2554

2) ชื่อ IUPAC ของสารประกอบอีเทอร์ค่อนข้างซับซ้อนโดยเราจะเรียกหมู่ RO- ว่า


เป็ น alkoxy group โดยให้หมู่แอลคอกซีเป็ นหมู่ทม่ี ลี าดับตัวอักษรตัวแรกๆ ตาม
ภาษาอังกฤษ และเรียกอีกหมูห่ นึ่งเป็นกลุ่มแอลคิล เช่น

สาหรับโครงสร้างทีเ่ ป็นวงอีเทอร์เราจะใช้ oxa- นาหน้าชื่อ เช่น

1.2.3.9 การเรียกชื่อแอลดีไฮด์และคีโตน
ในระบบ IUPAC จะเรียกชื่อแอลดีไฮด์จากชื่อของแอลเคน โดยเปลีย่ นอักษรทีล่ ง
ท้ายชื่อแอลเคนจาก –e เป็ น –al และให้นับตาแหน่ งคาร์บอนอะตอมในหมู่คาร์บอกซาลดีไฮด์
(-CHO) เป็นตาแหน่งที่ 1 เสมอ เช่น

สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) หน้า 29


เคมีอินทรีย์ 2/2554

ส่วนการเรียกชื่อคีโตนจะเปลีย่ นอักษรลงท้ายชื่อแอลเคนจาก –e เป็ น –one และ


ระบุตาแหน่งของคาร์บอนในหมูค่ าร์บอนิล (-CO-) เป็นตาแหน่งทีต่ ่าสุด

การนับตาแหน่งของคาร์บอนอะตอมต่าง ๆ ทีต่ ่ออยูก่ บั หมูค่ าร์บอนิลอาจนับโดยใช้


อักษรกรีกก็ได้ อะตอมของคาร์บอนทีต่ ่อโดยตรงกับหมู่คาร์บอนิล เรียกว่า แอลฟาคาร์บอน (alpha-
carbon:  - carbon) คาร์บอนอะตอมถัดไปเรียกว่า บีตา (beta: ) แกมมา (gamma: ) เดลตา
(delta: ) ตามลาดับ สาหรับคาร์บอนอะตอมที่อยู่ปลายโซ่ท่มี คี วามยาวมาก ๆ เรียกว่า โอเมกา
คาร์บอน (omegacarbon: -carbon) เพราะ  เป็ นอักษรตัวสุดท้ายของภาษากรีก หมู่อะตอมที่
ต่ออยูก่ บั แอลฟาคาร์บอน เรียกว่า หมูแ่ อลฟา และทีต่ ่อกับบีตา – คาร์บอน เรียกว่า หมูบ่ ตี า

1.2.3.10 การเรียกชื่อกรดคาร์บอกซิ ลิก


ในระบบ IUPAC มีหลักการเรียกชื่อดังนี้ ให้เรียกชื่อเช่นเดียวกับสารประกอบแอ
ลเคนที่มคี าร์บอนอะตอมเท่ากัน โดยให้ตดั –e ท้ายชื่อแอลเคนออก แล้วเติม –oic แทนการนับ
ตาแหน่ งคาร์บอนอะตอมในโซ่หลักให้นับคาร์บอนอะตอมในหมู่คาร์บอกซิลเป็ นตาแหน่ งที่ 1 เสมอ
เช่น

สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) หน้า 30


เคมีอินทรีย์ 2/2554

HCOOH methanoic acid (formic acid)


CH3COOH ethanoic acid (acetic acid)
CH3CH2COOH propanoic acid
CH3CH2CH2COOH butanoic acid
CH3CH2CH2CH2COOH pentanoic acid
(CH3)2CHCH2CH2COOH 4 – methylpentanoic acid
หากหมู่คาร์บอกซิลทาหน้าที่เป็ นหมู่เกาะให้ขน้ึ ต้นด้วย –carboxy- และหากมีหมู่
เกาะทีซ่ บั ซ้อนสามารถอ่านได้ดงั ตัวอย่าง

การเรียกชื่อสามัญของกรดคาร์บอกซิลกิ จะใช้อกั ษรกรีก เช่น แอลฟา (α) บีตา (β)


และแกมมา () ระบุตาแหน่ งคาร์บอนทีต่ ่อกับหมู่คาร์บอกซิลตาแหน่ งที่ 1 2 และ 3 ตามลาดับ ดัง
ตัวอย่าง

 β α
ดัง นั ้น กรดแอลฟาไฮดรอกซี จ ึง หมายถึ ง กรดคาร์ บ อกซิ ล ิก ที่ ม ีห มู่ ไ ฮดรอก
ซิลต่ออยูก่ บั อะตอมคาร์บอนทีต่ าแหน่งแอลฟา

1.2.3.11 การเรียกชื่อสารประกอบเอสเทอร์
1) อ่านจากด้านทีเ่ ป็นแอลกอฮอล์ก่อนโดยลงท้ายเสียงด้วย -yl หลังจากนัน้
2) อ่านด้านทีเ่ ป็นกรดคาร์บอกซิลกิ ลงท้ายด้วยเสียง -oate

สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) หน้า 31


เคมีอินทรีย์ 2/2554

O
ด้ าน carboxylic acid ด้ าน alcohol
H 3CC OCH 2CH 3
Ethyl acetate

1.2.3.12 การเรียกชื่อเอมีน
การเรียกชื่อ เอมีนจะเรียกโดยระบุห มู่ฟ งั ก์ช นั คือ เรียกชื่อ หมู่แอลคิล หรือ เอริล
แล้วตามด้วยคาว่า –เอมีน (-amine)

CH3CH2CH2NH2 (CH3CH2)2NH
propylamine cyclohexylamine diethylamine
ถ้ามีหมูแ่ อลคิลมากกว่า 1 ชนิดต่ออยู่กบั อะตอมของไนโตรเจน จะใช้ช่อื หมู่แอลคิล
ทีใ่ หญ่ทส่ี ุดเป็นชื่อหลัก ส่วนหมูแ่ อลคิลอื่นๆ จะเรียกชื่อเป็น N–alkyl– ไว้ขา้ งหน้า

N
H
N -methylpropan-2-amine
ในระบบ IUPAC ให้เรียกอนุ พนั ธ์ของไฮโดรคาร์บอน โดยเติมคาว่า amino ไว้หน้า
ชื่อไฮโดรคาร์บอน
NH2 NH2

NH2
aminopropane 2–aminobutane 5–methyl–3–aminohexane
1.2.3.13 การเรียกชื่อเอไมด์
ในระบบ IUPAC ใช้หลักเกณฑ์เดียวกับแอลเคน โดยให้ตดั –e ท้ายชื่อแอลเคน
ออก แล้วเติม –amide แทนการกาหนดตาแหน่ งคาร์บอนอะตอมให้นับคาร์บอนในหมู่เอไมด์เป็ น
ตาแหน่งที่ 1 เสมอ

สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) หน้า 32


เคมีอินทรีย์ 2/2554

สาหรับเอไมด์กลุ่มที่ 2 ซึง่ ไฮโดรเจนถูกแทนทีด่ ว้ ยหมูแ่ อลคิล หรือ เอริล จะเรียกชื่อดังนี้

1.2.3.14 หมู่ฟังก์ชนั และอันดับความสาคัญ


เมื่อมีหมู่ฟงั ก์ชนั มากกว่า 1 หมู่ หมู่ท่มี คี วามสาคัญมากทีส่ ุดจะถูกระบุให้เป็ นชื่อ
ท้ายของการเรียกชื่อ (suffix) ซึง่ คานาหน้าหมู่ (prefix) ท้ายหมู่ (suffix) และลาดับความสาคัญของ
หมูต่ ่างๆ แสดงดังตารางที่ 2.4

ตาราง 1.8 สรุป IUPAC และอันดับความสาคัญของหมูฟ่ งั ก์ชนั จากมากไปหาน้อย


Class Formula Suffix Prefix
Carboxylic acids -oic acid carboxy-

Esters alkyl -oate alkoxycarbonyl-


(or carbalkoxy-)
Acyl halide -oyl halide haloalkanoyl-

Amides -amide carbamoyl-

Aldehydes -al alkanoyl-

สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) หน้า 33


เคมีอินทรีย์ 2/2554

Class Formula Suffix Prefix


Ketones -one -oxo-

Alcohols -ol hydroxyl-


Amines -amine amino- (or aza)

Ethers - -oxa (or alkoxy-)


Alkenes -ene alkenyl-

Alkynes -yne alkynyl-


Halides - halo-
Nitro - nitro-
Alkanes -ane alkyl

1.3 ไอโซเมอริ ซึม


สูตรโมเลกุลต่างกับสูตรโครงสร้าง เพราะสูตรโมเลกุล เช่น C2H6O บอกเราเพียงว่าโมเลกุล
ประกอบด้วยธาตุอะไรบ้าง และแต่ละธาตุมกี ่อี ะตอม ความรู้เ พียงแค่สูต รโมเลกุ ลจึงไม่เพี ยงพอ
เพราะเราไม่ทราบว่าอะตอมต่างๆ ในโมเลกุลนัน้ จัดเรียงตัวกันอย่างไร และมีจานวนมากทีโ่ มเลกุล
สามารถจัดเรียงตัวกันมากกว่า 1 แบบเป็ นผลทาให้เกิดโมเลกุลต่างชนิดกัน เช่น C2H6O อาจ
จัดเรียงตัวได้ดงั นี้

H H H H

H C C OH H C O C H

H H และ H H

สารทัง้ สองโครงสร้างเป็ นสารต่างชนิดกันและมีสมบัตแิ ตกต่างกันอย่างสิน้ เชิง สูตรเคมีทแ่ี สดงการ


จัดเรียงตัวของอะตอมในโมเลกุลเรียกว่า สูตรโครงสร้าง

สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) หน้า 34


เคมีอินทรีย์ 2/2554

การทีส่ ารอินทรียม์ สี ตู รโมเลกุลเหมือนกันแต่มสี ูตรโครงสร้างต่างกัน เรียกสารเหล่านี้ว่าเป็ น


ไอโซเมอร์ (Isomer) กันและกัน และเรียกปรากฏการณ์น้วี ่า ไอโซเมอริซมึ (Isomerism)
ซึง่ ไอโซเมอร์สามารถแบ่งประเภทต่างๆ ดังนี้

1.3.1 ไอโซเมอร์โครงสร้าง (Constitutional isomers หรือ Structural isomer)


เมื่อสารสองสารหรือมากกว่าสองสารต่างมีสูตรโมเลกุลเหมือนกัน แต่การจัดเรียงตัวหรือ
ตาแหน่งการจับกันของอะตอมต่างกัน เช่น C4H10 อาจเป็นได้สองสารซึง่ มีโครงสร้างต่างกันดังนี้

H H H H
1 2 3 4
H C C C C H

1 2 3 4
H H H H หรือ
(I)
H

4
H C H

H H
4
1 2 3
H C C C H

1 2 3
H H H หรือ
(II)
สูตรโครงสร้างทัง้ สองต่างกันเพราะการจัดเรียงตัวของคาร์บอนต่างกัน ในโครงสร้างที่ (I)
คาร์บอน 4 อะตอมจัดเรียงตัวกันตามลาดับจากซ้ายไปขวาเป็นสายยาว เรียกโครงสร้างประเภทนี้ว่า
โซ่ตรง (straight chain) ส่วนโครงสร้างที่ (II) คาร์บอน 3 อะตอมจัดเรียงตัวเป็ นสายยาวและมี
คาร์บ อนอีก 1 อะตอม คือ C4 แยกสาขาออกไปจากสายยาว เรียกโครงสร้างแบบนี้ ว่ า โซ่ กิ่ง
(branch chain)
สารที่เป็ นไอโซเมอร์แบบโครงสร้างเป็ นสารต่างชนิดกันมีสมบัติ ทางกายภาพและทางเคมี
แตกต่างกัน เช่น โครงสร้างที่ (I) เรียกว่า n–butane มีจดุ หลอมเหลว –138OC และจุดเดือด –0.5OC
ส่วนโครงสร้างที่ (II) เรียกว่า isobutane มีจดุ หลอมเหลว –159OC และจุดเดือด –12OC

สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) หน้า 35


เคมีอินทรีย์ 2/2554

1.3.2 ไอโซเมอริ ซึมเรขาคณิ ต (Stereoisomer) เป็นการจัดเรียงตัวของโมเลกุลทีแ่ ตกต่าง


กันโดยการเชื่อมต่อของอะตอมจะอยูท่ ต่ี าแหน่งเดียวกัน ซึง่ อาจแบ่งประเภทของ isomer นี้ออกเป็ น
3 ชนิดใหญ่ๆ ได้แก่
a) Geometric isomer ไอโซเมอร์ทเ่ี กิดจากสารอินทรียท์ เ่ี ป็ นวง หรือสารอินทรียท์ ม่ี พี นั ธะ
คู่ระหว่างคาร์บอนอะตอม อะตอมหรือหมู่อะตอม หรือหมู่ฟงั ก์ชนั ทีม่ าเกาะทีพ่ นั ธะคู่จะจัดเรียงตัว
ตามแบบเรขาคณิตทีต่ ่างกัน ไอโซเมอร์แบบนี้เมือ่ เขียนสูตรโครงสร้างทัว่ ๆ ไปจะเหมือนกัน เช่น

H3C CH3

H H

Cis-isomer

H3C H

H CH3
Trans-isomer
ทัง้ สองไอโซเมอร์มสี ูต รโมเลกุ ล เหมือ นกันคือ C4H8 ถ้าเขียนสูต รโครงสร้างทัวไปได้
่ ดงั นี้
CH3–CH=CH–CH3 ซึง่ เหมือนกันทัง้ สองชนิด แต่เมื่อแสดงรายละเอียดของตาแหน่ งอะตอมทีม่ าต่อ
ตรงตาแหน่งพันธะคู่จะพบว่าแตกต่างกันดังนี้
ดังนัน้ ในการเรียกชื่อสารประกอบจาพวกแอลคีนทีม่ ไี อโซเมอร์แบบ geometric isomer ให้
ระบุโครงสร้างแต่ละโครงสร้างว่าเป็ น cis- และ trans- เพื่อบอกโครงสร้างสามมิตขิ องโมเลกุล
ตัวอย่างเช่น cis-1,2-dichloroethene และ trans-1,2-dichloroethene

โดยการพิจารณาว่าโครงสร้างได้เป็ นโครงสร้างแบบ cis- หรือ trans- นัน้ ให้พจิ ารณาว่าหากอะตอม


หมู่ทม่ี าเกาะกับ C=C ทีเ่ หมือนกันอยู่ด้านเดีย่ วกันจะเรียกโครงสร้างนัน้ ว่า cis-isomer และหาก
โครงสร้างทีม่ หี มูเ่ หมือนกันอยูค่ นละด้านจะเรียก trans-isomer
ลักษณะสารอินทรียท์ เ่ี กิดเป็นวงสามารถเกิด cis- กับ trans-isomer ดังต่อไปนี้

สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) หน้า 36


เคมีอินทรีย์ 2/2554

CH3 CH3

H H
Cis-isomer

CH3 H

H CH3
Trans-isomer
บางครัง้ พบว่าโครงสร้า งบางโครงสร้า งมีหมู่ท่เี กาะกับ C=C มีหมู่ท่ไี ม่เ หมือ นกันดัง
โครงสร้างสาร A ดังแสดง พบว่าไม่สามารถบอกได้ว่าโครงสร้างดังกล่าวเป็ นโครงสร้าง cis- หรือ
trans- เพราะไม่มหี มู่ท่เี หมือนกันอยู่ในโครงสร้างดังกล่าว ดังนัน้ Cahn-Ingold-Prelong จึงได้
ประยุกต์ระบบในการอธิบายโครงสร้างดังกล่าวใหม่คอื ระบบ E-Z system E มากจากภาษาเยอรมัน
ว่า Entgegen แปลว่า opposite และ Z มาจากคาว่า Zusammen ซึ่งหมายถึง together ซึง่ จะ
พิจารณาระดับความสาคัญของหมู่ทม่ี าเกาะโดยพิจารณาจากเลขอะตอมของอะตอมทีม่ าเกาะหากมี
เลขอะตอมมากความสาคัญจะมากตัวอย่างเช่นดังแสดง

สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) หน้า 37


เคมีอินทรีย์ 2/2554

หากอะตอมทีม่ าเกาะเป็นพันธะคู่หรือพันธะสามให้เราพิจารณาแยกพันธะดังนี้

ตัวอย่างเช่น

สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) หน้า 38


เคมีอินทรีย์ 2/2554

ในบางครัง้ าเราอาจจาแนกไอโซเมอร์ประเภทนี้ว่าเป็ น diastereomer ซึง่ เป็ นไอโซเมอร์ท่ี


ไม่ได้เกิดจากการสะท้อนในเงากระจกซึ่งไอโซเมอร์ท่เี กิดจากการสะท้อนเงากระจกจะเรียกไอโซ
เมอร์ประเภทนี้ว่า Enantiomer ซึง่ จะกล่าวต่อไป
b) Optical isomers เป็ นโมเลกุล 2 โมเลกุลทีม่ สี ูตรเหมือนกันมีโครงสร้างเป็ นเงากระจก
กันและกัน แต่โครงสร้างทัง้ สองไม่สามารถทับกันอย่างสนิท โมเลกุลทัง้ สองจะเป็ น Optical isomer
หรือเป็นคู่ Enantiomer

ภาพสะท้อนของมือข้างซ้ายในกระจก เมือ่ นามาซ้อนทับกันจะซ้อนทับกันไม่สนิท


(ทีม่ า: Graham Solomon and Craig Fryhle, Organic Chemistry, 7ed.)

สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) หน้า 39


เคมีอินทรีย์ 2/2554

รูปของโครงสร้างโมเลกุล a) เป็ นโครงสร้างทีเ่ กิดจากการสะท้อนของกระจกเงา b) ภาพโมเลกุลที่


สะท้อนกระจกเงา c) ภาพโมเลกุลมาซ้อนทับกันb (ทีม่ า: Graham Solomon and Craig Fryhle,
Organic Chemistry, 7ed.)

การระบุโครงสร้างโมเลกุลที่เป็ นไอโซเมอร์แบบ optical isomer เราจะระบุเป็ น R หรือ S


configuration ในการพิจารณามีวธิ พี จิ ารณาดังนี้
1) เลือกอะตอมกลางที่มหี มู่แทนที่ทงั ้ สี่ไม่เหมือนกัน เราเรียกอะตอมกลางนี้ว่า stereocenter
หรือ chiral center หรือ chiral atom หากอะตอมกลางเป็ นคาร์บอนเราจะเรียกว่า chiral
carbon ให้หาความสาคัญของหมู่ทม่ี าเกาะกับ chiral atom อะตอมทีม่ าเกาะกับ chiral
center มีเลขอะตอมมากความสาคัญจะมาก จากโครงสร้าง O มีเลขอะตอมมากกว่า C และ
C มีเลขอะตอมมากกว่า H ดังนัน้ จึงระบุความสาคัญได้ O > C > H จากโครงสร้างทีก่ าหนด
สามารถระบุความสาคัญได้ดงั นี้

2) ตาแหน่ งของคาร์บอนเราไม่สามารถระบุได้ว่าอะตอมไหนมีความสาคัญกว่ากันดังนัน้ ให้


พิจารณาอะตอมถัดไป พบว่าได้จะได้กลุ่มอะตอมถัดไปของ (H, H, C) > (H, H, H) ดังนัน้
จึงเรียงความสาคัญได้ดงั นี้

3) จากนัน้ หันอะตอมทีม่ คี วามสาคัญน้อยทีส่ ุดไว้ดา้ นหลังแล้วแล้วนับความสาคัญ 1 2 3 หาก


ความสาคัญนับแบบตามเข็มนาฬิกาจะเรียกว่า R แต่ถ้านับแล้วทวนเข็มนาฬิกาแสดงว่า
เป็น S

สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) หน้า 40


เคมีอินทรีย์ 2/2554

4) ในกรณีทต่ี ่อกับพันธะคู่หรือพันธะสามให้พจิ ารณาดังนี้

โมเลกุลบางชนิดมี stereocenter มากกว่า 1 ทีเ่ ช่นโมเลกุลของ 2,3-dibromopentane ซึง่ มี


chiral carbon 2 ตาแหน่งดังแสดง

เมือ่ เราเขียนโครงสร้างสามมิตพิ บว่าสามารถเขียนโครงสร้างได้ 4 แบบดังนี้

เมื่อพิจารณาโครงสร้างทัง้ สีแ่ บบพบว่าโครงสร้างที่ 1 และโครงสร้างที่ 2 เป็ นโครงสร้างทีเ่ ป็ นเงา


สะท้อ นในกระจกซึ่งกันและกันเราเรียกโครงสร้างประเภทนี้ว่าเป็ น enantiomer กัน ดังนัน้ เมื่อ
พิจารณาโครงสร้างที่ 3 และโครงสร้างที่ 4 ก็เป็นเงาสะท้อนกระจกซึง่ กันและกันดังนัน้ โครงสร้างที่ 3
และ 4 เป็ น enantiomer กัน แต่โครงสร้างที่ 1 กับ 3 ซึง่ ไม่ใช้ enatiomer เราเรียกคู่ไอโซเมอร์น้ีว่า
diastereomers และโมเลกุลทัง้ สีเ่ ป็ นโมเลกุลทีไ่ ม่สามารถแบ่งครึง่ โมเลกุลให้มคี วามสมมาตรได้หรือไม่

สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) หน้า 41


เคมีอินทรีย์ 2/2554

มี plane of symmetry โมเลกุลเหล่านี้สามารถเบนแสงโพราไรซ์ได้เราเรียกโมเลกุลเหล่านี้ว่า optically


active เมือ่ โมเลกุลทีไ่ ม่ม ี plane of symmetry จะทาให้เกิดการเบนเบนระนาบแสงใน polarimeter ดังรูป

(ทีม่ า: Graham Solomon and Craig Fryhle, Organic Chemistry, 7ed)

โมเลกุลบางโมเลกุลมี chiral atom สองตาแหน่ งและมี plane of symmetry ทีแ่ บ่งครึง่ โมเลกุลทาให้
โมเลกุลเกิดความสมมาตรเราเรียกสารประเภทนี้ว่า meso compound เช่น meso-2,3-dibromobutane
ดังภาพ

Meso compound

สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) หน้า 42


เคมีอินทรีย์ 2/2554

c) Conformational isomer โมเลกุลทีม่ สี ูตรเหมือนกัน แต่โครงสร้างทัง้ สองมีการจัดเรียง


ตัวในสามมิตทิ แ่ี ตกต่างกัน เช่นโครงสร้างของ butane ทีม่ กี ารจัดเรียงตัวในสามมิตทิ แ่ี ตกต่างกัน
เมือ่ นาโครงสร้างแต่ละตัวมาซ้อนทับกันพบว่าไม่สามารถซ้อนทับกันได้

Sawhorse formula ของโพรเพนเมือ่ หมุนพันธะเดีย่ วระหว่างคาร์บอนกับคาร์บอน

หากโมเลกุ ล ดัง กล่ า วมองผ่ า นคาร์บ อนกับ คาร์บ อนจะได้ สู ต รโครงสร้า งที่เ รีย กว่ า Newman
Projections และเมื่อหมุนพันธะเดีย่ วจะได้กราฟพลังงานทีเ่ รียกว่า potential energy surface เป็ น
ดังแผนภาพ

สารประกอบทีเ่ ป็ นวงสามารถเกิด conformational isomer ได้ซง่ึ หากเราเขียนโครงสร้างของไซโคร


เฮกเซนซึง่ ทีม่ โี ครงสร้างแบบ chair conformation จะมีตาแหน่ งของหมู่ท่มี าเกาะกับคาร์บอนสอง
สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) หน้า 43
เคมีอินทรีย์ 2/2554

แบบได้แก่ตาแหน่ ง axial และ ตาแหน่ ง equatorial โดยตาแหน่ งทีว่ งกลมเรียกว่าตาแหน่ ง axial


และตาแหน่งทีไ่ ม่ได้วงกลมเรียกว่าตาแหน่ง equatorial ดังภาพ

โดยทัวไปแล้
่ วหมูเ่ กาะทีม่ ขี นาดใหญ่จะอยูท่ ต่ี าแหน่ง equatorial มากกว่า axial เพราะจะทาให้
โมเลกุลมีความเสถียรมากกว่า

1.4 ประเภทของสารประกอบไฮโดรคาร์บอน (Hydrocarbon compound)


สารอินทรียท์ โ่ี มเลกุลประกอบด้วยธาตุคาร์บอนและไฮโดรเจนเท่านัน้ เรียกว่า สารประกอบ
ไฮโดรคาร์บอน และสารประกอบไฮโดรคาร์บอนทีโ่ มเลกุลประกอบด้วยพันธะเดีย่ วระหว่างคาร์บอน-
คาร์บอนเพียงอย่างเดียว เรียกว่า ไฮโดรคาร์บอนอิ่มตัว (Saturated hydrocarbon) ส่ว น
สารประกอบไฮโดรคาร์บอนทีโ่ มเลกุลมีพนั ธะคู่หรือพันธะสามระหว่างคาร์บอน-คาร์บอนรวมอยู่ดว้ ย
เรียกว่า ไฮโดรคาร์บอนไม่อมิ่ ตัว (Unsaturated hydrocarbon)
โมเลกุลของสารประกอบไฮโดรคาร์บอนทีอ่ ะตอมของคาร์บอนต่อกันเป็ นสายยาวหรือต่อกัน
เป็ นโซ่ตรง (Straight chain) หรือต่อกันเป็ นสายยาวที่มกี งิ่ สาขาแยกออกจากโซ่ตรง (Branch
chain) โดยไม่มวี งของคาร์บอนในโมเลกุลนัน้ เลยเรียกว่า อะลิฟาติกไฮโดรคาร์บอน (Aliphatic
hydrocarbon) หรือแบบโซ่เปิด โมเลกุลของสารประกอบไฮโดรคาร์บอนที่อะตอมของคาร์บอนต่อ
กันเป็นวงและอาจจะมีกงิ่ แยกออกจากวงของคาร์บอนเรียกโมเลกุลประเภทนี้ว่าไฮโดรคาร์บอนแบบ
โซ่ปิด หรืออะลิไซคลิกไฮโดรคาร์บอน (Alicyclic hydrocarbon) และโมเลกุลของสารประกอบ
ไฮโดรคาร์บอนที่มวี งแหวนของเบนซีน เป็ น โครงสร้า งหลักเรียกว่า อะโรมาติกไฮโดรคาร์บอน
(Aromatic hydrocarbon)

สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) หน้า 44


เคมีอินทรีย์ 2/2554

1.4.1 ปฏิ กิริยาการเผาไหม้ของไฮโดรคาร์บอน


การเผาไหม้ของสารประกอบไฮโดรคาร์บอน คือการเกิดสันดาปกับก๊าซออกซิเจนกลายเป็ น
CO2 และ H2O เกิดขึน้ และไม่มเี ขม่าเกิดขึน้ หากการสันดาปไม่สมบูรณ์ซง่ึ เกิดจากปริมาณ O2 น้อย
จะทาให้เกิดก๊าซ CO เกิดขึน้ แทนและมีเขม่าเกิดขึน้
สมการแสดงปฏิกริ ยิ าการเผาไหม้ของสารประกอบไฮโดรคาร์บอน
y y
C x H y  ( x  )O2 
 xCO2  H 2 O
4 2

1.4.2 ประเภทของคาร์บอน
เราสามารถแบ่งประเภทของคาร์บอนในโมเลกุลอินทรียไ์ ด้โดยแบ่งประเภทตามหมู่แทนที่
ทีม่ าเกาะดังนี้ โดยคาร์บอนที่เกาะที่ปลายโดยมี alkyl group มาเกาะหนึ่งหมู่จะเรียกคาร์บอน
ประเภทนี้ว่า primary carbon คาร์บอนทีม่ ี alkyl group มาเกาะสองหมู่จะเรียกคาร์บอนชนิดนี้ว่า
secondary carbon และ คาร์บอนทีม่ ี alkyl group มาเกาะสามหมู่จะเรียกว่า tertiary carbon และ
ไฮโดรเจนทีเ่ กาะกับ primary carbon secondary carbon และ tertiary carbon เรียกว่า primary
hydrogen secondary hydrogen และ tertiary hydrogen ตามลาดับ

1.5 แอลเคน (Alkane)


1.5.1 สมบัติทางกายภาพ
นักเคมีอินทรีย์เ ห็นว่าแอลเคนเป็ นโครงสร้างของคาร์บอนที่ยดึ อะตอมไฮโดรเจนไว้และ
โครงสร้างทีง่ า่ ยทีส่ ุดจะเป็นโซ่ของคาร์บอนอะตอมติดต่อกันโดยไม่มโี ซ่กงิ่ สารประกอบเหล่านี้มสี ูตร
ทัวไป
่ CnH2n+2 ดังนี้

ตาราง 1.8 แสดงโครงสร้าง ชื่อ และสมบัตทิ างกายภาพของ n-alkane

สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) หน้า 45


เคมีอินทรีย์ 2/2554

โครงสร้าง ชื่อ จุดหลอมเหลว (C) จุดเดือด (C)


CH4 Methane -182.5 -161.5
CH3CH3 Ethane -182.8 -88.6
CH3CH2CH3 Propane -187.7 -42.1
CH3CH2CH2CH3 n–butane -138.3 -0.5
CH3(CH2)3CH3 n–pentane -129.7 36.1
CH3(CH2)4CH3 n–hexane -95.3 68.7
CH3(CH2)5CH3 n–heptane -90.6 98.4
CH3(CH2)6CH3 n–octane -56.8 125.7
CH3(CH2)7CH3 n–nonane -54 151
CH3(CH2)8CH3 n–decane -39.7 174.1
CH3(CH2)9CH3 n-undecane -26 196
CH3(CH2)10CH3 n–dodecane -9.6 216.3
CH3(CH2)11CH3 n-tridecane -5 234
CH3(CH2)12CH3 n–tetradecane 5.8 253.5
CH3(CH2)14CH3 n–hexadecane 18.2 268.8
CH3(CH2)16CH3 n–octadecane 28.2 316.3
CH3(CH2)18CH3 n–eicosane 36.4 343.0

400
จุดหลอมเหลว
300
อุณหภูมิ (องศาเซลเซียส)

200
จุดเดือด
100

-100
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17

-200
จานวนอะตอมของคาร์บอน
-300

รูปที่ 1.1 เปรียบเทียบจุดเดือดจุดหลอมเหลวของแอลเคนโซ่ตรงเมือ่ จานวนคาร์บอนเพิม่ ขึน้

สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) หน้า 46


เคมีอินทรีย์ 2/2554

จุดเดือดจุดหลอมเหลวของสารไฮโดรคาร์บอนจะเพิม่ ขึน้ ตามน้ าหนักโมเลกุลเนื่องจากเป็ น


แรงยึดเหนียวแบบไม่มขี วั ้ หรือแรงลอนดอน เมื่อพิจารณาจุดเดือดจุดหลอมเหลวพบว่าแอล-เคนโซ่
ตรงทีม่ คี าร์บอน 1-4 อะตอม มีสถานะเป็ นแก๊ส คาร์บอน 5-16 อะตอมมีสถานะเป็ นของเหลว ส่วน
ไฮโดรคาร์บอนแบบโซ่ตรงที่มคี าร์บอน 16 และ 18 จะมีสถานะเป็ นของแข็ง แต่เมื่อเปรียบเทียบ
ระหว่างไซโคลแอลเคนกับแอลเคนพบว่า ไซโคลแอลเคนมีจุดเดือดสูงกว่า n–alkane ที่มี จานวน
คาร์ บอนเท่ากัน

100
80
จุดเดื่อด (องศาเซลเซียส)

60
40
20
0
จานวนคาร์บอน
-20 4 5 6 7
Aliphatic
-40
Alicyclic
-60

รูปที่ 1.2 เปรียบเทียบจุดเดือดจุดหลอมเหลวของแอลเคนโซ่ตรงและเป็นวงเมือ่ จานวนคาร์บอน


เพิม่ ขึน้

เมือ่ เปรียบเทียบสารแอลเคนทีม่ จี านวนอะตอมเท่ากันแต่สูตรโครงสร้างต่างกันพบว่า โมเลกุลทีม่ กี งิ่


จะมีจดุ เดือดต่ากว่าโมเลกุลทีเ่ ป็นเส้นตรง

ตาราง 1.9 จุดเดือดจุดหลอมเหลวและความหนาแน่นของเฮกเซนเมือ่ มีสตู รโครงสร้างต่างกัน


Structural Formula จุดหลอมเหลว จุดเดือด ความหนาแน่ น
-95.0 68.7 1.3748
-153.7 60.3 1.3714
-118.0 63.3 1.3765

สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) หน้า 47


เคมีอินทรีย์ 2/2554

Structural Formula จุดหลอมเหลว จุดเดือด ความหนาแน่ น


-128.8 58.0 1.3750

-98.0 49.7 1.3688

1.5.2 การเตรียมสารประกอบแอลเคน
1.5.2.1 ปฏิกิรยิ าไฮโดรจีเนชันของแอลคีนและแอลไคน์ (hydrogenation of
alkenes and alkynes)

ไฮโดรเจนโมเลกุ ล สามารถเติม ลงไปที่พ ัน ธะคู่ ข องแอลคีน ได้เ มื่อ ใช้ต ัว เร่ ง ที่
เหมาะสมได้ผ ลิต ภัณ ฑ์เ ป็ น แอลเคน ปฏิกิร ิย าเกิด ขึ้น ได้โ ดยละลายแอลคีน ในตัว ท าละลายที่
เหมาะสม เช่น เอทานอล เมทานอล และมีตวั เร่งปฏิกริ ยิ าอาจจะเป็ นแพลตินัม (Pt) นิกเกิล (Ni)
หรือแพลเลเดียม (Pd) ที่เป็ นผงละเอียดจากนัน้ จึงผ่านก๊าซไฮโดรเจนเข้าไปในส่วนผสมของ
ปฏิกิรยิ าภายใต้ค วามดัน ไฮโดรเจนจะไม่ส ามารถเติม ลงไปที่พ ันธะคู่ไ ด้ถ้า ไม่ใ ช้ต ัว เร่ง แม้ว่ า
ปฏิกิรยิ านี้จะเป็ นปฏิกิรยิ าคายความร้อนอย่างมากก็ตาม ทัง้ นี้เนื่องจากพลังงานที่ใช้ในการสลาย
พันธะของไฮโดรเจนโมเลกุลมีค่าสูงมาก ตัวเร่งจะดูดซับโมเลกุลของไฮโดรเจนและของแอลคีนเป็ น
ชัน้ บางๆ เคลือ บไว้ ท่ีผ ิว ของตัว เร่ ง เป็ น การช่ ว ยให้ ไ ฮโดรเจนแตกตัว ออกเป็ น อะตอมและ
เกิด ปฏิกิร ิย ากับ แอลคีน ที่ผ ิว ของตัว เร่ง และการที่ไ ฮโดรเจนเกาะอยู่ท่ีผ ิว ของตัว เร่ง ท าให้
เกิดปฏิกริ ยิ าแบบ syn addition เกิดขึน้ และหากต้องการเตรียมแอลเคนจากแอลไคล์กไ็ ด้เช่นกัน
โดยใช้ H2 2 โมลทาปฏิกริ ยิ ากับพันธะสาม 1 ตาแหน่ง

สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) หน้า 48


เคมีอินทรีย์ 2/2554

รูป 5.3 กลไกการเกิดปฏิกริ ยิ าของ alkene กับ hydrogen gas โดยใช้ Pt เป็นตัวเร่ง
(ทีม่ า: Graham Solomon and Craig Fryhle, Organic Chemistry, 7ed)

1.5.2.2 ปฏิกริ ยิ ารีดกั ชันของแอลคิลเฮไลด์ (Reduction of alkyl halides)


แอลคิล เฮไลด์ ส ามารถเกิ ด ปฏิกิ ร ิย ากับ สัง กะสีแ ละกรดเกิ ด ผลิต ภัณ ฑ์ เ ป็ น
แอลเคนเกิดขึน้ แสดงดังสมการเคมี

ปฏิกริ ยิ าทีเ่ กิดขึน้ เช่นปฏิกริ ยิ าการเตรียมบิวเทนจากแอลคิลเฮไลด์

สังกะสีอะตอมเป็ นตัวรีดวิ ซ์ท่ดี ี ปฏิกริ ยิ านี้เกิดจากสังกะสีอะตอมถ่ายโอนอิเล็กตรอนให้แก่อะตอม


ของคาร์บอนทีเ่ กาะกับเฮไลด์ ซึง่ เกิดปฏิกริ ยิ าดังแสดง

1.5.3 ปฏิ กิริยาของแอลเคน


1.5.3.1 ปฏิกริ ยิ าการแทนทีด่ ว้ ยฮาโลเจน (Halogenation)
แอลเคนเป็ นสารประกอบไฮโดรคาร์บอนที่มพี นั ธะเดี่ยวหมดจัดเป็ นสารประกอบ
คาร์บอนประเภทอิม่ ตัว ปฏิกริ ยิ าของแอลเคนจะเกิดการแทนทีด่ ว้ ยอะตอมอื่นๆ ซึง่ เรียกว่าปฏิกริ ยิ า

สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) หน้า 49


เคมีอินทรีย์ 2/2554

แทนที่ซ่งึ ปฏิกิรยิ าแทนที่ของแอลเคนด้ว ยธาตุ ฮาโลเจนจะเกิดในที่มแี สงสว่างหรือ ที่อุณหภูมสิ ูง


เท่านัน้

ปฏิกิรยิ าดังกล่าวนัน้ จะเห็นได้ว่าสามารถเกิดผลิตภัณฑ์ได้หลายชนิดแต่จะมีผลิตภัณฑ์ท่ี


เป็นผลิตภัณฑ์หลักเกิดขึน้ ซึง่ อยูก่ บั ความว่องไวในการเกิดปฏิกริ ยิ าของฮาโลเจน

สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) หน้า 50


เคมีอินทรีย์ 2/2554

จากปฏิกริ ยิ าที่เกิดขึน้ ระหว่างแอลเคนกับคลอรีนพบว่า คลอรีนว่องไวต่อการเกิดปฏิกริ ยิ า ดังนัน้


ผลิตภัณฑ์ทเ่ี กิดขึน้ คลอรีนจะทาปฏิกริ ยิ ากับ 1o ไฮโดรเจน ดีกว่า 2o ไฮโดรเจน ดีกว่า 3o ไฮโดรเจน
ในขณะที่โบรมีนมีความว่องไวต่อปฏิกริ ิยาน้อยกว่าคลอรีนดังนัน้ โบรมีนมีความเจาะจงต่อ
การเกิดปฏิกริ ยิ าได้ดี (selective) จึงเกิดผ่าน tertiary radical หรือ secondary radical ได้ดกี ว่า
primary radical
ส่วนฟรูออรีนมีความว่องไวต่อการเกิดปฏิกริ ยิ ามากกว่าโบรมีนดังนัน้ selective จึงน้อยกว่า
โบรมีนและคลอรีน

กลไกการเกิดปฏิกริ ยิ าของ radical halogenations สามารถเขียนปฏิกริ ยิ าได้ดงั นี้

สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) หน้า 51


เคมีอินทรีย์ 2/2554

1.5.3.1 ปฏิกริ ยิ าการกาจัด (Elimination)


ปฏิกริ ยิ าการกาจัดฮาโลเจนเป็ นปฏิกริ ยิ าที่สาคัญปฏิกริ ยิ าหนึ่งเพราะจะทาให้เกิด
สารประกอบไฮโดรคาร์บอนแบบไม่อมิ่ ตัว ซึง่ ทาให้เกิดเป็ นสารตัง้ ต้นในกระบวนการต่างๆ มากมาย
เช่นการเตรียมเพื่อเป็ นสารเริม่ ต้นในอุตสาหกรรมพอลิเมอร์เป็ นต้น ปฏิกริ ยิ าการกาจัดของแอลเคน
ทีส่ าคัญได้แก่ปฏิกริ ยิ า dehydrohalogenation เช่น

บางครัง้ เราใช้ตวั ย่อ Et- แทน C2H5- และใช้ Me- แทน CH3-
ในการเกิดปฏิกริ ยิ านัน้ ผลิตภัณฑ์ท่เี กิดขึน้ มากหรือน้ อยขึ้นอยู่กบั ผลิตภัณฑ์ท่เี กิดขึ้นว่ามี
แอลคีนทีเ่ กิดขึน้ เสถียรหรือไม่ ซึง่ ความเสถียรของแอลคีนทีเ่ กิดขึน้ เปรียบเทียบได้จากรูปภาพที่ 5.4

จากปฏิกริ ยิ าทีเ่ กิดขึน้ เกิดได้สองกลไกโดยทีก่ ลไกแบบ b) เกิดผลิตภัณฑ์ทม่ี ากกว่าการผ่านกลไก a)


เนื่องจากผลิตภัณฑ์ของกลไก b) มีความเสถียรมากกว่ากลไก a)

รูปที่ 1.3 ความเสถียรของแอลคีน

สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) หน้า 52


เคมีอินทรีย์ 2/2554

และหากใช้เบสตัวใหญ่เช่น tert-butoxide ใน tert-butyl alcohol ((CH3)3O- / (CH3)3OH) จะเกิด


ผลิตภัณฑ์ทม่ี คี วามเสถียรน้อยได้ดกี ว่าเนื่องจากความเกะกะของโมเลกุลเบส

1.5.4 อุตสาหกรรมแอลเคน
แอลเคนหลายชนิดนามาใช้ประโยชน์ดา้ นต่างๆ เช่นมีเทนใช้เป็ นเชือ้ เพลิงในโรงงานไฟฟ้า
โรงงานต่างๆ และใช้เป็ นวัตถุดบิ ในการผลิตเคมีภณ ั ฑ์ต่างๆ เช่น เมทานอล อีเทน และโพรเพน
แก๊สผสมระหว่างโพรเพนกับบิวเทนใช้เป็ นแก๊สหุงต้มตามบ้าน แอลเคนน้ าหนักโมเลกุ ลสูง เช่น
พาราฟิน ใช้เคลือบผลไม้เพื่อรักษาความชุ่มชืน้ เป็นต้น

1.6 แอลคีน (Alkene)


เป็ นสารประกอบไฮโดรคาร์บอนไม่อมิ่ ตัวที่มพี นั ธะคู่ พันธะคู่ในแอลคีนจัดเป็ นหมู่ฟงั ก์ชนั
(functional group) โมเลกุลของแอลคีนทีม่ พี นั ธะคู่ 1 พันธะระหว่างอะตอมของคาร์บอน จะมีอะตอม
ของไฮโดรเจนเป็น 2 เท่าของจานวนอะตอมของคาร์บอน ดังนัน้ สูตรทัวไปของแอลคี
่ นทีม่ พี นั ธะคู่ 1
พันธะคือ CnH2n

1.6.1 สมบัติทางกายภาพ
โดยทัวไปสมบั
่ ตทิ างกายภาพของแอลคีนคล้ายคลึงกับของแอลเคนที่มขี นาดใกล้เคียงกัน
แอลคีนทีม่ คี าร์บอน 2-4 อะตอมมีสถานะเป็นก๊าซ คาร์บอน 5-18 อะตอมมีสถานะเป็ นของเหลวและ
คาร์บอนมากกว่า 18 อะตอมมีสถานะเป็ นของแข็ง แอลคีนเป็ นโมเลกุลไม่มขี วั ้ จึงไม่ละลายในน้ าแต่
จะละลายได้ดีใ นตัว ทาละลายไม่มขี วั ้ เช่น เบนซีน คาร์บอนเตตระคลอไรด์ เป็ นต้น สมบัติบาง
ประการของแอลคีนดังแสดงในตาราง 6.1

ตาราง 1.10 สมบัตทิ างกายภาพบางประการของแอลคีน


จุดหลอมเหลว ความหนาแน่ น
สูตรโครงสร้าง ชื่อ IUPAC จุดเดือด(C)
(C) (g/cm3) ที่ 25C
CH2 = CH2 ethene -169 -104 -
CH2 = CHCH3 propene -185.2 -47 -
CH2 = CHCH2CH3 1 – butene -185 -6.0 -
CH3CH = CHCH3 2 – butene -139 3.7 0.621
CH3(CH2)7CH = 1 - decene -66.3 171 0.741
CH3

สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) หน้า 53


เคมีอินทรีย์ 2/2554

1.6.2 การเตรียมแอลคีน
การเตรียมแอลคีนสามารถเตรียมได้จากปฏิกริ ยิ าการกาจัด (elimination) โดยเตรียมได้จาก
สารดังต่อไปนี้
1.6.2.1 Dehydrohalogenation ของ alkyl halide ซึง่ เกิดปฏิกริ ยิ าผ่าน E2 ซึ่ง
ปฏิกริ ยิ าดังกล่าวเกิดขึน้ โดยใช้เบส

ตัวอย่างปฏิกริ ยิ าเคมี

การเกิด E2 ดังกล่าวชอบทีจ่ ะเกิดผ่าน anti coplanar transition state ซึง่ เป็นทรานซิชนั ทีเ่ สถียร

1.6.2.2 Dehydration ของ alcohol ซึง่ สามารถเตรียมได้จากแอลกอฮอล์ทอ่ี ุณหภูม ิ


สูงซึง่ ปฏิกริ ยิ าดังกล่าวจะเกิดผ่าน E1 เมื่อเป็ น secondary หรือ tertiary alcohol และเกิดผ่าน E2
สาหรับ primary alcohol

สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) หน้า 54


เคมีอินทรีย์ 2/2554

กลไกการเกิดปฏิกริ ยิ าของ secondary alcohol และ tertiary alcohol ซึง่ เกิดผ่าน E1 กรดทีใ่ ช้เป็ น
กรดทัวไปใช้
่ กรด ซัลฟิวริกหรือกรดฟอสฟอริก

ส่วน primary alcohol จะเกิดผ่าน E2 แสดงดังกลไกการเกิดปฏิกริ ยิ า

1.6.2.3 Dehydration ของ vic-dibromides ไดเฮไลด์คอื สารประกอบไดฮาโลเจนซึง่


เกิด จากการแทนที่ข องฮาโลเจนสองหมู่บ นคาร์บ อน ซึ่งเราสามารถเตรีย มแอลคีนได้จ ากการ
เกิดปฏิกริ ยิ ากาจัดโบรมีนออกโดยเริม่ ต้นจากสารตัง้ ต้นจาพวก vic-dibromides ซึง่ ปฏิกริ ยิ ากับ NaI
เกิดผ่าน E2

สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) หน้า 55


เคมีอินทรีย์ 2/2554

1.6.3 ปฏิ กิริยาของแอลคีน


1.6.3.1 ปฏิกริ ยิ าการเติมไฮโดรเจนเฮไลด์ของแอลคีน (Addition of hydrogen
halides to alkenes: Markovenikov’s rule)
ไฮโดรเจนเฮไลด์สามารถเกิดปฏิกริ ยิ าการเติมโดยจะเปลี่ยนพันธะคู่ให้เป็ นพันธะ
เดีย่ ว โดยไฮโดรเจนเฮไลด์ทใ่ี ช้ได้แก่ HI HBr HCl และ HF ดังสมการ ซึง่ จะละลายไฮโดรเจนเฮไลด์
ในกรดแอซิตกิ หรือ CH2Cl2

กลไกการเกิดปฏิกริ ยิ าดังกล่าวแสดงได้ดงั นี้

เมื่อพิจารณาโมเลกุลของโพรพีนทาปฏิกริ ยิ ากับกรด HBr พบว่าเกิดผลิตภัณฑ์ 2-bromopropane


ขึน้ เนื่องจากผลิตภัณฑ์ดงั กล่าวเกิดผ่าน 2ocarbocation ซึง่ เราเรียกการเข้าทาปฏิกริ ยิ าดังกล่าวว่า
เป็นไปตามกฎ Markovnikov

สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) หน้า 56


เคมีอินทรีย์ 2/2554

1.6.3.2 ปฏิกริ ยิ าการเติมกรดซัลฟิ วริกของแอลคีน (Addition of Sulfuric to


alkenes)
เมื่อนาสารประกอบแอลคีนมาทาปฏิกิรยิ ากับกรดซัลฟิ วริกเข้มข้นที่อุ ณหภูมติ ่ า
พบว่าเกิดปฏิกริ ยิ าแบบเติมเกิดขึน้ ซึง่ กลไกการเกิดปฏิกริ ยิ าเหมือนกับการทาปฏิกริ ยิ ากับกรด HX

และเมื่อนาแอลคิลไฮโดรเจนซัลเฟตมาทาปฏิกิรยิ ากับน้ าที่อุณหภูม ิสูงจะเกิดแอลกอฮอล์


เกิดขึน้

1.6.3.3 ปฏิกริ ยิ าการเติมน้าของแอลคีน (Addition of water to alkenes)


ปฏิกริ ยิ าดังกล่าวเป็นปฏิกริ ยิ าการเตรียมแอลกอฮอล์โดยใช้น้ าและมีกรดเป็ นตัวเร่ง
ปฏิกริ ยิ าซึง่ การเกิดปฏิกริ ยิ าจะเป็ นไปตามกฎ Markovnikov

ตัวอย่างการเตรียมเอทานอลดังสมการ

กลไกการเกิดปฏิกริ ยิ าคือ

สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) หน้า 57


เคมีอินทรีย์ 2/2554

1.6.3.4 ปฏิกริ ยิ าการเติมฮาโลเจน (Halogenation)


Br

C C Br2/CCl4 C C
Br
สีน้าตาลแดง ไม่มสี ี

แอลคีนทาปฏิกิรยิ ากับสารละลายโบรมีน หรือคลอรีนในคาร์บอนเตตระคลอไรด์ท่ี


อุณหภูมหิ อ้ งได้ ไอโอดีนมีความว่องไวน้อยจึงไม่สามารถเกิดปฏิกริ ยิ ากับแอลคีนได้ ส่วนฟลูออไรด์
นัน้ ว่องไวมากเกิดปฏิกริ ยิ ารุนแรงจึงเป็ นรีเอเจนต์ทไ่ี ม่เหมาะสม ปฏิกริ ยิ าการเติมโบรมีนสามารถใช้
ทดสอบความไม่อมิ่ ตัวของสารประกอบได้โดยการสังเกตสีทเ่ี ปลีย่ นไปเมื่อเกิดปฏิกิ รยิ า โบรมีนเป็ น
ของเหลวสีน้าตาลแดงเข้มเมือ่ เกิดปฏิกริ ยิ ากับแอลคีนจะได้ผลิตภัณฑ์ทไ่ี ม่มสี ี ดังนัน้ สารประกอบไม่
อิม่ ตัวจึงฟอกสีโบรมีนได้ ซึ่งจะฟอกจางสีได้ทงั ้ ในที่มดื และที่สว่าง และในการเกิดปฏิกริ ยิ านัน้
โบรมีนจะเข้าทาปฏิกริ ยิ าคนละด้านของระนาบเราเรียกการเกิดปฏิกริ ยิ าว่าเกิดแบบ anti-addition
ซึง่ มีกลไกการเกิดปฏิกริ ยิ าดังนี้

สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) หน้า 58


เคมีอินทรีย์ 2/2554

1.6.3.5 ปฏิกิรยิ าการไฮโดรโบเรชัน -ออกซิเ ดชัน (Hydroboration-oxidation:


Antimarkovnikov syn hydration)
การสังเคราะห์แอลกอฮอล์โดยเกิดแบบ anti-Markovnikov สามารถใช้ diborane
(B2H6) หรือ borane ใน tetrahydrofuran (BH3:THF)

และปฏิกริ ยิ าดังกล่าวเกิดแบบไฮโดรเจนและไฮดรอกซีเข้าทาปฏิกริ ยิ าด้านเดีย่ วกัน


ซึง่ เรียกว่าเกิดแบบ syn-addition ดังแสดง

1.6.3.6 ปฏิกริ ยิ าออกซิเดชัน (Oxidation)


แอลคีน สามารถถู ก ออกซิไ ดซ์ ท่ีพ ัน ธะคู่ ไ ด้ ห ลายแบบขึ้น อยู่ กับ ชนิ ด ของตัว
ออกซิไดซ์และสภาวะของปฏิกริ ยิ า ปฏิกริ ยิ าออกซิไดซ์ของแอลคีนเมื่อใช้ตวั ออกซิไดซ์ทอ่ี ่อน ได้แก่
สารละลายโพแตสเซียมเปอร์แมงกาเนตที่เป็ นกลางหรือด่างเจือจางที่เย็นจะได้ผลิตภัณฑ์เป็ นไกล
คอล ซึง่ การเกิดปฏิกริ ยิ าออกซิเดชันเป็นปฏิกริ ยิ าการเกิดแบบ syn-addition

สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) หน้า 59


เคมีอินทรีย์ 2/2554

ปฏิกริ ยิ านี้ใช้เป็นวิธที ดสอบความไม่อมิ่ ตัวของสารประกอบได้อกี วิธหี นึ่งเรียกว่า เบ


เยอร์เทสท์ (Baeyer test) สารละลายโพแตสเซียมเปอร์แมงกาเนตมีสมี ่วงเมื่อเกิดปฏิกริ ยิ ากับแอ
ลคีนสีม่วงจะหายไปและมีตะกอนสีน้ าตาลของแมงกานีส (IV) ออกไซด์เกิดขึน้ ส่วนไกลคอลเป็ น
สารประกอบไม่มสี ี ปฏิกริ ยิ านี้ถา้ เกิดในสภาวะทีร่ นุ แรง เช่นในสารละลายกรด (pH ต่ า) และให้ความ
ร้อนไกลคอลทีเ่ กิดขึน้ จะแตกตัวออก ผลิตภัณฑ์ทไ่ี ด้อาจเป็ นก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ กรดคาร์บอก
ซิลกิ หรือคีโตนก็ได้ขน้ึ อยูก่ บั โครงสร้างของแอลคีน ปฏิกริ ยิ าทีเ่ กิดขึน้ เป็นดังนี้

1.6.3.7 โอโซโนไลซีส (Ozonolysis of alkenes)


ปฏิกริ ยิ าโอโซโนไลซีสของแอลคีนเกิดจากการนาสารประกอบแอลคีนทาปฏิกริ ยิ า
กับโอโซนต่อจากนัน้ เติมสังกะสีในกรดจะเกิดการทาลายพันธะคู่ดงั สมการ

1.7 แอลไคน์ (Alkyne)


เป็ นสารประกอบไฮโดรคาร์บอนทีม่ พี นั ธะสามในโมเลกุลและถือว่าพันธะสามคือหมู่ฟงั ก์ชนั
ของแอลไคน์ แอลไคน์ทม่ี พี นั ธะสาม 1 พันธะจะมีจานวนอะตอมของไฮโดรเจนน้อยกว่า 2 เท่าของ
จานวนอะตอมของคาร์บอนอยู่ 2 อะตอม ดังนัน้ จึงมีสตู รทัวไปคื
่ อ CnH2n-2

สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) หน้า 60


เคมีอินทรีย์ 2/2554

1.7.1 สมบัติทางกายภาพ
แอลไคน์ มสี มบัติทางกายภาพคล้ายคลึงกับ แอลเคนและแอลคีน แอลไคน์ ไม่ล ะลายน้ า
เนื่องจากเป็ นสารโคเวเลนซ์ไม่มขี วั ้ แต่ละลายได้ในตัวทาละลายอินทรีย์ เช่น เบนซีน คาร์บอนเต
ตระคลอไรด์ มีความหนาแน่นน้อยกว่าน้า จุดเดือดเพิม่ ขึน้ ตามมวลโมเลกุล และมีค่าใกล้เคียงกับจุด
เดือดของแอลเคนและแอลคีนที่มโี ครงสร้างเหมือนกัน แอลไคน์ท่มี คี าร์บอน 2-4 อะตอมมีสถานะ
เป็ นก๊าซ 5-18 อะตอมมีสถานะเป็ นของเหลว และคาร์บอนมากกว่า 18 อะตอมเป็ นของแข็ง สมบัติ
บางประการของแอลไคน์ดงั แสดงในตาราง 7.1

ตาราง 1.11 สมบัตทิ างกายภาพของแอลไคน์บางชนิด


จุดหลอมเหลว จุดเดือด
สูตรโครงสร้าง ชื่อ IUPAC
(C) (C)
HC CH ethyne -80.8 -84.0
HC CCH3 propyne -102.7 -23.2
HC CCH2CH3 1–butyne -125.7 8.0
HC CCH2CH2CH3 1-pentyne -105.7 40.2
HC CCH 2 CH 2 CH 2CH 3 1-hexyne -131.9 71.3
HC CCH 2 CH 2 CH 2CH 2CH 3 1-heptyne -81.0 99.7
HC CCH 2 CH 2 CH 2CH 2CH 2 CH 3 1-octyne -79.3 125.2

1.7.2 การเตรียมแอลไคน์
1.7.2.1 ปฏิกิร ิย าการเตรีย มอีไ ทน์ เตรีย มได้ จ ากปฏิกิร ิย าระหว่ า ง
แคลเซียมคาร์ไบด์กบั น้าหรือเตรียมจากแก๊สมีเทนทีค่ วามร้อนสูงๆ ระยะเวลาสัน้ ๆ

สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) หน้า 61


เคมีอินทรีย์ 2/2554

1.7.2.2 แอลไคน์ ส ามารถเตรี ย มได้ จ ากแอลคี น ซึ่ ง ผ่ า นปฏิ กิ ร ิ ย า


dehydrohalogenation โดยนาแอลคีนมาทาปฏิกริ ยิ าให้ได้ผลิตภัณฑ์เป็ น vic-dibromide หลังจาก
นัน้ ทาปฏิกริ ยิ าต่อกับ NaNH2 ซึง่ เป็นเบสแก่

กลไกการเกิดปฏิกริ ยิ าของ vi-dibromide กับ NaNH2 จะเกิดปฏิกริ ยิ าแบบ E2 ดังแสดง

1.7.2.3 แอลไคน์สามารถเตรียมจากคีโตนโดยเกิดผ่าน gem-chloride ดังสมการ

1.7.3 ปฏิ กิริยาของแอลไคน์


ปฏิกิร ิย าแอลไคน์ เ ป็ น ปฏิกิร ิย าที่ค ล้า ยกับ ปฏิกิร ิย าที่เ กิด ขึ้น ในแอลคีน ซึ่ง มีป ฏิกิร ิย า
ดังต่อไปนี้
1.7.3.1 ปฏิกริ ยิ าการเติมไฮโดรเจน (Hydrogenation) จะเห็นได้ว่าการเกิด ethene
โดยปฏิกริ ยิ าการเติมไฮโดรเจนโดยใช้ตวั เร่งจะเกิดแบบ cis-isomer ขึน้

สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) หน้า 62


เคมีอินทรีย์ 2/2554

H H
R R
H 2/Pt H 2/Pt
R C C R C C R C C R

H H
H H
1.7.3.2 ปฏิกริ ยิ าการเติมฮาโลเจน (Halogenation)
Cl Cl
R Cl
Cl2 Cl2
R C C R C C R C C R
Cl R
Cl Cl
1.7.3.3 ปฏิกริ ยิ าการเติมไฮโดรเจนเฮไลด์ จะเห็นได้ว่าการเกิดปฏิกริ ยิ าการเติม
HCl นัน้ H จะเข้าทาปฏิกริ ยิ าทีต่ าแหน่ ง 1 และ Cl จะเข้าทีต่ าแหน่ งที่ 2 ของเฮไลด์ เนื่องจากการ
เกิดปฏิกริ ยิ านัน้ เมือ่ H เข้าทาปฏิกริ ยิ าทาให้เกิด 2O คาร์โบแคทไอออนหลังจากนัน้ ทา Cl จึงเข้าทา
ปฏิกริ ยิ าตามมา
Cl H
2 1 HCl
R H
HCl
R C C H C C R C C H
Cl H
Cl H
1.7.3.4 ปฏิกริ ยิ าการต่อสายโซ่คาร์บอนผ่าน terminal proton alkyne ซึ่งเรา
สามารถจะต่อสายไฮโดรคาร์บอนที่ปลายโซ่ได้เมื่อแอลไคน์มพี นั ธะสามที่ปลายเนื่องจากโปรตอน
ดังกล่าวมี s-character สูงจึงทาให้มคี วามเป็ นกรดสูง เมื่อเจอเบสแก่จะสามารถเกิดปฏิกริ ยิ าได้ดงั
สมการ

ซึง่ ปฏิกริ ยิ าดังกล่าวเกิดกับ primary alkyl halide จึงเกิดแบบ SN2 แต่หากเป็ น


secondary หรือ tertiary alkyl halide จะเกิดแบบ E2

สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) หน้า 63


เคมีอินทรีย์ 2/2554

1.7.3.5 ปฏิกริ ยิ าออกซิเดชัน สาหรับปฏิกริ ยิ าการเติมโพแทสเซียมเปอร์แมงกาเนต


พบว่าในโมเลกุลของแอลไคน์ท่มี ตี าแหน่ งของพันธะสามต่างกัน ผลิตภัณฑ์ท่เี กิดขึน้ จะต่างกันโดย
แอลไคน์ทม่ี พี นั ธะสามอยู่ท่ตี าแหน่ งคาร์บอนตาแหน่ งที่ 1 เมื่อเกิดปฏิกริ ยิ าแล้วจะเขียนสมการได้
ดังนี้

RC CH KMnO 4 H2O RCOOH CO2 MnO2 KOH


ส่วนแอลไคน์ทพ่ี นั ธะสามอยู่ทค่ี าร์บอนตาแหน่ งที่ 2 เป็ นต้นไปเมื่อเกิดปฏิกริ ยิ าแล้วจะเขียนสมการ
ได้ดงั นี้
O O

RC CR KMnO 4 H2O RC CR MnO 2 KOH

และหากนาแอลไคน์ไปทาปฏิกริ ยิ าในเบสก่อนหลังจากนัน้ เติมกรดลงไปจะเกิดปฏิกริ ยิ าเคมีได้ดงั นี้


O O
1) KMnO 4 , OH -
R C C R' RCOH R'COH
2) H +

1.7.4 ประโยชน์ของแอลไคน์
เราพบว่าเมื่อเราเผาแก๊สผสมของอะเซทิลนี กับแก๊สออกซิเจนในอัตราส่วนทีเ่ หมาะสมจะได้
เปลวไฟออกซีอะเซทิลนี ซึง่ ให้ความร้อนสูงถึง 3000oC จึงใช้ในการเชื่อมและตัดโลหะได้

1.8 เบนซีน (Benzene) และอนุพนั ธ์ของเบนซีน


เบนซีนจัดเป็ นสารประกอบไฮโดรคาร์บอนตัวหนึ่ง สถานะเป็ นของเหลว จุดเดือด 80 oC
แยกได้ครัง้ แรกโดยไมเคิล ฟาราเดย์ (Michael Faraday) ในปี ค.ศ. 1825 จากแก๊สทีใ่ ห้แสงสว่าง
ในปี ค.ศ 1834 พบสูตรโมเลกุลของเบนซีนเป็ น C6H6 จากสูตรนี้แสดงให้เห็นว่าเบนซีนเป็ น
สารประกอบไม่อิ่มตัว แต่ พบว่าเบนซีนไม่ทาปฏิกิรยิ าการเติมดังเช่นที่แอลคีนทา คือไม่ฟอกสี
โบรมีนหรือโปแตสเซียมเปอร์แมงกาเนต แต่จะทาปฏิกริ ยิ าการแทนที่ ได้ มผี ู้พยายามเสนอทฤษฏี
เกีย่ วกับสูตรโครงสร้างทีแ่ ท้จริงของเบนซีน ในปี ค.ศ. 1865 Kekule/ ได้เสนอสูตรโครงสร้างของเบน
ซีน มีรปู เป็ นหกเหลีย่ มทีแ่ บนราบ มีคาร์บอน 6 อะตอมต่อกันด้วยพันธะเดีย่ วและคาร์บอนแต่ละ
อะตอมต่างก็สร้างพันธะกับไฮโดรเจน 1 อะตอมดังรูป

สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) หน้า 64


เคมีอินทรีย์ 2/2554

H C H
C C

C C
H C H

จากการศึก ษาโครงสร้างของเบนซีนพบว่า ความยาวพันธะระหว่างคาร์บอนอะตอมทุก


พันธะมีความยาวเท่ากันคือ 1.39 แองสตรอม (Å) ซึ่งเป็ นค่าทีอ่ ยู่ระหว่างคาร์บอนอะตอมพันธะคู่
(1.34 Å) และพันธะเดีย่ ว (1.54 Å) นัน่ หมายความว่าพันธะระหว่างคาร์บอนอะตอมในโมเลกุลของ
เบนซีนไม่ได้เป็นพันธะเดีย่ วหรือพันธะคู่อย่างใดอย่างหนึ่ง แต่ประกอบด้วยพันธะคู่ทม่ี กี ารเคลื่อนที่
ไปรอบวงจริง และจากการวัดมุมระหว่างพันธะของคาร์บอนแต่ละอะตอมเป็น 120 นักวิทยาศาสตร์
เรียกปรากฏการณ์ ทานองนี้ว่า เรโซแนนซ์ (resonance) หมายถึงปรากฏการณ์ ทไ่ี ม่สามารถแสดง
สูตรโครงสร้างทีแ่ ท้จริงของสารได้ ดังนัน้ จึงเขียนสูตรโครงสร้างอย่างย่อของเบนซีนได้ดงั นี้

เมื่อทาการเผาเบนซีนพบว่าได้เปลวไฟสว่าง มีควันและเขม่ามากและไม่ทาปฏิกิรยิ ากับ


โบรมีนและโพแทสเซียมเปอร์แมงกาเนตเนื่องจากมีความเสถียรสูง หากต้องการจะฟอกจางสีโบรมีน
ต้องมีตวั เร่งปฏิกริ ยิ า

8.1 สมบัติความเป็ นอะโรมาติ ก


โมเลกุลของสารประกอบอะโรมาติก จะต้องมีสมบัตดิ งั นี้ คือ
1) เป็นโมเลกุลวงแหวน
2) มี -อิเล็กตรอนดีโลคัลไลซ์อยูใ่ น p-ออร์บทิ ลั ทาให้เกิดหมอกอิเล็กตรอนในแนวด้านบน
และด้านล่างของระนาบโมเลกุล
3) จานวน -อิเล็กตรอน

สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) หน้า 65


เคมีอินทรีย์ 2/2554

naphthalene phenanthrene cycloheptadienyl radical


10 -อิเล็กตรอน 14 -อิเล็กตรอน 7 -อิเล็กตรอน
เป็นอะโรมาติก เป็นอะโรมาติก ไม่เป็นอะโรมาติก

1.8.2 การเตรียม
การเผาถ่านหินในทีป่ ราศจากอากาศจะให้ Coal tar ซึง่ ถ้านาไปดาเนินการต่อไปจะให้ เบน
ซีน โทลู อีน ไซลีน ฟี น อล แนฟทาลีน แอนทราซีน และสารอะโรมาติก ไฮโดรคาร์บ อนอื่น ๆ
นอกจากนัน้ ยังเตรียมเบนซีนและอนุพนั ธ์ของมันได้จากปฏิกริ ยิ า catalytic reforming ดังตัวอย่าง
CH3

Al2O 3 -CrO 3
+ 4 H2
CH 3 (CH 2)5CH 3
o
500 C

CH3

Al2O 3 -Pt
+ 3 H2
o
500-600 C

1.8.3 ปฏิ กิริยาของสารประกอบอะโรมาติ ก


ปฏิกิ ร ิย าส าคัญ ของเบนซีน คือ ปฏิกิ ร ิย าการแทนที่แ บบอิ เ ล็ ก โทรฟิ ล ิก ( Eletrophilic
Substitution) กลไกของปฏิกริ ยิ าแบ่งออกได้เป็น 2 ขัน้ ตอน
ขัน้ ตอนที่ 1 อิเล็กโทรไฟล์ รับอิเล็กตรอนจากเบนซีนไป 2 ตัว เกิดเป็ นซิกมาคอมเพลกซ์
(-complex) ขัน้ ตอนแรกนี้เป็ นขัน้ ตอนทีเ่ กิดช้า เป็ นขัน้ กาหนดอัตรา ซิกมาคอมเพลกซ์คอื สารมัธ
ยันต์ของปฏิกริ ยิ า

สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) หน้า 66


เคมีอินทรีย์ 2/2554

-complex

ขัน้ ตอนที่ 2 เกิดอย่างรวดเร็ว ซิกมาคอมเพลกซ์จะเสียอิเล็กตรอน 2 ตัว โดยไฮโดรเจนบน


คาร์บอนทีม่ อี เิ ล็กโทรไฟล์ต่ออยู่จะเป็ นตัวให้อเิ ล็กตรอน แล้วหลุดออกเป็ น H+ ทาให้ได้ระบบอะโร
มาติกคืนมา

ปฎิกริ ยิ าอิเล็กโทรฟิลกิ ทีส่ าคัญ มีดงั นี้ คือ


1.8.3.1 ปฏิ กิริยาไนเตรชัน (Nitration) เบนซีนทาปฏิกริ ยิ ากับกรดไนตริกเข้มข้น
และให้ความร้อน ซึง่ จะทาให้ไนโตรเบนซีนเกิดปฏิกริ ยิ าเร็วขึน้ ถ้าให้เบนซีนทาปฏิกริ ยิ ากับของผสม
ของกรดไนตริกเข้มข้นและกรดซัลฟิวริกเข้มข้น อิเล็กโทรไฟล์ของปฏิกริ ยิ านี้ คือไนโตรเนียมไอออน
(NO2+)
NO 2
HNO 3, H 2SO 4 H 2O

ปฏิกริ ยิ าในการเตรียมอิเล็กโทรไฟล์
+
H O NO2 + H 2SO 4 H O NO2 + HSO 4 -

H 2O + NO 2+

nitronium ion

สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) หน้า 67


เคมีอินทรีย์ 2/2554

1.8.3.2 ปฏิ กิริยาซัลโฟเนชัน (Sulfonation) เบนซีนทาปฏิกริ ยิ ากับกรดซัลฟิวริก


เข้มข้นทีเ่ ติมซัลเฟอร์ไตรออกไซด์ (H2SO4/ SO3, fuming sulfuric acid) หรือกับกรดซัลฟิ วริก
เข้มข้น จะให้ benzenesulfonic acid อิเล็กโทรไฟล์ของปฏิกริ ยิ านี้ คือ ซัลเฟอร์ไตรออกไซด์ (SO3)
SO 3H
SO 3, H 2SO 4 H2O

ปฏิกริ ยิ าการเตรียมอิเล็กโทรไฟล์
2 H 2SO 4 SO 3 + H 3O + + HSO 4-

1.8.3.3 ปฏิ กิริยาเฮโลจีเนชัน (Halogenation) เบนซีนทาปฏิกริ ยิ ากับโบรมีนหรือ


คลอรีน เมือ่ มีกรดของลิวอิสอยูด่ ว้ ย อิเล็กโทรไฟล์ คือคอมเพลกซ์ของฮาโลเจนกับกรดของลิวอิส
X
X 2 , FeX 3 HX (X = Cl, Br)

ตัวอย่าง

FeBr3 Br
Br2 HBr

เขียนกลไกของปฏิกริ ยิ าได้ดงั นี้

สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) หน้า 68


เคมีอินทรีย์ 2/2554

1.8.3.4 ปฏิ กิริย าฟรีเดล-คราฟ แอลคิ ลเลชัน (Friedel-Crafts alkylation


reaction) เตรียมแอลคิลเบนซีนได้จากปฏิกริ ยิ าระหว่างเบนซีนกับแอลคิลเฮไลด์ โดยมีกรดของ
ลิวอิส เช่น AlCl3 เป็ นตัวเร่งปฏิกริ ยิ า ในกรณีทแ่ี อลคิลเฮไลน์เป็ นแบบปฐมภูม ิ อิเล็กโทรไฟล์คอื
คอมเพลกซ์ของแอลคิลเฮไลด์กบั กรดลิวอิส
R
RCl, AlCl3 HCl

ตัวอย่าง

ปฏิกริ ยิ าการเตรียมอิเล็กโทรไฟล์

การเกิด rearrangement มักพบในปฏิกริ ยิ าฟรีเดล-คราฟแอลคิลเลชัน ซึง่ เป็ นข้อจากัดของ


การเติมหมูแ่ อลคิลในวงเบนซีน

1.8.3.5 ปฏิ กิริยาฟรีเดล-คราฟ เอซิ ลเลชัน (Friedel-Crafts acylation reaction)


ถ้าให้เบนซีน ทาปฏิกริ ยิ ากับแอซิคคลอไรด์ โดยมีกรดของลิวอิสเป็ นตัวเร่งปฏิกริ ยิ า จะได้ผลผลิต
เป็นอะริลคีโตน อิเล็กโทรไฟล์ของปฏิกริ ยิ านี้คอื เอซิลเลียมไอออน (acylium ion)
O
O
C R
R C Cl
AlCl3
HCl

สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) หน้า 69


เคมีอินทรีย์ 2/2554

ปฏิกริ ยิ าการเตรียมอิเล็กโทรไฟล์
O O
_
+
R C Cl + AlCl3 R C Cl AlCl3

+ +
AlCl4- + R C O R C O

Acylium ion
ในบางครัง้ จะใช้ carboxylic acid anhydrides (acetic anhydrides) ในปฏิกริ ยิ า

ปฏิกริ ยิ าการเตรียมอิเล็กโทรไฟล์

ข้อจากัดปฏิกริ ยิ า ฟรีเดล-คราฟ Aryl และ vinylic halides ไม่สามารถเกิดปฏิกริ ยิ า


ได้เนื่องจากไม่สามารถเกิดเป็น carbocations ได้

สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) หน้า 70


เคมีอินทรีย์ 2/2554

1.8.3.6 ปฏิ กิริยาของโซ่กิ่งของอนุพนั ธ์เบนซีน


หมูแ่ ทนทีแ่ บบแอลคิล (Alkyl) บนวงแหวนเบนซีน ทาปฏิกริ ยิ าได้ ดังนี้
1) ปฏิ กิริยาออกซิ เดชันด้วยเปอร์แมงกาเนต (Permanganate Oxidation) หมู่
แอลคิลในโซ่กงิ่ ของเบนซีน จะถูกออกซิไดซ์ ด้วยสารละลายโพแทสเซียมเปอร์แมงกาเนตในเบส
และมีความร้อน ให้เกลือคาร์บอกซิเลตของอนุ พนั ธ์กรดเบนโซอิก ซึง่ ถ้าปรับสภาวะของปฏิกริ ยิ าให้
เป็นกรด จะได้อนุพนั ธ์ของกรดเบนโซอิก

2) ปฏิ กิริยาเฮโลจีเนชัน แอลคิลเบนซีนเกิดปฏิกริ ยิ าฟรีเรดิคลั เฮโลจีเนชันง่ายกว่า


แอลเคน ทัง้ นี้เพราะเกิดเบนซิลเรดิคลั ซึง่ มีเรโซแนนซ์เพิม่ เสถียรภาพ
ตัวอย่าง

สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) หน้า 71


เคมีอินทรีย์ 2/2554

Benzylic radical มีเรโซแนนซ์ เพิม่ เสถียรภาพ


การแทนที่ท่ตี าแหน่ งแอลฟา (ตาแหน่ งเบนซิลกิ ) เกิดง่ายกว่าที่ตาแหน่ งเบตา เนื่องจาก
ฟรีเรดิคลั ที่เกิดจากไฮโดรเจนที่ตาแหน่ งเบตาถูกดึงหลุด ไม่มเี รโซแนนซ์ช่วยเพิม่ เสถียรภาพ การ
แทนทีท่ ต่ี าแหน่งเบตาเกิดได้ แต่ในปริมาณทีน่ ้อยกว่า ดังตัวอย่าง

3) ปฏิ กิริยารีดกั ชัน (Clemmensen reduction) เป็นปฏิกริ ยิ าทีส่ ามารถเปลีย่ น


carbonyl group ของหมู่ aryl ketone ไปเป็นหมู่ CH2

4) ปฏิ กิริยาการเตรียม aromatic amine ผ่านปฏิกริ ยิ ารีดกั ชันของสารประกอบ


ไนโตร

สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) หน้า 72


เคมีอินทรีย์ 2/2554

5) ปฏิ กิริยา arenediazonium salt โดยใช้ aromatic amine เป็ นสารตัง้ ต้น

Arenediazonium salt สามารถเกิดปฏิกริ ยิ าแทนทีไ่ ด้โดยปฏิกริ ยิ าดังกล่าวเป็ นดังนี้

1.8.4 ผลของหมู่แทนที่เดิ มบนเบนซีนจะมีผลต่อการแทนที่ใหม่


หมูแ่ ทนทีใ่ นวงเบนซีนจะส่งผลให้สารทีเ่ ข้าทาปฏิกริ ยิ าตัวต่อไปเกิดทีต่ าแหน่ ง ortho meta
หรือ para แตกต่างกัน การแทนที่ไฮโดรเจนด้วยอะตอม หรือหมู่อะตอมหมู่ท่สี อง มีสงิ่ ซึ่งต้อง
พิจารณา 2 ประการ คือ

สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) หน้า 73


เคมีอินทรีย์ 2/2554

1) ตาแหน่งทีห่ มูท่ ส่ี องจะมาเกาะกับเบนซีน


2) หมู่อะตอมหมู่ทห่ี นึ่งจะทาให้การแทนทีข่ องหมู่ทส่ี องเกิดได้ง่ายหรือยากกว่า เมื่อเทียบ
กับ เบนซีน ซึง่ ไม่มหี มูแ่ ทนทีเ่ กาะอยูเ่ ลย
ผลของอะตอมหมู่ที่หนึ่ งที่มีต่อการแทนที่ของอะตอมหมู่ที่สอง คือ
1) เพิม่ ความว่องไว (activate) ต่อปฏิกริ ยิ าการแทนทีอ่ เิ ล็กโทรฟิลกิ และทาให้หมู่ทส่ี องเข้า
เกาะกับเบนซีนทีต่ าแหน่ง ortho กับ para ลักษณะสาคัญของอะตอมหมู่น้ี คือ อะตอมทีเ่ กาะกับเบน
ซีนมีอเิ ล็กตรอนคู่อสิ ระ 1 คู่หรือมากกว่า และอิเล็กตรอนคู่น้ีสามารถดีโลคัลไลซ์เข้าไปในวงแหวน
เบนซีนได้ เช่น
H H O

N H O H N C CH3

หมู่ท่ใี ห้อิเล็กตรอนแก่วงเบนซีนจะทาให้ความว่องไวของปฏิกิรยิ าเพิม่ มากขึ้น เนื่องจาก


ช่วยกระจายประจุบวก เพิม่ เสถียรภาพของซิกมาคอมเพลกซ์ ซึง่ มีประจุบวก
โดยหมู่ทใ่ี ห้อเิ ล็กตรอน (donating group) แก่วงเบนซีนได้ดจี ะทาให้หมู่แทนทีต่ วั ต่อไปที่
เข้าทาปฏิกริ ยิ ากับวงเบนซีนเข้าทีต่ าแหน่ ง ortho กับ para เช่น
NH 2 NH 2
NH 2

Br2 /FeBr3 Br

Br

2) ลดความว่องไว (deactivate) ต่อปฏิกริ ยิ าการแทนที่อเิ ล็กโทรฟิลกิ และทาให้หมู่ท่สี อง


เข้าเกาะทีต่ าแหน่ ง meta ลักษณะสาคัญของอะตอมหมู่น้ี คือ หมู่ทเ่ี กาะกับเบนซีน เป็ น Y = Z (Z
มีอเิ ล็กโตรเนกาติวติ สี งู กว่า Y) หรือเป็นหมูด่ งึ อิเล็กตรอนแบบอินดักทิฟ เช่น
O O O O N R X
-
O N+ C OH C R C H C R N R X C X
+

สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) หน้า 74


เคมีอินทรีย์ 2/2554

หมูท่ ด่ี งึ อิเล็กตรอนจะทาให้ความว่องไวของปฏิกริ ยิ าลดลง เนื่องมาจากซิกมาคอมเพลกซ์ มี


ความเป็นบวกเพิม่ ขึน้ เสถียรภาพจึงลดลง
ถ้าหมู่แทนที่ทเ่ี กาะอยู่บนวงเบนซีนทาหน้าทีเ่ ป็ นหมู่ดงึ อิเล็กตรอน (withdrawing group)
หมูแ่ ทนทีต่ วั ต่อไปจะเข้าทีต่ าแหน่ง meta เช่น
NO 2 NO 2

HNO 3,H 2SO 4

NO 2
3) ลดความว่องไวต่อปฏิกริ ยิ าการแทนทีอ่ เิ ล็กโทรฟิลกิ และทาให้หมู่ทส่ี องเข้าเกาะกับเบน
ซีน ทีต่ าแหน่ง ortho กับ para อะตอมหมูน่ ้ไี ด้แก่พวกแฮโลเจน (F, Cl, Br, I)
ดังนัน้ การทาปฏิกริ ยิ ากับเบนซีนต้องพิจารณาหมู่แทนทีท่ ่ีจะมาเกาะหน้านัน้ ก่อน และสารที่
ทาหน้าทีเ่ ป็น donating group และ withdrawing group แสดงดังตาราง 1.12

ตาราง 1.12 ผลของอะตอมหมูท่ ห่ี นึ่งซึง่ มีผลต่อปฏิกริ ยิ าการแทนทีอ่ เิ ล็กโทรฟิลกิ อะโรเมติก


หมู่ท่ีเ พิ่ม ความไวของปฏิกิร ิย า หมู่ท่ีล ดความไวของปฏิกิร ิย า หมู่ท่ลี ดความไวของปฏิกิร ิย า
และหมู่ ท่ี ส องเข้ า ที่ ต าแหน่ ง และหมู่ ท่ี ส องเข้ า ที่ ต าแหน่ ง และหมู่ ท่ี ส องเข้ า ที่ ต าแหน่ ง
ortho กับ para meta ortho กับ para
ว่องไวมาก -NH2, (-NHR,-NR2 ) ลดความไวมาก -NO2, -CF3, -F
-OH -N(CH3)3+, CCl3, -Cl
ว่องไวปานกลาง -OR ลดความไวปานกลาง -CN, -Br
-NHCOCH3 -SO3H, -CO2H, -CO2R, - -I
CHO, -COR
ว่องไวน้อย -C6H5
-R

1.8.5 ตาแหน่ งของหมู่แทนที่ใหม่ในกรณี ที่เบนซี นมีหมู่แทนที่ เดิ มอยู่แล้ว 2 หมู่


หมู่แทนทีเ่ ดิมทีม่ อี ยู่แล้ว 2 หมู่ จะเป็ นตัวกาหนดตาแหน่ งของหมู่แทนทีห่ มู่ท่ี 3 ซึง่ จะแบ่ง
พิจารณาได้ ดังนี้

สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) หน้า 75


เคมีอินทรีย์ 2/2554

1) หมู่แทนที่ ทัง้ 2 หมู่ ส่งผลให้เกิ ดการแทนที่ที่ตาแหน่ งเดียวกัน


ตัวอย่างที่ 1

OH
OH

HNO 3
NO2

HSO 4

NO2
NO2

การพิจารณาตาแหน่งการเกิดปฏิกริ ยิ า
ในโครงสร้างมีหมู่ –OH อยู่จะกาหนดให้หมู่ใหม่เข้าทีต่ าแหน่ ง ortho กับ para กับตัวมัน
แต่ตาแหน่ง para มีหมู่ –NO2 อยูแ่ ล้ว เหลือเพียงตาแหน่ง ortho ซึง่ คือตาแหน่ง 2 หรือ 6

ในโครงสร้างมีหมู่ –NO2 กาหนดให้หมู่ใหม่เข้าทีต่ าแหน่ ง meta กับตัวมันเอง ซึง่ คือ


ตาแหน่ง 2 หรือ 6 เช่นเดียวกัน

ดังนัน้ เมื่อพิจารณาทัง้ หมู่ -OH และ –NO2 แล้ว การเติมหมู่ท่ี 3 เข้าไปทีว่ งเบนซีนจะเกิดที่
ตาแหน่ง 2 หรือ 6 เช่นเดียวกัน

สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) หน้า 76


เคมีอินทรีย์ 2/2554

หมายเหตุ โครงสร้างทีต่ าแหน่ง 2 และ 6 เป็นสารตัวเดียวกัน

ตัวอย่างที่ 2

การพิจารณาตาแหน่งการเกิดปฏิกริ ยิ า
หมู่ -CF3 กาหนดให้หมู่ใหม่เข้าทีต่ าแหน่ ง meta กับตัวมันเอง ซึง่ คือตาแหน่ ง 5 และหมู่ -
NO2 กาหนดให้หมูใ่ หม่เข้าทีต่ าแหน่ง meta กับตัวมันเอง ซึง่ คือตาแหน่ง 5 เช่นเดียวกัน

2) หมู่แทนที่ ทัง้ 2 หมู่ ส่งผลให้เกิ ดการแทนที่ที่ตาแหน่ งแตกต่างกัน


ในกรณีน้ี หมู่ท่เี พิ่มความไวของปฏิกิร ิยามากที่สุ ด จะมีผ ลเหนือ หมู่ท่เี พิ่มความไวของ
ปฏิกริ ยิ ารองลงมา และจะมีผลเหนือหมู่ลดความไวของปฏิกริ ยิ าตามลาดับดังนี้ คือ –NH2 ,-OH > -
OCH3, -NHCOCH3, –C6H5, -CH3 > หมูล่ ดความไวของปฏิกริ ยิ า
ตัวอย่าง

สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) หน้า 77


เคมีอินทรีย์ 2/2554

การพิจารณาตาแหน่งการเกิดปฏิกริ ยิ า
เมื่อพิจารณา หมู่ –OH และ -CH3 พบว่าหมู่ทงั ้ 2 จะให้หมู่ท่ี 3 เกิดปฏิกริ ยิ าที่ตาแหน่ ง
ortho กับ para กับวงเบนซีน ดังรูป

และ
ดังนัน้ ความไวของปฏิกริ ยิ าจะมีผลในการพิจารณา พบว่า หมู่ -OH มีความไวของปฏิกริ ยิ า
เร็วกว่า หมู่ -CH3 เพราะฉะนัน้ ผลิตภัณฑ์ของปฏิกริ ยิ านี้คอื 4-methyl-2-nitrophenol เป็ นผลผลิต
ชนิดเดียว

3) ในกรณี ที่หมู่แทนที่ เดิ ม 2 หมู่ อยู่ในตาแหน่ ง meta ต่ อกัน การแทนทีใ่ นระหว่าง 2


หมูน่ ้ี จะเกิดน้อยมากเนื่องจากผลทางสเตอริก ตัวอย่างต่อไปนี้ เป็นเปอร์เซ็นต์การแทนที่ ทีจ่ ะเกิดที่
ตาแหน่งต่าง ๆ บนวงแหวนต่าง ๆ บนวงแหวน ถ้าเกิดปฏิกริ ยิ าไนเตรชัน

1.8.6 การสังเคราะห์อนุพนั ธ์เบนซีน โดยใช้ปฏิ กิริยาการแทนที่อิเล็กโทรฟิ ลิ ก


การสังเคราะห์อนุ พนั ธ์เบนซีน โดยใช้ปฏิกริ ยิ าการแทนทีอ่ เิ ล็กโทรฟิลกิ นัน้ จะต้องคานึงถึง
ลาดับของการใส่หมูแ่ ทนทีบ่ นวงแหวนเบนซีน เนื่องจากหมู่แทนทีห่ มู่ทห่ี นึ่ง จะเป็ นตัวกาหนดให้หมู่
แทนทีห่ มูท่ ส่ี อง เข้าทีต่ าแหน่ง ortho meta หรือ para
ตัวอย่าง ต้องการเตรียม m-chloro nitrobenzene จากสารตัง้ ต้นเบนซีน

สารตัง้ ต้น สารผลิตภัณฑ์

สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) หน้า 78


เคมีอินทรีย์ 2/2554

สามารถทาได้ 2 แบบคือ
แบบที่ 1 ทาปฏิกริ ยิ าไนเตรชัน ก่อนแล้วตามด้วยปฏิกริ ยิ าคลอริเนชัน

แบบที่ 2 ทาปฏิกริ ยิ าคลอริเนชัน ก่อนแล้วตามด้วยปฏิกริ ยิ าไนเตรชัน

พบว่าทัง้ 2 แบบ สามารถเตรียมได้ผลิตภัณฑ์ทแ่ี ตกต่างกัน แบบที่ 1 จะให้ผลิตภัณฑ์ตรง


ตามเป้าหมาย ถ้าเตรียมแบบที่ 2 คือ ทาปฏิกริ ยิ าคลอริเนชันก่อน Cl ทีเ่ กิดขึน้ ในบนวงเบนซีนจะ
เป็นตัวบังคับให้ หมูท่ ่ี 2 เข้าทีต่ าแหน่ง ortho และ para แทนทีจ่ ะเข้าที่ meta ซึง่ เป็ นสารเป้าหมาย
ดังนัน้ ลาดับการเติมจึงมีผลในการสังเคราะห์สาร นักเรียนจะต้องระวังและคานึงด้วย
1.8.7 ประโยชน์ของเบนซีนและอนุพนั ธ์
เบนซีนเป็ นตัวทาละลายและเป็ นสารตัง้ ต้นในการสังเคราะห์สารประกอบต่าง ๆ แต่การสูด
ดมเบนซีนในปริมาณมาก ๆ ทาให้เ กิดอาการคลื่นเหียนและอาจถึง ตายเนื่อ งจากระบบหายใจ
ล้มเหลว นอกจากนี้การทีต่ อ้ งสัมผัสกับเบนซีนต่อเนื่องกันนาน ๆ จะทาให้ไขอ่อ นในโพรงกระดูกซึง่
ทาหน้าทีส่ ร้างเม็ดเลือดถูกทาลาย ดังนัน้ ห้องปฏิบตั กิ ารเกีย่ วกับเบนซีนจึงต้องมีระบบถ่ายเทอากาศ
อย่างดี และถ้าไม่จาเป็นควรใช้โทลูอนี เป็นตัวทาละลายแทน
ในทางอุตสาหกรรมใช้โทลูอนี เป็ นตัวทาละลายสาหรับแล็คเกอร์ ใช้ทาสี ยาและวัตถุระเบิด
ส่วนไซลีนนิยมใช้เป็ นตัวทาละลายสาหรับน้ ามัน นอกจากนี้ยงั ใช้ทาความสะอาดสไลด์และเลนส์
กล้องจุลทรรศน์ ใช้ไนโตรเบนซีนในการผลิตอนิลนี ซึง่ เป็ นสารตัง้ ต้นในการผลิตสียอ้ มและยาต่าง ๆ
ฟีนอลใช้ในการผลิตสียอ้ ม ยารักษาโรค พลาสติก

สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) หน้า 79


เคมีอินทรีย์ 2/2554

1.9 แอลกอฮอล์ (Alcohol)


แอลกอฮอล์เ ป็ น สารประกอบที่ม ีสูต รทัวไป ่ R–OH หมู่ OH เรียกว่ า หมู่ไฮดรอกซิล
(Hydroxyl group) เกิดปฏิกริ ยิ าได้ทงั ้ ปฏิกริ ยิ าการกาจัดและการแทนที่
1.9.1 การจาแนกประเภทของแอลกอฮอล์ ใช้เกณฑ์การจัดตัวของคาร์บอนอะตอม
ภายในโมเลกุล แบ่งแอลกอฮอล์ออกเป็น 3 กลุ่ม ดังนี้
1.9.1.1 แอลกอฮอล์ปฐมภูม ิ (primary alcohol) หมายถึงแอลกอฮอล์ทม่ี หี มู่ไฮดร
อกซิลสร้างพันธะกับคาร์บอนอะตอมปฐมภูม ิ

เช่น
1.9.1.2 แอลกอฮอล์ทุตยิ ภูม ิ (secondary alcohol) หมายถึงแอลกอฮอล์ทม่ี หี มู่ไฮ
ดรอกซิลสร้างพันธะกับคาร์บอนอะตอมทุตยิ ภูม ิ

เช่น

1.9.1.3 แอลกอฮอล์ตติยภูม ิ (tertiary alcohol) หมายถึงแอลกอฮอล์ทม่ี หี มู่ไฮดรอก


ซิลสร้างพันธะกับคาร์บอนอะตอมตติยภูม ิ

เช่น

Note: 1O-alcohol -OH จะเกาะอยูบ่ น 1O-carbon


2O-alchol -OH จะเกาะอยูบ่ น 2O-carbon
3O-alchol -OH จะเกาะอยูบ่ น 3O-carbon

สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) หน้า 80


เคมีอินทรีย์ 2/2554

1.9.2 สมบัติทางกายภาพของแอลกอฮอล์
เนื่องจากแอลกอฮอล์ประกอบด้วย C – O – H จึงทาให้แอลกอฮอล์เป็นโมเลกุลมีขวั ้ ดังนี้
H
  
H C O H

H
แอลกอฮอล์ ส ามารถสร้างพันธะไฮโดรเจนระหว่า งโมเลกุ ล ได้ และสามารถสร้างพันธะ
ไฮโดรเจนกับโมเลกุลของน้าได้เมือ่ นาแอลกอฮอล์ไปละลายน้ า ดังรูป

R H
   
O H O O H O
R H R H
รูป 9.1 พันธะไฮโดรเจนระหว่าง รูป 9.2 พันธะไฮโดรเจนระหว่าง
โมเลกุลของแอลกอฮอล์ โมเลกุลของแอลกอฮอล์กบั น้า

ตาราง 1.13 แสดงสมบัตบิ างประการของแอลกอฮอล์บางชนิด


จุด ความ การละลาย
จุดเดือด
สูตรโครงสร้าง ชื่อ IUPAC หลอมเหลว หนาแน่น น้า
(C)
(C) (g/cm3) (g/100cm3)
CH3OH Methanol -97.8 65.0 0.7914 
CH3CH2OH ethyanol -114.7 78.5 0.7893 
CH3CH2CH2OH 1 – propanol -126.5 94.7 0.8035 
CH3CHOHCH3 2 – propanol -89.5 82. 0.7855 
CH3CH2CH2CH2OH 1 – butanol -89.5 117.3 0.8098 8.0
CH3CH2CHOHCH3 2 – butanol -114.7 99.5 0.8063 12.5
(CH3)2CH CH2OH 2 – methyl – 1 – proprnol - 107.9 0.8021 11.1
(CH3)3 COH 2 – methyl – 2 – propanol 25.5 82.2 0.7887 
CH3CH2CH2CH2CH2CH2OH 1 – pentanol -79.0 138 0.8144 2.2
หมายเหตุ  หมายถึงละลายได้ดี

สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) หน้า 81


เคมีอินทรีย์ 2/2554

1.9.3 วิ ธีการเตรียม
1.9.3.1 ไฮเดรชันของแอลคีน (Hydration of Alkenes) แอลคีนถูกเปลี่ยนเป็ น
แอลกอฮอล์ได้ โดยการทาปฏิกริ ยิ ากับกรดซัลฟิวริก ตามด้วยน้า

H H H H H H
H 2O
H C C CH3 + H 2 SO 4 H C C CH3 H C C CH3

H OSO3H H OH

1.9.3.2 ปฏิ กิริย าไฮโดรบอเรชัน-ออกซิ เดชัน (Hydroboration-oxidation)


แอลคีนทาปฏิกริ ยิ ากับไดบอเรน ((BH3)2) แล้วให้แอลคิลบอเรน (BR3) ซึ่งถูกออกซิไดซ์ต่อไปให้
แอลกอฮอล์ และกรดบอริก ผลิตผลทีไ่ ด้ไม่เป็ นไปตามกฏของมาร์คอฟนิคอฟ และเป็ นการเติมแบบ
ซิน (syn) คือรีเอเจนตืเติมเข้าข้างเดียวกัน ไดบอเรนเข้าทาปฏิกริ ยิ าในสภาพทีเ่ ป็นบอเรน (BH3)

H 2O 2 / -OH
C C + (BH 3)2
C C C C

B H OH

B(OH)3

เช่น
CH3 1. (BH 3 )2 CH3

2. H 2O 2 / -OH

OH
1.9.3.3 วิ ธี กรี ญ าร์ (Grignard synthesis)vเตรียมกรีญ าร์รเี อเจนต์ ได้จาก
ปฏิกริ ยิ าระหว่างแอลคิลเฮไลด์กบั แมกนีเซียม ถ้านากรีญาร์รเี อเจนต์ไปทาปฏิกริ ยิ ากับฟอร์แมลดี
ไฮด์ (Formaldehyde) แอลดีไฮด์ และคีโตน จะได้ผลิตภัณฑ์เป็ น 1o แอลกอฮอล์ 2o แอลกอฮอล์
และ 3o แอลกอฮอล์ ตามลาดับ

สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) หน้า 82


เคมีอินทรีย์ 2/2554

เช่น

1.9.3.4 ไฮโดรไลซี สของแอลคิ ลแฮไลด์ (Hydrolysis of alkyl halides)


ปฏิกิรยิ าระหว่างแอลคิลแฮไลน์กบั ไฮดรอกไซด์ไอออนเป็ นปฏิกริ ยิ าการแทนที่ด้วยนิวคลีโอไฟล์
เมื่อให้ความร้อนกับแอลคิลเฮไลน์ชนิดปฐมภูมแิ ละสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ปฏิกริ ยิ าจะเกิด
กลไก SN2 การเตรียมแอลกอฮอล์ปฐมภูมโิ ดยวิธนี ้ีจะได้ผลผลิตสูง เพราะถ้าเป็ นแอลคิลเฮไลน์ทุติ ย
ภูมหิ รือแอลคิลเฮไลน์ตติยภูมจิ ะเกิดปฏิกริ ยิ าการกาจัดมากกว่า
-
RX + OH ROH + X -

สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) หน้า 83


เคมีอินทรีย์ 2/2554

เช่น
NaOH (aq)
CH3CH2CH2Cl CH3CH2CH2OH

กลไกการเกิดปฏิกริ ยิ า

1.9.3.5 รีด กั ชันของสารประกอบคาร์บอนี ล (Reduction of carbonyl


compounds) แอลดีไฮด์จะถูกรีดวิ ซ์ เป็น 1o แอลกอฮอล์ และคีโตนเป็น 2o แอลกอฮอล์ รีเอเจนต์ท่ี
ใช้อาจเป็นไฮโดรเจนและตัวเร่งปฏิกริ ยิ า หรือลิเทียมอะลูมนิ มั ไฮไดรด์ (LiAlH4) หรือโซเดียมบอโรไฮ
ไดรด์ (NaBH4) ส าหรับ NaBH4 นี้ จ ะไม่ ร ีดิว ซ์ พัน ธะ –C=C- จึง ไม่ เ หมาะส าหรับ ใช้ร ีดิว ซ์
สารประกอบคาร์บอนิลไม่อมิ่ ตัวไปเป็นแอลกอฮอล์ไม่อมิ่ ตัว

1.9.3.6 รีดกั ชันของกรดและเอสเทอร์ (Reduction of acids and esters)


ลิเทียมอะลูมนิ มั ไฮไดรด์ (LiAlH4) จะใช้รดี วิ ซ์กรดและเอสเทอร์ แล้วให้ผลผลิตเป็นแอลกอฮอล์

สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) หน้า 84


เคมีอินทรีย์ 2/2554

1.9.3.7 ไฮดรอกซิ ลเลชันของแอลคีน (Hydroxylation of alkenes)

เช่น

1.9.4 ปฏิ กิริยาเคมีของแอลกอฮอล์


1.9.4.1 ปฏิ กิริยาการแทนที่ ในสารละลายทีเ่ ป็ นกรด หมู่ –OH ของแอลกอฮอล์จะ

รวมตัวกับโปรตอนได้เป็ น -OH 2 และหมู่ –OH จะเป็ นหมู่ทห่ี ลุดออก (leaving group) ทีไ่ ม่ดี แต่หมู่
-OH 2 จะเป็นหมูท่ ห่ี ลุดออกทีด่ ี เพราะจากไปเป็นโมเลกุลของน้าซึง่ เป็ นเบสทีอ่ ่อนมาก
H+
+ Nu
R O H R O H R Nu + H 2O

หมูห่ ลุดออก (Leaving group) ทีด่ ี

สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) หน้า 85


เคมีอินทรีย์ 2/2554

1.9.4.1.1 ปฏิ กิริยาการแทนที่ ด้วยสารประกอบเฮไลด์ เช่น HCl HBr และ


HCl ทาปฏิกริ ยิ ากับ 1O, 2O และ 3O alcohol ต้องมี ZnCl2 ซึง่ อาจเรียกว่า Lucus reagent ซึง่ จะให้
ความเร็วในการเกิดปฏิกริ ยิ าทีแ่ ตกต่างกัน

กลไกของปฏิกริ ยิ าจะเกิดเป็ นคาร์โบเนียมไอออนก่อน แล้วคลอไรด์จงึ เข้ามาเกาะ


กับคาร์โบเนียมไอออนในภายหลัง ดังสมการ

อัตราเร็วของปฎิกริ ยิ านี้ จึงขึน้ อยูก่ บั ความเสถียรของคาร์โบเนียมไอออน ซึง่ เป็ นไป


ตามลาดับดังนี้ 3 o > 2o > 1o > เมทิล
รีเอเจนต์ทใ่ี ช้เปลีย่ นแอลกอฮอล์ให้เป็นแอลคิลเฮไลด์ โดยไม่เกิดการจัดเรียงตัวใหม่
เช่น ฟอสฟอรัสไตรคลอไรด์ (PCl3) และไทโอนิลคลอไรด์ (SOCl2)
ฟอสฟอรัสไตรคลอไรด์ (PCl3)
ปฏิกริ ยิ าขัน้ แรก ฟอสฟอรัสไตรคลอไรด์ (PCl3) จะทาปฏิกริ ยิ ากับแอลกอฮอล์ ได้
ฟอสไฟต์เอสเทอร์ และ กรดไฮโดรคลอริก ซึง่ ในขัน้ แรกของปฏิกริ ยิ านี้ พันธะ C – O ยังไม่แตก
ออก ดังนัน้ ถ้าเริม่ ต้นด้วยอิแนนทิโอเมอร์บริสุทธิ ์ก็จะไม่พบว่ามีราซิไมเซชันเกิดขึน้ เหมือนในกรณีท่ี
ปฏิกริ ยิ าเกิดโดยผ่านคาร์โบแคดไอออน เป็นสารมัธยันต์

ในการใช้ ฟอสฟอรัสไตรคลอไรด์ (PCl3) ในการทาปฏิกริ ยิ า ถ้าสารตัง้ ต้นเป็ นอิแนนทิโอ


เมอร์บริสุทธ์ จะได้ผลิตผลทีม่ คี อนฟิกุเรชันตรงกันข้าม (inversion of configuration) เช่น

สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) หน้า 86


เคมีอินทรีย์ 2/2554

กลไกของปฏิกริ ยิ าจะมี 2 ขัน้ ตอน


ขัน้ ตอนแรก

ขัน้ ตอนที่ 2 Cl-จะเข้าทาปฏิกริ ยิ าโดยใช้กลไกปฏิกริ ยิ าแบบ SN2 ถ้าสารตัง้ ต้นเป็ นอิแนนทิโอ


เมอร์ บริสุทธ์ จะได้ผลิตผลทีม่ คี อนฟิกุเรชันตรงกันข้าม (inversion of configuration)

ไทโอนิลคลอไรด์ (SOCl2)
ขัน้ แรกของปฏิกริ ยิ าระหว่างแอลกอฮอล์กบั ไทโอนิลคลอไรด์เหมือนกับฟอสฟอรัสไตรคลอ
ไรด์ คือเกิดเป็ นเอสเทอร์อนินทรีย์ และทานองเดียวกัน พันธะ C – O ก็ยงั ไม่แตกออกในขัน้ แรก
ของปฏิกริ ยิ า ดังนัน้ ถ้าแอลกอฮอล์ทเ่ี ป็ นสารตัง้ ต้นเป็ นอิแนนซิโอเมอร์บริสุทธิ ์ คลอโรซัลไฟด์ทไ่ี ด้
จึงยังคงมีคอนฟิกุเรชันเหมือนแอลกอฮอล์

ตัวอย่างปฏิกริ ยิ าจะมี 2 ขัน้ ตอน

สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) หน้า 87


เคมีอินทรีย์ 2/2554

ขัน้ ตอนที่ 1

ขัน้ ตอนที่ 2 ขึน้ อยูก่ บั ตัวทาละลาย


ถ้าใช้เอมีน เป็ นตัวทาละลาย ปฏิกริ ยิ าเกิดโดย แบบ SN2 ถ้าสารตัง้ ต้นเป็ นอิแนนซิโอเมอร์
บริสุทธ์ จะได้ผลิตผลทีม่ คี อนฟิกุเรชันตรงกันข้าม (inversion of configuration)

CH3 O CH3
SN 2
H C O S Cl Cl C H + SO 2 + Cl-
Cl amine
CH2CH3 CH2CH3

(S ) - chlorosulfite
(R ) -2-chloro butane

ถ้าใช้อีเทอร์ เป็ นตัวทาละลาย จะไม่พบ inversion of configuration เกิดขึ้น จะเป็ น


retention of configuration เพราะในกรณีปฏิกริ ยิ าเกิดโดยมีค่ไู ออน (ion- pair) ซึง่ ยังไม่ทนั สลายตัว
ต่อไป Cl- ก็เข้าไปสร้างพันธะทีด่ า้ นเดียวกันของโมเลกุล เรียกว่า ปฏิกริ ยิ า SNi โดย i แทน internal
return เช่น

1.9.4.1.2 ปฏิ กิริยาแทนที่ด้วยโลหะ ปฏิกริ ยิ านี้เกิดขึน้ เหมือนปฏิกริ ยิ าของน้ า


คือโปรตอนของแอลกอฮอล์ถูกดึงด้วยโลหะ เช่น Na และ K
2Na 2 H2
OH O -Na+

สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) หน้า 88


เคมีอินทรีย์ 2/2554

1.9.4.2 ปฏิ กิริยาการกาจัด แอลกอฮอล์เกิดปฏิกริ ยิ าการกาจัดได้เหมือนแอลคีน


และเป็ น การก าจัด โมเลกุ ล ของน้ า ออกจากแอลกอฮอล์ จ ึง เรีย กปฏิ กิ ร ิย านี้ ว่ า ดี ไ ฮเดรชัน
(Dehydration)

กลไกของปฏิกริ ยิ าจะเป็ นแบบ E1 โดยโปรตอนจะเข้ารวมกับหมู่ไฮดรอกซิลก่อน


แล้วหมู่ทจ่ี ากไป (leaving group) จะหลุดออกได้เป็ นคาร์โบแคตไอออน ซึ่งเมื่อโปรตอนถูกกาจัด
ออกไปจะได้แอลคีน

ความว่องไวในการเกิดปฏิกริ ยิ า พบว่า 3o > 2o > 1o

สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) หน้า 89


เคมีอินทรีย์ 2/2554

ปฏิกริ ยิ าดีไฮเดรชันของแอลกอฮอล์ทุตยิ ภูม ิ (2o) และตติยภูม ิ (3o) จะเกิดผ่านคาร์


โบแคตไอออน มักจะมีการจัดเรียงตัวใหม่เกิดขึน้ ด้วยเสมอ และปฏิกริ ยิ าดีไฮเดรชันของแอลกอฮอล์
ชนิดปฐมภูมจิ ะเกิดช้ามาก เช่น

จะเกิดการย้าย (rearrangement) ไฮโดรเจนจาก 1o carbocation เปลี่ยนเป็ น 2o


carbocation ซึง่ เสถียรกว่า จากนัน้ จะเกิดปฏิกริ ยิ าการกาจัดไฮโดรเจนเพื่อเกิดสารประกอบแอลคีน
ปฏิกริ ยิ านี้ 2o carbocation สามารถกาจัดโปรตอนได้ 2 ตาแหน่ งคือ Ha และ Hb จะได้ผลิตภัณฑ์ 2
ตัวคือผลิตภัณฑ์หลัก (Major product) และผลิตภัณฑ์รอง (Minor product) ดังรูป

การพิจารณาเสถียรภาพของแอลคีนทีเ่ กิดสารผลิตภัณฑ์

สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) หน้า 90


เคมีอินทรีย์ 2/2554

1.9.4.3 ปฏิ กิริยาการเกิ ดเอสเทอร์ (Esterification)


O
+
H
R' COOH R OH R' C O R

1.9.4.4 ปฏิ กิริยาการเผาไหม้

2 CH3OH + 3 O2 2 CO2 + 4 H2O

1.9.4.5 ปฏิ กิริยา oxidation และ Reduction

ตัวออกซิไดส์ [O] ทีน่ ิยมใช้คอื


สารละลายโพแทสเซียมเปอร์แมงกาเนต (KMnO4) ในเบสจัดเป็ นตัวออกซิไดส์ท่ี
แรงมาก หากเติมลงไปจะเกิดเป็ นใน 1oalcohol แล้ว เติม H+ จะได้กรดคาร์บอกซิล ิกออกมา
(RCO2H) ออกมา
ถ้าใช้ตวั ออกซิไดส์ท่อี ่อน เช่น PCC หรือ K2Cr2O7 ลงไปจะเกิดเป็ นใน 1oalcohol
จากนัน้ ตามด้วยกรด ซึง่ จะได้แอลดีไฮด์เกิดขึน้

สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) หน้า 91


เคมีอินทรีย์ 2/2554

ตัวรีดวิ ซ์ [R] ทีน่ ิยมใช้คอื ลิเทียมอะลูมเิ นียมไฮไดรด์ (LiAlH4) เป็ นตัวรีดวิ ซ์ทแ่ี รง
มาก ส่วนโซเดียมโบโรไฮไดรด์ (NaBH4) ทีอ่ ่อนกว่า

1.9.5 อุตสาหกรรมแอลกอฮอล์
1.9.5.1 เมทานอล (CH3OH) แต่เดิมสังเคราะห์ได้จากการกลันไม้ ่ ชนิดหนึ่งเรียกว่า
ไม้แอลกอฮอล์ (Wood alcohol) เมื่อไม่มอี ากาศอยู่ดว้ ย ปจั จุบนั สังเคราะห์ขน้ึ จากปฏิกริ ยิ าระหว่าง
ก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์กบั ก๊าซไฮโดรเจนที่อุณหภูมสิ ูง ภายใต้ความดันและมีตวั เร่งปฏิกริ ยิ าอยู่
ด้วย แต่เมทานอลประมาณ 50% ทีไ่ ด้ถูกออกซิไดซ์เป็นฟอร์มาลดีไฮด์
ZnO, Cr2O3
CO + 2 H2 CH3OH
300-400C, 200 atm

เมทานอลส่วนใหญ่ จะใช้เป็ นตัวทาละลายสาหรับชะแล็กและวานิช ปจั จุบนั มีการ


นาไปผสมกับน้ามันใช้เติมรถยนต์
1.9.5.2 เอทานอล (CH3CH2OH) สังเคราะห์ได้จากปฏิกริ ยิ าการเติมน้ าลงในเอ
ทิลนี โดยมีกรดเป็ นตัวเร่งปฏิกริ ยิ าหรือสังเคราะห์จากกระบวนการหมักแป้งและน้ าตาล
H+
H2C CH 2 H2O CH 3CH 2 OH

Enzyme
C6 H 12 O 6 2CH 3CH 2OH 2CO 2
น้าตาล เอทานอล
เอทานอลทีไ่ ด้จากการหมักสารตัง้ ต้นต่างกันมีช่อื เรียกต่างกัน เช่น
น้าองุน่ (กลูโคส) ไวน์
มันฝรัง่ (แป้ง) วอดก้า
ข้างบาร์เล่ย์ หรือข้าวฮอพ เบียร์
เอทานอลได้จากกระบวนการหมักมีประมาณ 12% เท่านัน้ ดังนัน้ ในการทาวิสกี รัม
วอดก้า และอื่น ๆ ซึ่งมีปริมาณแอลกอฮอล์ 40-60% ต้องนาผลผลิตที่ได้จากการหมักทัง้ หมดมา
กลันเพื
่ ่อเพิม่ ปริมาณเอทานอล เอทานอลทีใ่ ช้เป็ นตัวทาละลายมักจะเป็ น 95% ของเอทานอล และ
5% ของน้า

สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) หน้า 92


เคมีอินทรีย์ 2/2554

1.10 ฟี นอล (phenol)


ฟีนอลคือสารประกอบที่มหี มู่ไฮดรอกซิล (OH) ต่ออยู่กบั วงแหวนเบนซีน ฟีนอลละลายน้ า
ได้เล็กน้อย ในศตวรรษที่ 19 โจเซพ ลิสเตอร์ ได้ใช้สารละลายของฟี นอลเป็ นยาฆ่าเชื้อโรค แต่ใน
ปจั จุบนั เลิกใช้ไปแล้ว เนื่องจากมียาฆ่าเชือ้ ตัวอื่นให้ผลได้ดกี ว่า เช่น o-phenylphenol (lysol) และ
n-hexylresorcinol ฟี นอล และ ครีซอลเป็ นสารที่พบในถ่านหินและน้ ามันปิ โตรเลียม โครงสร้าง
ของฟีนอล คือ
OH

1.10.1 สมบัติทางกายภาพ
มีสมบัติ เช่นเดียวกับแอลกอฮอล์ หมู่ OH ทาให้โมเลกุล เป็ นโมเลกุลมีขวั ้ และเกิดพันธะ
ไฮโดรเจนได้ ฟีนอลจึงมีจุดเดือดค่อนข้างสูง ฟีนอลละลายน้ าได้เล็กน้อย คือละลายได้ได้ 9 กรัมใน
น้า 100 กรัม อนุพนั ธ์ฟีนอลตัวอื่น ๆ ทีม่ จี านวนคาร์บอนเพิม่ ขึน้ จะไม่ละลายน้า
1.10.2 วิ ธีการสังเคราะห์ฟีนอล
1.10.2.1 วิ ธีของดาว (Dow process) โดยให้คลอโรเบนซีนทาปฏิกริ ยิ ากับโซเดียม
ไฮดรอกไซด์ ทีอ่ ุณหภูม ิ 360 oC
NaOH/ 360oC HCl
Cl - + OH
O Na
4500 psi

1.10.2.2 เตรีย มจากคิ วมีน คิว มีนเตรียมได้จากปฏิกิรยิ าการแทนที่อิเ ล็กโทรฟิ


ลิกระหว่างเบนซีนและโพรพีน แล้วให้ควิ มีนทาปฏิกิรยิ าออกซิเ ดชันในอากาศ ไปเป็ น Cumene
hydroperoxide ทาปฏิกริ ยิ าต่อกับกรดจะให้ฟีนอลและอะซีโตน

สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) หน้า 93


เคมีอินทรีย์ 2/2554

1.11 อีเทอร์ (ether)


สารประกอบอีเทอร์มหี มู่แอลคอกซี (R-O-R’) เป็ นหมู่ฟงั ก์ชนั โดยที่ R และ R’ แทนหมู่
แอลคิลหรือแอริลที่เหมือนหรือต่างกันก็ได้ โดยมีสูตรทัวไปของอี
่ เทอร์คอื ROR’ อีเทอร์เป็ นไอโซ
เมอร์โครงสร้างกับแอลกอฮอล์

1.11.1 สมบัติทางกายภาพ
จุดเดือด
จุดเดือ ดของอีเทอร์มคี ่าใกล้เ คียงกับแอลเคนที่มนี ้ าหนักโมเลกุล ใกล้เ คียงกัน แต่ ต่ ากว่า
แอลกอฮอล์ทเ่ี ป็ นไอโซเมอร์กบั มันมาก เช่น จุดเดือด n-heptane มี 98oC methyl n-pentyl ether
มี 100oC และ n-hexyl alcohol มี 157oC
การละลายน้า อีเทอร์ละลายน้าน้าได้เล็กน้อย เอทิลอีเทอร์ละลายได้ประมาณ 8 กรัมต่อน้ า
100 กรัม เนื่องจากเกิดพันธะระหว่างไฮโดรเจนของน้ ากับอิเล็กตรอนคู่อสิ ระบนอีเทอร์
H

H O

Hydrogen bond
O
R
R
1.11.2 วิ ธีการสังเคราะห์แบบวิ ลเลียมสัน (Williamson synthesis) วิธนี ้ีมปี ระโยชน์ใช้
ในการสังเคราะห์อีเทอร์ได้ทงั ้ แบบสมมาตรและไม่สมมาตร โดยใช้แอลคิลเฮไลด์ทาปฏิกิรยิ ากับ
โซเดียมแอล คอกไซด์ หรือโซเดียมฟีนอกไซด์
R-X + R-O- Na+ R-O-R + NaX
แอลคิลเฮไลด์ โซเดียมแอลคอกไซด์ อีเทอร์
R-X + Ar-O- Na+ R-O-R + NaX
แอลคิลเฮไลด์ โซเดียมฟีนอกไซด์ อีเทอร์
เตรียมโซเดียมแอลคอกไซด์โดยใช้โซเดียมทาปฏิกริ ยิ ากับแอลกอฮอล์ทป่ี ราศจากน้ า ส่วน
โซเดียมฟีนอกไซด์เตรียมจากปฏิกริ ยิ าระหว่างฟีนอลและโซเดียมไฮดรอกไซด์

สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) หน้า 94


เคมีอินทรีย์ 2/2554

R O H + Na R O- Na+ + 1/2 H2

sodium alkoxide

Ar O H + NaOH Ar O- Na+ + H2O

sodium phenoxide
การเลือกแอลคิลเฮไลด์ท่ใี ช้ในการทาปฏิกริ ยิ ามีความสาคัญ เพราะอาจเกิดปฏิกริ ยิ าการ
กาจัดแทนที่จะเป็ นการแทนที่ตามที่ต้องการ แนวโน้ มของแอลคิลเฮไลด์ท่จี ะเกิดขึน้ ปฏิกิรยิ าการ
กาจัด คือ 3o > 2o > 1o ดังนัน้ แอลคิลเฮไลด์ทใ่ี ช้ควรเป็ นชนิดปฐมภูม ิ เพื่อป้องกันปฏิกริ ยิ าการ
กาจัด กลไกของปฏิกริ ยิ าทีเ่ กิดขึน้ เป็นแบบ SN2]

ตัวอย่างปฏิกริ ยิ า

CH2Br + O- Na+ CH2O

1.11.3 ปฏิ กิริยาของอีเทอร์


ปฏิกิรยิ าการสลายพันธะของอีเทอร์จะใช้กรดแก่ซ่งึ ผลิตภัณฑ์ท่ไี ด้จะได้แอลกอฮอล์และ
แอลคิลเฮไลด์
ROR + HBr ROH + RBr
หากใช้กรดทีม่ ากเกินพอจะเกิดเพียงแอลคิลเฮไลด์เท่านัน้
ROR + HBr (excess) 2RBr

1.11.4 ประโยชน์ของอีเทอร์
ในอดีตเราใช้เอทอกซีอเี ทน (CH3CH2OCH2CH3) เป็ นอีเทอร์ทใ่ี ช้ทาเป็ นยาสลบซึง่ ออกฤทธิ ์
กดประสาทส่วนกลางจนทาให้หมดสติ และใช้อเี ทอร์เป็ นตัวทาละลายสารในห้องปฏิบตั กิ ารและใน
อุตสาหกรรม

สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) หน้า 95


เคมีอินทรีย์ 2/2554

1.12 แอลดีไฮด์และคีโตน (Aldehyde and Ketone)


O

แอลดีไฮด์และคีโตน เป็นสารประกอบอินทรียท์ ม่ี หี มูค่ าร์บอนิล ( C ) โดยทีค่ โี ตนจะมีหมู่


แอลคิล 2 หมูต่ ่ออยูก่ บั คาร์บอนอะตอมของหมูค่ าร์บอนิลและเรียกหมูฟ่ งั ก์ชนั ของคีโตนว่าหมู่คาร์บอ
นิล ส่วนแอลดีไฮด์จะมีหมู่แอลคิลเพียงหมู่เดียวกับอะตอมของไฮโดรเจนต่ออยู่กบั คาร์บอนอะตอม
ของหมูค่ าร์บอนิล และเรียกหมูฟ่ งั ก์ชนั ของแอลดีไฮด์ว่าหมูค่ าร์บอกซาลดีไฮด์

O O
C C
R R หรือ RCOR R H หรือ RCOH
คีโตน แอลดีไฮด์

1.12.1 สมบัติทางกายภาพของแอลดีไฮด์และคีโตน
เนื่อ งจากแอลดีไ ฮด์แ ละคีโตนมีหมู่ค าร์บอนิล ซึ่งเป็ นหมู่ท่มี ขี วั ้ จึงทาให้มแี รงยึดเหนี่ยว
ระหว่างโมเลกุลเกิดขึน้ ได้ แอลดีไฮด์และคีโตนจึงมีจุดเดือดสูงกว่าโมเลกุลทีไ่ ม่มขี วั ้ ทีม่ มี วลโมเลกุล
ใกล้เคียงกัน นอกจากนี้สารประกอบคาร์บอนิลยังเกิดพันธะไฮโดรเจนกับโมเลกุลของน้ าได้ จึงทาให้
แอลดีไฮด์และคีโตนทีม่ มี วลโมเลกุลน้อยสามารถละลายได้ในน้ าเช่นเดียวกับแอลกอฮอล์ อย่างไรก็
ตามสารประกอบคาร์บอนิลไม่สามารถสร้างพันธะไฮโดรเจนระหว่างโมเลกุลของสารประกอบคาร์บอ
นิลด้วยกันได้ เนื่องจากอะตอมไฮโดรเจนในสารประกอบคาร์บอนิลไม่มคี วามเป็ นกรดมากพอ ดังนัน้
จุดเดือดของสารประกอบคาร์บอนิลจึงต่ากว่าของแอลกอฮอล์ทม่ี มี วลโมเลกุลใกล้เคียงกัน

ตาราง 1.14 สมบัตทิ างกายภาพของแอลดีไฮด์บางชนิด


ชื่อสามัญ สูตรโครงสร้าง จุดเดือด ( C) การละลายน้า (g/100
cm3)
แอลดีไฮด์
formaldehyde HCHO -19.1 
acetaldehyde CH3CHO 20.1 
propionaldehyde CH3CH2CHO 48 16
butyraldehyde CH3CH2CH2CHO 74.8 7
benzaldehyde C6H5CHO 178 เล็กน้อย
หมายเหตุ  หมายถึงละลายได้ดมี าก

สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) หน้า 96


เคมีอินทรีย์ 2/2554

ตาราง 1.15 สมบัตทิ างกายภาพของคีโตนบางชนิด


ชื่อสามัญ สูตรโครงสร้าง จุดเดือด ( C) การละลายน้า (g/100
cm3)
คีโตน
acetone CH3COCH3 56 
ethyl methyl ketone CH3COCH2CH3 80 20
acetophenone C6H5COCH3 202 ไม่ละลาย
benzophenone C6H5CC6H5 306 ไม่ละลาย
หมายเหตุ  หมายถึงละลายได้ดมี าก

1.12.2 การสังเคราะห์แอลดีไฮด์และคีโตน
1.12.2.1 การสังเคราะห์แอลดีไฮด์
แอลดีไฮด์สามารถเตรียมได้จากปฏิกริ ยิ าออกซิเดชันของแอลกอฮอล์ชนิดปฐมภูม ิ
โดยตัวออกซิไดซ์ทเ่ี ลือกใช้คอื K2Cr2O7 / H2SO4

1.12.2.2 การสังเคราะห์คีโตน
1.12.2.2.1 ปฏิ กิริยาออกซิ เดชันของแอลกอฮอล์
คีโ ตนสามารถเตรีย มได้จ ากปฏิกิรยิ าออกซิเ ดชัน ของแอลกอฮอล์ช นิ ด
แอลกอฮอล์ชนิดทุตยิ ภูม ิ โดยตัวออกซิไดซ์ [O] ทีเ่ ลือกใช้ คือ K2Cr2O7 / H2SO4 หรือ KMnO4 / H+

สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) หน้า 97


เคมีอินทรีย์ 2/2554

1.12.2.2.2 ปฏิ กิริยา ozonolysis ของแอลคีน

1.12.2.2.3 ปฏิ กิริย า Friedel-Crafts Acylation จาก Aromatic


ketones

1.12.2.2.4 ปฏิ กิริยาการเติ มน้าลงไปในแอลไคน์


โดยใช้ป ฏิกิร ิย าการเติม น้ า ลงในแอลไคน์ การเติม จะเป็ น ตามกฎของ
Markovnikov ได้ผลิตภัณฑ์แบบ enol form (Vinyl alcohol) ซึง่ เป็ นโครงสร้างทีไ่ ม่เสถียร จะต้อง
เปลีย่ นเป็น แบบ keto form ทีเ่ สถียรกว่า เช่น

H H
HgSO 4
C C H OH C C C C
H 2SO 4 OH O
H
Vinylic alcohol ketone
(unstable)

โครงสร้างของ Enol - Keto Form

HA
C C C C
O H O
H
Enol form Ketone form

สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) หน้า 98


เคมีอินทรีย์ 2/2554

กลไกการเปลีย่ นโครงสร้างของ Enol - Keto Form

ตัวอย่างการเตรียมอะซีโตน จาก propyne

propyne acetone

1.12.2.2.5 เตรียมจากปฏิ กิริยา Lithium Dialkylcuprates


ปฏิกริ ยิ านี้เป็ นการนา Lithium dialkylcuprate มาทาปฏิกริ ยิ ากับ Acyl
chloride ซึง่ จะได้คโี ตน

Lithium dialkylcuprate Acyl chloride

ตัวอย่าง

1.12.2.2.6 เตรียมจากปฏิ กิริยาของ acid chloride ด้วยออร์กาโน


แคดเมียม สาหรับคีโตน สามารถใช้ปฏิกริ ยิ าแอซิคคลอไรด์กบั สารประกอบออร์แกโน
แคดเมียม (Reaction of acid chloride with organocadmium compound)

สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) หน้า 99


เคมีอินทรีย์ 2/2554

CdCl2
R' MgX R'2 Cd O O

O O R C R' Ar C R'
or

R C Cl or Ar C Cl

หมายเหตุ กรีญาร์รเี อเจนต์ ทีใ่ ช้จะต้องเป็ นของอะริลหรือแอลคิลแบบปฐมภูม ิ


จึงจะมีเสถียรภาพพอทีจ่ ะทาปฏิกริ ยิ าได้

1.12.3 ปฏิ กิริยาของแอลดีไฮด์และคีโตน ปฏิกริ ยิ าทีส่ าคัญทีเ่ กิดกับแอลดีไฮด์และคีโตน


มีดงั นี้

1
O
1) กรดและอิเล็กโทรฟิลกิ รีเอเจนต์เข้าทีอ่ อกซิเจน
2) เบสและนิ ว คลีโ อฟิ ล ิกรีเ อเจนต์เ ข้า ที่ค าร์บอนี ล
C คาร์บอน
C 2 H
3
3) ไฮโดรเจนของแอลดีไ ฮด์ ท าให้ เ กิ ด ปฏิกิ ร ิย า
H ออกซิเดชัน
4
4) -ไฮโดรเจนมีความเป็นกรด หลุดออกง่าย

คาร์บอนีลคาร์บอนมี ไฮบริไดเซชันแบบ sp2 คาร์บอนมีประจุเป็ นบวกเล็กน้อย ซึง่ เป็ นผล


เนื่องมาจากออกซิเจนมีอเิ ล็กโตรเนกาติวติ สี งู กว่าคาร์บอนและเนื่องจากเรโซแนนซ์ ดังแสดง

1.12.3.1 ปฏิ กิริยาการเติ มแบบนิ วคลีโอฟิ ลิ ก (Nucleophilic Addition) แบ่ง


กลไกของการเกิ ดได้เป็ น 2 แบบ
1) ในกรณีทเ่ี ป็นนิวคลีโอไฟล์ทด่ี ี นิวคลีโอไฟล์จะเข้าทีค่ าร์บอนิลคาร์บอน เกิด
ประจุลบบนออกซิเจน

สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) หน้า 100


เคมีอินทรีย์ 2/2554

2) ในสภาวะทีเ่ ป็ นกรด และนิวคลีโอไฟล์ทไ่ี ม่ดนี กั จะเกิดโปรโตเนชันบนคาร์บอนีล


ออกซิเจนก่อนแล้วนิวคลีโอไฟล์จงึ เข้าทีค่ าร์บอนีลคาร์บอน

ขัน้ ที่ 1

ขัน้ ที่ 2

1.12.3.2 ปฏิ กิริยาการเติ มแอลกอฮอลล์-การเกิ ดอะซีแทลและคีแทล (The


Addition of Alcohols: Acetals and Ketals) ปฏิกริ ยิ าระหว่างแอลดีไฮด์กบั แอลกอฮอล์ 1
โมเลกุล ให้เฮมิอะซีเทล (Hemiacetal) และปฏิกริ ยิ าระหว่างคีโตนกับแอลกอฮอล์ 1 โมเลกุล ให้เฮ
มิคแี ทล (Hemiketal) ทัง้ เฮมิอะซีเทล (Hemiacetal) และเฮมิคแี ทล (Hemiketal) ไม่เสถียร จะ
เกิดปฏิกริ ยิ าต่อไปกับแอลกอฮอล์อกี 1 โมเลกุลจะเรียกว่าเป็นอะซีเทลและคีเทล (Acetal and
Ketal) ตามลาดับ
H H R R

R C OH R C OR R C OH R C OR

OR OR OR OR

Hemiacetal Acetal Hemiketal Ketal

สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) หน้า 101


เคมีอินทรีย์ 2/2554

O OR
HCl
R C H + 2 ROH R C H + H 2O

OR
Aldehyde
Acetal

O OR
HCl
R C R + 2 ROH R C H + H2O

OR
Ketone
Ketal
เช่น
O OC2H5
HCl
H3C C H + 2 C 2H 5 OH H3C C H + H 2O

OC2H5

1.12.3.3 ปฏิ กิริยากรีญาร์ (Grignard synthesis) เตรียมกรีญาร์รเี อเจนต์ ได้จาก


ปฏิกริ ยิ าระหว่างแอลคิลเฮไลด์กบั แมกนีเซียม ถ้านากรีญาร์รเี อเจนต์ไปทาปฏิกริ ยิ ากับแอลดีไฮด์
และคีโตน จะได้ผลิตภัณฑ์ 2o แอลกอฮอล์ และ 3o แอลกอฮอล์ ตามลาดับ
O
R'
1) R'MgBr, Et2O
C
R H R C OH
2) H 3O +
H

O OH
1) R'MgBr, Et2O
C R C R''
R R'' 2) H 3O +
R'
1.12.3.4 รีดกั ชันของสารประกอบคาร์บอนี ล (Reduction of carbonyl
compounds) แอลดีไฮด์จะถูกรีดวิ ซ์ เป็น 1o แอลกอฮอล์ และคีโตนเป็น 2o แอลกอฮอล์ รีเอเจนต์ท่ี
ใช้อาจเป็ นไฮโดรเจนและคะตะลิสต์ หรือลิเทียมอะลูมนิ ัมไฮไดรด์ (LiAlH4) หรือโซเดียมบอโรไฮ
ไดรด์ (NaBH4)

สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) หน้า 102


เคมีอินทรีย์ 2/2554

1.12.3.5 ปฏิ กิริยาวิ ทติ ก (Wittig reaction)


ปฏิกริ ยิ านี้เป็ นการเตรียมแอลคีน โดยฟอสฟอรัสอีลดิ (phosphorus ylides) จะเข้า
ทีค่ าร์บอนิลคาร์บอน แล้วเกิดเบเทน (betaine) ซึง่ จะทาปฏิกริ ยิ าต่อไปให้แอลคีน
เตรียมฟอสฟอรัสอีลดิ ได้จาก triphenylphosphine และแอลคิลเฮไลด์ในเบส

ตัวอย่าง

สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) หน้า 103


เคมีอินทรีย์ 2/2554

1.12.3.6 ปฏิ กิริยาระหว่างคีโตนกับไกลคอล (glycol) คีโตนทาปฏิกริ ยิ ากับไกล


คอล (glycol) จะให้ cyclic ketal ซึง่ ปฏิกริ ยิ านี้มปี ระโยชน์ในการป้องกันหมูค่ โี ตนไม่ให้ทาปฏิกริ ยิ าที่
ไม่ตอ้ งการ

ตัวอย่าง การเตรียม

สารตัง้ ต้น สารผลิตภัณฑ์

วิธกี ารคือจะรีดวิ ซ์กลุ่มเอสเทอร์ทนั ทีไม่ได้ เพราะคีโตนจะถูกรีดวิ ซ์ด้วย จึงต้อ ง


ป้องกันหมูค่ โี ตนก่อน โดยเปลีย่ นเป็ น ketal ใช้รเี อเจนต์เป็น ethylene glycol ในกรด

1.12.3.7 ปฏิ กิริยาการเติ มของ HCN


ไฮโดรเจนยาไนด์สามารถเกิดปฏิกริ ยิ าการเติมทีต่ าแหน่ งคาร์บอนิลเกิดเป็น
สารประกอบทีเ่ รียกว่า cyanohydrins

ซึง่ ปฏิกริ ยิ าดังกล่าวสามารถเกิด -hydroxy หรือ -unsaturated acid

สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) หน้า 104


เคมีอินทรีย์ 2/2554

1.12.4 รีเอเจนต์ที่ใช้ทดสอบความแตกต่ างของแอลดีไฮด์และคีโตน


แอลดีไ ฮด์ ถู ก ออกซิไ ดส์ด้ว ยตัว ออกซิไ ดส์อ ย่ า งอ่ อ นได้ เช่ น ท าปฏิกิร ิย ากับ Tollen’s
reagent ให้ตะกอนสีเทาเงิน (silver mirror) หรือทาปฏิกิรยิ ากับ Fehling’s reagent หรือ
Benedict’s reagent ให้ตะกอนสีแดงอิฐ ของ Cuprous oxide (Cu2O) ส่วนคีโตนจะไม่ถูกออกซิไดส์
1.12.4.1 ปฎิ กิริยากับสารละลาย Tollen’s reagent เป็ นสารละลายของไอออน
เชิงซ้อนของเงินและแอมโมเนียในเบส สารละลาย Tollen’s reagent เป็ นตัวออกซิไดส์ทอ่ี ่อนและ
ออกซิไดส์แอลดีไฮด์ และ -hydroxy ketone ได้ แอลดีไฮด์ถูกออกซิไดส์เป็ นกรดคาร์บอกซิลกิ และ
ขณะเดียวกันไอออนของเงินจะถูกรีดวิ ซ์กลายเป็นโลหะเงินฉาบอยู่ดา้ นในหลอดทดลองทีส่ ะอาด ทา
ให้หลอดทดลองเป็ นมันวาวคล้ายกระจก ส่วน -hydroxy ketone เมื่อถูกออกซิไดส์จะกลายเป็ น
สารประกอบประเภท -diketone ดังสมการ
RCHO + 2Ag(NH3)2+ + 2OH- RCOO- NH4+ + 3NH3 + 2Ag + H2O
ตะกอนเงิน
OH O
O O
+ -
R C C R + 2Ag(NH 3)2 + 2OH + 4NH 3 + 2Ag + 2 H 2O
R C C R

-hydroxy ketone     -diketone ตะกอนเงิน

1.12.4.2 ปฎิ กิริยากับสารละลาย Fehling’s reagent สารละลาย Fehling’s


reagent เป็ นไอออนเชิงซ้อนของ Cu(II)tartrate ในเบส สารละลายนี้เก็บไว้นานจะสลายตัว ต้อง
เตรียมแยกไว้เป็ นสารละลายสองชนิดคือ สารละลาย A (สารละลายของทองแดงซัลเฟตในน้ า) และ
สารละลาย B (สารละลาย sodium potassium tartrate ใน NaOH) เมื่อต้องการทดสอบจึงจะผสม
สารละลาย A และ B อย่างละเท่า ๆ กัน
สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) หน้า 105
เคมีอินทรีย์ 2/2554

อะลิฟาติกแอลดีไฮด์และ -hydroxy ketone จะรีดวิ ซ์ Cu(II) ซึง่ มีสนี ้ าเงินเขียวเป็ น


ทองแดง (I) ออกไซด์ ซึง่ เป็นตะกอนสีน้าตาลแดง ดังสมการ
O O

R C H + 2 Cu 2+ + 5OH - R C O- + Cu 2O + 3H 2 O
สารละลายเฟห์ลงิ ตะกอนสีน้าตาลแดง

สารละลายเฟห์ลงิ ตะกอนสีน้าตาลแดง
พวกอะโรเมติกแอลดีไฮด์และพวกคีโตนจะไม่ให้ตะกอนสีน้ าตาลแดงของทองแดง (I)
ออกไซด์ ดังนัน้ สารละลาย Fehling’s reagent จึงมีประโยชน์ใช้ทดสอบสารทีเ่ ป็ นอะลิฟาติก แอลดี
ไฮด์หรือ-hydroxy ketone ได้

1.12.4.3 ปฎิ กิริยากับสารละลายเบเนดิ กส์ สารละลายเบเนดิกส์ (Benedict’ s


solution) เป็ นไอออนเชิงซ้อ นของ Cu(II)citrate ในเบสซึ่งเตรียมได้โดยการผสมสารละลาย A
(สารละลายของทองแดงซัลเฟตในน้ า) และสารละลาย B (สารละลายของ sodium citrate และ
sodium carbonate ในน้ า) อะลิเฟติกแอลดีไฮด์และ -hydroxy ketone จะรีดวิ ซ์ Cu(II) ซึง่ มีสนี ้ า
เงินเขียวเป็นทองแดง (I) ออกไซด์ ซึง่ เป็นตะกอนสีน้าตาลแดง ดังสมการ

O O

R C H + 2 Cu 2+ + 5OH - R C O- + Cu 2O + 3H 2 O
สารละลายเบเนดิกส์ ตะกอนสี
น้าตาลแดง
OH O O O

R C C R + 2 Cu2+ + 4OH - R C C R + Cu2 O + 3H 2O

H
สารละลายเบเนดิกส์ ตะกอนสี
น้าตาลแดง

1.12.4.4 ปฎิ กิริ ย าการเกิ ด ไอโอโดฟอร์ม ปฎิกิร ิยานี้ใ ช้ทดสอบสารที่มสี ูต ร


โครงสร้างต่อไปนี้

สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) หน้า 106


เคมีอินทรีย์ 2/2554

OH

O R C CH3

R C CH3 และ H

แอลกอฮอล์ท่มี สี ูตรโครงสร้างข้างต้นเกิดไอโอโดฟอร์มได้ เพราะถูกออกซิไดส์ใ ห้


เมทิล คีโตนก่อน
เมทิลคีโตนถูกออกซิไดส์ โดยไอโอดีน ในสารละลายของโลหะไฮดรอกไซด์ให้ไอโอโด
ฟอร์ม ซึง่ เป็นตะกอนสีเหลืองและกรดคาร์บอกซิลกิ ซึง่ จะกลายเป็ นเกลือของโลหะคาร์บอกซิเลตใน
เบส

1.12.5 ประโยชน์ของแอลดีไฮด์และคีโตน
ทัง้ แอลดีไฮด์และคีโตนใช้ในอุตสาหกรรมต่าง ๆ ส่วนใหญ่ ใช้เป็ นตัวทาละลายและเป็ นสาร
ตัง้ ต้นในการสังเคราะห์ผลิตภัณฑ์ชนิดอื่น แอลดีไฮด์ทใ่ี ช้มากคือ ฟอร์มาลดีไฮด์ มีสถานะเป็ นก๊าซที่
อุณหภูมหิ ้อง มีกลิน่ ฉุ น เมื่ออยู่ในรูปสารละลายในน้ าเรียกว่า ฟอร์มาลิน เป็ นสารทีใ่ ช้ในการฉีดศพ
เพื่อรักษาสภาพไม่ให้เน่ าเปื่ อย และใช้ดองสัตว์หรือพืชเพื่อศึกษาทางชีววิทยาและทางการแพทย์
ฟอร์มาลินมีพษิ มาก ถ้าสูดดมเข้าไปจะทาให้ระบบหายใจและหลอดลมอักเสบ ถ้าเข้าตาจะทาให้
เยือ่ ตาอักเสบและยังเป็นอันตรายต่อผิวหนัง
คีโตนทีใ่ ช้กนั มากคือ แอซีโตน (โพรพาโนน) เป็ นของเหลวระเหยง่าย ละลายน้ าได้ดี แอซี
โตนสามารถละลายสารอื่น ๆ ได้ดี จึงใช้เป็ นตัวทาละลายพลาสติกและแลกเกอร์ แอซีโตนเป็ นสารที่
ไวไฟมากจึงต้องใช้ดว้ ยความระมัดระวัง ถ้าสูดดมไอระเหยของสารนี้เข้าไปจะทาให้เกิดอาการมึนงง
ซึมและหมดสติ

1.13 กรดคาร์บอกซิ ลิก (Carboxylic acid)


กรดอินทรีย์ เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า กรดคาร์บอกซิลกิ (Carboxylic acid) เป็ นสารประกอบ
ของคาร์บอนทีม่ หี มูค่ าร์บอกซิล (-COOH) เป็ นหมูฟ่ งั ก์ชนั มีสตู รทัวไปคื
่ อ R–COOH

1.13.1 สมบัติทางกายภาพ
1.13.1.1 สภาพขัว้ และจุดเดือด
กรดคาร์บอกซิลกิ ประกอบด้วยพันธะโคเวเลนต์มขี วั ้ 3 พันธะคือ C = O, C – O และ O –
H โดยออกซิเจนของหมู่คาร์บอนิลและหมู่ไฮดรอกซิลมีประจุเป็ นลบเล็กน้อย ส่วนคาร์บอนของหมู่

สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) หน้า


107
Hydrogen bonds
เคมีอินทรีย์ 2/2554

คาร์บอนิลและไฮโดรเจนของหมู่ไฮดรอกซิลมีประจุเป็ นบวกเล็กน้อย ทาให้กรดคาร์บอกซิลกิ เป็ น


สารประกอบทีม่ ขี วั ้ และสามารถสร้างพันธะไฮโดรเจนได้

ส่วนที่มีขวั ้

ส่วนที่มีไม่ขวั ้

รูป รูป
สภาพขัว้ ของกรดแอซิตกิ พันธะไฮโดรเจนระหว่างโมเลกุลของกรดแอซิตกิ
เนื่องจากพันธะไฮโดรเจนของกรดคาร์บอกซิลกิ แข็งแรงกว่าแอลกอฮอล์ จึงทาให้กรดคาร์บอกซิลกิ มี
จุดเดือดสูงกว่าแอลกอฮอล์ทม่ี มี วลโมเลกุลใกล้เคียงกันหรือเท่ากัน ดังตาราง 13.1

ตาราง 1.16 จุดเดือดของกรดคาร์บอกซิลกิ และแอลกอฮอล์


จุดเดือด มวล จุดเดือด มวล
กรดอิ นทรีย์ แอลกอฮอล์
(C) โมเลกุล (C) โมเลกุล
CH3COOH 118 60 CH3CH2CH2OH 97 60
CH3CH2COOH 141 74 CH3(CH2)3OH 118 74
CH3CH2CH2COOH 164 88 CH3(CH2)4OH 138 88
CH3(CH2)3COOH 187 102 CH3(CH2)5OH 157 102
CH3(CH2)4COOH 202 116 CH3(CH2)6OH 176 116
1.13.1.2 การละลายน้า
นอกจากนี้กรดอินทรียย์ งั สร้างพันธะไฮโดรเจนกับน้ าได้ โดยเกิดขึน้ ระหว่างออกซิเจนของ
หมู่คาร์บอนิลในกรดคาร์บอกซิลกิ กับไฮโดรเจนในน้ า และไฮโดรเจนของหมู่ไฮดรอกซิลในกรดคาร์
บอกซิล ิก กับออกซิเ จนในน้ า จึงทาให้กรดคาร์บอกซิล ิกละลายน้ าได้ดีกว่าแอลกอฮอล์ท่มี มี วล
โมเลกุลใกล้เคียงกัน ดังรูป

สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) หน้า 108


เคมีอินทรีย์ 2/2554

รูป 13.3 พันธะไฮโดรเจนระหว่างโมเลกุลของกรดแอซิตกิ กับน้ า

ตาราง 1.17 สมบัตบิ างประการของกรดคาร์บอกซิลกิ บางชนิด


จุด การละลาย pKa
จุดเดือด
สูตรโครงสร้าง ชื่อ IUPAC หลอมเหลว น้า
(C)
(C) (g/100g)
HCOOH Methanoic acid 8 100  3.75
CH3COOH Ethanoic acid 16 118  4.75
CH3CH2COOH Propanoic acid -22 141  4.87
CH3CH2CH2COOH Butanoic acid -6 164  4.81
CH3(CH2)4COOH Hexanoic acid -3 205 1.0 4.84
CH3(CH2)8COOH Decanoic acid 32 - ไม่ละลาย 4.84
CH2FCOOH Fluoroethanoic acid 31-32 165 2.59
α
CH2ClCOOH Chloroethanoic acid 63 189 2.85
α
CHCl2COOH Dichloroethanoic acid 10.8 193 1.48
α
CCl3COOH Trichloroethanoic 56.3 198 0.70
α
acid
หมายเหตุ  หมายถึงละลายได้ดมี าก

สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) หน้า 109


เคมีอินทรีย์ 2/2554

1.13.1.3 ความเป็ นกรดและความแรงของกรดคาร์บอกซิ ลิก กรดคาร์บอกซิลกิ


มีสมบัตเิ ป็ นกรดได้เหมือนกับกรดอนินทรียอ์ ่นื ๆ เช่น HCl HNO3 เป็ นต้น เนื่องจาก กรดคาร์บอกซิ
ลิก สามารถแตกตัว ให้ไ ฮโดรเนียมไอออนได้ แต่ มคี วามแรงน้ อ ยกว่า แต่ เ มื่อ เทียบกับกลุ่ มของ
สารประกอบอินทรียแ์ ล้ว กรดคาร์บอกซิลกิ จะมีความแรงมากทีส่ ุด

ถ้ามีอะตอม หรือหมู่แทนที่ท่สี ่วนใหญ่เป็ นพวกชอบดึงอิเล็กตรอน (Withdrawing group) เกาะที่


ตาแหน่ ง α, β, γ จะทาให้ กรดคาร์ บอกซิลิกมีความแรงยิ่งขึ ้น โดยถ้ าหมู่ที่ชอบดึงอิเล็กตรอนเกาะที่
ตาแหน่ง α จะมีความแรงมากกว่าตาแหน่ง β, γ ตามลาดับ และที่ตาแหน่งเดียวกันความแรงขึ ้นอยู่
กับจานวนของหมูแ่ ทนที่

 β α
เช่น

1.13.2 การเตรียมกรดคาร์บอกซิ ลิก


1.13.2.1 ปฏิกริ ยิ าออกซิเดชันของแอลกอฮอล์ปฐมภูม ิ (Oxidation of primary
alcohol)

เช่น

สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) หน้า 110


เคมีอินทรีย์ 2/2554

1.13.2.2 ปฏิกริ ยิ าออกซิเดชันของแอลดีไฮด์ (Oxidation of aldehyde)

เช่น

1.13.2.3 ปฏิกิรยิ าการเพิม่ คาร์บอนโดยใช้กรินยารีเอเจนต์ (Carbonation of


Grignard reagent)

เช่น

1.13.2.4 ปฏิกริ ยิ าไฮโดรไลซิสโดยใช้สารประกอบไนไตรด์

สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) หน้า 111


เคมีอินทรีย์ 2/2554

เช่น

1.13.3 ปฏิ กิริยาเคมีของกรดคาร์บอกซิ ลิก


1.13.3.1 ปฏิกริ ยิ ากับเบส กรดคาร์บอกซิลกิ เป็นกรดทีแ่ รงกว่าแอลกอฮอล์ จึงทาให้
สามารถทาปฏิกริ ยิ ากับเบสอ่อนและเบสแก่ได้
2CH3COOH + 2Na 2 CH3COONa + H2
CH3COOH + NaOH CH3COONa + H2O
CH3COOH + NaHCO3 CH3COONa + H2O + CO2

1.13.3.2 ปฏิกริ ยิ าการเกิดเอสเทอร์ (Esterification)

1.13.3.3 ปฏิกริ ยิ ารีดกั ชัน

CH3(CH2)4COOH 1) LiAlH4 / Et2O CH (CH ) CH OH + H O


3 24 2 2
2) H2SO4
1.13.3.4 ปฏิกริ ยิ าการเตรียมเอซิลคลอไรด์

กลไกการเกิดปฏิกริ ยิ า

สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) หน้า 112


เคมีอินทรีย์ 2/2554

เช่น

1.13.4 กรดคาร์บอกซิ ลิกในชีวิตประจาวัน


กรดฟอร์มิก (Formic acid) หรือกรดมด พบครัง้ แรกในปี ค.ศ.1670 โดยได้จากการนามด
ไปกลันกรดฟอร์
่ มกิ เป็นชื่อทีม่ าจากภาษาลาตินว่า formica (ant) เมื่อถูกมดกัดจะรูส้ กึ เจ็บปวด ทัง้ นี้
ก็เนื่องมาจากกรดมดเข้าไปในบาดแผลนัน่ เอง ซึ่งกรดฟอร์มกิ เป็ นกรดคาร์บอกซิลกิ ที่มจี านวน
อะตอมของคาร์บอนน้อยทีส่ ุดพบในผึง้ และมดแต่ส่วนใหญ่ได้จากการสังเคราะห์ ใช้เป็ นสารทีช่ ่วยให้
เนื้อยางในน้ายางดิบรวมตัวกันเป็นก้อนและใช้ในอุตสาหกรรมฟองหนังและอุตสาหกรรมย้อมผ้า
กรดแอซิ ติก (Acetic acid) หรือกรดน้ าส้ม ได้จากการหมักน้ าตาล ผลไม้ หรือจากการ
หมักเอทานอล น้ าส้มสายชู(Vinegar) คือสารละลายเจือจางของกรดน้ าส้มในน้ า กรดแอซิตกิ หรือ
กรดน้ าส้มทีร่ จู้ กั กันมาแต่โบราณ ทาให้บริสุทธิ ์ได้ครัง้ แรกในปี ค.ศ. 1700 โดย Stahl กรดแอซิตกิ บ

สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) หน้า 113


เคมีอินทรีย์ 2/2554

ริสุทธิ ์เรียกว่า glacial acetic acid กรดนี้มจี ุดหลอมเหลวที่ 17 C ฉะนัน้ ในเมืองหนาวอาจพบแอ


ซิตกิ ในรูปของแข็ง
กรดอื่นๆ เช่น กรดแอลฟาไฮดรอกซีหรือเอเอชเอ (alpha hydroxyl acids, AHAs) หรือ
กรดไกลโคลิก เป็ นกรดคาร์บอกซิลที่เกิดในธรรมชาติพบในผลไม้ นม ต้นอ้อย ซึ่งปจั จุบนั นามาใช้
เป็นส่วนผสมของผลิตภัณฑ์ทท่ี าให้หน้าใสไร้รวิ รอย

1.14 เอสเทอร์ (Ester)


1.14.1 สมบัติทางกายภาพ
เอสเทอร์พบมากในธรรมชาติอยู่ในรูปของสารที่มกี ลิน่ หอม โดยส่วนใหญ่พบในผลไม้และ
ดอกไม้ มีสูตรทัวไป่ RCOOR’ เอสเทอร์เป็ นสารที่มขี วั ้ สามารถเกิดพันธะไฮโดรเจนได้ แต่ไม่
แข็งแรงเท่ากับสารประกอบกรดคาร์บอกซิล ิกและสารประกอบแอลกอฮอล์ ดังนัน้ จุดเดือ ดของ
สารประกอบเอสเทอร์จ ึงต่ ากว่าสารประกอบกรดคาร์บอกซิล ิกและสารประกอบแอลกอฮอล์ท่มี ี
น้าหนักโมเลกุลใกล้เคียงกัน
ส่วนใหญ่สารประกอบเอสเทอร์จะถูกนาไปใช้เพื่อแต่งกลิน่ แต่งรสชาติอาหาร หรือสิง่ ของ
เครือ่ งใช้ เพราะมีกลิน่ ต่างๆคล้ายกับกลิน่ ทีไ่ ด้จากธรรมชาติ เช่น

ตาราง 1.18 จุดเดือดของเอสเทอร์และกรดคาร์บอกซิลกิ ทีเ่ ป็นไอโซเมอร์กนั บางชนิด


เอสเทอร์ กรดคาร์บอกซิ ลิก
สูตรโมเลกุล
สูตรโครงสร้าง จุดเดือด (OC) สูตรโครงสร้าง จุดเดือด (OC)
C 2H 4O HCOOCH3 31.7 CH3COOH 117.9
C 3H 6O 2 HCOOCH2CH3 54.4 CH3CH2COOH 141.1
CH3COOCH3 56.9
C 4H 8O 2 H3COOCH2CH2CH3 80.9 CH3CH2CH2COOH 163.7

สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) หน้า 114


เคมีอินทรีย์ 2/2554

CH3COOCH2CH3 77.1
CH3CH2COOCH3 79.8

ตาราง 1.19 ตัวอย่างของเอสเทอร์ทม่ี กี ลิน่ บางชนิด

1.14.2 ปฏิ กิริยาเคมีของเอสเทอร์


1.14.2.1 ปฏิกริ ยิ า Hydrolysis

เช่น

1.14.2.2 ปฏิกริ ยิ า Sponification


O O
H 3C C O CH 3 NaOH H3C C ONa HO CH 3

1.14.2.3 ปฏิกริ ยิ าการเกิดเอสเทอร์ (Esterfication)

สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) หน้า 115


เคมีอินทรีย์ 2/2554

กลไกการเกิดปฏิกริ ยิ า

เช่น

1.15 เอมีน (Amine)


สารประกอบเอมีนเป็ นสารประกอบอินทรีย์เป็ นอนุ พนั ธ์ของแอมโมเนีย ที่มไี นโตรเจนสร้าง
พันธะได้ 3 พันธะ และอย่างน้อยพันธะหนึ่งจะต้องสร้างกับอะตอมของคาร์บอน ดังนัน้ เอมีนจึงอาจมี
สูตรโครงสร้างได้ดงั นี้
R' R''

R NH 2 R NH R N R'''

ประเภทของเอมีน
เอมีนแบ่งตามจานวนหมู่แอลคิล หรือเอริล (Ar) ที่ต่ออยู่กบั อะตอมของไนโตรเจนได้ 3
ประเภทคือ

สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) หน้า 116


เคมีอินทรีย์ 2/2554

1) เอมีนปฐมภูม ิ (primary amine: 1amine) หมายถึงเอมีนทีม่ หี มู่แอลคิล หรือ เอริลเพียงหมู่


เดียวต่อกับไนโตรเจนอะตอม เช่น CH3 – NH2
2) เอมีนทุตยิ ภูม ิ (secondary amine: 2amine) หมายถึงเอมีนที่มหี มู่แอลคิล หรือ เอริล 2
หมูต่ ่อกับไนโตรเจนอะตอม เช่น (CH3)2 – NH
3) เอมีนตติยภูม ิ (tertiary amine: 3amine) หมายถึงเอมีนทีม่ หี มู่แอลคิล หรือ เอริล 3 หมู่ต่อ
กับไนโตรเจนอะตอม เช่น (CH3)3 – N

1.15.1 สมบัติทางกายภาพของเอมีน
1.15.1.1 สภาพขัว้ และจุดเดือด
เอมีนสร้างพันธะไฮโดรเจนได้ แต่พนั ธะไฮโดรเจนระหว่าง N…H นัน้ จะอ่อนกว่า
O…H เพราะ N มีค่า EN น้อยกว่า O จึงทาให้เอมีนมีจุดเดือดสูงกว่าพวกไม่มพี นั ธะไฮโดรเจน เช่น
อีเทอร์ แอลเคน แต่จะมีจดุ เดือดต่ากว่าพวกทีม่ พี นั ธะไฮโดรเจน เช่น แอลกอฮอล์
เอมีนตติยภูมไิ ม่มพี นั ธะไฮโดรเจนในโมเลกุลเนื่องจากไม่มพี นั ธะระหว่าง N – H
จุดเดือดของเอมีนตติยภูมจิ งึ ต่ากว่าเอมีนปฐมภูมแิ ละเอมีนทุตยิ ภูม ิ
เอมีน ที่มมี วลโมเลกุ ล ต่ าจะละลายน้ าได้เ พราะสามารถเกิดพัน ธะไฮโดรเจนกับ
โมเลกุ ล ของน้ าได้แ ละเอมีนตติย ภูม ิก็ส ามารถเกิดพันธะไฮโดรเจนกับ น้ า ได้เ ช่น กัน เพราะยัง มี
อิเล็กตรอนคู่โดดเดีย่ ว

ตาราง 1.20 สมบัตบิ างประการของเอมีนบางชนิด


ชื่อ สูตรโครงสร้าง จุดเดือด ( C) การละลายน้า
(g/100g)
Methylamine CH3NH2 -75 ละลายได้ทุกส่วน
Dimethylamine (CH3)2NH 7.5 ละลายได้ทุกส่วน
Trimethylamine (CH3)3N 3 ละลายได้ทุกส่วน
Ethylamine CH3CH2 – NH2 17 ละลายได้ทุกส่วน
Benzylamine C6H5NH2 185 ละลายได้ทุกส่วน
Aniline C6H5NH2 184 3.7

1.15.1.2 สภาพการละลายน้า
เอมีนโมเลกุลเล็กละลายน้าได้ดกี ว่าโมเลกุลใหญ่ สารละลายของเอมีนในน้ ามีสมบัติ
เป็ นเบสเนื่องจากเป็ นฝา่ ยรับโปรตอนจากน้ า

สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) หน้า 117


เคมีอินทรีย์ 2/2554

CH3CH2CH2NH2 + H2O CH3CH2CH2NH3+ + OH-


สารละลายของเอมีนทาปฏิกริ ยิ ากับกรดได้สารประกอบของเกลือ เช่น
CH3CH2CH2CH2NH2 + HCl CH3CH2CH2CH2NH3+Cl-
เอมีนโมเลกุลเล็กมีสถานเป็ นก๊าซละลายน้าได้ดแี ละมีกลิน่ เหม็น เอมีนบางชนิดมี
กลิน่ คล้ายปลาเน่ า เอมีนหลายชนิดมีพษิ การสัมผัส การสูดดม หรือการอยูใ่ นบริเวณทีเ่ อมีนมีความ
เข้มข้นมาก จะทาให้เกิดการระคายเคืองต่อเนื้อเยือ่ ต่าง ๆ โดยเฉพาะผิวหนังและตา เอมีนทีเ่ รียกว่า
แอลคาลอยด์ พบอยูใ่ นส่วนต่าง ๆ ของพืช เช่น เมล็ด ดอก ใบ เปลือก หรือ ราก ได้แก่ มอร์ฟีนซึง่
สกัดจากต้นฝิ่นใช้เป็ นยาบรรเทาปวด โคเคนพบในใบโคคาใช้เป็นยาชาเฉพาะที่ ควินินจากเปลือก
ของต้นซินโคนาใช้เป็นยารักษาโรคมาเลเรีย แอมเฟตามีนเป็นเอมีนสังเคราะห์ชนิดหนึ่งใช้เป็ น
ส่วนประกอบในสาร เสพติด เช่น ยาบ้า ยาอี ยาไอซ์

1.15.1.3 ความเป็ นเบสของสารประกอบเอมีน สารประกอบเอมีนมีความเป็ น


เบสทีแ่ รงกว่าน้า แต่เมือ่ เทียบกับเบสอนินทรียส์ ารประกอบเอมีนก็เป็นเบสทีอ่ ่อนกว่า

ดังนัน้

สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) หน้า 118


เคมีอินทรีย์ 2/2554

1.15.2 การเตรียมสารประกอบเอมีน
1) ปฏิกริ ยิ ารีดกั ชันของสารประกอบแอลดีไฮด์หรือคีโตน

กลไกการเกิดปฏิกริ ยิ า

สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) หน้า 119


เคมีอินทรีย์ 2/2554

เช่น

2) ปฏิกริ ยิ าเตรียมเอมีนจาก nitrile

3) ปฏิกริ ยิ าเตรียมเอมีนจาก Oxime

4) ปฏิกริ ยิ าเตรียมเอมีนจาก Amide

5) Curtius Rearrangement

สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) หน้า 120


เคมีอินทรีย์ 2/2554

6) รีดกั ชันของไนโตร

1.15.3 ปฏิ กิริยาเคมีของเอมีน


1.15.3.1 ปฏิกริ ยิ า alkylation ของ เอมีน
NH3 RX OH- R NH2 H 2O X-

1.15.3.2 ปฏิกริ ยิ ากับแอซิดคลอไรด์

เช่น

1.16 เอไมด์ (Amide)


สารประกอบเอไมด์อาจแบ่งออกเป็ นสองกลุ่มคือ R–CO–NH2 ซึ่งเวเลนต์อเิ ล็กตรอนของ
ไนโตรเจนทีเ่ หลือทัง้ 2 อิเล็กตรอนจะสร้างพันธะกับไฮโดรเจน และ R–CO–NH–R/ หรือ R–CO–
NR/2 เวเลนต์อเิ ล็กตรอนของไนโตรเจนเพียงอิเล็กรอนเดียว หรือ ทัง้ สองอิเล็กตรอนสร้างพันธะกับ
คาร์บอนตามลาดับ

1.16.1 สมบัติทางกายภาพของเอไมด์
จุดเดือ ดของเอไมด์มแี นวโน้ มเช่นเดียวกับเอมีน คือ จุดเดือ ดสูงขึ้นเมื่อคาร์บอนอะตอม
เพิม่ ขึน้ และเนื่องจากออกซิเจนเป็ นธาตุทม่ี คี ่า EN สูงจึงมีสภาพขัว้ เป็ นลบ ส่วนไฮโดรเจนในหมู่อะ
มิโนมีค่า EN ต่ ากว่าจึงมีสภาพขัว้ เป็ นบวก เอไมด์จงึ เป็ นโมเลกุลมีขวั ้ ละลายน้ าได้ โดยที่เอไมด์
โมเลกุลเล็กละลายน้ าได้ดกี ว่าโมเลกุลใหญ่ แต่การละลายน้ าของเอไมด์ไม่ได้แสดงสมบัตเิ ป็ นเบส
เนื่องจากออกซิเจนในหมู่คาร์บอนิลดึงดูดอิเล็กตรอนจากไนโตรเจนในหมู่อะมิโน ทาให้ไนโตรเจนมี
สภาพขัว้ เป็นบวกไม่สามารถรับโปรตอนจากน้าได้

สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) หน้า 121


เคมีอินทรีย์ 2/2554

ตาราง 1.21 สมบัตบิ างประการของเอไมด์บางชนิด


ชื่อ สูตรโครงสร้าง จุดเดือด (C) การละลายน้า
(g/100g)
Methanamide HCONH2 111 ละลายได้ทุกส่วน
ethanamide CH3CONH2 221 ละลายได้ทุกส่วน
propanaide CH3CH2CONH2 213 ละลายได้ทุกส่วน
butanamide CH3CHCH2CH2CONH2 216 ไม่ละลาย

ยูเรียเป็ นสารประกอบเอไมด์ชนิดหนึ่งมีสูตร NH2–CHNH2 พบในปสั สาวะของสัตว์เลีย้ งลูก


ด้วยนมเป็ นผลิต ภัณฑ์ท่ไี ด้จากการสลายโปรตีน ยูเ รียมีความสาคัญ ทัง้ ในด้านอุ ตสาหกรรมและ
เกษตรกรรม ใช้เป็ นวัตถุดบิ ในการทาพลาสติกประเภทพอลิยเู รีย -ฟอร์มาลดีไฮด์ ใช้เป็ นปุ๋ย ยูเรียที่
ใช้ในอุตสาหกรรมต่าง ๆ สังเคราะห์ได้จากปฏิกริ ยิ าระหว่าง CO2 และNH3 ดังสมการ

CO2 + 2 NH3 NH2CONH2 + H2O

1.16.2 การเตรียมสารประกอบไมด์
1.16.2.1 เตรียมจากแอซิดคลอไรด์
O O
HNR'R
C C
R Cl R NRR'

กลไกการเกิดปฏิกริ ยิ า

สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) หน้า 122


เคมีอินทรีย์ 2/2554

เช่น

1.16.2.2 เตรียมจากเอสเทอร์

O O
HNR'R
C C
R OR'' R NRR'
กลไกการเกิดปฏิกริ ยิ า

เช่น

1.16.3 ปฏิ กิริยาเคมีของเอไมด์


Hydrolysis ของเอไมด์
O O

R C + H +/H 2 O/heat R C + NH 4 +

NH 2 OH

สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) หน้า 123


เคมีอินทรีย์ 2/2554

บรรณานุกรม

1) หนังสือเรียนสาระการเรียนรูพ้ น้ื ฐานและเพิม่ เติม เคมี เล่ม 5. พิมพ์ครัง้ ที่ 2; กรุงเทพฯ : โรง
พิมพ์คุรสุ ภาลาดพร้าว, 2549.
2) Solomons, G. and Fryhle, C. Organic Chemistry, 8th ed.; USA. John Wiley & Sons,
Inc., 2004.
3) Wade, JR. Organic Chemistry, 4th ed.; New Jersey. Prentice-Hall, Inc., 1987.
4) Maitland, Jr. Organic Chemistry, 3rd ed.; New York. Norton & Company, Inc., 2005.
5) Pine, S.H. Organic Chemistry, 5th ed.; McGraw-Hill, Inc., 1987.
6) ชนิตา พงษ์ลมิ านนท์. เคมีอนิ ทรียเ์ บือ้ งต้น, พิมพ์ครัง้ ที่ 5; ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
7) เกสร พะลัง. เคมีอนิ ทรีย,์ พิมพ์ครัง้ ที่ 1; สานักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,2541
8) สุนนั ทา วิบรู ณ์จนั ทร์. เคมีอนิ ทรีย์, พิมพ์ครัง้ ที่ 3; ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์
มหาวิทยาลัยมหิดล

สาขาวิชาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) หน้า 124

You might also like