บทที่ 4 สมดุล

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 36

บทที 4

สมดุลของแรง (FORCE EQUILIBRIUM)

100-12-07 Engineering Mechanics


โดย....... อ.ตฤษฐพร แก้วสุก
4.1สถาพสมดุล (Equilibrium)
สมดุล หมายถึง “วัตถุทีอยูน่ ิ งภายใต้แรงทีมากระทํากับวัตถุนัน” นัน
หมายความว่า
“ แรงลัพธ์ของแรงทังหมดทีกระทําต่อวัตถุเป็ นศูนย์”
4.1สถาพสมดุล (Equilibrium)
 เงือนไขของสมดุล
เมื่อวัตถุอยูนิ่งภายใตแรงที่มากระทํา หมายถึง วัตถุนั้น
- ไมมีการเคลื่อนที่ (No Translation)
- ไมหมุน (No Rotation)
เมื่อวัตถุอยูนิ่ง ผลรวมของแรงที่กระทํากับวัตถุในทุกทิศทางจะตองมีคาเทากับศูนย ดังนั้น
จึงเขียนเปนเงื่อนไขของสมการการสมดุลไดดังนี้
1. ผลรวมของแรงลัพธที่กระทําบนวัตถุนั้นมีคาเทากับศูนย
F = 0
2. ผลรวมของโมเมนตของแรงที่กระทําบนวัตถุนั้นมีคาเทากับศูนย
M = 0
4.2 Free Body Diagram
 การเขียนผังวัตถุอิสระ (Free Body Diagram : FBD)
ผังวัตถุอิสระ (free body diagram, FBD) คือ แผนภาพแทนวัตถุและแรงทังหมดทีมา
กระทํา

การเขียนผังวัตถุอิสระมีขนตอนดั
ั งนี

1. แยกส่วนของวัตถุหรือโครงสร้าง ทีต้องการวิเคราะห์มาเขียนเป็ นโครงต่างหาก โดย


เขียนเป็ นลายเส้น
2. ใส่แรงและโมเมนต์ทงหมดที
ั กระทําต่อส่วนทีแยกอิสระ ทังขนาดและทิศทางที
ถูกต้องสําหรับค่ารู ้ ส่วนค่าและทิศทางทีไม่รใู ้ ห้เขียนแทนด้วยตัวอักษรในทิศทางทีคาดว่าจะถูกต้อง
3. ส่วนใดของวัตถุทีแยกออกจากจุดยึด (Support) จะต้องมีแรงปฏิกิริยาในทิศทาง
ต่าง ๆ ตามลักษณะของจุดยึดนัน
4.2 Free Body Diagram

ตัวอย่างการเขียนผังวัตถุอิสระ
4.3 สมดุลในระบบ 2 มิติ
4.3 สมดุลในระบบ 2 มิติ

- รูปแบบแรงปฏิกิริยาและโมเมนต์ แรงทีผิวสัมผัสเป็ น
ของจุดต่อและจุดสัมผัส แรงกดและมีทิศทาง
ตังฉาก กับผิวสัมผัส
กรณี 2 มิติ เสมอ
4.3 สมดุลในระบบ 2 มิติ

- รูปแบบแรงปฏิกิริยาและโมเมนต์
ของจุดต่อและจุดสัมผัส
กรณี 2 มิติ
4.3 สมดุลในระบบ 2 มิติ
4.3 สมดุลในระบบ 2 มิติ
4.3 สมดุลในระบบ 2 มิติ

ลําดับขันตอนการแก้ปัญหา
4.3 สมดุลในระบบ 2 มิติ

ตัวอย่างที 1. จงหาขนาดแรงตึง T ของสายเคเบิล และขนาดของแรงทีตําแหน่ ง A


ดังภาพ โดยทีคาน AB เป็ น I-beam มีความยาว 5 m และมีมวล 95 kg/m
4.3 สมดุลในระบบ 2 มิติ
Solution. จาก FBD สามารถหาแรง T และแรงปฏิกิริยาไดดังนี้
  M A  0  T cos25 (0.25)  T sin25 (5  0.12)  10(5  1.5  0.12)  4.66(2.5  0.12)  0
T cos25 (0.25)  T sin25 (5  0.12)  33.8  11.09
2.3T  44.09
T  19.52 N
  FX  0  AX  T cos25  0 ; T  19.52 N
AX  17.69 N
  Fy  0  Ay  T sin25  4.66  10  0
Ay  6.37 N
A  Ax2  Ay2  (17.69) 2  (6.37) 2
A  18.80 N
4.3 สมดุลในระบบ 2 มิติ

ตัวอย่างที 2. จงหาขนาดแรงดึง T ของสายเคเบิล ซึงรองรับมวล 500 kg ด้วยระบบ


รอกดังภาพ กําหนดให้ระบบรอกมีมวลน้อยมาก และจงหาขนาดของแรงทังหมดที
แบริงรอก
4.3 สมดุลในระบบ 2 มิติ

ตัวอย่างที 3. จากรูปจงหาขนาดของแรงทีจุด A เมือจุด B เป็ นจุดยึดแบบพืนสัมผัส


เรียบ
4.3 สมดุลในระบบ 2 มิติ

ลักษณะสมดุล 2 มิติ ทีพบบ่อย


1. ชินส่วนรับแรงสองแรงโดยไม่คิดนําหนัก (Two Force Member)
4.3 สมดุลในระบบ 2 มิติ

ลักษณะสมดุล 2 มิติ ทีพบบ่อย


4.3 สมดุลในระบบ 2 มิติ

ตัวอย่างที 4. จงหาแรงปฏิกิริยาทีจุด A และ B และหาแรงในชิน


CD ตามภาพ
4.3 สมดุลในระบบ 2 มิติ

  MC  0  2.5sin60 (6)  2.5cos60 (3)  4  N A cos45 (3)  N A sin45 (10)  0


N A  1.06 kN
  FX  0  1.06cos45  2.5cos60  FCD  0
FCD  0.501 kN
  Fy  0  NB  1.06sin45  2.5sin60 0
NB  1.42 kN
4.3 สมดุลในระบบ 3 มิติ
4.3 สมดุลในระบบ 3 มิติ
4.4 สมดุลในระบบ 3 มิติ - รูปแบบแรงปฏิกิริยาและโมเมนต์
ของจุดต่อและจุดสัมผัส
กรณี 3 มิติ
4.4 สมดุลในระบบ 3 มิติ - รูปแบบแรงปฏิกิริยาและโมเมนต์
ของจุดต่อและจุดสัมผัส
กรณี 3 มิติ
4.4 สมดุลในระบบ
3 มิติ
4.4 สมดุลในระบบ 3 มิติ
ตัวอย่างที 5.
4.4 สมดุลในระบบ 3 มิติ
ตัวอย่างที 6.
4.4 สมดุลในระบบ 3 มิติ
ตัวอยางที่ 7. แทงกลมประกอบกันรับน้ําหนัก 250 lb จงหาสวนประกอบยอยของ
แรงปฏิกิริยาที่จุด A ซึ่งเปนแบบลูกปนและเบา (ball and socket jont) ,
journal Bearing ที่จุด E และแรงในแทง CD กําหนดใหจุดตอที่ C และ
D เปนแบบลูกปนและเบา
แบบฝึ กหัด

จงเขียนแผนผังอิสระจากรูปทีกําหนดให้
แบบฝึ กหัด
1. จงหาแรงปฏิกิริยาทีจุด A และ B ซึงชินส่วน AB นันถูก 2. คาน AC รับนํ าหนักบริเวณปลายทีจุด C มีค่า
ยึดด้วยลูกกลิงบริเวณ A และ ข้อต่อสลักทีจุด B เท่ากับ 80 kg และยึด ด้วยข้อต่ อสลักที จุ ด A
ในขณะทีจุด B ถูกดึงด้วยระบบรอกทีจุด D จงหาแรง
ดึงของเชือกและแรงปฏิกิริยาทีจุด A
แบบฝึ กหัด
4. หม้อแปลงไฟฟ้ ามีแรงเนื อจากนําหนักมีคา่ เท่ากับ
300 lb มีจุดศูนย์กลางมวลทีจุด G โดยทีจุด A ถูก
ยึดด้วยข้อต่อสลัก และทีจุด B เป็ นพืนผิวสัมผัสเรียบ
จงหาแรงปฏิกิริยาทีกระทําบริเวณจุดยึด
แบบฝึ กหัด
1. เพลาถูกยึดด้วยลูกปื นทีจุด A, B และ C จงหา 2. เสาไฟฟ้ าถูกกระทําด้วยแรงเคเบิลทังสอง 60 lb แต่
องค์ประกอบย่อย x, y และ z ของจุดยึดทังหมด ละแรงอยูใ่ นระนาบทีขนานกันระนาบ x-y ถ้าการดึง
ในสายเคเบิล AB คือ 80 lb จงหาองค์ประกอบย่อย
x,y และ z ของแรงปฏิกิริยาทีฐานเสา O
แบบฝึ กหัด

You might also like