Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 16

1

การวางแผนกลยุทธ์ (Strategic Planning)


โดย...นายมนตรี สิงห์สุวรรณ ศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

1. ความหมายของการวางแผนกลยุทธ์
2. ความสาคัญของการวางแผนกลยุทธ์
3. กระบวนการวางแผนกลยุทธ์
4. การวิเคราะห์สภาพแวดล้อม (SWOT Analysis)
5. การจับคู่จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรค (TOWS Matrix)
6. การกาหนดพันธกิจ (Mission)
7. การกาหนดวิสยั ทัศน์ (Vision)
8. การกาหนดประเด็นยุทธศาสตร์ (Strategic Issue)
9. การกาหนดเป้าประสงค์ (Goal)
10. การกาหนดวัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ (Strategic Objectives)
11. การกาหนดกลยุทธ์ (Strategies)
12. BSC : Balanced Scorecard
13. การสร้างแผนที่กลยุทธ์ (Strategy Map)
14. การประเมินผล (Evaluation)
15. การสร้างตัวชี้วัด (Key Performance Indicator : KPI)
16. การกาหนดค่าเป้าหมาย (Target)
17. การจัดทาแผนงาน/โครงการ
18. แบบสารวจปัจจัยเพื่อนามาวิเคราะห์สภาพแวดล้อม (SWOT Analysis)

ความหมายของการวางแผนกลยุทธ์
การวางแผนกลยุทธ์ หมายถึง กระบวนการในการตัดสินใจกาหนดวิธกี ารกระทาและสิ่งที่ควรจะต้องปฏิบัติอย่างเป็น
ระบบเอาไว้เป็นการล่วงหน้า ซึ่งในการดาเนินงานต้องเริ่มด้วยการวิเคราะห์ข้อมูลทีส่ าคัญต่างๆ เพื่อนามาประกอบกับการใช้
ดุลยพินิจเพื่อให้ได้คาตอบว่าองค์กรของเราต้องการที่จะเป็นอะไร โดยจะต้องทาอย่างไร เพื่อให้ได้อะไรในช่วงระยะเวลาใด
เวลาหนึ่งที่กาหนดไว้ นั่นคือการทาให้บรรลุตามวัตถุประสงค์ที่กาหนดไว้อย่างมีประสิทธิภาพ

ความสาคัญของการวางแผนกลยุทธ์
1. การวางแผนกลยุทธ์เป็นรูปแบบการวางแผนที่ช่วยให้หน่วยงานพัฒนาตนเองได้ทันกับสภาพการเปลี่ยนแปลงได้อย่าง
เหมาะสม เพราะการวางแผนกลยุทธ์ให้ความสาคัญกับการศึกษาวิเคราะห์บริบท และสภาพแวดล้อมภายนอกหน่วยงานเป็นประเด็น
สาคัญ
2. การวางแผนกลยุทธ์เป็นรูปแบบการวางแผนที่ช่วยให้หน่วยงานหรือองค์กรในทุกระดับมีความเป็นตัวเองมากขึ้น โดยที่
ไม่ใช่เป็นการวางแผนที่ต้องกระทาตามหน่วยงานหลักอย่างเดียวว
3. การวางแผนกลยุทธ์ เป็นรูปแบบการวางแผนที่สอดรับกับการกระจายอานาจ ซึ่งเป็นกระแสหลักการบริหารในปัจจุบัน
และสอดคล้องกับหน่วยงานหลักในเรื่องที่สาคัญๆ
4. การวางแผนกลยุทธ์ เป็นเงื่อนไขหนึ่งของการจัดทาระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงาน (Performance Base
Budgeting) ซึ่งจะต้องจัดทาก่อนที่จะกระจายอานาจด้านงบประมาณโดยการจัดสรรงบประมาณเป็นเงินก้อนลงไปให้หน่วยงาน
5. การวางแผนกลยุทธ์ เป็นการวางแผนที่ให้ความสาคัญต่อการกาหนดกลยุทธ์ ที่ได้มาจากการคิดวิเคราะห์แบบใหม่ ๆ ที่
ไม่ผูกติดอยู่กับปัญหาเก่าในอดีตไม่เอาข้อจากัดทางด้านทรัพยากร และงบประมาณ มาเป็นข้ออ้าง ดังนั้น การวางแผนกลยุทธ์จึงเป็น
การวางแผนแบบท้าทายความสามารถ เป็นรูปแบบการวางแผนที่ช่วยให้เกิดการริเริ่มสร้างสรรค์ทางเลือกใหม่ ได้ด้วยตนเอง จึงเป็น
การวางแผนพัฒนาที่ยั่งยืน
2

กระบวนการวางแผนกลยุทธ์
กระบวนการวางแผนกลยุทธ์ประกอบด้วย 3 กระบวนการ คือ
1. การวางแผน (Formulation)
2. การนาไปสู่การปฏิบัติ (Implementation)
3. การติดตามและประเมินผล (Monitor and Evaluation)
โดยแต่ละกระบวนการมีขั้นตอนการจัดทาแผนกลยุทธ์ดังภาพต่อไปนี้
3

กระบวนการวางแผนและขัน้ ตอนการจัดทาแผนกลยุทธ์

กระบวนการวางแผน ขั้นตอนการจัดทาแผนกลยุทธ์

การวิเคราะห์ข้อมูลนาเข้า สภาพองค์กรและการดาเนินงานในปัจจุบัน, กฎ ระเบียบ,


ผลการดาเนินงานที่ผ่านมา,ผูม้ ีส่วนได้สว่ นเสีย,คู่แข่งขัน

SWOT Analysis การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายในและภายนอก

พันธกิจ (Mission) กรอบ ขอบเขต การดาเนินงานของหน่วยงาน

วิสัยทัศน์ (Vision) สิ่งที่อยากจะให้หน่วยงานเป็นในอีก 3-5 ปีข้างหน้า


การวางแผน
(Planning)

ประเด็นยุทธศาสตร์ (Strategic Issue) ประเด็นหลักที่ต้องคานึงถึง ต้องพัฒนา ต้องมุ่งมั่น

เป้าประสงค์ (Goal) อะไรคือสิง่ ที่หน่วยงานอยากจะบรรลุตามประเด็นยุทธศาสตร์

KPIs : ตัวที่จะบอกว่าหน่วยงานสามารถบรรลุเป้าประสงค์หรือไม่
ตัวชี้วัดและค่าเป้าหมาย (KPIs & Target Value) Target Value : ตัวเลขหรือค่าของตัวชี้วัดที่จะต้องไปให้ถึง

กลยุทธ์ (Strategy) สิ่งที่หน่วยงานจะทาเพือ่ ให้บรรลุตามเป้าประสงค์

วัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ (Strategic Objective) สิ่งที่หน่วยงานต้องการในการจัดทากลยุทธ์

ความเชือ่ มโยงระหว่าง BSC ประเด็นยุทธศาสตร์


การนาไปสู่การปฏิบัติ
(Implementation)

แผนที่กลยุทธ์ (Strategy Map) และวัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์

แผนปฏิบัติการ (Action Plan) /โครงการ (Project) การดาเนินงานอย่างมีแบบแผนตามกลยุทธ์

ตัวชี้วัดและค่าเป้าหมายของโครงการ
(Monitor and Evaluation)
การติดตามและประเมินผล

ผลการดาเนินงาน

เปรียบเทียบกับเกณฑ์ (ตัวชี้วัดและค่าเป้าหมาย)

การตัดสิน

หลักการมีสว่ นร่วมและทางานเป็นทีม
4

การบริหารเชิงกลยุทธ์

ปัจจุบันเราอยู่ทไี่ หน
การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายในและภายนอก
(Where are we now ?)

เราต้องการจะไปไหน การกาหนดทิศทางขององค์กร
(Where do we want to be ?) (พันกิจ/วิสัยทัศน์)

การกาหนดกลยุทธ์
เราจะไปสู่จุดนั้นได้อย่างไร
(ประเด็นยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์
(How do we get there ?)
วัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ กลยุทธ์)

เราต้องปรับเปลีย่ นอะไรเพื่อไปถึงจุดหมาย การนากลยุทธ์ไปสู่การปฏิบตั ิ


(What do we have to do or change in order to get there ?) (แผนที่กลยุทธ์ แผนปฏิบัติการ/โครงการ)
5

การวิเคราะห์สภาพแวดล้อม (SWOT Analysis)


การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมเป็นการวิเคราะห์สภาพองค์การ หรือหน่วยงานในปัจจุบัน เพื่อค้นหาจุดแข็ง จุดจุดอ่อน
โอกาส อุปสรรค หรือสิ่งที่อาจเป็นปัญหาสาคัญในการดาเนินงานสู่สภาพที่ต้องการในอนาคต SWOT เป็นตัวย่อที่มี
ความหมายดังนี้
S ย่อมาจาก Strengths หมายถึง จุดแข็ง (ข้อได้เปรียบ)
W ย่อมาจาก Weaknesses หมายถึง จุดอ่อน (ข้อเสียเปรียบ)
O ย่อมาจาก Opportunities หมายถึง โอกาส (ปัจจัยที่จะส่งผลให้สามารถดาเนินการได้)
T ย่อมาจาก Threats หมายถึง อุปสรรค (ปัจจัยที่คุกคามการดาเนินงาน)

หลักการสาคัญของการวิเคราะห์สภาพแวดล้อม
หลักการสาคัญ คือ การวิเคราะห์โดยการสารวจจากสภาพการณ์ 2 ด้าน คือ สภาพการณ์ภายในและสภาพการณ์
ภายนอก ดังนั้นการวิเคราะห์ SWOT จึงเรียกได้ว่าเป็นการวิเคราะห์สภาพการณ์ (Situation Analysis) ซึ่งเป็นการวิเคราะห์
จุดแข็ง จุดอ่อน เพื่อให้รู้ตนเอง (รูเ้ รา) รู้จักสภาพแวดล้อม (รู้เขา) ชัดเจน และวิเคราะห์โอกาส-อุปสรรค การวิเคราะห์ปจั จัย
ต่าง ๆ ทั้งภายนอกและภายในองค์กรจะช่วยให้ผู้บริหารทราบถึงการเปลีย่ นแปลงต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นภายนอกองค์กร ทั้งสิ่งที่ได้
เกิดขึ้นแล้วและแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงในอนาคต รวมทั้งผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงเหล่านี้ที่มีตอ่ องค์กร และจุดแข็ง
จุดอ่อน และความสามารถด้านต่าง ๆ ที่องค์กรมีอยู่ ซึ่งข้อมูลเหล่านีจ้ ะเป็นประโยชน์อย่างมากต่อการกาหนดวิสัยทัศน์ การ
กาหนดกลยุทธ์และการดาเนินตามกลยุทธ์ขององค์กรที่เหมาะสมต่อไป

ประโยชน์ของการวิเคราะห์สภาพแวดล้อม
การวิเคราะห์สภาวะแวดล้อม เป็นการวิเคราะห์สภาพแวดล้อม ทั้งภายนอกและภายในองค์กร ซึ่งปัจจัยเหล่านี้แต่ละ
อย่างจะช่วยให้เข้าใจได้ว่ามีอิทธิพลต่อผลการดาเนินงานขององค์กรอย่างไร จุดแข็งขององค์กรจะเป็นความสามารถภายในที่
ถูกใช้ประโยชน์เพื่อการบรรลุเป้าหมาย ในขณะที่จดุ อ่อนขององค์กรจะเป็นคุณลักษณะภายในที่อาจจะทาลายผลการ
ดาเนินงาน โอกาสทางสภาพแวดล้อมจะเป็นสถานการณ์ที่ให้โอกาสเพื่อการบรรลุเป้าหมายขององค์กร อุปสรรคทาง
สภาพแวดล้อมจะเป็นสถานการณ์ที่ขัดขวางการบรรลุเป้าหมายขององค์กร ผลจากการวิเคราะห์สภาวะแวดล้อมนีจ้ ะใช้เป็น
แนวทางในการพัฒนาไปในทางที่เหมาะสม

ขั้นตอน/วิธกี ารดาเนินการวิเคราะห์สภาพแวดล้อม
การวิเคราะห์สภาวะแวดล้อม จะครอบคลุมขอบเขตของปัจจัยที่กว้าง ด้วยการระบุจุดแข็ง จุดอ่อน โอกาสและ
อุปสรรคขององค์กรทาให้มีข้อมูล ในการกาหนดทิศทางหรือเป้าหมายที่จะถูกสร้างขึ้นมาบนจุดแข็งขององค์กร และแสวงหา
ประโยชน์จากโอกาสทางสภาพแวดล้อม และสามารถกาหนดกลยุทธ์ที่มุ่งเอาชนะอุปสรรคทางสภาพแวดล้อมหรือลดจุดอ่อน
ขององค์กรให้มีน้อยที่สุดได้ ภายใต้การวิเคราะห์สภาวะแวดล้อม นัน้ จะต้องวิเคราะห์ทั้งสภาพแวดล้อมภายในและภายนอก
องค์กรโดยมีขั้นตอนดังนี้

1. การประเมินสภาพแวดล้อมภายใน (S , W)
การประเมินสภาพแวดล้อมภายในองค์กร จะเกี่ยวกับการวิเคราะห์และพิจารณาทรัพยากรและความสามารถ
ภายในองค์กรทุกๆ ด้าน เพื่อที่จะระบุจุดแข็งและจุดอ่อนขององค์กร
จุดแข็ง (S-Strengths) เป็นการวิเคราะห์ปัจจัยภายในจากมุมมองของผู้ที่อยู่ภายในองค์กรนั้นเองว่า ปัจจัยใด
ภายในองค์กรที่เป็นข้อได้เปรียบหรือจุดเด่นที่องค์กรควรนามาใช้ในการพัฒนาองค์กรได้ และควรดารงไว้เพื่อการเสริมสร้าง
ความเข็มแข็งขององค์กร
จุดอ่อน (W-Weanesses) เป็นการวิเคราะห์ปัจจัยภายในจากมุมมองของผู้ที่อยู่ภายในองค์กรจากมุมมองว่าปัจจัย
ใดภายในองค์กรที่เป็นจุดด้อย ข้อเสียเปรียบที่องค์กรควรปรับปรุงให้ดีขึ้นหรือขจัดให้หมดไป อันจะเป็นประโยชน์ต่อองค์กร
6

หลักการวิเคราะห์จุดแข็งและจุดอ่อน
1) การวิเคราะห์ตามสายงาน
 การตลาด
- Marketing Mix (Product, Price, Place, Promotion)
- ชื่อเสียงขององค์กร และของสินค้าหรือบริการด้านต่างๆ
- ส่วนแบ่งทางการตลาดของสินค้าหรือบริการ
- การมีฐานข้อมูลทางด้านการตลาด
 การเงิน
- อัตราส่วนแสดงถึงสภาพคล่อง
- อัตราส่วนแสดงถึงการดาเนินกิจกรรมต่างๆ
- อัตราส่วนแสดงถึงความสามารถในการทากาไร
 การผลิตและการดาเนินงาน
- ความสามารถในการผลิตและการดาเนินงานเพื่อให้เกิดต้นทุนต่าทีส่ ุด
- ความสามารถในการผลิตและการดาเนินงานเพื่อให้เกิดคุณภาพ
- ความสามารถในการจัดส่งสินค้าและบริการที่ตอบสนองความต้องการของลูกค้า
- มีความยืดหยุ่นในการผลิตและดาเนินงานเพื่อตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงความต้องการสินค้า
- การมีแหล่งวัตถุดบิ ที่พร้อม
- การจัดการและบริหารสินค้าคงเหลือ
 การบริหารทรัพยากรบุคคล
- ระบบการสรรหาคัดเลือก
- เงินเดือนและสวัสดิการของพนักงาน
- การพัฒนาและฝึกอบรมพนักงาน
- ความสามารถของผู้บริหารและพนักงาน
- อัตราการลาออก
 การวิจัยและพัฒนา
- การวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ๆออกสู่ตลาด
- การวิจัยและพัฒนาด้านกระบวนการดาเนินงานและการผลิต

การวิเคราะห์ตามหลัก 2S-4M
 โครงสร้างขององค์กร (Structure)
 ระบบการบริการ (Services)
 บุคลากร (Man)
 วัสดุ เครื่องมือและอุปกรณ์ (Materiall)
 การเงิน (Money)
 การบริหารจัดการ (Management)

2. การประเมินสภาพแวดล้อมภายนอก (O , T)
ภายใต้การประเมินสภาพแวดล้อมภายนอกองค์กรนั้น สามารถค้นหาโอกาสและอุปสรรคทางการดาเนินงานของ
องค์กรที่ได้รับผลกระทบจากสภาพแวดล้อมทางเศรษฐกิจทั้งในและระหว่างประเทศที่เกี่ยวกับการดาเนินงานขององค์กร เช่น
อัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจ นโยบาย การเงิน การงบประมาณ สภาพแวดล้อมทางสังคม เช่น ระดับการศึกษาและอัตรารู้
หนังสือของประชาชน การตั้งถิ่นฐานและการอพยพของ ประชาชน ลักษณะชุมชน ขนบธรรมเนียมประเพณี ค่านิยม ความเชื่อ
และวัฒนธรรม สภาพแวดล้อมทางการเมือง เช่น พระราชบัญญัติ พระราชกฤษฎีกา มติคณะรัฐมนตรี และสภาพแวดล้อมทาง
7

เทคโนโลยี หมายถึง กรรมวิธีใหม่ๆและพัฒนาการทางด้านเครื่องมืออุปกรณ์ที่จะช่วยเพิ่ม ประสิทธิภาพในการผลิตและ


ให้บริการ
โอกาส (O-Opportunities) เป็นการวิเคราะห์ว่าปัจจัยภายนอกองค์กรว่าปัจจัยใดที่สามารถส่งผลประโยชน์ ทั้ง
ทางตรงและทางอ้อมต่อการดาเนินการขององค์กรในระดับมหาภาค และองค์กรสามารถฉกฉวยข้อดีเหล่านี้มาเสริมสร้างให้
หน่วยงานเข็มแข็งขึ้นได้
อุปสรรค (T-Threats) เป็นการวิเคราะห์ว่าปัจจัยภายนอกองค์กรว่าปัจจัยใดที่สามารถส่งผลกระทบในระดับ
มหภาคในทางที่จะก่อให้เกิดความเสียหายทั้งทางตรงและทางอ้อม ซึ่งองค์กรจาต้องหลีกเลี่ยงหรือปรับสภาพองค์กรให้มคี วาม
แข็งแกร่งพร้อมที่จะเผชิญแรงกระทบดังกล่าวได้

หลักการวิเคราะห์โอกาสและอุปสรรค
การวิเคราะห์แบบ SLEPT+E Analysis
 Socail Factors สภาพสังคม กระแสสังคม ประชากร
 Legal Factors ความชัดเจนของระเบียบ กฎหมาย นโยบาย ข้อบังคับ
 Economic Factors สภาพเศรษฐกิจ งบประมาณขององค์กร
 Political Factors การเมือง การเปลี่ยนแปลงของรัฐบาล
 Technological Factors การลงทุนด้านเทคโนโลยี การวิจยั และพัฒนา
 +Environmental Factors ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม

การจับคู่จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรค (TOWS Matrix)

สภาพแวดล้อม
ภายใน S-Strengths W-Weaknesses
(จุดแข็ง) (จุดอ่อน)
สภาพแวดล้อม
ภายนอก

O-Opportunities SO-Strategies WO-Strategies


(โอกาส) (กลยุทธ์เชิงรุก) (กลยุทธ์เชิงแก้ไข)

T-Threats ST-Strategies WT-Strategies


(อุปสรรค) (กลยุทธ์เชิงป้องกัน) (กลยุทธ์เชิงรับ)
8

 SO-Strategies (กลยุทธ์เชิงรุก) เป็นการจับคูร่ ะหว่างจุดแข็งกับโอกาส ซึ่งเป็นปัจจัยเชิงบวกทั้งคู่


 องค์กรควรจะใช้จุดแข็งและโอกาสร่วมกันเพื่อก่อให้เกิดความได้เปรียบในการแข่งขัน
 ST-Strategies (กลยุทธ์เชิงป้องกัน) เป็นการจับคูร่ ะหว่างจุดแข็งกับอุปสรรค ซึ่งมีจุดแข็ง (S) เป็นปัจจัยเชิงบวก
และมีอุปสรรค (T) เป็นปัจจัยเชิงลบ
 องค์กรต้องนาปัจจัยเชิงบวกไปจัดการกับปัจจัยเชิงลบ คือ นาจุดแข็งมาใช้เพื่อป้องกันหรือหลีกเลี่ยงอุปสรรค
 WO-Strategies (กลยุทธ์เชิงแก้ไข) เป็นการจับคู่ระหว่างจุดอ่อนกับโอกาส ซึ่งมีจุดอ่อน (W) เป็นปัจจัยเชิงลบ แต่
มีโอกาส (O) เป็นปัจจัยเชิงบวก
 องค์กรต้องนาปัจจัยเชิงบวกไปจัดการกับปัจจัยเชิงลบ คือ นาโอกาสมากาจัดจุดอ่อน หรือนาโอกาสมาใช้ให้เกิด
ประโยชน์ต่อองค์กร
 WT-Strategies (กลยุทธ์เชิงรับ) เป็นการจับคูร่ ะหว่างจุดอ่อน (W) กับอุปสรรค (T) ซึ่งเป็นปัจจัยเชิงลบทั้งคู่
 องค์กรต้องคิดกลยุทธ์ที่กระทาแล้วสามารถกาจัดจุดอ่อนได้และสามารถป้องกันอุปสรรคได้ด้วยในคราวเดียวกัน

ตัวอย่าง TOWS Matrix


กรณีศึกษา : เครื่องสาอาง ลอรีอัล

S-Strengths W-Weaknesses
S1 เป็นผู้นาตลาด W1 ขาดระบบที่ดีในการติดตามดูแลลูกค้า
สภาพแวดล้อม S2 ตราสินค้าเป็นที่รู้จักและมีชอื่ เสียง W2 โครงสร้างองค์กรมีความซับซ้อนมากเกินไป
ภายใน S3 มีระบบการวิจยั ที่มีประสิทธิภาพ ขาดประสิทธิภาพในการประสานงาน
สภาพแวดล้อม S4 มีช่องทางการจัดจาหน่ายจานวนมาก W3 ความสามารถในการทากาไรลดลง
ภายนอก S5 มีระบบควบคุมวัตถุดิบและสินค้าคงคลัง W4 ระบบการพัฒนาพนักงานยังมีน้อย
S6 มีการส่งเสริมกิจกรรมเพื่อสังคม

O-Opportunities กลยุทธ์ SO กลยุทธ์ WO


O1 ตลาดเครื่องสาอางมีขนาดใหญ่ S1O1 ขยายตลาดไปยังประเทศต่างๆ W1O3 จัดระบบฐานข้อมูลลูกค้า / CRM
O2 สตรีมีบทบาทในสังคมการทางาน S3O2 พัฒนาผลิตภัณฑ์ให้เหมาะสมกับสตรีวัยทางาน W2O1 ปรับโครงสร้างองค์การให้เป็นแบบพื้นที่
O3 เทคโนโลยีเครื่องสาอางมีความก้าวหน้ามากขึ้น S4O3 จาหน่ายสินค้าผ่านระบบ e-commerce W3O3 ใช้เทคโนโลยีมาพัฒนาระบบการ
O4 นโยบายการเปิดเสรีทางการค้าของรัฐบาล S6O1 ประชาสัมพันธ์กจิ กรรมต่างๆให้เป็นที่รู้จัก ดาเนินงานเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ
ในแต่ละประเทศ อย่างแพร่หลาย W1O4 ศึกษาข้อมูลลูกค้าในต่างประเทศ
T-Threats กลยุทธ์ ST กลยุทธ์ WT
T1 พฤติกรรมการซื้อของผู้บริโภคเปลี่ยนแปลงบ่อย S4T1 จัดโปรโมชั่นร่วมกับตัวแทนขาย W3T2 บริหารต้นทุนให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้น
T2 คู่แข่งขันภายในอุตสาหกรรมมีมากราย S2T3 โฆษณาสินค้าเพื่อกระตุ้นยอดขาย W1T1 จัดระบบสมาชิกและให้สิทธิพิเศษ
T3 นโยบายเกีย่ วกับขายตรงในประเทศจีน S3T2 วิจยั คู่แข่งขัน W4T2 ฝึกอบรมเพื่อพัฒนาศักยภาพพนักงาน
T4 ภัยธรรมชาติ S1T5 สร้างพันธมิตรเครือข่ายกับ Suppliers อย่างเป็นระบบ
T5 อานาจการต่อรองของผู้บริโภคมีมาก S3T4 วิจยั และพัฒนาบรรจุภัณฑ์ให้มีความแข็งแรง
ทนทาน
9

การกาหนดพันธกิจ (Mission)
 พันธกิจ หมายถึง กรอบหรือขอบเขตการดาเนินงานของหน่วยงาน การกาหนดพันธกิจสามารถทาได้โดยนาภารกิจ
หรือหน้าที่ความรับผิดชอบแต่ละข้อที่หน่วยงานได้รับมอบหมายตั้งแต่แรกก่อตั้งมาเป็นแนวทาง
 ทั้งนี้ ผู้จัดทาต้องกาหนดให้ชัดเจนว่าพันธกิจแต่ละข้อมีความหมายครอบคลุมขอบเขตแค่ไหน แต่ละข้อมีความ
แตกต่างกันอย่างไร เพื่อให้การจัดทาแผนกลยุทธ์ในขั้นตอนต่อไปเป็นไปอย่างสะดวกและถูกต้อง

การกาหนดวิสัยทัศน์ (Vision)
 วิสัยทัศน์ หมายถึง สิ่งที่เราต้องการให้หน่วยงานเป็นภายในกรอบระยะเวลาหนึ่งๆ
 โดยการจัดทาวิสยั ทัศน์ของหน่วยงาน ควรจัดทาเมื่อเรากาหนดพันธกิจของหน่วยงานเป็นที่เรียบร้อยแล้ว จากนั้นจึง
นาพันธกิจทั้งหมดมาพิจารณาในภาพรวม ว่าหน่วยงานจะต้องดาเนินการเรื่องใดบ้างและเพื่อให้หน่วยงานบรรลุ
พันธกิจได้ครบถ้วนทุกข้อ หน่วยงานต้องมีความเป็นเลิศด้านใด หรือควรมุ่งเน้นไปในทิศทางใด

การกาหนดประเด็นยุทธศาสตร์ (Strategic Issue)


 ประเด็นยุทธศาสตร์ หมายถึง ประเด็นหลักที่ต้องคานึงถึง ต้องพัฒนา ต้องมุ่งเน้น ประเด็นยุทธศาสตร์นี้สามารถทา
ได้โดยการนาพันธกิจแต่ละข้อมาพิจารณาว่าในพันธกิจแต่ละข้อนั้นหน่วยงานต้องการดาเนินการใดเป็นพิเศษและ
หลังจากได้ดาเนินการดังกล่าวเป็นที่เรียบร้อยแล้วต้องการให้เกิดผลการเปลีย่ นแปลงในทิศทางใด
 ทั้งนี้ ในการจัดทาประเด็นยุทธศาสตร์ของแต่ละหน่วยงานนั้น จาเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องนาแผนยุทธศาสตร์ของ
หน่วยงานหลักหรือหน่วยงานต้นสังกัดมาเป็นหลักประกอบการพิจารณาด้วย

การกาหนดเป้าประสงค์ (Goal)
 เป้าประสงค์ หมายถึง สิ่งที่หน่วยงานปรารถนาจะบรรลุ โดยต้องนาประเด็นยุทธศาสตร์มาพิจารณาว่า หากสามารถ
ดาเนินการจนประสบความสาเร็จตามประเด็นยุทธศาสตร์แต่ละข้อแล้ว “ใครเป็นผูไ้ ด้รับผลประโยชน์ และได้รับ
ประโยชน์อย่างไร”
 ยกตัวอย่างเช่น เป้าประสงค์ของกรมสรรพากร ประการหนึ่ง คือ รัฐมีรายได้จากการจัดเก็บภาษีเพียงพอในการ
พัฒนาประเทศในด้านต่างๆ จากตัวอย่างนี้ ผู้ได้รับประโยชน์ คือ ภาครัฐ โดยได้ประโยชน์ คือ สมารถจัดเก็บภาษี
เพียงพอในการพัฒนาประเทศในด้านต่างๆได้

การกาหนดวัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ (Strategic Objectives)


 วัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ หมายถึง จุดมุ่งหมายที่ชัดเจนขององค์กร หรือการตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงหรือการ
ปรับปรุงที่สาคัญ ความสามารถในการแข่งขันหรือประเด็นทางสังคม และการได้เปรียบทางธุรกิจ/กิจการ

การกาหนดกลยุทธ์ (Strategies)
 กลยุทธ์ หมายถึง สิ่งที่หน่วยงานจะต้องดาเนินการเพื่อให้บรรลุเป้าประสงค์ โดยกลยุทธ์นี้จะกาหนดขึ้นจากการ
พิจารณาปัจจัยแห่งความสาเร็จ (Critical Success Factors : CSF หรือ Key Success Factors : KSF) เป็นสาคัญ
กล่าวคือ ต้องพิจาณาว่าการที่จะบรรลุเป้าประสงค์ข้อหนึ่ง ๆ นั้น มีปจั จัยใดบ้างที่มีผลต่อความสาเร็จ และเรา
จาเป็นต้องทาอย่างไรจึงจะไปสู่จดุ นั้น

BSC : Balanced Scorecard


 Balanced Scorecard หรือที่เรียกกันในภาษาไทยว่า “การประเมินผลแบบสมดุล” เป็นเครื่องมือในการประเมินผล
องค์กร หรือเครื่องมือในการนากลยุทธ์ไปสู่การปฏิบตั ิ
 เป็นเครื่องมือการบริหารจัดการสมัยใหม่ที่ถูกพัฒนาขึ้นโดย Robert S.Kaplan and David P. Norton จุดประสงค์
คือ มุ่งให้องค์กรสมัยใหม่เป็นองค์กรเชิงกลยุทธ์ (Strategic Focused Organization) ภายใต้ความสมดุลของคุณค่า
หรือมุมมอง 4 ด้าน คือ
10

1. มุมมองด้านการเงิน (Finacial : F)
2. มุมมองด้านลูกค้า (Customer : C)
3. มุมมองด้านกระบวนการภายใน (Internal Business Process : IBP)
4. มุมมองด้านการเรียนรู้และการเติบโต (Learning and Growth : L&G)
 ดังนั้น Balanced Scorecard หมายถึง เครื่องมือของการจัดการเชิงกลยุทธ์ที่นากลยุทธ์ไปสู่การปฏิบตั ิ ภายใต้ความ
สมดุลของมุมมอง 4 ด้าน เพื่อให้บรรลุวตั ถุเชิงกลยุทธ์ที่องค์การได้กาหนดไว้
 แต่ละมุมมองทัง้ 4 ด้านของ Balanced Scorecard ต้องพิจารณา 4 เรื่องด้วยกัน คือ
1. วัตถุประสงค์ (Objective) คือ สิ่งที่องค์กรมุ่งหวังหรือต้องการที่จะบรรลุในแต่ละด้าน
2. ตัวชี้วัด (KPIs) คือ ตัวชี้วัดของวัตถุประสงค์ในแต่ละด้านและตัวชี้วัดเหล่านีจ้ ะเป็นเครื่องมือที่ใช้ในการวัด
ว่าองค์กรบรรลุวตั ถุประสงค์ในแต่ละด้านหรือไม่
3. เป้าหมาย (Target) คือ ตัวเลขที่องค์กรต้องการจะบรรลุในตัวชี้วัดแต่ละประการ
4. ความคิดริเริม่ หรือสิ่งที่จะทา (Initiatives) คือ แผนงาน โครงการ หรือกิจกรรมที่องค์กรจะจัดทาเพื่อให้
บรรลุเป้าหมายทีต่ ้องการ

1. มุมมองด้านการเงิน (Finacial)
 ตัวชี้วัดที่นิยมใช้ มักจะเป็นเรื่องเกีย่ วกับ
- การเพิ่มรายได้
- การลดต้นทุน
- การเพิ่มผลผลิต
- การใช้ประโยชน์ทรัพย์สิน

2. มุมมองด้านลูกค้า (Customer)
 การแข่งขันในปัจจุบัน หัวใจอยู่ที่การเข้าใจความต้องการของลูกค้า
 เปลี่ยน Focus ความสนใจจากภายในที่เน้นผลผลิตและการพัฒนาเทคโนโลยี มาสนใจภายนอกในการให้ความ
สนใจต่อลูกค้า
 ตัวชี้วัดที่นิยมใช้ เช่น
- ความสามารถในการดึงดูดลูกค้าใหม่
- ความสามารถในการรักษาความสัมพันธ์กับลูกค้าทีม่ ีอยู่ให้ยืนยาว
- ความสามารถในการสร้างความพึงพอใจให้แก่ลุกค้า

3. มุมมองด้านกระบวนการภายใน (Internal Business Process)


 เป็นการวัดที่ดูถึงความสมบูรณ์ของกระบวนการทางานภายในองค์กร
 แตกต่างจากการวัดประเมินผลแบบเดิมที่มุ่งเน้นประโยชน์เพื่อการควบคุม แต่เป็นไปพัฒนาปรับปรุง
กระบวนการทางานเพื่อสร้างคุณค่าให้แก่ลูกค้าขององค์กร

4. มุมมองด้านการเรียนรู้และการเติบโต (Learning and Growth)


 เป็นการลงทุนเพื่ออนาคต และเป็นผลประโยชน์ระยะยาวแก่องค์กรมากกว่าเน้นผลเฉพาะหน้า
 มีองค์ประกอบย่อยที่ใช้ในการวัด 3 ด้านคือ
- ความสามารถของพนักงาน
- ความสามารถของระบบข้อมูล ข่าวสาร เทคโนโลยี IT
- บรรยากาศที่เอื้ออานวยต่อการทางาน
11

ตัวอย่าง Balanced Scorecard


12

การสร้างแผนที่กลยุทธ์ (Strategy Map)


Strategy Map ตามแนวคิดของ แคปแลน และ นอร์ตัน ถือได้ว่าเป็นองค์ประกอบที่สาคัญขององค์กรที่ใช้การ
บริหารเชิงกลยุทธ์ ทั้งนี้เพราะแผนที่กลยุทธ์จะทาหน้าที่เป็นแผนทีท่ ี่คอยชี้ทิศทางของการบริหารจัดการและการดาเนินงาน
ขององค์การในอนาคต ซึ่งจะทาให้องค์การได้เข้าใจอย่างชัดเจนถึงวัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ต่างๆ ทั้งหมดที่องค์การมุ่งต้องการ
จะให้เกิดขึ้น ดังนั้นสามารถกล่าวสรุปได้ว่า แผนที่กลยุทธ์ หมายถึง แผนกลยุทธ์ขององค์การในระยะยาวที่มีการระบุถึง
และเชื่อมโยงวัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ทั้งหมดขององค์การที่ต้องการจะให้เกิดขึ้นภายใต้มุมมองต่างๆ ของ Balanced
Scorecard อย่างเป็นระบบ
ในการสร้างแผนที่กลยุทธ์เพื่อให้องค์การใช้เป็นแผนที่ชิทิศทางการบริหารการจัดการเชิงกลยุทธ์ขององค์การ จะมี
หลักการทีส่ าคัญหลายประการ คือ
1. ทุกมิติจะต้องระบุวัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ที่ต้องการจะให้เกิดขึ้นให้ชัดเจน
2. จะต้องให้กลยุทธ์มีความสมดุลหรือสอดคล้องกัน ไม่ขดั แย้งกัน
3. กลยุทธ์จะต้องอยู่บนพืน้ ฐานคุณค่า (value proposition) ในแต่ละมิติ
4. กลยุทธ์จะต้องมีจดุ เน้น (themes) ที่ชัดเจน และเสริมสนับสนุนซึ่งกันและกัน
5. จะต้องให้ความสาคัญต่อการส่งต่อกลยุทธ์ (strategic alignment) ทั้งในมิติเดียวกันและต่างมิติให้เห็นอย่างชัดเจน

ประโยชน์ของ Balanced Scorecard และ Strategy Map


1. ช่วยให้ทราบถึงจุดอ่อนและระบบการทางานที่ผ่านมา
2. ช่วยในการกาหนดกลยุทธ์ให้มีความชัดเจนมากยิ่งขึ้น
3. ช่วยให้หาแนวทางในการดาเนินงานได้ง่ายยิ่งขึ้น
4. ช่วยในการปรับเปลี่ยนกลยุทธ์ขององค์กรให้เป็นแบบร่วมมือมากยิ่งขึ้น

ตัวอย่างแผนที่กลยุทธ์
13

การประเมินผล (Evaluation)
 การประเมินผล หมายถึง กระบวนการที่ใช้ในการอธิบายและตัดสินคุณค่าของสิ่งใดสิ่งหนึ่งอย่างมีหลักเกณฑ์
 การประเมินผลต้องประกอบด้วย 3 ส่วนจึงจะทาให้กระบวนการสมบูรณ์ คือ
1. ผลการวัด
2. เกณฑ์
3. การตัดสิน

การสร้างตัวชี้วัด (Key Performance Indicator : KPI)


 ตัวชี้วัด หมายถึง ข้อมูลที่ระบุ/บ่งบอก ปริมาณ/ลักษณะของโครงการในช่วงเวลาใดเวลาหนึ่ง และมีความชัดเจน
เพียงพอที่จะใช้เปรียบเทียบหรือสามารถบ่งบอกการเปลี่ยนแปลงได้ ซึ่งจะเป็นตัวบ่งชี้ว่าหน่วยงานสามารถ
ปฏิบัติงานบรรลุเป้าประสงค์ที่วางไว้หรือไม่
 เราจะต้องพิจารณาหาปัจจัยที่เป็นตัวบ่งชี้ดังกล่าว และต้องใช้ถ้อยคาที่ชัดเจนทั้งในแง่ของคาจากัดความและการ
ระบุขอบเขต
 ตัวอย่างเช่น “จานวนสมาชิกที่เข้าร่วมโครงการในหนึ่งเดือน” โดยตัวชี้วัดนี้จะถูกนามาเป็นหลักในการกาหนดค่า
เป้าหมายในลาดับถัดไป

 คุณลักษณะทีส่ าคัญของตัวชี้วัด จะต้องเป็นไปตามหลัก “SMART” คือ


Specific ชี้ชัด
Measurable วัดได้
Actionable ทาได้
Relevant ตรงประเด็น
Timely ทันเวลา
 ค่าของตัวชี้วัดที่นิยมใช้กัน เช่น
จานวน (Number)
ร้อยละ (Percentage)
อัตราส่วน (Ratio)
สัดส่วน (Proportion)
อัตรา (Rate)
ค่าเฉลี่ย (Average)

การกาหนดค่าเป้าหมาย (Target)
 ค่าเป้าหมาย หมายถึง ตัวเลขหรือค่าของตัวชี้วัดความสาเร็จที่หน่วยงานต้องการบรรลุ ขั้นตอนนี้เป็นขัน้ ตอนของการ
กาหนดหรือระบุว่าในแผนงานนั้น ๆ หน่วยงานต้องการอะไร ให้ได้เป็นจานวนเท่าไหร่และภายในกรอบระยะเวลา
เท่าใด จึงจะถือว่าบรรลุเป้าหมาย
 ตัวอย่างเช่น พม. ต้องผลิตนักสังคมสงเคราะห์เพิม่ เป็นจานวน 1,250 คน ภายในระยะเวลา 5 ปี
14

การจัดทาแผนงาน/โครงการ
โครงการดังกล่าวต้องบ่งบอกกิจกรรมต่างๆ ภายในองค์กรว่าจะต้องมีการปฏิบตั ิงานหรือดาเนินการอย่างไรเพื่อให้
สอดคล้องกับกลยุทธ์ระดับแผนงานและระดับสถานศึกษา ซึ่งโครงการที่ดีมลี ักษณะ ดังนี้
1) เป็นโครงการที่สามารถแก้ปญ ั หาของสถานศึกษาได้
2) มีรายละเอียด เนื้อหาสาระครบถ้วน ชัดเจนและจาเพาะเจาะจง สามารถตอบคาถามต่อไปนี้ได้
2.1) โครงการอะไร (ชื่อโครงการ)
2.2) ทาไมจึงต้องริเริ่มโครงการ (หลักการและเหตุผล)
2.3) ทาเพื่ออะไร (วัตถุประสงค์)
2.4) ปริมาณที่จะทาเท่าไร (เป้าหมาย)
2.5) ทาอย่างไร (วิธีดาเนินการ)
2.6) จะทาเมื่อไร นานเท่าใด (ระยะเวลาดาเนินการ)
2.7) ใช้ทรัพยากรเท่าไรและได้มาจากไหน (งบประมาณ แหล่งที่มา)
2.8) ใครทา (ผู้รับผิดชอบโครงการ)
2.9) ต้องประสานงานกับใคร (หน่วยงานที่ให้การสนับสนุน)
2.10) บรรลุวตั ถุประสงค์หรือไม่ (การประเมินผล)
2.11) เมื่อเสร็จสิ้นโครงการแล้วจะได้อะไร (ผลประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รบั )
15

แบบสารวจปัจจัยเพื่อนามาวิเคราะห์สภาพแวดล้อม
(SWOT Analysis)

สภาพแวดล้อมภายใน
(2S-4M)
โครงสร้างขององค์กร (Structure)
จุดแข็ง จุดอ่อน
………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………
………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………
………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………
ระบบบริการ (Services)
จุดแข็ง จุดอ่อน
………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………
………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………
………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………
บุคลากร (Man)
จุดแข็ง จุดอ่อน
………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………
………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………
………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………
วัสดุ เครื่องมือและอุปกรณ์ (Material)
จุดแข็ง จุดอ่อน
………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………
………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………
………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………
การเงิน (Money)
จุดแข็ง จุดอ่อน
………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………
………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………
………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………
การบริหารจัดการ (Management)
จุดแข็ง จุดอ่อน
………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………
………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………
………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………
16

แบบสารวจปัจจัยเพื่อนามาวิเคราะห์สภาพแวดล้อม
(SWOT Analysis)

สภาพแวดล้อมภายนอก
(SLEPT +E)
Socail Factors (สภาพสังคม กระแสสังคม ประชากร)
จุดแข็ง จุดอ่อน
………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………
………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………
………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………
Legal Factors (ความชัดเจนของระเบียบ กฎหมาย นโยบาย ข้อบังคับ)
จุดแข็ง จุดอ่อน
………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………
………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………
………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………
Economic Factors (สภาพเศรษฐกิจ งบประมาณขององค์กร)
จุดแข็ง จุดอ่อน
………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………
………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………
………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………
Political Factors (การเมือง การเปลี่ยนแปลงของรัฐบาล)
จุดแข็ง จุดอ่อน
………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………
………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………
………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………
Technological Factors (การลงทุนด้านเทคโนโลยี การวิจัยและพัฒนา)
จุดแข็ง จุดอ่อน
………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………
………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………
………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………
+Environmental Factors (ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม)
จุดแข็ง จุดอ่อน
………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………
………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………
………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………

อ้างอิง
พนิต เข็มทอง, อนุชัย รามวรางกูล, นลินรัตน์ รักกุศล และอุทุมพร อินทจักร. 2556. โครงการบ่มเพาะนักวางแผนกลยุทธ์
องค์กร (มือใหม่) รุ่นที่ 2. เอกสารอบรมโครงการ. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน.

You might also like