หน วยการเรียนรู ที 1 อัตราส วนและร อยละ

You might also like

Download as docx, pdf, or txt
Download as docx, pdf, or txt
You are on page 1of 7

Mimosine ในพืชอาหารสัตว ์


Mimosine เป็ นสารพิษทีพบในกระถิ นทุกพันธุ ์
้ นปริมาณมากในใบอ่อน และเมล็ ดกระถิน นอกจากนั้น
โดยพบสารพิษชนิ ดนี เป็
้ อง
ยังพบสารพิษมิโมซีนในพืชตระกูลใกล ้เคียงกับกระถิน เช่น ไมยราบพืนเมื
เป็ นต ้น
มิโมซีน เป็ นพิษต่อสัตว ์กระเพาะเดียว่ เช่น ไก่ เป็ ด ห่าน สุกร มา้

กระต่าย และเป็ นพิษต่อสัตว ์เคียวเอื ้ กชนิ ด เช่นโค กระบือ แพะ แกะ
องทุ

อย่างไรก็ตามสัตว ์เคียวเอื ้
องและสั ่ ขนาดตัวโตจะแสดงอาการแพ้สารพิษน้
ตว ์ทีมี
อยกว่าสัตว ์ขนาดเล็ ก ่ ตว ์กินพืชอาหารสัตว ์ทีมี
เมือสั ่ มโิ มซีนปริมาณมาก
สารมิโมซีนจะทาให ้การย่อยอาหารของสัตว ์ผิดปกติ
สัตว ์มักจะมีต่อมไทรอยด ์โต เป็ นคอหอยพอกและอาจจะตายได ้

สัตว ์ทีโตแล ้วหากงดอาหารทีมี่ สารมิโมซีน สัตว ์จะค่อย ๆ หายเป็ นปกติ

กระถินแต่ละพันธุ ์มีปริมาณสารมิโมซีนไม่เท่ากัน
้ ตว ์ได ้โดยไม่เป็ นอันตราย
บางชนิ ดใช ้เลียงสั ข ้อสาคัญคือต ้องจากัดปริมาณ
้ ตว ์นั้น
โดยไม่ให ้สัตว ์ได ้ร ับสารพิษปริมาณมาก ๆ ติดต่อกัน การใช ้กระถินเลียงสั
ควรจากัดปริมาณดังนี ้
- อาหารสุกร ใช ้กระถินไม่เกิน 10 เปอร ์เซ็นต ์
- อาหารสัตว ์ปี ก ใช ้กระถินไม่เกิน 5 เปอร ์เซ็นต ์
- อาหารโค-กระบือ ใช ้กระถินไม่เกิน 50 เปอร ์เซ็นต ์
้ ตว ์ ทาได ้หลายวิธค
การลดปริมาณสารพิษมิโมซีนก่อนนามาเลียงสั ี อื
1. ตากใบกระถินเป็ นเวลา 1 - 3 วัน ลดปริมาณสารมิโมซีนได ้ประมาณ
40 เปอร ์เซ็นต ์
2. นาใบกระถินไปนึ่ ง 1 - 3 ชัวโมง
่ ลดปริมาณสารมิโมซีนได ้ประมาณ
30 เปอร ์เซ็นต ์
3. นาใบกระถินไปแช่น้า 24 ชัวโมง
่ ลดปริมาณสารมิโมซีนได ้ประมาณ
90 เปอร ์เซ็นต ์

4. เพิมฟอสเฟตในสู ตรอาหารสัตว ์ ทาให ้พิษของมิโมซีนลดลง

Mimosine ( มิโมซีน / ไมโมซีน ) ความเป็ นพิษของมิโมซีนเกิดขึน้


เนื่ องจากจะไปยับยังการสร
้ ้างฮอร ์โมนไทร ๊อกซีน (Thyroxine)
ทาใหต้ อ ่ มไทรอยด ์ขยายใหญ่ เกิดเป็ นโรคคอหอยพอก

พืชอาหารสัตว ์ทีพบสารมิ โมซีนสูง ได ้แก่ กระถิน (Leucaena spp.)
ทุกพันธุ ์ ้ อง
ไมยราบพืนเมื (Mimosa pudica)
ในกระถินจะพบมิโมซีนมากในใบและเมล็ด

โดยพบในใบอ่อนมากกว่าใบแก่สาหร ับสัตว ์เคียวเอื ้
องสามารถใช ้ใบกระถินได ้ถึ
ง 50 เปอร ์เซนต ์ ของอาหารสัตว ์สุกร ในอาหารสัตว ์ปี กไม่ควรเกิน 5 เปอร ์เซนต ์
ในอาหารสุกรไม่ควรเกิน 10 เปอร ์เซนต ์ และอาหารโคไม่ควรเกิน 50
เปอร ์เซนต ์
่ ดจากสารพิษมิโมซีน
อาการของสัตว ์มีเกิ

ในสัตว ์เคียวเอื ้ โมซีนมีผลทาให ้ประสิทธิภาพการย่อยเยือใยของแบคที
องมิ ่ เรียใ
่ เช่น
นกระเพาะรูเมนลดลงทาให ้สัตว ์เจริญเติบโตช ้า ส่วนในสัตว ์กระเพาะเดียว
มา้ สุกร เป็ ด ไก่ กระต่าย จะมีอาการขนร่วง
้ เพราะมิ
ทังนี ้ ้
โมซีนไปยับยังการทางานของเอนไซม ์บางตัวจึงเป็ นสาเหตุทาใหข ้
นร่วง

พิษของมิโมซินกับพืชอาหารสัตว ์
่ น้ัน
การผลิตสัตว ์ให ้ได ้คุณภาพทีดี
่ าคัญมีหลายอย่างคือทังพั
ปัจจัยทีส ้ นธุ ์สัตว ์ และอาหารทีใช ่ ้เลียงสั
้ ตว ์ เมือ ่
สัตว ์ได ้ร ับอาหารทีมี่ คณ
ุ ภาพดี ก็จะทาให ้สัตว ์มีสุขภาพดี และให ้ผลผลิตสูง
่ คณ
แต่ถ ้าสัตว ์ได ้ร ับอาหารทีมี ุ ภาพต่า ก็จะ ส่งผลถึงปัญหาด ้านสุขภาพ
ทาให ้ได ้ผลผลิตต่ํา และยังเป็ นการเพิมต่ ้นทุนในการผลิตอีกด ้วย
พืชอาหารสัตว ์บางชนิ ด ถึงแมจ้ ะมีคณ
ุ ค่าทางโภชนะสูง
แต่มขี ดี จากัดในการนามาใช ้ประโยชน์ เนื่ องจากพืชเหล่านี มี ้ สารพิษสะสมอยู่
เช่นมี สารมิโมซินในกระถิน สารไนเตรท ไนไตรท ์ ในผักโขม
เป็ นต ้น(กอบแก ้ว,2535)
มิโมซิน ่ ดในธรรมชาติ
เป็ นสารพิษทีเกิ
เป็ นสารพิษพวกกรดอะมิโนทีอยู ่ ่เป็ นอิสระ ไม่ได ้รวมอยู่กบ ั คาร ์โบไฮเดรต
หรือไม่ได ้รวมกันเป็ นโปรตีน สังเคราะห ์ได ้จากกรดอะมิโนไลซิน
่ื
มิโมซินมีชอทางเคมี B-(N-(3- hydroxy-4-oxopyridyl) amino
propionic acid) มิโมซินจะสลายตัวไปเป็ น 3,4-dihydroxyl pyridine หรือ
DHP กับเซรีน หรือกรดไพรูวค ิ และแอมโมเนี ย
มิโมซินจะถูกย่อยสลายได ้ด ้วยกรดเกลือเจือจาง พบมากในกระถิน
ทุกสายพันธุ ์ ้ นปริมาณมากในใบและเมล็ด
โดยพบสารพิษชนิ ดนี เป็

ซึงใบอ่ อนจะมีมโิ มซินมากกว่าใบแก่ นอกจากนี ้ ยัง
พบสารพิษมิโมซินในพืชตระกูลใกล ้เคียงกับกระถิน เช่น ไมยราบพืนเมื ้ อง
เป็ นต ้น

ความเป็ นพิษของมิโมซิน
มิโมซินจะมีผลทังสั ้ ตว ์กระเพาะเดียวเช่
่ น ไก่ เป็ ด สุกร มา้ กระต่าย

และสัตว ์เคียวเอื ้
อง เช่น โค กระบือ แพะ แกะ สาหร ับสัตว ์เคียวเอื ้ ้
อง
ภายในกระเพาะรูเมนมีแบคทีเรียทีสามารถเปลี่ ่
ยนมิ โมซินใหเ้ ป็ น DHP
่ อถู
ซึงเมื ่ กดูดซึม
เข ้าสู่กระแสเลือดจะมีผลต่อต่อมไทรอยต ์ทาให ้การผลิตฮอร ์โมนไทรอกซิน(Th
yroxine)น้อยลง เป็ นผลให ้ต่อมไท รอยต ์ขยายตัว ทาให ้เกิดโรคคอหอยพอก
นอกจากนี ในสั ้ ้
ตว ์เคียวเอื ้
อง มิโมซินยังส่งผลทาให ้ประสิทธิภาพการย่อยเยือ ่
ใยของแบคทีเรียในกระเพาะรูเมนลดน้อยลง ทาให ้สัตว ์เจริญเติบโตช ้า
สาหร ับสัตว ์กระเพาะเดียว่ พบว่าจะมีอาการ ขนร่วง
้ เพราะมิ
ทังนี ้ โมซินไปยับยังการท้ างานของเอนไซม ์บางตัวจึงเป็ นสาเหตุทาใหข ้
นร่วง แต่สต ่
ั ว ์ทีแสดงอาการ เป็ นพิษของมิโมซินจะไม่ตาย
และหากมีการงดอาหารทีมี ่ มโิ มซิน อาการเป็ นพิษก็จะจางหายไปเอง
แต่ในสัตว ์แรกเกิด ้
ถ ้าได ้ร ับสารนี มากเกิ นไปอาจตายได ้
ดังนั้นอาหารทีใช
่ ้เลียงสั
้ ตว ์ทัวๆไป ่ เช่นอาหารสุกร โค กระบือ แพะ แกะ หรือไก่
การใช ้กระถินเป็ นส่วนผสมในอาหารสัตว ์ควรมีปริมาณทีจ่ ากัด
้ ตว ์ เช่น
การลดปริมาณมิโมซินในใบกระถินก่อนนามาเลียงสั
1. การตากใบกระถิน 1-3 วัน จะทาให ้ลดปริมาณมิโมซินลงประมาณ
40 เปอร ์เซ็นต ์
2. การนึ่ งใบกระถิน 1-3 ชัวโมงจะท
่ าให ้ลดปริมาณมิโมซินลงประมาณ
30 เปอร ์เซ็นต ์
3. นาใบกระถินแช่นํ า้ 24 ชัวโมง
่ จะทาให ้ลดปริมาณมิโมซินลงประมาณ
90 เปอร ์เซ็นต ์

4. การเพิมเฟอร ่ ใบกระถินเป็ นส่วนประกอบ
ัสซัลเฟตในสูตรอาหารทีมี
จะทาให ้ลดปริมาณมิโมซินลงได ้ โดยสาร มิโมซิน
สามารถรวมตัวกับธาตุเหล็กใน gastrointestinal tract

่ ยวข้
ปั จจยั ทีเกี ่ องก ับปริมาณสารพิษ ความรุนแรง

และอ ันตรายทีจะเกิ ดก ับสัตว ์ ได้แก่
1. ชนิ ดของพืชอาหารสัตว ์
พบว่าพืชอาหารสัตว ์บางชนิ ดมีสารพิษทีเป็ ่ นอันตรายกับสัตว ์ไม่ควรนามาเลียง

สัตว ์ พืชอาหารสัตว ์ชนิ ดเดียวกันแต่มป
ี ระมาณสารพิษแตกต่างกัน
2. อายุของพืชอาหารสัตว ์
พบว่าพืชส่วนใหญ่จะมีปริมาณสารพิษมากในระยะต ้นอ่อน
่ าลังเจริญเติบโต แต่เมือโตเต็
หรือระยะทีก ่ ่ ้วปริมาณสารพิษจะลดลง
มทีแล
3. การให ้ปุ๋ ยพืชอาหารสัตว ์
่ งการเจริญเติบโตให ้พืชโตเร็ว มักมี
พบว่าพืชชนิ ดเดียวกันถ ้ามีการใช ้ปุ๋ ยเพือเร่
ปริมาณสารพิษมากขึนด ้ ้วย

4. วิธก ้
ี ารนาพืชอาหารสัตว ์มาเลียง ้ ตว ์
การนาพืชสดมาเลียงสั
่ อสารพิษค่อนข ้างมาก
มีความเสียงต่ เนื่ องจากพืช
่ านกรรมวิธต
สดมีปริมาณสารพิษมากกว่าพืชทีผ่ ี า่ งๆเช่น การตากแห ้ง
การแช่น้า
5. ่ ตว ์กิน
ปริมาณทีสั
ถ ้าสัตว ์กินพืชอาหารสัตว ์ทีมี่ สารพิษในปริมาณมากๆจะทาให ้สัตว ์ได ้ร ับสารพิษเ
ข ้าสู่ ร่างกายมาก ึ้
แต่ขนอยู ั น้าหนักตัวของสัตว ์ด ้วย
่กบ
เช่นในพืชทีมี ่ สารพิษสูงๆ ่ น้าหนักตัวมากกินใน
ถ ้าสัตว ์ทีมี
ปริมาณน้อยๆก็ไม่เป็ นอันตราย แต่ถา้ พืชบางชนิ ดมีปริมาณสารพิษน้อย
แต่สต ั ว ์กินเข ้าไปในปริมาณมากก็ อาจเป็ นพิษกับสัตว ์ได ้

แหล่งข ้อมูล : http://www.thailivestock.com/knowledge


่ ไมโมซิน สารพิษในพืชอาหารสัตว ์
เรือง

ผู จ
้ ด
ั ทา
นางสาวสุพฒ
ั น์ชา ตรีณาวงษ ์ 5809612699
นายวสุ ประสานวงศ ์ 5809612913
นายสุทธวีร ์ เจริญพงษ ์ 5809613010
้ั ที่ 4
นักศึกษาชนปี
เสนอ
รศ.ดร.พิพฒ
ั น์ สมภาร
้ เป็
รายงานชินนี ้ นส่วนหนึ่ งของวิชาการจัดการ

การผลิตสัตว ์เคียวเอื ้
องให้ ้ (AT453)
เนื อ
คณะวิทยาศาสตร ์และเทคโนโลยี
สาขาวิชาเทคโนโลยีการเกษตร
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ์

You might also like