Section Modulus

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 2

เพิ่มเติม

1. เรื่อง bending อาจารยลืมพูดถึง section modulus ตามสไลดนี้คะ  


 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
นั่นคือในการออกแบบคาน เนื่องจาก เราไมรูทั้ง I และ c จึงนิยมใชอัตราสวน I/c หรือที่เรียกวา section 
modulus, S ในการออกแบบ  

S ที่มีคามากก็คือจะทําให stress ที่เกิดขึ้นมีคานอยลง ดังนั้นเมื่อคํานวณคา S ที่ตองการมาไดแลว จะตองใช

คานที่มีหนาตัดที่ม ี S มากกวาคาที่คํานวณไดเทานั้น คานจึงจะรับ load ที่ตองการได


A
สําหรับหนาตัดสี่เหลี่ยม  ·
/
  จะเห็นวา สําหรับคานที่มีพื้นที่หนาตัดเทากัน ยิ่ง

คานมีความสูงมาก ก็จะยิ่งรับ bending moment ไดมากขึ้น 


 
2. การใชตารางคาน  
คานเหล็กมาตรฐานที่มีอยูในตลาด จะมีรูปรางหลายแบบ (ดูจาก appendix ทายหนังสือ) เชน wide flange 
(W), I‐beam, Standard beam (S) เปนตน ชื่อของคาน (ดูจากชองทางซายสุด) เชน  S610x149 จะหมายถึง

คาน s‐beam มีความสูง nominal = 610 mm(ความสูงที่แทจริงของหนาตัดคานตัวนี้ดูไดจากชองที่ 3, 


depth) และมีน้ําหนักตอความยาวหนึ่งเมตร = 149 kg, ขอมูลที่ไดจากตาราง นอกจากขนาดความหนาตางๆ

แลว ยังมีคา I, S รอบแกน x และ แกน y อีกดวย


 
 
 
 

 
2.1 การวิเคราะห  ‐เชน การคํานวณหา maximum stress ที่เกิดขึ้นกับคานขนาดหนึ่งๆ เมื่อมี moment รอบ
แกน x วิธีการ ..คือ เปดตารางเพื่อดูความลึกของคาน และ c= d/2  และดูคา Ix จากคาในตาราง ก็จะ
สามารถคํานวณ σ ได (อยาลืมวาถา moment กระทํารอบแกน y ก็ตองใช c = w/2 และ Iy นะจะ)
2.2   การออกแบบ – เชน ทราบ maximum moment ตองการหาวาจะตองใชคานขนาดเทาใด จึงจะสามารถ

รองรับ moment ที่เกิดขึ้นได สามารถคํานวณไดจาก  โดยแทนคา  จะได S (section 

modulus) ที่ตองการ ก็ไปเปดจากตารางคาน ถาเปน moment รอบแกน x ก็ใชคา Sx (ในกรอบสีแดง)

เชน Sx ที่ตองการ คือ 2500x103 mm3 ก็เลือกหนาตัดที่มีคา Sx มากกวาคาที่ตองการ ..จากในตารางจะ


เห็นวา มีตัวที่ใชไดสําหรับแตละ nominal depth ไดแก S610x119, S510x128 เปนตน จากนั้นเลือกใช
คานที่มีน้ําหนักนอยที่สุดจากที่เลือกมาเนื่องจากจะมีราคาต่ําที่สุด ในที่นี้ ไดแก S610x119 เปนตนคะ 
เรื่องการออกแบบนี้เราจะเรียนกันอีกทีในบทที่ 5 คะ..ตอนนี้แคใหรูจักตารางคานไวกอน และพอจะมีไอเดียวาเอา
ไปใชในการคํานวณอยางไรคะ 
 
3. ตัวอยางสุดทายในหอง เรื่อง shear flow in thin‐walled member ..หลายคนมีคําถาม วาเมื่อลองคํานวณ 
q(shear flow) ตามที่แสดงใหดูในหอง ไดไมเทากับในหนังสือ .. ทั้งนี้เปนเพราะเหตุผลที่พูดไปคราวๆ ในหอง

คือ เมื่อคานไมไดมีผนังที่บางจริง (อะไรจริง) จะตองคํานวณ Q โดยการใช vertical surface ตัดที่จุดกึ่งกลาง


ของ section ดังรูป (a) ซึ่งจะมีความแตกตางจาก การตัดดวย horizontal face ในรูป(b)  อยูพอสมควร ถาม
วาแลวคิดที่จุดไหนถูก.. ตอบวา ขึ้นอยูกับวาตองการจะคํานวณที่จุดไหนคะ .. เชนใน 3 รูปนี้ก็เปนการคิด shear 
flow ที่จุดตามในรูป ซึ่งถาเปนผนังบาง ทั้งสามจุดนี้จะคํานวณไดใกลเคียงกันมาก แตถาผนังไมบาง ก็ตองใช
แบบ (a) เพื่อเปนตัวแทนของจุดตรงกลางความหนาคะ  
 
 
 
 
 
 
 
(a) (b) (c)
 
 
 

You might also like