Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 26

ชื่อ-สกุล……………………………………………….………………………..ชั้น ม. 1 / ……….

เลขที…่ …………

ใบความรู้ที่ 1.1
เรื่อง พาลินโดรม( palindrome )

พาลินโดรม( palindrome ) คาหรือวลีที่สามารถเขียนตัวอักษรเรียงย้อนกลับจากหลังไป


หน้า หรือจากขวาไปซ้าย แล้วยังคงอ่านออกเสียงได้เหมือนเดิม เช่น กก กนก ยาย นาน บวบ DAD
MOM EYE เรียกว่าพาลินโดรม คาว่าพาลินโดรมเป็นภาษากรีก แปลว่าวิ่งกลับไปที่เดิมอีก (running
back again)

ไม่ใช่แต่ภาษาเท่านั้นที่มีพาลินโดรม คณิตศาสตร์ก็มีกับเขาเหมือนกัน อย่างปี ค.ศ.2002 ก็เป็น


เลขพาลินโดรม (palindromic number) คือดูตวั เลขจากหลังไปหน้าก็ได้เหมือนเดิม แต่
นักคณิตศาสตร์รู้ดีว่าแบบนี้มันหมูไปหน่อย ก็เลยคิดสูตรขึ้นมาว่า ถ้ายกตัวเลขจานวนเต็มขึ้นมา เช่น 38
แล้วนาไปบวกกับตัวเลขอ่านย้อนกลับ คือ 83 จะได้ว่า 38 + 83 = 121 ซึ่งเป็นเลขพาลินโดรม (แบบบวก
แค่ครั้งเดียว)

ในทางคณิตศาสตร์ พาลินโดรม เป็นจานวนนับที่เมื่อเขียนเลขโดดเรียงย้อนกลับจาก


หลังไปหน้าหรือจากขวาไปซ้าย แล้วได้จานวนเดิม เช่น 8, 22, 101 และ 252
พาลินโดรมที่มีหนึ่งหลัก ได้แก่ 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, และ 9
พาลินโดรมที่มีสองหลัก ได้แก่ 11, 22, 33, 44, 55, 66, 77, 88 และ 99

หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องการประยุกต์ 2 วิชา คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1 หน้า 1


ชื่อ-สกุล……………………………………………….………………………..ชั้น ม. 1 / ………. เลขที…่ …………

ใบความรู้ที่ 1.2
เรื่อง สร้างพาลินโดรม

วิธีสร้างพาลินโดรมทางคณิตศาสตร์ที่รู้จักกันแพร่หลายคือ เมื่อนาจานวนนับที่มีสองหลัก
มาบวกกับจานวนที่ได้จากการเขียนเลขโดดเรียงย้อนกลับจากหลังไปหน้าของจานวนเดิมถ้าผลลัพธ์ยังไม่
เป็นพาลินโดรม ให้นาผลลัพธ์นั้นไปบวกกับจานวนที่ได้จากการเขียนเลขโดดเรียงย้อนกลับจากหลังไปหน้า
ของผลลัพธ์นั้นอีก ทาเช่นนี้ไปเรื่อยๆ จนกว่าจะได้พาลินโดรม

ตัวอย่าง สร้างพาลินโดรมจาก 14 ได้ดังนี้


14 + 41 = 55 เป็นพาลินโดรม

ตัวอย่าง สร้างพาลินโดรมจาก 97 ได้ดังนี้


ครั้งที่ 1 97 + 79 = 176 ไม่เป็นพาลินโดรม
ครั้งที่ 2 176 + 671 = 847 ไม่เป็นพาลินโดรม
ครั้งที่ 3 847 + 748 = 1595 ไม่เป็นพาลินโดรม
ครั้งที่ 4 1595 + 5951 = 7546 ไม่เป็นพาลินโดรม
ครั้งที่ 5 7546 + 6457 = 14003 ไม่เป็นพาลินโดรม
ครั้งที่ 6 14003 + 30041 = 44044 เป็นพาลินโดรม
การสร้างพาลินโดรมนั้นสามารถทาได้ด้วยการบวกด้วยจานวนเดิมที่เขียนย้อนกลับได้ โดยอาจจะ
บวกเพียงครั้งเดียว หรือหลายครั้ง และบางจานวนนั้นอาจจะบวกหลายครั้งมากๆ จนเราหมดความอดทน
คิดว่าทาไม่ได้ เช่น 89 ต้องบวกถึง 24 ครั้ง จึงจะได้ 8813200023188
ซึ่งเป็นพาลินโดรม
นอกจากนี้การสร้างพาลินโดรม อาจจะใช้วีการนาจานวนที่เป็นพาลินโดรมอยู่แล้วมายกกาลัง
สองก้สามารถได้พาลินโดรมอื่นๆ

เช่น
112 = 121 222 = 484
1012 = 10201 2022 = 40804
10012 = 1002001 20022 = 4008004

หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องการประยุกต์ 2 วิชา คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1 หน้า 2


ชื่อ-สกุล……………………………………………….………………………..ชั้น ม. 1 / ………. เลขที…่ …………

ใบงานที่ 1
พาลินโดรม( palindrome )

1. จงวงกลมจานวนที่เป็นพาลินโดรม

1 44 96 5 47 33
909 577 757 398 412 114
3393 3033 14241 3553 9888 4444
5995 5991995 3674 2121 3878 4256
4 100 13931 2233 8800 676

2. ให้ยกตัวอย่างคาในภาษาไทยที่เป็นพาลินโดรมมา 5 คา
…………………………………………………………………………………………………………………………………………..…

3. ใ ห้ยกตัวอย่างคาในภาษาอังกฤษที่เป็นพาลินโดรมมา 5 คา
…………………………………………………………………………………………………………………………………………..…

4. ให้เขียนจานวนที่เป็นพาลินโดรมที่มี 5 หลัก มา 3 จานวน


…………………………………………………………………………………………………………………………………………..…

5. จงเติมคาตอบลงในช่องว่างแล้วสังเกตผลลัพธ์ที่ได้เป็นพาลินโดรมหรือไม่
1) 22 =…………………………………………………………………………………….
2) 32 =…………………………………………………………………………………..
3) 2022 =…………………………………………………………………………………..
4) 20000002 =…………………………………………………………………………………..
5) 10000012 =…………………………………………………………………………………..
6) 3032 =…………………………………………………………………………………..
7) 2022 =…………………………………………………………………………………..
8) 11112 =…………………………………………………………………………………..
9) 52 =…………………………………………………………………………………..
10) 4042 =…………………………………………………………………………………..

หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องการประยุกต์ 2 วิชา คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1 หน้า 3


ชื่อ-สกุล……………………………………………….………………………..ชั้น ม. 1 / ………. เลขที…่ …………

6. จงเขียนพาลินโดรมที่มีสี่หลักให้ครบทุกจานวน
…………………………………………………………………………………………………………………………………………..…
…………………………………………………………………………………………………………………………………………..…
…………………………………………………………………………………………………………………………………………..…
…………………………………………………………………………………………………………………………………………..…
…………………………………………………………………………………………………………………………………………..…
…………………………………………………………………………………………………………………………………………..…

7. จงสร้างพาลินโดรมจากตัวเลขที่กาหนดให้ต่อไปนี้
1) 31
…………………………………………………………………………………………………………………………………………..…
…………………………………………………………………………………………………………………………………………..…
…………………………………………………………………………………………………………………………………………..…
…………………………………………………………………………………………………………………………………………..…
…………………………………………………………………………………………………………………………………………..…
…………………………………………………………………………………………………………………………………………..…
2) 42
…………………………………………………………………………………………………………………………………………..…
…………………………………………………………………………………………………………………………………………..…
…………………………………………………………………………………………………………………………………………..…
…………………………………………………………………………………………………………………………………………..…
…………………………………………………………………………………………………………………………………………..…
…………………………………………………………………………………………………………………………………………..…
3) 71
…………………………………………………………………………………………………………………………………………..…
…………………………………………………………………………………………………………………………………………..…
…………………………………………………………………………………………………………………………………………..…
…………………………………………………………………………………………………………………………………………..…
…………………………………………………………………………………………………………………………………………..…

4) 82
…………………………………………………………………………………………………………………………………………..…
…………………………………………………………………………………………………………………………………………..…
…………………………………………………………………………………………………………………………………………..…
…………………………………………………………………………………………………………………………………………..…
…………………………………………………………………………………………………………………………………………..…

หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องการประยุกต์ 2 วิชา คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1 หน้า 4


ชื่อ-สกุล……………………………………………….………………………..ชั้น ม. 1 / ………. เลขที…่ …………

5) 56
…………………………………………………………………………………………………………………………………………..…
…………………………………………………………………………………………………………………………………………..…
…………………………………………………………………………………………………………………………………………..…
…………………………………………………………………………………………………………………………………………..…
…………………………………………………………………………………………………………………………………………..…
6) 34
…………………………………………………………………………………………………………………………………………..…
…………………………………………………………………………………………………………………………………………..…
…………………………………………………………………………………………………………………………………………..…
…………………………………………………………………………………………………………………………………………..…
…………………………………………………………………………………………………………………………………………..…
7) 12
…………………………………………………………………………………………………………………………………………..…
…………………………………………………………………………………………………………………………………………..…
…………………………………………………………………………………………………………………………………………..…
…………………………………………………………………………………………………………………………………………..…
…………………………………………………………………………………………………………………………………………..…
8) 23
…………………………………………………………………………………………………………………………………………..…
…………………………………………………………………………………………………………………………………………..…
…………………………………………………………………………………………………………………………………………..…
…………………………………………………………………………………………………………………………………………..…
…………………………………………………………………………………………………………………………………………..…
…………………………………………………………………………………………………………………………………………..…
9) 73
…………………………………………………………………………………………………………………………………………..…
…………………………………………………………………………………………………………………………………………..…
…………………………………………………………………………………………………………………………………………..…
…………………………………………………………………………………………………………………………………………..…
…………………………………………………………………………………………………………………………………………..…
10) 79
…………………………………………………………………………………………………………………………………………..…
…………………………………………………………………………………………………………………………………………..…
…………………………………………………………………………………………………………………………………………..…
…………………………………………………………………………………………………………………………………………..…
…………………………………………………………………………………………………………………………………………..…
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องการประยุกต์ 2 วิชา คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1 หน้า 5
ชื่อ-สกุล……………………………………………….………………………..ชั้น ม. 1 / ………. เลขที…่ …………

บทความเสริมความรู้
จุดประกาย ไขปัญหา คณิตศาสตร์ : นาฬิกา Palindromes

Palindromes คือ คา หรือวลี หรือจานวนที่เหมือนกัน เมื่ออ่านจากข้างหน้าไปข้างหลัง หรืออ่าน


กลับจากข้างหลังมาข้างหน้า เช่น mom, noon, radar ที่เป็นวลี เช่น "Able was ere saw Elba"
หรือที่เป็นจานวนเช่น 1991 หรือ 23 + 32 = 55 เป็นต้น
นาฬิกา Palindromes เป็นกิจกรรมหนึ่งที่ท้าทายเด็กๆ นาฬิกาดิจิทัลส่วนใหญ่จะบอกเวลา 12
ชั่วโมงต่อรอบ ฉะนั้นถ้าจะให้เด็ก ๆ ค้นหาเวลาที่เหมือนกันเมื่ออ่านกลับหน้ากลับหลังในรอบ 12
ชั่วโมง ตั้งแต่เที่ยงวันไปถึงเที่ยงคืนจะมีทั้งหมด 57 เวลาที่เหมือนกัน

57 เวลา Palindromes มีดังต่อไปนี้


เวลา 10, 11 และ 12:00 น. คือ 10:01, 11:11 และ 12:21
ส่วนเวลา 1 ถึง 9.00 น. จะมี 6 เวลา ในแต่ละชั่วโมง คือ
1:01, 1:11, 1:21, 1:31, 1:41, 1:51
2:02, 2:12, 2:22, … 9:39, 9:49, 9:59

เรียบเรียงจากเรื่อง
Clock Palindromes ของ Dave Youngs
ในวารสาร AIMS ฉบับเดือน January 1998 หน้า 5-6

หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องการประยุกต์ 2 วิชา คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1 หน้า 6


ชื่อ-สกุล……………………………………………….………………………..ชั้น ม. 1 / ………. เลขที…่ …………

ใบงาน : นาฬิกา Palindromes


Palindromes คือ คา หรือวลี หรือจานวนที่เหมือนกันเมื่ออ่านจากข้างหน้าไปข้างหลัง หรืออ่าน
กลับจากข้างหลังมาข้างหน้า เช่น mom และ dad 343 และ 1991 เป็นต้น ให้นักเรียนลองคิดถึงคาอื่นๆ
หรือจานวนอื่นๆ ในรูปแบบเดียวกันนี้แล้วเขียนลงในที่ว่างข้างล่าง
สาหรับกิจกรรมนาฬิกา Palindromes ใช้นาฬิกาดิจิทัลที่บอกเวลา 12 ชั่วโมงต่อรอบ เริ่มจาก
เที่ยงวันไปถึงเที่ยงคืนจะมีเวลา Palindromes เช่น 12:21 และ 3.03 เป็นต้น

จงหาเวลา Palindromes ทั้งสิ้นว่ามีกี่เวลา บันทึกเวลาที่ได้ลงในที่ว่างข้างล่าง


.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................... ...................................
.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................... ..............................
.........................................................................................................................................................................

เรียบเรียงจากเรื่อง
Clock Palindromes ของ Dave Youngs
ในวารสาร AIMS ฉบับเดือน January 1998 หน้า 5-6

หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องการประยุกต์ 2 วิชา คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1 หน้า 7


ชื่อ-สกุล……………………………………………….………………………..ชั้น ม. 1 / ………. เลขที…่ …………

ใบความรู้ที่ 2
ลำดับฟิโบนักชี ( fibonacci sequence )

ลีโอนาโด ฟิโบนักซี (Leonado Fibonacci)


อยู่ในประเทศอิตาลีช่วง ค.ศ. 1170 – 1240 เป็น
ผู้คิดค้นลาดับฟีโปนักชี ซึ่งเป็นลาดับที่กาหนดให้เทอมที่ 1 คือ
a1 = 1 เทอมที่ 2 คือ a2 = 1 เทอมที่ 3
คือ a3 = 2 เทอมที่ n = an โดยที่ an = an-2 + an-1
n จะเป็นจานวนนับและ n ³ 3 จะได้ลาดับ
1 ,1 , 2 , 3 , 5 , 8 , 13 , 21 , 34 , 55 , 89 , 144 ,…

(ตัวเลขตาแหน่งที่ n เท่ากับ ตัวเลขตาแหน่งที่ n-1 บวกกับ


ตัวเลขตาแหน่งที่ n-2, หรือ an = an-2 + an-1 )

เมื่อนักเรียนพิจารณาจานวนที่เรียงกันในลาดับฟิโบนักชี
1, 1, 2, 3, 5, 8, 13, 21, 34, 55, 89, n-2, n-1, n , … จะสังเกตเห็นแบบรูปของจานวนเป็นดังนี้
จานวนที่หนึ่ง คือ 1
จานวนที่สอง คือ 1
จานวนที่สาม คือ 2 ซึ่งเท่ากับผลบวกของจานวนที่หนึ่งกับจานวนที่สอง
จานวนที่สี่ คือ 3 ซึ่งเท่ากับผลบวกของจานวนที่สองกับจานวนที่สาม
จานวนที่ห้า คือ 5 ซึ่งเท่ากับผลบวกของจานวนที่สามกับจานวนที่สี่
จานวนที่หก คือ 8 ซึ่งเท่ากับผลบวกของจานวนที่สี่กับจานวนที่ห้า

จานวนที่เจ็ด คือ 13 ซึ่งเท่ากับผลบวกของจานวนที่ห้ากับจานวนที่หก


. .
. .
. .

จานวนที่ n คือ ซึ่งเท่ากับผลบวกของจานวนที่ n-2 กับจานวนที่ n-1

หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องการประยุกต์ 2 วิชา คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1 หน้า 8


ชื่อ-สกุล……………………………………………….………………………..ชั้น ม. 1 / ………. เลขที…่ …………

ถ้านักเรียนเคยนับจานวนสิ่งต่างๆ บางชนิดในธรรมชาติ ก็จะพบจานวนบางจานวนในลาดับ


ฟิโบนักชีปรากฏอยู่ เช่น

เมล็ดของดอกทานตะวัน ในวงที่มีเกลียวการหมุนตามเข็มนาฬิกา มีจานวนทั้งสิ้น 55 เมล็ด


(เครื่องหมายสีแดง) ในขณะที่วงที่มีเกลียว การหมุนทวนเข็มนาฬิกา มีจานวนทั้งสิ้น 89 เมล็ด
(เครื่องหมายสีเขียว) (โดยที่ทั้ง 55 และ 89 ต่างก็สอดคล้องกับลาดับเลขฟีโบนักชี)

ต้นตะบองเพชรที่มีลักษณะการจัดเรียงตัวของปุ่มหนามสอดคล้องกับเลขฟีโบนักชี โดยมีวงเกลียว
ของปุ่มหนามที่หมุนตามเข็มนาฬิกา 3 วง (เส้นสีแดง)และมีวงเกลียวที่หมุนทวนเข็มนาฬิกาจานวน 5 วง
(เส้นสีเหลือง) โดยที่ 3 และ 5 ก็คือลาดับเลขฟีโบนักชี

หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องการประยุกต์ 2 วิชา คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1 หน้า 9


ชื่อ-สกุล……………………………………………….………………………..ชั้น ม. 1 / ………. เลขที…่ …………

ทานองเดียวกัน ลูกสน (Pine Cone) ที่แสดงเซตของเกลียว ฟิโบนักซี มีเซตของเกลียวเป็น


สองส่วนส่วนหนึ่งที่มีทดิ ทางที่หมุนตามเข็มนาฬิกา และอีกส่วนหนึ่งจะหมุนทางตรงข้าม ถ้านับตาม
เกลียวทั้งสองเราจะพบว่าจานวนที่ได้จะเป็นจานวนฟีโบนักซีที่ตดิ กัน

หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องการประยุกต์ 2 วิชา คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1 หน้า 10


ชื่อ-สกุล……………………………………………….………………………..ชั้น ม. 1 / ………. เลขที…่ …………

สี่เหลี่ยมทองคา (Golden Rectangular)

ในการสร้างรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าแล้วหารความยาวด้วยความกว้างจะได้อตั ราส่วนทองคา ดังรูป

y
ตามรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าซึ่งมีลักษณะเป็นสี่เหลี่ยมทองคาจะมีคุณสมบัติที่ว่า = 1.618...หรือด้าน
x
x
ยาวหารด้วย ด้านกว้าง = 1.618... รูป a จะเป็นสี่เหลี่ยมจัตุรัสที่อยู่ในสี่เหลี่ยมผืนผ้าด้วยอัตราส่วน
x
x
และส่วนที่เป็นรูป b จะเป็นรูปสี่เหลี่ยมทองคาอีกรูปด้วยอัตราส่วน หรือจะพูดอีกอย่างว่า
y  x 
อัตราส่วนของ ด้านยาวของรูป b กับความสูงซึ่งเป็นด้านอีกด้านหนึ่งของรูปสี่เหลี่ยมจะเป็นอัตราส่วน
ทองคา นั่นคือบนด้านที่มีอัตราส่วนทองคาถ้าสร้างรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสด้านยาวด้านที่เหลือจะเป็นรูป
สี่เหลี่ยมผืนผ้าซึ่งมีอัตราส่วน เท่ากับรูปเดิม

หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องการประยุกต์ 2 วิชา คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1 หน้า 11


ชื่อ-สกุล……………………………………………….………………………..ชั้น ม. 1 / ………. เลขที…่ …………

ฟีโปนักชีและเกลียวทองคา (Fibonacci and Spiral Golden)

ถ้าหาอัตราส่วนของสองจานวนในลาดับฟีโปบักชีโดยหารแต่ละเทอมด้วยจานวนที่มาก่อนด้วย
จานวนนั้นเสมอ
1 2 3 5 8 13
 1 ,  2 ,  1.5 ,  1.66... ,  1.6 ,  1.62 , ....
1 1 2 3 5 8

รูปเกลียวจำกลำดับฟิโบนักซี

เราสามารถสร้างรูปที่แสดงจานวนในลาดับฟีโปนักชี (1 , 1 , 2 , 3 , 5 , 8 , 13 , 21 ,… ) โดยเริ่ม
ที่จานวนสองจานวนที่มีขนาด 1 และจานวนต่อไปจะสร้างสี่เหลี่ยมรูปจัตุรัสที่มีพื้นที่ 2(1 + 1) ดังรูป

สร้างรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสใหม่ให้ส่วนที่แตะกับขอบของทั้ง 2 รูปสี่เหลี่ยมมีค่าเป็น 3 หน่วยและอีกรูป


หนึ่งจะแตะกับด้านทั้ง 2 ที่มีค่าเท่ากับ 5 หน่วย เราสามารถสร้างรูปสี่เหลี่ยมไปรอบ ๆ รูปโดยที่ด้านของ
รูปสี่เหลี่ยมใหม่มีความยาวเท่ากับด้านของรูปสี่เหลี่ยมเก่า 2 รูปบวกกัน จะเห็นว่าสี่เหลี่ยมผืนผ้าที่ได้ซึ่ง
มีด้าน 2 ด้านเป็นจานวนในลาดับฟีโปนักชี 2 จานวนติดกัน ซึ่งเราอาจจะเรียกว่าสี่เหลี่ยมผืนผ้าของ
ฟีโปนักชี

หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องการประยุกต์ 2 วิชา คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1 หน้า 12


ชื่อ-สกุล……………………………………………….………………………..ชั้น ม. 1 / ………. เลขที…่ …………

จะเห็นว่าสี่เหลี่ยมผืนผ้าในรูปเป็นสี่เหลี่ยมทองคา เราสร้างเกลียวได้โดยนาหนึ่งในสี่ของวงกลม
มาต่อกับส่วนหนึ่งจะเป็นรูปของสี่เหลี่ยมจัตุรัส รูปเกลียวทองคานี้เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า Fibonacci Spiral
จะมีส่วนของโค้งที่เหมือน ๆ กันที่เกิดในธรรมชาติ เช่นในรูปของหอยทะเล ได้แก่ หอย Chambered
Nautillus , หอย Ammouite

Ammouite Chambered Nautillus

จานวนฟิโบนักซีกับสัดส่วนของร่างกาย
ลองมองดูที่มือของเรา จะเห็นว่า
เรามี 2 มือ
แต่ละมือมี 5 นิ้ว
แต่ละนิว้ มี 3 ส่วน
แต่ละส่วนมี 2 ข้อ
แต่ละข้อมีกระดูก 1 ชิ้น

ถ้าเราวัดระยะของกระดูกในนิ้วมือ จะเห็นว่า
อัตราส่วนความยาวระหว่างกระดูกส่วนที่ยาวที่สุดกับส่วนที่มีขนาดกลางจะมีค่า 1.618...
อัตราส่วนความยาวระหว่างกระดูกส่วนที่มีขนาดกลางกับส่วนที่สั้นที่สุดจะมีค่า 1.618...ด้วย
ถ้าดูตามสัดส่วนของร่างกายธรรมชาติจะให้มาเป็นอัตราส่วนทองคาเช่น อัตราส่วนของ
ความสูงจากระดับเอวถึงเท้า กับ หัวถึงเอว เป็นอัตราส่วนทองคา
อัตราส่วนของระยะ ศอกถึงปลายนิ้ว กับระยะ ต้นแขนถึงศอก ก็เป็นอัตราส่วนทองคา

เรานิยมนาอัตราส่วนทองคาไปใช้ในเรื่องทั่วไปเพราะ
ทาให้มีสัดส่วนสวยงาม เช่นการทาไวโอลิน การทาเฟอร์นิเจอร์
ต่างๆ เช่นการทา เตียง โต๊ะทางาน เก้าอี้ หรือแม้แต่เตียงสาหรับ
นวดตัว

หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องการประยุกต์ 2 วิชา คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1 หน้า 13


ชื่อ-สกุล……………………………………………….………………………..ชั้น ม. 1 / ………. เลขที…่ …………

ใบงานที่ 2
ลำดับฟิโบนักชี ( fibonacci sequence )

1. ให้เขียนจานวนในลาดับฟิโบนักชี ตั้งแต่ตัวที่ 1 ถึง ตัวที่ 20


………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………

2. ถ้า F(n) เป็นจานวนที่ n ในลาดับฟิโบนักชี ให้ตอบคาถามต่อไปนี้


1) F(15) = 610 และ F(16) = 987
จงหา F(20) = ………………………………………………
2) F(21) = 10,946 และ F(22) = 17,711
จงหา F(23) = ………………………………………………
3) F(24) = 46,368 และ F(26) = 121,393
จงหา F(25) = ………………………………………………
4) F(27) = 196,418 และ F(28) = 317,811
จงหา F(26) = ………………………………………………
5) F(30) = 832,040 และ F(31) = 1,346,269
จงหา F(32) = ………………………………………………
6) F(30) = 832,040 และ F(31) = 1,346,269
จงหา F(29) = ………………………………………………

3. ให้เติมรูปภาพต่อไปนี้อีก 1 รูป จากรูปที่กาหนดให้ต่อไปนี้

1 1 1 1 1 1 1 1 1
3 2 3
2 2

1 2 3 4 5

หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องการประยุกต์ 2 วิชา คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1 หน้า 14


1
ชื่อ-สกุล……………………………………………….………………………..ชั้น ม. 1 / ………. เลขที…่ …………

ใบความรู้ที่ 3
ข่ายงาน (Network)

ข่ายงาน (Network) ประกอบด้วยจุดยอด ซึ่งมีการเชื่อมระหว่างจุดด้วยเส้นเชื่อม

ตัวอย่างข่ายงานที่มีจุด A , B , C และ D เป็นจุดยอด

A D

B C

ตัวอย่างข่ายงานที่เส้นเชื่อมอาจเกิดที่จุดเดียว ซึ่งเรียกเส้นเชื่อมลักษณะนี้ว่า รูปบ่วง (Loop)

E
G
ข่ายงานที่สามารถลากตามเส้นเชื่อมทุกเส้นได้โดยตลอดอย่างต่อเนื่อง และไม่ซ้าเส้นเดิม
เรียกว่า “ข่ายงานที่ผ่านได้”

ตัวอย่างข่ายงานที่ผ่านได้

A D เริ่มต้นจาก B C D A
D B A

B C

หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องการประยุกต์ 2 วิชา คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1 หน้า 15


ชื่อ-สกุล……………………………………………….………………………..ชั้น ม. 1 / ………. เลขที…่ …………

ตัวอย่างข่ายงานที่ไม่เป็นข่ายงานที่ผ่านได้

การพิจารณาว่าข่ายงานที่กาหนดให้เป็นข่ายงานที่ผ่านได้หรือไม่ นอกจากจะทาได้โดยการลอง
ลากเส้นเชื่อมทุกเส้นตามเงื่อนไขแล้ว เพื่อความสะดวกและรวดเร็ว เราสามารถพิจารณาจากจุดยอดของ
ข่ายงานได้ด้วย
จุดยอดของข่ายงานมี 2 ชนิด คือ จุดยอดคี่ และจุดยอดคู่
จุดยอดคี่ หมายถึง จานวนเส้นเชื่อมที่มาพบกัน ณ จุดยอดนั้นเป็นจานวนคี่
จุดยอดคู่ หมายถึง จานวนเส้นเชื่อมที่มาพบกัน ณ จุดยอดนั้นเป็นจานวนคู่

ข่ายงาน จะเป็นข่ายงานที่ผ่านได้ก็ต่อเมื่อจานวนของจุดยอดคี่ในข่ายงานนั้นเป็น 0 หรือ 2

หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องการประยุกต์ 2 วิชา คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1 หน้า 16


ชื่อ-สกุล……………………………………………….………………………..ชั้น ม. 1 / ………. เลขที…่ …………

ใบงานที่ 3
ข่ายงาน (Network)

ตอนที่ 1 จงพิจารณาว่าจุดยอดต่อไปนี้เป็นจุดยอดคู่ หรือจุดยอดคี่

1. 2.

…………………………………………… ……………………………………………
3. 4.

…………………………………………… ……………………………………………

ตอนที่ 2 จงพิจารณาว่า ในแต่ละข่ายงานต่อไปนี้ จุดยอดใดบ้างที่เป็นจุดยอดคี่


และจุดยอดใดบ้างที่ เป็นจุดยอดคู่

5. 6.
B
A B
A C

จุดยอดคี่ ………………………………… จุดยอดคี่ …………………………………..


จุดยอดคู่……………………………………. จุดยอดคู่…………………………………….
7. B
8. A

E B

A C F

D
D C

จุดยอดคี่ ………………………………….. จุดยอดคี่ …………………………………..


จุดยอดคู่……………………………………. จุดยอดคู่…………………………………….

หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องการประยุกต์ 2 วิชา คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1 หน้า 17


ชื่อ-สกุล……………………………………………….………………………..ชั้น ม. 1 / ………. เลขที…่ …………

ใบงานที่ 4
ข่ายงาน (Network)

จงนับจานวนจุดยอดคี่ แล้วเติมจานวนลงในช่องว่างให้ถูกต้อง
ข่ายงาน จานวนจุดยอดคี่ ชนิดของข่ายงาน
1.
  เป็นข่ายงานที่ผ่านได้

 

2.

 
เป็นข่ายงานที่ผ่านได้
 


3.
 เป็นข่ายงานที่ผ่านได้

 

4. เป็นข่ายงานที่ผ่านได้

 
 

5.
 เป็นข่ายงานที่ผ่านได้
  

 

6.

  ไม่เป็นข่ายงานที่ผ่านได้
  
 

หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องการประยุกต์ 2 วิชา คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1 หน้า 18


ชื่อ-สกุล……………………………………………….………………………..ชั้น ม. 1 / ………. เลขที…่ …………

จงนับจานวนจุดยอดคี่ของข่ายงานต่อไปนี้ แล้วพิจารณาว่าเป็นข่ายงานที่ผ่านได้หรือไม่เป็น
ถ้าเป็นข่ายงานที่ผ่านได้ให้ลากเส้นด้วย
ข่ายงาน จานวนจุดยอดคี่ เป็นข่ายงานที่ผ่านได้หรือไม่เป็น
1.

2.

3.

4.

5.

6.

7.

หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องการประยุกต์ 2 วิชา คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1 หน้า 19


ชื่อ-สกุล……………………………………………….………………………..ชั้น ม. 1 / ………. เลขที…่ …………

หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องการประยุกต์ 2 วิชา คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1 หน้า 20


ชื่อ-สกุล……………………………………………….………………………..ชั้น ม. 1 / ………. เลขที…่ …………

หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องการประยุกต์ 2 วิชา คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1 หน้า 21


ชื่อ-สกุล……………………………………………….………………………..ชั้น ม. 1 / ………. เลขที…่ …………

หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องการประยุกต์ 2 วิชา คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1 หน้า 22


ชื่อ-สกุล……………………………………………….………………………..ชั้น ม. 1 / ………. เลขที…่ …………

หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องการประยุกต์ 2 วิชา คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1 หน้า 23


ชื่อ-สกุล……………………………………………….………………………..ชั้น ม. 1 / ………. เลขที…่ …………

หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องการประยุกต์ 2 วิชา คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1 หน้า 24


ชื่อ-สกุล……………………………………………….………………………..ชั้น ม. 1 / ………. เลขที…่ …………

หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องการประยุกต์ 2 วิชา คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1 หน้า 25


ชื่อ-สกุล……………………………………………….………………………..ชั้น ม. 1 / ………. เลขที…่ …………

หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องการประยุกต์ 2 วิชา คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1 หน้า 26

You might also like