Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 240

¡

¡ ÅŒÇÂäÁŒ
Orchids in the Phu Khieo-Nam Nao Forest Complex
¡ ÅŒÇÂäÁŒ
㹡ÅØ‹Á»†ÒÀÙà¢ÕÂÇ-¹ํ้Ò˹ÒÇ
Orchids in the Phu Khieo-Nam Nao Forest Complex
Orchids
ที่ปรึกษา ดร.จําลอง เพ็งคลาย ดร.กองกานดา ชยามฤต
นางลีนา ผูพัฒนพงศ นายณรงค มหรรณพ
ดร.สมราน สุดดี ดร.วรดลต แจมจํารูญ
เนื้อหา ขอมูลพื้นฐานกลุมปาภูเขียว-นํ้าหนาว นายมานพ ผูพัฒน
คําบรรยายกลวยไม นางสาวนันทวรรณ สุปนตี
นางสาวโสมนัสสา แสงฤทธิ์
ภาพประกอบ นายปรีชา การะเกตุ นางสาวนัยนา เทศนา นายสุคดิ เรืองเรื่อ
นายภัทธรวีร พรมนัส นายมานพ ผูพัฒน นางสาวโสมนัสสา แสงฤทธิ์
นางสาวกนกอร บุญพา นางสาวออพร เผือกคลาย
ประสานงาน นางสาวโสมนัสสา แสงฤทธิ์ นางดวงใจ ชืน่ ชมกลิน่
ปกและรูปเลม นางสาวโสมนัสสา แสงฤทธิ์
ปกหนา นางคํา (Cymbidium ensifolium (L.) Sw.)
ปกหลัง สิงโตเมืองกาญจน (Bulbophyllum kanburiense Seidenf.)
จัดพิมพโดย สํานักงานหอพรรณไม สํานักวิจยั การอนุรกั ษปา ไมและพันธุพ ชื กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา
และพันธุ พื ช ภายใตแผนงานวิจัยความหลากหลายทางชีวภาพในกลุมปาภูเขียว-นํ้าหนาว แผนงานอนุรักษและ
จัด การทรั พยากรธรรมชาติ ผลผลิตที่ 1 พื้นที่ปาอนุรักษไดรับการบริหารจัดการ กิจกรรมอนุรักษ ฟนฟู และ
พัฒ นาป าไม กิจกรรมบริหารจัดการความหลากหลายทางชีวภาพ โครงการวิจยั พรรณไมทมี่ ศี กั ยภาพเปนไมประดับ
ในกลุมปาภูเขียว-นํ้าหนาว
พิมพครัง้ ที่ 1 จํานวน 500 เลม สําหรับเผยแพร หามจําหนาย สงวนลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2559
พิมพที่ โรงพิมพชุมนุมสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย จํากัด
79 ถนนงามวงศวาน แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900
ขอมูลทางบรรณานุกรมของหอสมุดแหงชาติ
มานพ ผูพัฒน.
กลวยไมในกลุมปาภูเขียว-นํ้าหนาว.-- กรุงเทพฯ : สํานักงานหอพรรณไม กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ
พันธุพืช, 2559. 240 หนา.
1. กลวยไม. I. นันทวรรณ สุปนตี, ผูแตงรวม. II. โสมนัสสา แสงฤทธิ์, ผูแตงรวม. III. กรมอุทยานแหงชาติ
สัตวปา และพันธุพืช. สํานักงานหอพรรณไม. IV. ชื่อเรื่อง.
635.9344
ISBN 978-616-316-310-3
คํานํา

สํานักงานหอพรรณไม สํานักวิจัยการอนุรักษปาไมและพันธุพืช ดําเนินโครงการพรรณไม


ที่มศี กั ยภาพเปนไมประดับในกลุม ปาภูเขียว-นํา้ หนาว ซึง่ เปนโครงการวิจยั ภายใตแผนงานวิจยั ความ
หลากหลายทางชีวภาพในกลุมปาภูเขียว-นํ้าหนาว แผนงานอนุรักษและจัดการทรัพยากรธรรมชาติ
ผลผลิตที่ 1 พื้นที่ปาอนุรักษไดรับการบริหารจัดการ กิจกรรมอนุรักษ ฟนฟู และพัฒนาปาไม
กิจกรรมบริหารจัดการความหลากหลายทางชีวภาพ ซึง่ จากการออกสํารวจและเก็บตัวอยางในพืน้ ที่
ศึกษาทําใหพบพืชที่มีศักยภาพเปนไมประดับในหลายวงศ โดยเฉพาะพืชในวงศกลวยไมซึ่งมีความ
หลากหลายของรูปแบบ ขนาด และสีสรรของดอกทีส่ วยงาม แปลกตา และแตกตางกันไปในแตละสกุล
และชนิด และไดรบั ความนิยมเปนอยางยิง่ ในการปลูกเปนไมประดับ ในปแรกของการดําเนินโครงการ
ทางทีมงานวิจัยจึงไดรวบรวมภาพถายของกลวยไมซึ่งไดตรวจสอบชนิด ชื่อวิทยาศาสตร และขอมูล
การออกดอก จํานวน 100 ชนิด เผยแพรในรูปของโปสเตอร ความหลากหลายของกลวยไมในกลุม ปา
ภูเขียว-นํ้าหนาว

การดําเนิ น งานในปสุดทายของโครงการ ทางทีมงานวิจัยจึงไดตรวจสอบรวบรวมขอมูล


กลวยไมทั้ง 100 ชนิด มาจัดพิมพเปนหนังสือกลวยไมในกลุมปาภูเขียว-นํ้าหนาว โดยเนื้อหาในเลม
ประกอบไปด ว ยข อ มู ล พื้ น ฐานของกลุ  ม ป า ภู เขี ย ว-นํ้ า หนาว ลั ก ษณะโดยทั่ ว ไปของกล ว ยไม
ชื่อ พ ฤ กษศ า ส ต รของกลวยไมที่ถูกตอง คําบรรยายลักษณะทางพฤกษศาสตร ขอมูลนิเวศวิทยา
และการกระจายพันธุ และเขตการกระจายพันธุ ซึง่ สามารถใชอา งอิงในทางวิชาการดานพฤกษศาสตร
ไดเปนอยางดี เพื่อเผยแพรสําหรับผูที่สนใจไดนําไปใชประโยชนตอไป
คํานิยม

คณะผู วจิ ยั โครงการพรรณไมทมี่ ศี กั ยภาพเปนไมประดับในกลุม ปาภูเขียว-นํา้ หนาว ขอขอบคุณ


นายณรงค มหรรณพ ผูอํานวยการสํานักวิจัยการอนุรักษปาไมและพันธุพืช นายวิชัย ออนนอม
หัวหนา สํานักงานหอพรรณไม ที่ใหการสนับสนุนการดําเนินการศึกษาวิจัยโครงการ ขอขอบคุณ
ดร.สมราน สุดดี และ ดร.วรดลต แจมจํารูญ ในการใหคําแนะนําในการจัดทําหนังสือเลมนี้

ขอขอบคุ ณ เจาหนาที่อุทยานแหงชาติ เขตรักษาพันธุสัตวปา และวนอุทยาน ในกลุมปา


ภูเขียว-นํ้าหนาว ที่ใหความชวยเหลืออยางดียิ่งในการปฏิบัติงานภาคสนามและรวมดําเนินการสํารวจ
พรรณพืช อย า งตอเนื่อง และขอขอบคุณนางสุมาลี นาคแดง นางดวงใจ ชื่นชมกลิ่น นางสาวสุมาลี
สมงาม และนางสาวพรพิมล ครพิรุณ ที่ใหความชวยเหลือการดําเนินงานดานธุรการ

ขอขอบคุ ณ เจาหนาที่โครงการ การบริหารจัดการความหลากหลายทางชีวภาพในพื้นที่


กลุมปาภูเขียว-นํ้าหนาว ที่ชวยใหโครงการดําเนินไปดวยความราบรื่น
สารบัญ หนา
ขอมูลพื้นฐานกลุมปาภูเขียว-นํ้าหนาว 1
วงศกลวยไม (Orchidaceae) 27
เหยือกนํ้าดอย (Acanthophippium gougahensis (Guillaumin) Seidenf.) 28
จุกพราหมณ (Acriopsis indica Wight) 30
เอื้องกุหลาบพวง (Aerides falcata Lindl. & Paxton) 32
วานไหมนา (Anoectochilus setaceus Blume) 34
วานพราว (Anthogonium gracile Wall. ex Lindl.) 36
หางแมงเงา (Appendicula cornuta Blume) 38
เอื้องเข็มมวง (Ascocentrum ampullaceum (Roxb.) Schltr.) 40
คูลูปากแหลม (Brachycorythis acuta (Rchb. f.) Summerh.) 42
สิงโตประหลาด (Bulbophyllum affine Wall. ex Lindl.) 44
สิงโตกานหลอด (Bulbophyllum capillipes C. S. P. Parish & Rchb. f.) 46
เอื้องขยุกขยุย (Bulbophyllum dayanum Rchb. f.) 48
เอื้องคําดอกสรอย (Bulbophyllum gymnopus Hook. f.) 50
สิงโตเมืองกาญจน (Bulbophyllum kanburiense Seidenf.) 52
สิงโตกลีบมวน (Bulbophyllum khasyanum Griff.) 54
สิงโตนิพนธ (Bulbophyllum nipondhii Seidenf.) 56
สิงโตเลื้อย (Bulbophyllum reptans (Lindl.) Lindl. ex Wall.) 58
สิงโตสยาม (Bulbophyllum siamense Rchb. f.) 60
สิงโตชอนทอง (Bulbophyllum spathulatum (Rolfe ex E. W. Cooper) Seidenf.) 62
สิงโตพัดภูหลวง (Bulbophyllum taeniophyllum C. S. P. Parish & Rchb. f.) 64
เอื้องนํ้าตน (Calanthe cardioglossa Schltr.) 66
กลวยไมดง (Calanthe lyroglossa Rchb. f.) 68
อั้ว (Calanthe triplicata (Willemet) Ames) 70
เอื้องกลีบเกลียว (Cephalantheropsis obcordata (Lindl.) Ormerod) 72
กางปลา (Cleisostoma fuerstenbergianum Kraenzl.) 74
เอื้องเทียน (Coelogyne brachyptera Rchb. f.) 76
เอื้องเทียนสีสม (Coelogyne brunea Lindl.) 78
เอื้องหิน (Coelogyne flaccida Lindl.) 80
เอื้องฉุน (Coelogyne lentiginosa Lindl.) 82
เอื้องหมาก (Coelogyne trinervis Lindl.) 84
กะเรกะรอนดามขาว (Cymbidium bicolor Lindl.) 86
กะเรกะรอนภูหลวง (Cymbidium devonianum Paxton) 88
นางคํา (Cymbidium ensifolium (L.) Sw.) 90
สําเภาอินทนนท (Cymbidium mastersii Griff. ex Lindl.) 92
สารบัญ หนา
สําเภางาม (Cymbidium seidenfadenii (P. J. Cribb & Du Puy) P. J. Cribb) 94
เอื้องแซะภู (Dendrobium bellatulum Rolfe) 96
เอื้องแซะภูกระดึง (Dendrobium christyanum Rchb. f.) 98
เอื้องสายมรกต (Dendrobium chrysanthum Wall. ex Lindl.) 100
เอื้องคํา (Dendrobium chrysotoxum Lindl.) 102
เอื้องเทียน (Dendrobium dixanthum Rchb. f.) 104
เอื้องทอง (Dendrobium ellipsophyllum Tang & F. T. Wang) 106
เอื้องคํานอย (Dendrobium fimbriatum Hook.) 108
พวงหยก (Dendrobium findlayanum C. S. P. Parish & Rchb. f.) 110
เอื้องกิ่งดํา (Dendrobium gratiotissimum Rchb. f.) 112
เอื้องสุริยัน (Dendrobium henryi Schltr.) 114
เอื้องสีตาล (Dendrobium heterocarpum Lindl.) 116
เอื้องตาเหิน (Dendrobium infundibulum Lindl.) 118
เอื้องผึ้ง (Dendrobium lindleyi Steud.) 120
เอื้องมัจฉาณุ (Dendrobium palpebrae Lindl.) 122
เอื้องไมเทาฤาษี (Dendrobium pendulum Roxb.) 124
เอื้องสายประสาท (Dendrobium polyanthum Wall. ex Lindl.) 126
หวายนอยภูหลวง (Dendrobium proteranthum Seidenf.) 128
เอื้องชะนี (Dendrobium senile C. S. P. Parish & Rchb. f.) 130
เอื้องมอนไขใบขน (Dendrobium thyrsiflorum Rchb. f. ex André) 132
เอื้องคําเหลี่ยม (Dendrobium trigonopus Rchb. f.) 134
เอื้องครั่งแสด (Dendrobium unicum Seidenf.) 136
กลวยมดดอกขาว (Didymoplexis pallens Griff.) 138
เอื้องกระตายหูลู (Diploprora truncata Rolfe ex Downie) 140
เอื้องกระเจี้ยง (Epigeneium amplum (Lindl.) Summerh.) 142
เอื้องผีพราย (Eria amica Rchb.f.) 144
เอื้องนิ่มกลีบจัก (Eria carinata Gibson) 146
เอื้องตาลหิน (Eria discolor Lindl.) 148
เอื้องบายศรี (Eria lasiopetala (Willd.) Ormerod) 150
สองอนงคปากมวง (Eria marginata Rolfe) 152
พรรณี (Eria pannea Lindl.) 154
เบี้ยไมภูหลวง (Eria pusilla (Griff.) Lindl.) 156
เอื้องปากงุมภูหลวง (Eriodes barbata (Lindl.) Rolfe) 158
นางอั้วพุม (Habenaria rumphii (Brongn.) Lindl.) 160
เอื้องปากคู (Liparis bootanensis Griff.) 162
สารบัญ หนา
เอื้องขาวนก (Liparis caespitosa (Lam.) Lindl.) 164
หญาเปราะนก (Liparis regnieri Finet) 166
เอื้องลิ้นดํา (Luisia psyche Rchb. f.) 168
งูเขียวปากมวง (Luisia thailandica Seidenf.) 170
เอื้องดินใบบัว (Nervilia crociformis (Zoll. & Moritzi) Seidenf.) 172
พัดนางชีนอย (Oberonia emarginata King & Pantl.) 174
สรอยระยา (Otochilus fuscus Lindl.) 176
เอื้องรงรอง (Panisea uniflora Lindl.) 178
รองเทานารีสุขะกูล (Paphiopedilum sukhakulii Schoser & Senghas) 180
เอื้องอินทนนท (Paphiopedilum villosum (Lindl.) Stein) 182
เอื้องโมกกุหลาบ (Papilionanthe teres (Roxb.) Schltr.) 184
กลวยไมดง (Phaius mishmensis (Lindl. & Paxton) Rchb. f.) 186
มาวิ่ง (Phalaenopsis pulcherrima (Lindl.) J. J. Sm.) 188
เอื้องลําตอ (Pholidota articulata Lindl.) 190
เอื้องพลายงาม (Pleione maculata (Lindl.) Lindl. & Paxton) 192
เอื้องคางอม (Polystachya concreta (Jacq.) Garay & H. R. Sweet) 194
เอื้องหนวดพราหมณ (Seidenfadenia mitrata (Rchb. f.) Garay) 196
บานจวน (Spathoglottis pubescens Lindl.) 198
เสือแผว (Staurochilus dawsonianus (Rchb. f.) Schltr.) 200
เอื้องเสือโครง (Staurochilus fasciatus (Rchb. f.) Ridl.) 202
เอื้องกลีบมวนดอกสม (Stichorkis gibbosa (Finet) J. J. Wood) 204
เอื้องทับทิมภูหลวง (Sunipia minor (Seidenf.) P. F. Hunt) 206
เอื้องตาเข็ม (Sunipia scariosa Lindl.) 208
เอื้องไรใบ (Taeniophyllum glandulosum Blume) 210
เอื้องสีลา (Tainia viridifusca (Hook.) Benth. & Hook. f.) 212
เอื้องตะขาบภูหลวง (Thrixspermum acoriferum (Guillaumin) Garay) 214
ตะขาบเหลือง (Thrixspermum centipeda Lour.) 216
สามกอม (Trichotosia dasyphylla (C. S. P. Parish & Rchb. f.) Kraenzl.) 218
เอื้องสามปอยแพะ (Vanda bensonii Bateman) 220
เอื้องสามปอยดง (Vanda denisoniana Benson & Rchb. f.) 222
เอื้องดินนอยปากกาง (Zeuxine affinis (Lindl.) Benth. ex Hook. f.) 224
เอื้องดินนอยปากเหลือง (Zeuxine flava (Wall. ex Lindl.) Trimen) 226
บรรณานุกรม 228
ดรรชนีชื่อพื้นเมือง 230
ขอมูลพื้นฐานกลุมปาภูเขียว-นํ้าหนาว
ความสําคัญของกลุมปา
กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพ ชื ไดจดั พืน้ ทีค่ มุ ครองในประเทศไทยออกเปน 19 กลุม
โดยใชหลักเกณฑพนื้ ฐานตาง ๆ เชน ลักษณะภูมปิ ระเทศ สภาพปา ลุม นํา้ การกระจายของพันธุพ ชื
พันธุสัตว โดยเฉพาะสัตวเลี้ยงลูกดวยนมขนาดใหญ เปนการจัดการพื้นที่คุมครองภายในกลุมปา
อยางบูรณาการ เพื่อมุงใหการจัดการเปนลักษณะเชิงระบบนิเวศ ใหเกิดผืนปาขนาดใหญที่สามารถ
อนุรักษความหลากหลายทางชีวภาพไดอยางมีประสิทธิภาพ (คณะวนศาสตร, 2555) โดยแบงเปน
กลุมปาทางบก 17 แหง และกลุมปาทางทะเล 2 แหง
จากการศึกษาของคณะวนศาสตร (2555) ในโครงการศึกษาความเหมาะสมในการจัดทํา
แนวเชือ่ มตอทางนิเวศของผืนปาในกลุม ปาทีส่ าํ คัญของประเทศไทย โดยใชดชั นีภมู ภิ าพ (landscape
index) พบวากลุมปาภูเขียว-นํ้าหนาว ถูกจัดใหเปนกลุมปาทางบกที่มีความสําคัญและความมั่นคง
ของระบบนิเวศในลําดับที่ 3 รองจากกลุม ปาตะวันตก และกลุม ปาดงพญาเย็น-เขาใหญ (จากทัง้ หมด
17 กลุมปาทางบก) ซึ่งมีเหตุผลสนับสนุนใหกลุมแหงนี้มีความสําคัญคือ เปนกลุมปาที่มีสภาพของ
สิง่ ปกคลุมดินทีป่ รากฏอยูใ นกลุม ปา และสภาพของหยอมทีอ่ าศัยของสัตวปา สําคัญ 6 ชนิด ทีป่ รากฏ
อยูในกลุมปาโดยรวมที่ดี ทั้งนี้รายละเอียดของคาดัชนีภูมิภาพยังระบุวา กลุมปาภูเขียว-นํ้าหนาว
เปนกลุมปาที่มีความหลากหลายของสังคมพืชมากที่สุดกวากลุมปาอนุรักษอื่น ๆ ทั่วประเทศ และ
มีการปรากฏชนิดพันธุพืชหายากและพืชถิ่นเดียวจํานวนมาก อันเปนผลมาจากการตั้งอยูในเขต
ชีวภูมิศาสตรของพืชพรรณในกลุมพรรณพฤกษชาติภูมิภาคอินโดจีนและกลุมพรรณพฤกษชาติ
ภูมภิ าคอินเดีย-พมา นอกจากนีก้ ลุม ปาภูเขียว-นํา้ หนาวยังมีความสําคัญในดานความเชือ่ มโยงระดับ
ประเทศ กลาวคือ เชื่อมโยงทางระบบนิเวศกับกลุมปาดงพญาเย็น-เขาใหญ ทางดานใตของกลุมปา
ภูเขียว-นํ้าหนาวตามแนวเทือกเขาพังเหยและเทือกเขาดงพญาเย็น และเชื่อมโยงทางระบบนิเวศ
กับกลุมปาภูเมี่ยง-ภูทอง ทางดานตะวันตกเฉียงเหนือตามแนวเทือกเขาเพชรบูรณ ดังนั้นกลุมปา
ภูเขียว-นํ้าหนาวจึงมีความเหมาะสมที่จะไดรับการคัดเลือกใหเสนอชื่อขึ้นทะเบียนเปนมรดกโลก
ทางธรรมชาติ แหงที่ 3 ของประเทศไทยในลําดับถัดไป

Orchids in the Phu Khieo-Nam Nao Forest Complex 1 1


ขอมูลทั่วไป
กลุม ปาภูเขียว-นํา้ หนาว ตัง้ อยูร ะหวางเสนรุง ที่ 15°19'18''–17°33'00'' เหนือ และเสนแวง
ที่ 101°16'00''–102°43'50'' ตะวันออก มีพื้นที่ประมาณ 4.99 ลานไร หรือประมาณ 799,050
เฮกแตร ตั้งอยูในพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย ครอบคลุมพื้นที่ 6 จังหวัด คือ
จังหวัดเพชรบูรณ เลย หนองบัวลําภู ขอนแกน ชัยภูมิ และลพบุรี มีพื้นที่ปาอนุรักษทั้งสิ้น 19
หนวยงาน แบงเปนอุทยานแหงชาติ 13 แหง และเขตรักษาพันธุสัตวปา 6 แหง ดังนี้ (ตารางที่ 1
และ ภาพที่ 1)

ตารางที่ ๑ พื้นที่ปาอนุรักษในกลุมปาภูเขียว-นํ้าหนาว
จังหวัด อุทยานแหงชาติ เขตรักษาพันธุสัตวปา
อุทยานแหงชาติภูเรือ เขตรักษาพันธุสัตวปาภูหลวง
เลย
อุทยานแหงชาติภูกระดึง เขตรักษาพันธุสัตวปาภูคอ-ภูกระแต
อุทยานแหงชาตินํ้าหนาว เขตรักษาพันธุสัตวปาภูผาแดง
เพชรบูรณ
อุทยานแหงชาติตาดหมอก เขตรักษาพันธุส ตั วปา ตะเบาะ-หวยใหญ
อุทยานแหงชาติภูผามาน
ขอนแกน อุทยานแหงชาติภูเวียง
อุทยานแหงชาตินํ้าพอง
อุทยานแหงชาติภูแลนคา เขตรักษาพันธุสัตวปาผาผึ้ง
อุทยานแหงชาติตาดโตน เขตรักษาพันธุสัตวปาภูเขียว
ชัยภูมิ
อุทยานแหงชาติไทรทอง
อุทยานแหงชาติปาหินงาม
หนองบัวลําภู อุทยานแหงชาติภูเกา-ภูพานคํา
ลพบุรี เขตรักษาพันธุสัตวปาซับลังกา

2 ¡ÅŒ Ç ÂäÁŒ ã ¹¡ÅØ ‹ Á »† Ò ÀÙ à ¢Õ Â Ç-¹íé Ò Ë¹ÒÇ


แผนที่แสดงพื้นที่กลุมปาภูเขียว-นํ้าหนาว

ภาพที่ 1 พื้นที่ปาอนุรักษในกลุมปาภูเขียว-นํ้าหนาว

Orchids in the Phu Khieo-Nam Nao Forest Complex 3


ลักษณะภูมิศาสตรและธรณีวิทยา
กลุมปาภูเขียว-นํ้าหนาว ตั้งอยูในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย และมีพื้นที่
บางสวนติดตอกับพื้นที่ภาคเหนือตอนลาง พื้นที่สวนใหญอยูในแนวเทือกเขาเพชรบูรณตะวันออก
มีระดับความสูง 150–1,571 เมตร จากระดับนํา้ ทะเลปานกลาง ยอดเขาสูงสุดทีส่ าํ คัญไดแก ภูหลวง
(1,571 เมตร) ภูเรือ (1,364 เมตร) ภูกระดึง (1,316 เมตร) ภูดา นอีปอ ง (1,271 เมตร) เขาโปงทองหลาง
(1,310 เมตร) ภูคงิ้ (1,16 เมตร) ภูคี (1,038 เมตร) ภูพงั เหย (1,008 เมตร) และภูเวียง (844 เมตร)
โดยแนวเทือกเขาเหลานีเ้ กิดจากการยกตัวของแผนจุลทวีปอินโดจีน (Indochina subcontinental
plate) ซึง่ ถูกแผนจุลทวีปฉาน-ไทย (Shan-Thai subcontinental plate) ทีอ่ ยูด า นตะวันตกบีบอัด
ทําใหชั้นหินทรายในชุดหินโคราช (อายุ 245–66.4 ลานปมาแลว) และหินตะกอนในชุดหินราชบุรี
(อายุ 286–245 ลานปมาแลว) เกิดโคงงอเปนลูกฟูกแบบประทุนควํา่ (anticline) และประทุนหงาย
(syncline) สลับกันไป โครงสรางของเปลือกโลกและความแกรงของแตละชั้นหินที่มีความทนทาน
ตอการพังทลายตางกันเมื่อถูกธารนํ้า นํ้าฝน และสภาพภูมิอากาศกัดกรอนเปนเวลานาน จึงเกิด
สภาพภูมิประเทศที่เปนเอกลักษณในแบบที่ราบสูงโคราชในปจจุบัน
การเกิดโครงสรางประทุนควํา่ ทําใหดา นบนของโดมแตกหักและพังทลายไดงา ย รองลําธาร
และนํ้าฝนจะกัดกรอนจนกลายเปนแองที่ราบลอนคลื่น มีระดับความสูง 180–250 เมตร ไดแก
แองหนองบัวแดง-เกษตรสมบูรณ แองแกงครอ-เขื่อนอุบลรัตน ทั้งสองดานของประทุนควํ่าเปน
ขอบผาชัน (escarpment) ที่หันเขาหากัน และมีดานลาดหิน (dip slope) ทํามุมเอียงออกจาก
แกนประทุน ทั้งสองสวนนี้เปนสัณฐานที่เรียกวา ภูเขารูปอีโต (cuesta mountain) มีความสูงที่
ขอบผาชัน 300–1,000 เมตร วางตัวเปนแนวยาวตอเนื่องมาจากเทือกเขาดงพญาเย็นที่อยูดานใต
ของพืน้ ทีก่ ลุม ปา โอบลอมกลุม ปาภูเขียว-นํา้ หนาวดานใต (ภูพงั เหย) ดานตะวันออก (ภูเม็ง–ภูพานคํา)
และตะวันออกเฉียงเหนือ (ภูพานนอย) แลวตอเขาไปทางในประเทศลาวที่อําเภอสังคม จังหวัด
หนองคาย สําหรับโครงสรางแบบประทุนหงายจะมีขอบผาชันอยูโ ดยรอบ และมีมมุ ลาดหินอยูด า นใน
ขอบผาชัน มีความสูง 300–1,500 เมตร ไดแก ภูหลวง ภูกระดึง ภูคอ ภูกระแต ภูเขียว ภูเกา ภูเวียง
และภูแลนคา แลวยังมีบางภูไดถูกกัดกรอนพังทลายไปมากจนเหลือเปนเขาโดดดูคลายหอคอย
(monadnock) ไดแก ภูหอ ภูดานอีปอง (ภูผาจิต) และภูตะเภา
สําหรับบริเวณดานตะวันตกและดานตะวันตกเฉียงเหนือของกลุมปา เปนแนวเทือกเขา
เพชรบูรณตะวันออกที่วางตัวในแนวทิศเหนือ-ใต แผนเปลือกโลกบริเวณนี้ถูกบีบอัดอยางรุนแรง
ทําใหชั้นหินดินดาน หินทราย หินปูนในชุดหินราชบุรี และหินอัคนี ที่อยูลึกลงไปใตชั้นหินทราย
ชุดหินโคราชถูกดันขึ้นมา เมื่อชั้นหินทรายดานบนถูกกัดกรอนหมดไปชั้นหินเหลานี้ก็จะปรากฏขึ้น
เกิ ด ภู เขาที่ สู ง ชั น และซั บ ซ อ นในเขตรั ก ษาพั น ธุ  สั ต ว ป  า ภู ผ าแดง อุ ท ยานแห ง ชาติ ต าดหมอก
เขตรักษาพันธุสัตวปาตะเบาะ-หวยใหญ และพื้นที่ดานตะวันตกของเขตรักษาพันธุสัตวปาภูหลวง
อุทยานแหงชาตินํ้าหนาว และเขตรักษาพันธุสัตวปาภูเขียว ในบริเวณชั้นหินปูนที่หนาและแกรง
หลงเหลือจากการพังทลายเกิดเปนภูมิประเทศแบบคารสต (karst) มีภูเขาหินปูนที่สูงชัน (karst
4 ¡ÅŒ Ç ÂäÁŒ ã ¹¡ÅØ ‹ Á »† Ò ÀÙ à ¢Õ Â Ç-¹íé Ò Ë¹ÒÇ
tower) สลับกับที่ราบ (karst plain) บริเวณที่สําคัญไดแก อุทยานแหงชาติภูผามาน และ
เขตรักษาพันธุสัตวปาผาผึ้ง นอกจากนี้ยังมีกลุมภูเขาหินปูนลูกโดดจํานวนมากกระจัดกระจายอยู
ทั่วไปในเขตจังหวัดเลย และหนองบัวลําภู (ภาพที่ 2)

ภาพที่ 2 สภาพภูมิประเทศของกลุมปาภูเขียว-นํ้าหนาว

สภาพภูมิอากาศ
พืน้ ทีก่ ลุม ปาภูเขียว-นํา้ หนาว มีสภาพภูมอิ ากาศเชนเดียวกับพืน้ ทีโ่ ดยรวมของประเทศไทย
ตอนบน (ตัง้ แตจงั หวัดประจวบคีรขี นั ธขนึ้ มา) แบบทุง หญาเขตรอน (tropical savannah climate)
คือ มีชวงฤดูฝนและชวงฤดูแลงแตกตางกันชัดเจน มีปริมาณนํ้าฝนมากกวารอยละ 80 ตกในชวง
ฤดูฝน สวนชวงฤดูแลงอากาศรอนและแหงแลง มีฝนตกนอยมาก ฤดูกาลแบงเปน 3 ฤดู คือ ฤดูฝน
ประมาณ 5–6 เดือน เริ่มตั้งแตกลางเดือนพฤษภาคม–กลางเดือนตุลาคม มีอากาศรอนและชุมชื้น
มีฝนตกชุก ฝนทีต่ กมาจากอิทธิพลของลมมรสุมตะวันตกเฉียงใตทพี่ ดั พาความชุม ชืน้ มาจากมหาสมุทร

Orchids in the Phu Khieo-Nam Nao Forest Complex 5


อินเดีย โดยเฉพาะในชวงปลายเดือนสิงหาคม–ตนเดือนตุลาคมจะมีฝนตกชุก เนื่องจากรองความ
กดอากาศตํ่าเลื่อนลงมาพาดผานพื้นที่ และอาจมีหยอมความกดอากาศตํ่าหรือพายุหมุนเขตรอน
ที่กอตัวขึ้นมาในมหาสมุทรแปซิฟก หรือทะเลจีนใตพัดเขาสูภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน
ฤดูหนาวจะเริ่มประมาณกลางเดือนตุลาคม–กลางเดือนกุมภาพันธ เนื่องจากไดรับอิทธิพลของ
ลมมรุสมตะวันออกเฉียงเหนือโดยมีตนกําเนิดมาจากหยอมความกดอากาศสูงที่พาอากาศเย็นและ
แหงแลงมาจากเขตไซบีเรียผานประเทศจีนและเวียดนามลงมา โดยจะเขาสูภ าคตะวันออกเฉียงเหนือ
ตอนบน และภาคเหนือตอนบนของประเทศไทยกอน จึงทําใหพื้นที่ทั้งสองภาคมีอากาศหนาวเย็น
ทีส่ ดุ ของประเทศ โดยเฉพาะจังหวัดเลย หนองคาย บึงกาฬ สกลนคร นครพนม และเชียงราย ในชวง
เดือนธันวาคม-มกราคม ความกดอากาศสูงกําลังแรงหลายระลอกเคลือ่ นตัวลงมาใกลภาคตะวันออก
เฉียงเหนือตอนบนมากทีส่ ดุ ในรอบป ทําใหบางสัปดาหบนภูเขาทีส่ งู กวา 1,000 เมตร จะมีอณ ุ หภูมิ
ยอดหญาลดลงถึงจุดเยือกแข็ง เกิดนํา้ คางแข็งเกาะอยูต ามใบหญาและใบไมใกลพนื้ ดิน หลังจากนัน้
จึงเขาสูฤดูรอนซึ่งเริ่มประมาณกลางเดือนกุมภาพันธ–กลางเดือนพฤษภาคม ลมมรสุมตะวันออก
เฉียงเหนือมีกําลังออนลงและแปรปรวน ดวงอาทิตยคอย ๆ เคลื่อนผานประเทศไทยตอนบนขึ้นสู
ซีกโลกเหนือ ทําใหพนื้ ดินไดรบั รังสีความรอนมากยิง่ ขึน้ และเกิดเปนหยอมความกดอากาศตํา่ ปกคลุม
ที่ระดับความสูงไมเกิน 1,000 เมตร สงผลใหอากาศในชวงนี้รอนจัดและแหงแลง อุณหภูมิสูงสุด
ในพื้นที่ราบตํ่าแตละวันจะมากกวา 35 องศาเซลเซียส บางวันอาจสูงกวา 40 องศาเซลเซียส แต
สําหรับในเขตภูเขาสูงกวา 1,000 เมตร อุณหภูมิจะไมสูงเกินกวา 30 องศาเซลเซียส
ขอมูลภูมิอากาศของกรมอุตุนิยมวิทยา จากคามาตรฐาน 30 ป (ในชวงป พ.ศ. 2504–
2533) ของสถานีตรวจวัดอากาศจังหวัดเลย เพชรบูรณ ขอนแกน และชัยภูมิ พบวาทั้ง 4 จังหวัด
มีสภาพภูมิอากาศโดยรวมใกลเคียงกันมาก โดยจังหวัดเลยมีปริมาณนํ้าฝนเฉลี่ยรายปที่สูงกวา
เล็กนอยและมีอณ ุ หภูมเิ ฉลีย่ รายปทตี่ าํ่ กวาจังหวัดขอนแกน ชัยภูมิ และเพชรบูรณ ตามลําดับ โดยชวง
ขอมูลสภาพอากาศของทัง้ 4 จังหวัด มีดงั นี้ ปริมาณนํา้ ฝนเฉลีย่ รายประหวาง 1,123–1,234 มิลลิเมตร
อุณหภูมิตํ่าสุดเฉลี่ยรายประหวาง 20.07–22.24 องศาเซลเซียส อุณหภูมิสูงสุดเฉลี่ยรายประหวาง
31.98–33.22 องศาเซลเซียส และอุณหภูมิเฉลี่ยรายประหวาง 26.02–27.40 องศาเซลเซียส ซึ่ง
สถานีตรวจวัดอากาศทั้ง 4 ตั้งอยูในพื้นที่ราบที่ระดับความสูงประมาณ 200 เมตร สําหรับขอมูล
จากสถานีตรวจวัดอากาศของหนวยงานภาคสนาม กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช
บริเวณหนวยพิทกั ษปา โคกนกกระบา บนยอดภูหลวง ซึง่ ตัง้ อยูท รี่ ะดับความสูงประมาณ 1,450 เมตร
ขอมูลในป 2535–2536 มีปริมาณนํา้ ฝนเฉลีย่ รายป 1,900–2,400 มิลลิเมตร และขอมูลในป 2535
อุณหภูมติ าํ่ สุดเฉลีย่ รายป 13.5 องศาเซลเซียส อุณหภูมสิ งู สุดเฉลีย่ รายป 22.5 องศาเซลเซียส และ
ไมมีเดือนใดที่อุณหภูมิสูงสุดเฉลี่ยจะสูงเกินกวา 30 องศาเซลเซียส อุณหภูมิเฉลี่ยรายป 18 องศา-
เซลเซียส ขณะที่สถานีตรวจอากาศทุงกะมัง เขตรักษาพันธุสัตวปาภูเขียว ซึ่งตั้งอยูที่ระดับความสูง
ประมาณ 870 เมตร ขอมูลในป 2531-2541 ปริมาณนํา้ ฝนเฉลีย่ รายป 481–2,132 มิลลิเมตร (เฉลีย่
1,434 มิลลิเมตร) อุณหภูมิตํ่าสุดเฉลี่ยรายป 16.5 องศาเซลเซียส อุณหภูมิสูงสุดเฉลี่ยรายป 26.2

6 ¡ÅŒ Ç ÂäÁŒ ã ¹¡ÅØ ‹ Á »† Ò ÀÙ à ¢Õ Â Ç-¹íé Ò Ë¹ÒÇ


องศาเซลเซียส อุณหภูมเิ ฉลีย่ รายป 21.3 องศาเซลเซียส และเขตรักษาพันธุส ตั วปา ภูผาแดง ซึง่ ตัง้ อยู
ที่ระดับความสูงประมาณ 600 เมตร มีปริมาณนํ้าฝนเฉลี่ยรายป 1,458 มิลลิเมตร ขอมูลดังกลาว
แสดงใหเห็นวาสภาพภูมิอากาศในเขตภูเขาสูง มีปริมาณนํ้าฝนตกมากกวาและอุณหภูมิตํ่ากวา
อยางชัดเจน อันเปนผลมาจากกระบวนการ dry diabatic lapse rate (อัตราการเปลี่ยนแปลง
อุณหภูมิของอากาศที่ไมมีไอนํ้า โดยอุณหภูมิจะลดลง 1 องศาเซลเซียสตอระดับความสูงที่เพิ่มขึ้น
100 เมตร) ทําใหเกิดฝนภูเขา (orographic rain) ไดงาย โดยเฉพาะในแนวเทือกเขาเพชรบูรณ
ตะวันออกที่สูงมากกวา 700 เมตร จะเกิดฝนตกไดงายมากกวาในเขตพื้นที่ราบตํ่า เกิดเปนสภาพ
ภูมิอากาศระดับทองถิ่น (microclimate) ที่ทําใหสังคมพืชสวนใหญในพื้นที่สูงเปนปาไมผลัดใบ
สําหรับในพืน้ ทีส่ งู มากกวา 1,000 เมตรขึน้ ไปจะมีอณ
ุ หภูมหิ นาวเย็นและชืน้ มากขึน้ สังคมพืชบริเวณนี้
มักจะเปนปาดิบเขา และปาทุงสน อันเปนถิ่นอาศัยที่สําคัญของพืชเมล็ดเปลือยจํานวนมาก

ภาพที่ 3 รอยละของพื้นที่ปาไมและการใชที่ดินในพื้นที่ปาอนุรักษของกลุมปาภูเขียว-นํ้าหนาว
ป 2543
ลักษณะสังคมพืช
ขอมูลการแปลภาพถายทางอากาศการใชทดี่ นิ ป 2543 ของกรมปาไม ระบุวา กลุม ปาภูเขียว-
นํา้ หนาวมีพนื้ ทีป่ า ไมในพืน้ ทีป่ า อนุรกั ษประมาณ 85 % (679,075 เฮกแตร) แบงประเภทปาไมเปน
8 ประเภท ไดแก ปาผลัดใบผสม 40.27 % (321,785 เฮกแตร) ปาดิบแลง 30.43 % (243,168
เฮกแตร) ปาเต็งรัง 5.49 % (43,834 เฮกแตร) ปาดิบเขา 3.30 % (26,357 เฮกแตร) ปาทุงสน
2.15 % (17,204 เฮกแตร) ทุง หญา 2.02 % (16,132 เฮกแตร) ปาทดแทน 1.12 % (8,955 เฮกแตร)
และปาไผ 0.21 % (1,640 เฮกแตร) ที่เหลือประมาณ 15 % เปนพื้นที่สวนปา พื้นที่เกษตรกรรม
และพื้นที่อื่น ๆ (ภาพที่ 3)

Orchids in the Phu Khieo-Nam Nao Forest Complex 7


ปจจัยหลักที่กําหนดชนิดสังคมพืชของประเทศไทยตอนบน รวมทั้งพื้นที่กลุมปาภูเขียว-
นํา้ หนาว มาจากสภาพภูมอิ ากาศทีแ่ บงแยกระหวางฤดูฝนและฤดูแลงชัดเจนและเกือบทัง้ หมดอยูใ น
เขตเงาฝนของลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต มีปริมาณนํ้าฝนเฉลี่ยรายปไมเกิน 1,400 มิลลิเมตร และ
มากกวารอยละ 85 ตกกระจุกตัวเฉพาะในชวงฤดูฝน จึงทําใหสังคมพืชสวนใหญเปนปาผลัดใบ
(deciduous forest) แตสภาพภูมอิ ากาศและนิเวศวิทยาระดับทองถิน่ ทีต่ า งกัน เปนอีกปจจัยทีท่ าํ ให
กลุมปาภูเขียว-นํ้าหนาว มีความหลากหลายของสังคมพืชหรือชนิดปามากที่สุดกวากลุมปาอื่น ๆ
ของประเทศไทย ตามผลการศึกษาของคณะวนศาสตร (2555) ที่กลาวไวกอนหนา มีสาเหตุมาจาก
ลักษณะทางธรณี และสภาพภูมิประเทศที่หลากหลายนั้นเอง ปจจัยดังกลาวทําใหเกิดชนิดและ
โครงสรางชั้นดินหลากชนิด สวนระดับความสูงของพื้นที่จะมีอิทธิพลตออุณหภูมิของอากาศและ
การกระจายตัวของปริมาณนํ้าฝนที่ไมสมํ่าเสมอ นอกจากนี้ทิศดานลาดเขายังมีสวนทําใหพื้นที่
ไดรบั รังสีจากดวงอาทิตยไมเทากัน และอีกปจจัยทีส่ าํ คัญอยางยิง่ คือ มนุษย ซึง่ เปนสาเหตุหลักของ
การเกิดไฟปา การตัดไม หรือการเลี้ยงสัตว อันสงผลรบกวนตอความสมบูรณของปา ทําใหเกิด
ปาผลัดใบและทุงหญาในพื้นที่ปาอนุรักษมากกวาปกติ สัดสวนการผสมกันระหวางปจจัยตาง ๆ
เหลานี้จึงมีอิทธิพลตอการกอตัวของสังคมพืชที่แตกตาง และทําใหกลุมปาภูเขียว-นํ้าหนาว มีสังคม
พืชที่หลากหลายขึ้นผสมปะปนกันไปอยางซับซอน ยากตอการจําแนกชนิดปาอยางยิ่ง
การจําแนกชนิดสังคมพืชในประเทศไทยมีหลายทฤษฎีซึ่งมีนิยามและชื่อเรียกแตกตางกัน
หนังสือเลมนี้ไดรวบรวมขอมูลสวนใหญจากทฤษฎีของ ธวัชชัย (2549) และอุทิศ (2542) และ
ผลการสํารวจขอมูลภาคสนามตามแผนงานวิจยั ความหลากหลายทางชีวภาพในพืน้ ทีก่ ลุม ปาภูเขียว-
นํา้ หนาว มาประยุกตใชใหเหมาะสมตอการอธิบายสังคมพืชทีป่ รากฏในพืน้ ทีก่ ลุม ปาภูเขียว-นํา้ หนาว
โดยจําแนกไดเปน 9 สังคมพืช รายละเอียดดังตอไปนี้
1. ปาผลั ด ใบผสม (mixed deciduous forest) (ภาพที่ 4) หรื อ เรี ย กอี ก ชื่ อ ว า
“ปาเบญจพรรณ” เปนปาโปรง ผลัดใบในชวงฤดูแลงระหวางเดือนมกราคม–เมษายน พืน้ ปามีหญา
และพรรณไมลม ลุกปกคลุมปานกลางถึงหนาแนน ปริมาณนํา้ ฝนเฉลีย่ รายปไมเกิน 1,400 มิลลิเมตร
พบที่ระดับความสูงไมเกิน 1,000 เมตร และมักจะมีไฟปาเกิดขึ้นเปนประจําเกือบทุกป ปาชนิดนี้
พบมากทีส่ ดุ ในพืน้ ทีล่ าดชันของภูเขาหินดินดาน หินปูน หรือดานผาชันของภูเขาหินทราย โดยเฉพาะ
อยางยิง่ ทิศดานลาดทีห่ นั ไปทางทิศใตและทิศตะวันตก เนือ่ งจากไดรบั ความรอนจากรังสีดวงอาทิตย
ในชวงฤดูแลงเปนเวลานาน เขตทีพ่ บมาก ไดแก อุทยานแหงชาติตาดหมอก อุทยานแหงชาติภกู ระดึง
เขตรักษาพันธุส ตั วปา ภูผาแดง เขตรักษาพันธุส ตั วปา ตะเบาะ-หวยใหญ เขตรักษาพันธุส ตั วปา ภูเขียว
และพื้นที่ดานตะวันออกของเขตรักษาพันธุสัตวปาภูหลวง
เรือนยอดป าสูงประมาณ 25–35 ม. พรรณไมเ ด นได แ ก แดง (Xylia xylocarpa)
พืชสกุลตะแบก-เสลา (Lagerstroemia) พืชสกุลพฤกษ-ถอน (Albizia) พืชสกุลพะยูง (Dalbergia)
พืชสกุลรกฟา (Terminalia) พืชสกุลสําโรง (Sterculia) พรรณไมชนิดอืน่ ๆ ทีพ่ บบอย ไดแก งิว้ ปา
(Bombax anceps) ขวาว (Haldina cordifolia) ขี้อาย (Terminalia triptera) ตะเคียนหนู
8 ¡ÅŒ Ç ÂäÁŒ ã ¹¡ÅØ ‹ Á »† Ò ÀÙ à ¢Õ Â Ç-¹íé Ò Ë¹ÒÇ
ภาพที่ 4 ปาผลัดใบผสม ปกคลุมขอบผาชันดานทิศใตของภูกระดึง
(Anogeissus acuminata) ผาเสี้ยน (Vitex canescens) สะทอนนํ้าผัก (Millettia utilis)
กระทุมเนิน (Mitragyna rotundifolia) มะกอก (Spondias pinnata) มะเกลือ (Diospyros
mollis) ลําตาควาย (D. coaetanea) ประดู (Pterocarpus macrocarpus) มะคาโมง (Afzelia
xylocarpa) เลียงมัน (Berrya cordifolia) แคหิน (Stereospermum colias) แคหางคาง
(Fernandoa adenophylla) ตะครอ (Schleichera oleosa) ตะครํ้า (Garuga pinnata)
สมกบ (Hymenodictyon orixense) กระเชา (Holoptelea integrifolia) เปนตน ปาผลัดใบผสม
มักพบไผชนิดที่ผลัดใบหรือกึ่งผลัดใบ 1–2 ชนิด ในแตละหมูไมปรากฏในเรือนยอดชั้นรอง (ภาพ
ที่ 5) ซึ่งเปนพืชดัชนีชี้วาเปนปาผลัดใบผสมและบงชี้ความอุดมสมบูรณของปาไดดี ปาที่มีไผขึ้น
หนาแนนบงบอกวาเคยถูกรบกวนมากมากอนโดยเฉพาะไฟปาและการตัดไม ไผที่พบไดบอยและ
สามารถบอกสภาพความชุมชื้นของปาไดดี มีดังนี้ พื้นที่แหงแลงจะพบ ไผรวก (Thyrsostachys
siamensis) และไผ ไร (Gigantochloa albociliata) พื้ น ที่ ชื้ น ปานกลางมั ก พบ ไผ ซ าง
(Dendrocalamus membranaceus) ไผขาวหลาม (Cephalostachyum pergracile) และไผ
บงหนาม (Bambusa burmanica) พื้นที่ชื้นมากซึ่งอยูใกลปาดิบ ตามรองนํ้า หรือปาผลัดใบผสม
ระดับสูงใกลระดับความสูง 1,000 เมตร พบ ไผบงดํา (B. tulda) ไผบง (B. nutans) หรือไผเฮียะ
(G. virgatum) และตามที่ราบลุมชายนํ้ามักพบ ไผปา (B. bambos)

Orchids in the Phu Khieo-Nam Nao Forest Complex 9


ภาพที่ 5 ปาผลัดใบผสมที่แหงแลงมีไผรวกเปนเรือนยอดชั้นลาง ที่เขตรักษาพันธุสัตวปาซับลังกา
2. ปาเต็งรัง (deciduous dipterocarp forest) (ภาพที่ 6) หรือเรียกอีกชือ่ วา “ปาแพะ
หรือปาโคก” เปนปาผลัดใบ แตจะโปรงมากกวาปาผลัดใบผสม พื้นปามีหญาและพรรณไมลมลุก
ปกคลุมหนาแนน ผลัดใบในชวงฤดูแลง และขึ้นในสภาพอากาศและปจจัยแวดลอมเชนเดียวกับ
ปาผลัดใบผสม ที่ระดับความสูงไมเกิน 1,000 ม. แตสําหรับปาเต็งรังจะพบในพื้นที่ที่มีดินตื้นมาก
อาจเปนลูกรัง มีหินและกรวด หรือชั้นดินลึกแตเปนดินปนทรายที่มีธาตุอาหารตํ่า หรือดินเหนียว
ที่เปนกรดจัดก็ได เรือนยอดปาสูง 10–30 ม. พรรณไมดัชนีของปาชนิดนี้เปนพรรณไมวงศยางที่
ผลัดใบ (deciduous dipterocarps) 5 ชนิด ไดแก เต็ง (Shorea obtusa) รัง (S. siamensis)
เหียง (Dipterocarpus obtusifolius) พลวง (D. tuberculatus) กราด (D. intricatus) อยางนอย
1 ชนิด ขึ้นเปนไมเดน 1 ใน 5 ชนิดแรกของสังคมพืช พรรณไมเดนอื่น ๆ เชน โลด (Aporosa
villosa) คํามอกหลวง (Gardenia sootepensis) กระมอบ (G. obtusifolia) ยอปา (Morinda
coreia) กระทุมเนิน (Mitragyna rotundifolia) มะมวงหัวแมงวัน (Buchanania lanzan)
กระพีเ้ ขาควาย (Dalbergia cultrata) เก็ดแดง (D. lanceolaria) ปรงเหลีย่ ม (Cycas siamensis)
10 ¡ÅŒ Ç ÂäÁŒ ã ¹¡ÅØ ‹ Á »† Ò ÀÙ à ¢Õ Â Ç-¹íé Ò Ë¹ÒÇ
หรือพรรณไมผลัดใบชนิดอืน่ ๆ ทีพ่ บในปาผลัดใบผสมก็มกั พบในปาเต็งรังดวยเชนกัน แตในเรือนยอด
ชั้นรองจะไมพบไผ ตามพื้นปาอาจพบไผพุมขนาดเล็ก คือ โจดหรือเพ็ก (Vietnamosasa spp.)
ปาชนิดนี้มักพบตามที่ลาดชัน สันเขา หรือตามลานหินทรายที่มีหินโผลจํานวนมาก กระจายตัว
สลับกับปาผลัดใบผสมทั่วพื้นที่กลุมปา

ภาพที่ 6 ปาเต็งรังมีเรือนยอดโปรงบางแมในฤดูฝน พื้นปาปกคลุมดวยหญาและโจด


(Vietnamosasa ciliata)
ปาเต็งรังที่ระดับความสูง 700–1,000 เมตร มักพบสังคมยอยปาเต็งรังผสมสนและกอ
(pine-dipterocarp-oak forest) (ภาพที่ 7) เปนปากึง่ ผลัดใบ โดยมีสนสามใบ (Pinus kesiya)
หรือสนสองใบ (P. merkusii) ขึน้ ผสมกัน ปรากฏเปนเรือนยอดโดด สูง 35–40 เมตร โดยมีเรือนยอด
ชัน้ รอง สูง 20–25 เมตร ไมเดนไดแก เหียง และกอชนิดตาง ๆ เชน กอแดง (Quercus kingiana)
กอแอบหลวง (Q. helferiana) กอนก (Lithocarpus polystachyus) กอหยุม (Castanopsis
argyrophylla) กอผัวะ (L. dealbatus) เปนตน พรรณไมอื่น ๆ เชน โลด (Aporosa
villosa) เหมือดหอม (Symplocos racemosa) ตําเสาหนู (Tristaniopsis burmanica) ตาฉีเ่ คย
(Craibiodendron stellatum) มะขามปอม (Phyllanthus emblica) กระพี้เขาควาย เปนตน
ปาเต็งรังลักษณะนี้มักพบในเขตรักษาพันธุสัตวปาภูเขียว และอุทยานแหงชาตินํ้าหนาว

Orchids in the Phu Khieo-Nam Nao Forest Complex 11


ภาพที่ 7 ปาเต็งรังผสมสนและกอบนภูเขียวมีสนสามใบและเหียงเปนไมเดน
3. ปาดิบแลง (dry evergreen forest) เปนปาไมผลัดใบ มองเห็นเรือนยอดปาเปน
สีเขียวตลอดป แตก็มีพรรณไมผลัดใบขึ้นผสมอยูประมาณไมเกินครึ่งหนึ่ง พบในพื้นที่ที่มีชั้นดินลึก
เก็บความชุมชื้นไดนาน ปกติมีปริมาณนํ้าฝนเฉลี่ยรายปมากกวา 1,000 มิลลิเมตร แตยังคงมีชวง
ฤดูแลงที่ชัดเจน มักพบตามดานลาดหินของเขาหินทรายซึ่งเปนที่คอนขางราบ นอกจากนี้ยังขึ้นอยู
ตามรองหวยเล็ก ๆ กระจายตัวแทรกสลับกับปาผลัดใบผสม โดยที่ระดับความสูงตํ่ากวา 700 เมตร
ลงมา จัดวาเปนสังคมยอยปาดิบแลงระดับตํ่า (lower dry evergreen forest) (ภาพที่ 8)
เรือนยอดของปาสูง 20–40 ม. มีพรรณไมเดนสวนใหญอยูในวงศยาง (Dipterocarpaceae) ไดแก
ตะเคียนหิน (Hopea ferrea) ยางแดง (Dipterocarpus turbinatus) พันจํา (Vatica odorata)
ตะเคียนเต็ง (Shorea thorelii) เปนตน พรรณไมเดนวงศอื่น ๆ ของปาดิบแลง เชน ตะแบกแดง
(Lagerstroemia calyculata) กระบก (Irvingia malayana) แลนงอ (Rhus succedanea)
สมพง (Tetrameles nudiflora) ปออีเกง (Pterocymbium tinctorium) พรรณไมชนั้ รอง ไดแก
มะคาโมง (Afzelia xylocarpa) ลําไยปา (Dimocarpus longan) คอแลน (Nephelium
hypoleucum) ยางโอน (Polyalthia viridis) พืชสกุลมะเกลือ (Diospyros) เขลง (Dialium
cochinchinense) พะยูง (Dalbergia cochinchinensis) สําเภา (Chaetocarpus castanocarpus)
มะหาด (Artocarpus lacucha) โพบาย (Balakata baccata) สมอพิเภก (Terminalia bellirica)
เปนตน พรรณไมพุมที่เปนดัชนีระบุวาเปนปาดิบแลงไดดีจะเปนพรรณไมที่มีแผนใบหนาหรืออาจ
บางแต มี ชั้น ของ cuticle เคลือบผิ วใบหนา เช น กระเบากลั ก (Hydnocarpus ilicifolia)
มะนาวผี (Atalantia monophylla) พืชสกุลขอย (Streblus) พืชสกุลพลอง (Memecylon)
12 ¡ÅŒ Ç ÂäÁŒ ã ¹¡ÅØ ‹ Á »† Ò ÀÙ à ¢Õ Â Ç-¹íé Ò Ë¹ÒÇ
พืชสกุลนกนอน (Cleistanthus) พืชสกุลเข็ม (Ixora) เขยตาย (Glycosmis) และพืชสกุลกัดลิ้น
(Walsura) เปนตน บริเวณทีพ่ บปาดิบแลงจํานวนมากไดแก อุทยานแหงชาติภเู วียง อุทยานแหงชาติ
ภูเกา-ภูพานคํา เขตรักษาพันธุส ตั วปา ภูคอ -ภูกระแต และแนวเทือกเขาภูพงั เหย-ภูพานคํา นอกจากนี้
ยังพบปาดิบแลงเปนหยอมเล็ก ๆ ตามหลุมยุบหรือที่ราบเชิงเขาหินปูนดวย

ภาพที่ 8 ปาดิบแลงระดับตํ่า พบไดทั่วไปบนภูเขาหินทราย บริเวณที่มีชั้นดินลึก


สังคมยอยปาดิบแลงระดับสูง (upper dry evergreen forest) (ภาพที่ 9) พบที่ระดับ
ความสูง 700–1,000 ม. จะเริม่ มีพรรณไมในปาดิบเขาเขามาปะปน พรรณไมเดนยังคงเปนไมวงศยาง
มีเรือนยอดสูงใหญปกคลุมเปนจํานวนมาก ไดแก ยางปาย (D. costatus) ยางแดง (D. turbinatus)
กระบาก (Anisoptera costata) กระบากดํา (Shorea farinosa) หรือพะยอม (S. roxburghii)
บางครั้งอาจมีคอ (Livistona jenkinsiana) เปนเรือนยอดโดดแทรกอยูทั่ว ปาดิบแลงระดับสูงมี
การกระจายตัวอยูทั่วไปในกลุมปาภูเขียว-นํ้าหนาว โดยเฉพาะพื้นที่ตามแนวเทือกเขาเพชรบูรณใน
เขตรักษาพันธุสัตวปาภูผาแดง เขตรักษาพันธุสัตวปาตะเบาะ-หวยใหญ อุทยานแหงชาติตาดหมอก
และรอบขอบผาชันของภูเขียว ภูหลวง ภูกระดึง ที่อยูถัดลงมาจากปาดิบเขา โดยเฉพาะลาดเขา
ทิศเหนือและทิศตะวันออกเฉียงเหนือ

Orchids in the Phu Khieo-Nam Nao Forest Complex 13


ภาพที่ 9 ปาดิบแลงระดับสูง มองเห็นเรือนยอดของยางปาย ยางแดง และคอ สูงเดนกวา
เรือนยอดปกติ
4. ปาดิบชื้น (moist evergreen forest) เปนปาไมผลัดใบ มองเห็นเรือนยอดปาเปน
สีเขียวตลอดปคลายปาดิบแลง แตสามารถพบพรรณไมผลัดใบขึ้นผสมอยูไดแตนอยมากโดยปกติ
ปาชนิดนี้จะพบในเขตที่มีปริมาณนํ้าฝนมากกวา 1,600 มิลลิเมตรตอปและมีระดับความสูงไมเกิน
1,000 เมตร แตพื้นที่สวนใหญของพื้นที่มีปริมาณนํ้าฝนนอยกวานั้น โดยเฉพาะพื้นที่ระดับตํ่ากวา
700 เมตรลงมาเปน สังคมยอยปาดิบชื้นระดับตํ่า (lower moist evergreen forest) (ภาพที่ 10)
สามารถพบปาดิบชื้นไดในบริเวณที่ราบลุมในหุบเขาหรือใกลแหลงนํ้า ซึ่งมีนํ้าใตดินมากและมีชั้น
ดินลึก ปาดิบชืน้ จึงพบอยูเ ปนหยอมเล็ก ๆ และมักพบชนิดพันธุไ มคลายกับปาดิบแลงบาง เรือนยอด
ปาดิบชื้นสูง 30–50 ม. ไมตอเนื่อง มีเถาวัลยแทรกอยูทั่วไป พรรณไมเดนไดแก พระเจาหาพระองค
(Dracontomelon dao) ตะเคียนทอง (Hopea odorata) ยางนา (Dipterocarpus alatus)
กระบาก (Anisoptera costata) ตาเสือ (Aphanamixis polystachya) ตองเตา (Pterospermum
cinnamomeum) ยมหอม (Toona ciliata) วงศจนั ทนเทศ (Myrsinaceae) สมพง (Tetrameles
nudiflora) ปออีเกง (Pterocymbium tinctorium) ลูกดิ่ง (Parkia sumatrana) สะเดาชาง
(Acrocarpus fraxinifolius) กระทอน (Sandoricum koetjape) ตังหนูตน (Pisonia umbellifera)
สัตบรรณ (Alstonia scholaris) มะหาด (Artocarpus lacucha) จําปาปา (Magnolia champaca)
พรรณไมชั้นรอง ไดแก ลําไยปา (Dimocarpus longan) พะวา (Garcinia speciosa) มะปวน
(Mitrephora tomentosa) เดื่อผูก (Ficus variegata) เดื่อกวาง (F. callosa) โพบาย
(Balakata baccata) กฤษณา (Aquilaria crassna) ประคําไก (Drypetes roxburghii) เตาหลวง

14 ¡ÅŒ Ç ÂäÁŒ ã ¹¡ÅØ ‹ Á »† Ò ÀÙ à ¢Õ Â Ç-¹íé Ò Ë¹ÒÇ


(Macaranga siamensis) หอมไกลดง (Harpullia arborea) ดีหมี (Cleidion spiciflorum)
และรักขี้หมู (Semecarpus albescens) เปนตน กลุมพรรณไมพื้นลางของปาดิบชื้นสวนใหญจะ
เปนพืชที่ตองการนํ้ามาก มีแผนใบบาง ใหญ และออนนุม ไมมีการพักตัวในฤดูแลง เชน พืชสกุลขา
(Alpinia) สกุลกระทือ (Zigiber) สกุลกระชาย (Boesenbergia) วงศคลุม-คลา (Marantaceae)
สกุลกระดาด (Alocasia) นอกจากนี้ ปาดิบชื้นยังพบพืชวงศปาลม (Palmae) ไดมากกวาปาชนิด
อื่น ๆ ดวย เชน หวายชนิดตาง ๆ หลังกับ (Arenga westerhoutii) เตารางหนู (A. caudata)
หรือเตารางแดง (Caryota mitis) เปนตน

ภาพที่ 10 ปาดิบชื้นระดับตํ่าที่เขตรักษาพันธุสัตวปาตะเบาะ-หวยใหญ ในบริเวณหุบเขาที่มีหวย


ไหลผาน เรือนยอดปาสูงใหญ และมีพรรณไมพื้นลางขึ้นอยางหนาแนน

Orchids in the Phu Khieo-Nam Nao Forest Complex 15


สังคมยอยปาดิบชืน้ ระดับสูง (upper moist evergreen forest) (ภาพที่ 11) จะพบที่
ระดับความสูง 700–1,000 เมตร หลายแหงในพืน้ ทีโ่ ดยเฉพาะบนภูเขียว และอุทยานแหงชาตินาํ้ หนาว
ซึ่งเปนพื้นที่ลูกคลื่นลอนลาดที่ไมชันมากและชั้นดินลึก ประกอบกับมีปริมาณนํ้าฝนมากกวา 1,400
มิลลิเมตรตอป ความชุม ชืน้ จากฝน ชัน้ ดินทีอ่ มุ นํา้ ไดดี การระบายนํา้ ใตดนิ ลงสูท ตี่ าํ่ คอนขางชา และ
สภาพอากาศที่คอนขางเย็นมีการคายระเหยนํ้าชา เปนสัดสวนการผสมกันของปจจัยแวดลอมที่
เหมาะสมตอการเกิดปาดิบชืน้ ระดับสูงตามที่ Smitinand (1977a, 1977b) กลาวไว บางทานเรียกวา
“ปาดิบชื้นกึ่งปาดิบเขา” เนื่องจากมีพรรณพืชระดับตํ่า (lowland species) ของปาดิบชื้นที่กลาว
ไวขา งตน ขึน้ ผสมกับพรรณพืชกึง่ ภูเขา (sub montane species) ซึง่ เปนพรรณไมทสี่ ามารถขึน้ ได
ทั้งในพื้นที่ระดับตํ่ากวาและสูงกวา 1,000 เมตร เชน มังตาน (Schima wallichii) ปรก (Altingia
excelsa) มะมือ (Choerospondias axillaris) มะมุน (Elaeocarpus floribundus) สตีตน
(Sloanea sigun) เทพทาโร (Cinnamomum parthenoxylon) ทองหลางปา (Erythrina
subumbrans) เหมือดปลาซิว (Symplocos sumuntia) แมงเมานก (Eurya nitida) ปลายสาน
(E. acuminata) กลวยฤๅษี (Diospyros glandulosa) คอ (Livistona jenkinsiana) กอเดือย
(Castanopsis acuminatissima) กอนํ้า (Lithocarpus thomsonii) กอหมวก (Quercus
auricoma) กอตลับ (Q. ramsbottomii) เปนตน

ภาพที่ 11 ปาดิบชื้นระดับสูง หรือปาดิบชื้นกึ่งปาดิบเขาบนภูเขียว มีพรรณพืชระดับตํ่าขึ้นปะปน


กับพรรณพืชกึ่งภูเขาจํานวนมาก

16 ¡ÅŒ Ç ÂäÁŒ ã ¹¡ÅØ ‹ Á »† Ò ÀÙ à ¢Õ Â Ç-¹íé Ò Ë¹ÒÇ


หมายเหตุ เขตรอยตอระหวางปาระดับตํา่ -สูง (sub montane zone/intermediate zone)
ที่ระดับความสูง 700–1,000 เมตร จะมีพรรณพืชเขตปาตํ่า (lowland species) และเขตภูเขา
(montane species) เขามาผสมกัน โดยมีสัดสวนตางกันตามปจจัยแวดลอมที่เอื้ออํานวย ตามที่
กลาวไวในสังคมยอยปาระดับสูงของปาชนิดตาง ๆ โดยมีระดับความชื้นและความสมบูรณของดิน
ความชื้นและความเย็นของอากาศ และความถี่การเกิดไฟปา เปนปจจัยหลักในการกําหนดองค
ประกอบชนิดพันธุไม ดังนี้ พื้นที่แหงแลงมากหรือดินเปนกรดจัดจะพบปาเต็งรัง-สน-กอ พื้นที่ชื้น
ปานกลางจะพบปาผลัดใบผสมกึ่งปาดิบเขา-ปาดิบแลงหรือปาดิบแลงกึ่งปาดิบเขา และพื้นที่ชื้นสูง
จะพบ ปาดิบชื้นกึ่งปาดิบเขา ดังนั้นการจําแนกชนิดสังคมพืชในเขตดังกลาวจึงเปนเรื่องยาก เพราะ
สัดสวนการผสมกันของพรรณไมทั้ง 2 เขต สวนใหญแลวจะคอย ๆ เปลี่ยนแปลง และยังไมมีขอมูล
ที่ชัดเจนเกี่ยวกับชนิดพันธุที่เปนพรรณพืชเขตปาตํ่าและพรรณพืชเขตภูเขา
5. ปาดิบเขาระดับตํ่า (lower montane forest) (ภาพที่ 12–13) เปนปาไมผลัดใบ
พรรณพืชเกือบทัง้ หมดไมผลัดใบ ในพืน้ ทีพ่ บทีร่ ะดับความสูง 1,000–1,500 เมตรจากระดับนํา้ ทะเล
ปานกลาง มีสภาพอากาศทีเ่ ย็นและชุม ชืน้ เนือ่ งจากความสูงของพืน้ ทีแ่ ละมีฝนภูเขาเกิดขึน้ เปนประจํา
อุณหภูมิเฉลี่ยสูงสุดในฤดูรอนปกติไมเกิน 25 องศาเซลเซียส ตามลําตนและกิ่งของตนไมจะมีพืช
กลุมไบรโอไฟต เฟรน และพืชอิงอาศัยเกาะเปนจํานวนมาก ตนไมที่อยูตามสันหรือยอดเขามักมี
ลําตนแคระแกรน กิ่งกานบิดงอเนื่องจากแรงลมและมีชั้นดินตื้น พรรณไมมีการผสมผสานระหวาง
พรรณพืชเขตรอน (tropical species) กับพรรณพืชเขตอบอุน (temperate species) และ
พรรณพืชเขตภูเขา (montane species) ที่กระจายมาจากแนวเทือกเขาหิมาลัย และประเทศจีน
ตอนใต เรือนยอดปาสูง 20–35 ม. พรรณไมเดนและเปนดัชนีชี้วัดวาเปนสังคมพืชนี้ มีเรือนยอด
ปกคลุมมากกวาครึ่งหนึ่งของปา อยูใน 5 กลุม ตอไปนี้
1) กลุม พืชเมล็ดเปลือย (Gymnosperm) เชน สามพันป (Dacrydium elatum) แปกลม
(Calocedrus macrolepis) พญามะขามปอม (Cephalotaxus mannii) มะขามปอมดง
(Dacrycarpus imbricatus) พญาไม (Podocarpus neriifolius) สนใบพาย (P. polystachyus)
ขุนไม (Nageia wallichiana) สนสามใบ (Pinus kesiya) เปนตน
2) พรรณไมวงศไมกอ (Fagaceae) เชน กอพวง (Lithocarpus aggregatus) กอผัวะ
(L. dealbatus) กอกอ (L. fenestratus) กอกัน (Castanopsis brevispinula) กอขี้กวาง
(Quercus acutissima) กอแดง (Q. auricoma) กอตาเจ (Q. setulosa) เปนตน
3) พรรณไมวงศชา (Theaceae) เชน มังตาน (Schima wallichii) ไกแดง (Ternstroemia
gymnanthera) เมี่ยงหลวง (Gordonia axillaris) เมี่ยงอาม (Camellia oleifera) เปนตน
4) พรรณไมวงศอบเชย (Lauraceae) เชน เทพทาโร (Cinnamomum porrectum)
สุรามะริด (C. subavenium) ทัน (Phoebe tavoyana) เมียดตน (Litsea martabarnica) เปนตน

Orchids in the Phu Khieo-Nam Nao Forest Complex 17


ภาพที่ 12 ปาดิบเขาระดับตํ่าบนภูหลวง มีเรือนยอดชั้นบนที่หนาแนนของพรรณไมใบกวางและ
พืชเมล็ดเปลือยจํานวนมาก

5) พรรณไมวงศจําป -จํ าปา (Magnoliaceae) เช น จํา ป ป  า (Magnolia baillonii)


แกวมหาวัน (M. floribunda) จําปหนู (M. philippinensis) เปนตน
พรรณไมชนิดอื่น ๆ ได แก กวมแดง (Acer calcaratum) สม สา (Myrica rubra)
สรอยสมเด็จ (Alnus nepalensis) กอสรอย (Carpinus viminea) เหมือดคน (Heliciopsis
terminalis) พืชวงศหวา (Myrtaceae) มะกอกพราน (Turpinia pomifera) เตารางยักษ
(Caryota maxima) เปนตน ขอแตกตางของปาดิบเขาจากปาชื้นหรือปาดิบแลงที่สังเกตไดอีก
อยางหนึ่ง คือ การพบพืชในกลุมเถาวัลยลดนอยลง แตพบพืชกลุมอิงอาศัยมากยิ่งขึ้น สวนพื้นลาง
ของปาจะพบพืชลมลุกในกลุมเฟรน กลุมไบรโอไฟต กลวยไมดิน พืชวงศตอยติ่ง (Acanthaceae)
และพืชวงศแววมยุรา (Scrophulariaceae) เปนจํานวนมาก บริเวณที่พบปาดิบเขาระดับตํ่า
จํานวนมาก ไดแก ที่ราบสูงบนภูหินทรายของภูหลวง ภูกระดึง พื้นที่ดานตะวันตกของภูเขียว
อุทยานแหงชาตินํ้าหนาว และอุทยานแหงชาติตาดหมอก

18 ¡ÅŒ Ç ÂäÁŒ ã ¹¡ÅØ ‹ Á »† Ò ÀÙ à ¢Õ Â Ç-¹íé Ò Ë¹ÒÇ


ภาพที่ 13 อากาศที่ชุมชื้นมากของปาดิบเขาระดับตํ่าบนภูหลวง ทําใหตามลําตนและกิ่งไมมีพืชอิงอาศัย
ปกคลุมอยางหนาแนน

6. ปาทุงสน (lower montane pine-oak forest/pine savannah forest)


(ภาพที่ 14) เปนปาไมผลัดใบ อยูส งู จากระดับนํา้ ทะเลมากกวา 1,000 เมตร มีไฟปารบกวนบอยครัง้
ทําใหพรรณไมปาดิบเขาที่ไมทนตอไฟปาเขามาตั้งตัวไมได นอกจากนี้ดินยังมีสภาพเปนกรดจัดและ
มักเปนดินที่มีหินหรือทรายปนอยูจํานวนมาก ดังนั้นพรรณไมยืนตนจึงมีการเจริญเติบโตชาและ
แคระแกรน พรรณไมเดนที่ทนตอสภาพแวดลอมเชนนี้ไดดี คือ สนสามใบ (Pinus kesiya) หรือ
สนสองใบ (P. merkusii) ขึ้นเปนกลุมเดียวลวน สูง 20–30 เมตร แตกระจายตัวหาง ๆ พื้นปา
ถูกปกคลุมดวยหญา-กก ไมลมลุก และเฟรนที่สูงไมเกิน 2 เมตร มีพรรณไมชั้นรองที่เปนไมใบกวาง
ขึ้นแทรกอยูเพียงไมกี่ตน สวนใหญเปนพืชที่ทนไฟไดดี เชน กอแดง (Quercus kingiana) กอเตี้ย
(Q. aliena) กอแอบหลวง (Q. helferiana) ก อ ผัวะ (Lithocarpus dealbatus) ก อ นก
(L. polystachyus) กอหยุม (Castanopsis argyrophylla) เปนตน พรรณไมชั้นรองวงศอื่น ๆ
ไดแก สารภีดอย (Anneslea fragrans) มังตาน (Schima wallichii) ปลายสาน (Eurya acuminata)
เหมือดคนตัวผู (Helicia nilagirica) คาหด (Engelhardtia spicata) กํายาน (Styrax benzoides)
Orchids in the Phu Khieo-Nam Nao Forest Complex 19
ซึ่งจะไมพบ เหียง เหมือนสังคมพืชยอยปาเต็งรัง-สน-กอ พรรณไมพุมไดแก สมแปะ (Lyonia
foliosa) สมป (Vaccinium sprengelii) เอ็นอา (Melastoma malabathricum ssp. normale)
อาหลวง (M. sanguineum) พืชในกลุม เฟนและใกลเคียงเฟน เชน โชนใหญ (Pteridium aquilinum)
สามรอยยอด (Lycopodium cernuum) พรรณไมลม ลุกไดแก พืชวงศผกั ปลาบ (Commelinaceae)
สกุ ลกระดุ มเงิ น (Eriocaulon) สกุลกระถินนา (Xyris) สกุ ล ทิ พ เกสร (Utricularia spp.)
สกุลหยาดนํ้าคาง (Drosera spp.) หญาขาวกํ่า (Burmannia disticha) และนํ้าเตาพระฤๅษี
(Nepenthes smilesii) และพรรณพืชลมลุกในเขตภูเขาหลายชนิดในวงศตอ ไปนี้ ไดแก วงศดอกหรีด
(Gentianaceae) วงศกะเพรา (Labiatae) วงศทานตะวัน (Compositae) วงศผกั ชี (Umbelliferae)
วงศขงิ ขา (Zingiberaceae) ในสกุลเปราะภู (Caulokaempferia) หรือสกุลมหาหงส (Hedychium)
บริเวณที่พบปาทุงสนจํานวนมาก ไดแก ที่ราบสูงบนภูหินทรายของภูหลวง ภูกระดึง และภูเรือ

ภาพที่ 14 ปาทุงสนบนภูกระดึง มีสนสองใบเปนพรรณไมเดนลวน


7. ปาละเมาะ (scrub/brush forest) เปนสังคมพืชผลัดใบหรือไมผลัดใบก็ได สวนใหญ
พบในบริเวณที่มีลมพัดแรงตามพื้นที่ลาดชัน สันเขาหรือยอดเขา หรือเปนพื้นที่ราบแตมีหินโผล
ระเกะระกะอยูท วั่ ไปปกคลุมมากกวาครึง่ หนึง่ ของพืน้ ที่ โดยมีซอกหินและรองหินแตกใหพรรณไมตน
และไมพมุ สามารถชอนไชรากลงไปได อีกทัง้ ใชเปนมุมหลบลมและแสงแดดไดดตี อนตัง้ ตัว เรือนยอด
ของปาสูงไมเกิน 5 เมตร มีไมตน แคระแกรนขึน้ เบาบางและไมตอ เนือ่ ง สลับกับไมพมุ เตีย้ และลานหิน
นอกจากนี้ยังอาจมีหยอมเล็ก ๆ ของลานดินทรายชั้นบาง ๆ ซึ่งจะปกคลุมดวยหญาและไมลมลุก
สูง 0.3–1 เมตร ปาละเมาะสามารถพบไดหลากหลายสังคมยอยขึ้นอยูปจจัยแวดลอมดานชนิดหิน
ดิน ปริมาณนํ้าฝน และระดับความสูง ในพื้นที่กลุมปาภูเขียวสามารถพบได 3 สังคมยอย ไดแก
20 ¡ÅŒ Ç ÂäÁŒ ã ¹¡ÅØ ‹ Á »† Ò ÀÙ à ¢Õ Â Ç-¹íé Ò Ë¹ÒÇ
ภาพที่ 15 ปาละเมาะเขาหินทรายระดับตํา่ ทีอ่ ทุ ยานแหงชาติปา หินงาม แทรกตัวอยูใ นสวนหินทรายธรรมชาติ
รูปรางแปลกตา

ปาละเมาะเขาหินทรายระดับตํา่ (lower sandstone hills scrub forest) (ภาพที่ 15)


เปนปาผลัดใบ พบในพื้นที่ภูเขาหินทรายที่ระดับความสูงตํ่ากวา 1,000 เมตร บริเวณที่ราบยอดภู
ใกลขอบผาชัน เพราะมักจะมีลมแรง และหินโผลจาํ นวนมาก ไฟปาอาจเขาไปไดแตลกุ ลามไมรนุ แรง
เนื่องจากมีหญาจํานวนนอยและมีกอนหินเปนแนวกันไฟ พรรณไมตนที่พบคลายปาเต็งรัง ไดแก
เหี ย ง (Dipterocarpus obtusifolius) เม็ก (Syzygium gratum) กะอวม (Acronychia
pedunculata) ตังหน (Calophyllum sp.) กลวยนอย (Xylopia vielana) ตําเสาหนู (Tristaniopsis
burmanica) มะมวงหัวแมงวัน (Buchanania lanzan) สานใหญ (Dillenia obovata) พรรณไม
พุ  ม เตี้ ย ได แ ก ไชหิ น (Droogmansia godefroyana) โคลงเคลงผลแห ง (Melastoma
pellegrinianum) พรวด (Rhodomyrtus tomentosa) พุดทุง (Holarrhena curtisii) โจด
(Vietnamosasa ciliata) ตามลานหิน กอนหิน และซอกหิน มักพบกลวยไมและไมลมลุก เชน
เอื้องบายสี (Eria lasiopetala) สมอหิน (Bulbophyllum blepharistes) มาวิ่ง (Doritis
pulcherrima) เหลืองพิศมร (Spathoglottis spp.) เปนตน พรรณไมลมลุก ไดแก สาวสนม
(Sonerila griffithii) เทียน (Impatiens spp.) กระเจียว (Curcuma spp.) กระทือลิง (Globba ssp.)
ขี้อน (Pavonia rigida) นาคราช (Oleandra undulata) และพอคาตีเมีย (Selaginella spp.)
เปนตน บริเวณที่พบปาชนิดนี้มาก ไดแก แนวเทือกเขาพังเหย–ภูพานคํา ตั้งแตอุทยานแหงชาติ
ปาหินงาม อุทยานแหงชาติไทรทอง จนถึงอุทยานแหงชาติภเู กา-ภูพานคํา และอุทยานแหงชาติภเู วียง

Orchids in the Phu Khieo-Nam Nao Forest Complex 21


ภาพที่ 16 ปาละเมาะเขาหินทรายระดับสูงบนภูหลวง มีพรรณไมพุมและไมตนแคระแกรนจํานวนมาก
ปกคลุมลานหินทราย

ปาละเมาะเขาหินทรายระดับสูง (upper sandstone hills scrub forest) (ภาพที่ 16)


พบในสภาพภูมิประเทศและธรณีสัณฐานเชนเดียวกับปาละเมาะเขาหินทรายระดับตํ่า แตจะพบที่
ระดับความสูงมากกวา 1,000 เมตร ปาชนิดนี้เปนปาไมผลัดใบ เนื่องจากไดรับปริมาณนํ้าฝนและ
ละอองหมอกในปริมาณมาก อากาศหนาวเย็น และมีลมพัดแรง พรรณไมตนและไมพุมจํานวนมาก
เปนพรรณไมที่พบในปาดิบเขาระดับตํ่าและปาทุงสนที่ตองการแสงแดดมากและทนแลงไดดี ซึ่ง
สวนใหญแตกตางจากทีพ่ บในปาละเมาะเขาหินทรายระดับตํา่ ไดแก กุหลาบขาว (Rhododendron lyi)
กุหลาบแดง (R. simsii) ชอไขมกุ (Vaccinium eberhardtii var. pubescens) สมป (V. sprengelii)
สมแปะ (Lyonia foliosa) สารภีดอย (Anneslea fragrans) เหมือดคนตัวผู (Helicia nilagirica)
สนทราย (Baeckea frutescens) พรรณไมพมุ เตีย้ ไดแก เอ็นอา (Melastoma malabathricum
subsp. normale) อาหลวง (M. sanguineum) เหงานํา้ ทิพย (Agapetes saxicola) ประทัดดอย
(A. lobbii) ตามลานหินและกอนหินจะพบกลวยไม เฟรน และไมลม ลุกขึน้ จํานวนมาก เชน กลวยไม
ในสกุลสิงโต (Bulbophyllum) สกุลเอือ้ งบายศรี (Eria) สกุลเอือ้ งเทียน (Coelogyne) สกุลกะเรกะรอน
(Cymbidium) เปนตน พรรณไมลมลุกวงศอื่น ๆ ไดแก เปราะภู (Caulokaempferia spp.) นาคราช
(Oleandra spp.) และพอคาตีเมีย (Selaginella spp.) เปนตน บริเวณที่พบปาชนิดนี้มากจะอยู
ตามยอดภูเขาหินทรายตาง ๆ ไดแก ภูหลวง ภูกระดึง ภูเรือ และภูคิ้ง

22 ¡ÅŒ Ç ÂäÁŒ ã ¹¡ÅØ ‹ Á »† Ò ÀÙ à ¢Õ Â Ç-¹íé Ò Ë¹ÒÇ


ปาละเมาะเขาหินปูนระดับตํ่า (lower limestone hills scrub forest) (ภาพที่ 17)
เปนปาผลัดใบหรือกึ่งผลัดใบ พบตามยอดเขาหรือตามหนาผาชัน ที่เปนพื้นที่โลง มีหินปูนโผล
เกือบทัง้ หมด รูปชีวติ ทีเ่ ดนสวนใหญเปนไมพมุ ไมลม ลุก และไมเถา อาจพบไมยนื ตนจากปาผลัดใบผสม
เขามาปรากฏบาง หรือไมไมผลัดใบจากปาดิบแลง ซึง่ ทําใหปา ชนิดนีเ้ ปนปากึง่ ผลัดใบได พืชทีม่ ชี วี ติ
อยูไ ดตอ งมีการปรับตัวใหทนตอความรอนและแหงแลงไดดี ทนตอความเปนดางของหินปูน นอกจากนี้
ยังจะตองมีระบบรากที่สามารถดูดและเก็บสะสมนํ้าและธาตุอาหารไดดี ตลอดจนมีความแข็งแรง
สามารถชอนไชซอกหิน ยึดเกาะหนาผา และตานทานแรงลมไดดีอีกดวย พรรณไมจํานวนมาก
ในบริเวณนีส้ ว นใหญจงึ เปนไมผลัดใบและมีความเฉพาะเจาะจงกับระบบนิเวศเชนนี้ พรรณไมตน และ
ไมพมุ ทีเ่ ปนดัชนีของสังคม ไดแก สลัดไดปา (Euphorbia antiquorum) ขีเ้ หล็กฤๅษี (Phyllanthus
mirabilis) จันทนผา (Dracaena spp.) ปรงหิน (Cycas petraea) แคสันติสขุ (Santisukia kerrii)
ปอฝาย (Firmiana colorata) ปอแดง (Sterculia guttata) โพหิน (Ficus glaberrima)
ไทรหินขอบใบหยัก (F. anastomosans) บางชนิดเปนพรรณไมผลัดใบที่มาจากปาผลัดใบผสม
เชน ขี้อาย (Terminalia triptera) กุก (Lannea coromandelica) สมกบ (Hymenodictyon
orixense) ปอขาว (Sterculia pexa) เปนตน

ภาพที่ 17 ปาละเมาะเขาหินปูนระดับตํา่ ในวนอุทยานผางาม มีพรรณไมพมุ และไมตน ทีแ่ คระแกรนขึน้


ไดเฉพาะตามรองหินปูนทีแ่ ตก

Orchids in the Phu Khieo-Nam Nao Forest Complex 23


8. ปาชายนํา้ (riparian/riverine forest) (ภาพที่ 18) เปนสังคมยอยหนึง่ ของปาบึงนํา้ จืด
(freshwater swamp forest) เปนปาไมผลัดใบ ปกคลุมเปนแนวแคบ ๆ สองขางลําธาร หรือตาม
เกาะแกง ทองลําธารและตลิง่ มีกอ นหินหรือกรวดปรากฏ นํา้ ในลําธารไหลคอนขางแรง มีชว งนํา้ ทวม
เปนเวลาสั้น ๆ สวนใหญอยูในลําธารเขตตนนํ้าหรือลงมาใกลที่ราบ ในฤดูแลงนํ้าอาจแหงแตยังคงมี
ความชื้นที่ทองลําธารหลอเลี้ยงพรรณไมใหเขียวตลอดปได พรรณไมที่ขึ้นในปาชายนํ้ามีการปรับตัว
ใหมีระบบรากที่ทนตอการถูกแชนํ้าและแข็งแรงยึดเกาะตลิ่งไดดี สวนใหญแพรกระจายผลไปตาม
กระแสนํ้ า พรรณไมที่มีความเฉพาะเจาะจงและเปนดัช นีข องปา ชนิ ด นี้ ไ ด ดี ได แ ก ไคร ย อ ย
(Elaeocarpus grandiflorus) เติม (Bischofia javensis) พระเจาหาพระองค (Dracontomelon
dao) ลําพูปา (Duabanga grandiflora) มะชมพูปา (Syzygium megacarpum) ชมพูนํ้า
(S. siamense) มะตาด (Dillenia indica) โสกนํ้า (Saraca indica) ขานาง (Tristaniopsis
merguensis) ขีม้ นิ้ (Nauclea officinalis) กานเหลือง (N. orientalis) อินทนิลนํา้ (Lagerstroemia
speciosa) เดือ่ หวา (Ficus auriculata) มะเดือ่ ชุมพร (F. racemosa) กุม นํา้ (Crateva magna)
สนุน (Salix tetrasperma) ตางหลวง (Trevesia palmata) บางครั้งมีพรรณไมจากปาดิบชื้น
ขางเคียงเขามาขึน้ ปะปน เชน ตะเคียนทอง (Hopea odorata) ยางนา (Dipterocarpus alatus)
ตาเสือ (Aphanamixis polystachya) ลูกดิ่ง (Parkia sumatrana) สะเดาชาง (Acrocarpus
fraxinifolius) สัตบรรณ (Alstonia scholaris) ปรก (Altingia excelsa) เปนตน พรรณไมพุม
ในปาชายนํา้ มักจะขึน้ อยูต ามเขตชายนํา้ ทีถ่ กู แสงแดดมากหรือตามแกงหิน เชน ไครนาํ้ (Homonoia
riparia) พุดนํ้า (Kailarsenia spp.) หวานํ้า (Syzygium spp.) กฤษณา (Photinia arguta var.
salicifolia) ลูกคลาย (F. ischnopoda) และเตย (Pandanus spp.) เปนตน

ภาพที่ 18 ปาชายนํา้ ในเขตลําธารตนนํา้ มีโขดหินปรากฏอยูท วั่ ไป มองเห็นรากของตนไมขนาดใหญ


และแผกวาง ตานทานกระแสนํ้าไดดี
24 ¡ÅŒ Ç ÂäÁŒ ã ¹¡ÅØ ‹ Á »† Ò ÀÙ à ¢Õ Â Ç-¹íé Ò Ë¹ÒÇ
9. ทุงหญา (grassland) ทุงหญาจัดวาเปนสังคมพืชหนึ่งของประเทศไทย แตไมถือวา
เปนปาไม (woodland) ทีเ่ ต็มไปดวยตนไมแบบสังคมพืชทัง้ 8 แบบ ทีก่ ลาวไวกอ นนี้ ดวยองคประกอบ
เกือบทั้งหมดปกคลุมไปดวยพืชวงศหญา (Gramineae) และพืชวงศกก (Cyperaceae) แทรกดวย
พรรณไมลมลุก และไมพุมเตี้ยกระจัดกระจายอยูทั่วไป มีความสูงไมเกิน 2 เมตร ในทุงหญาอาจมี
ไมตน หรือไมพมุ ทีแ่ คระแกรนกระจายตัวอยูห า ง ๆ แตมเี รือนยอดปกคลุมไมเกิน 20% หากเกินกวานัน้
จะเปนปาทุงสนหรือปาผลัดใบ ทุงหญาจะพบในพื้นที่ที่สภาพดินไมสมบูรณอยางยิ่งกวาสังคมพืช
อื่น ๆ มีเนื้อดินหยาบ หรือเปนชั้นบางมีหินโผลบาง แตไมมากเทาปาละเมาะ ทําใหพื้นที่แหงแลง
ไดงาย ประกอบกับถูกรบกวนดวยไฟปาบอยครั้งจนทําใหกลาไมยืนตนตั้งตัวไดยาก ที่มีอยูก็โตชา
และแคระแกรน ทําใหหญาและไมลมลุกจึงเขายึดพื้นที่ได ในเขตภูเขาสูงซึ่งมีฝนตกมากถึงแมจะ
ไมมปี ญ
 หาเรือ่ งขาดนํา้ แตบางพืน้ ที่ เชน ยอดเขาหรือสันเขา จะมีกระแสลมพัดแรง ตนไมสว นใหญ
แคระแกรนและตั้งตัวใหมไดนอย หรือพื้นที่ราบบนภูเขาหินทรายที่เปนดินปนทรายมีชั้นดินลึกแต
เปนกรดจัด และมีไฟปาเขาเปนประจํา การทดแทนตามธรรมชาติดว ยไมยนื ตนและไมพมุ จึงยากมาก
หญาและพรรณไมลมลุกก็จะเขาปกคลุมเปนทุงกวางมากขึ้น ดังนั้นไฟจึงเปนปจจัยที่สําคัญที่สุดตอ
การคงอยูของทุงหญาในประเทศไทย หากไมมีไฟปาอยางนอยสุดพื้นที่เหลานี้นาจะมีการทดแทน
ไปสูปาละเมาะ (scrub forest) หรือปาทุง (savannah forest) ได ทุงหญาที่กลาวมานี้จัดวาเปน

ภาพที่ 19 ทุง หญาระดับตํา่ ทีอ่ ทุ ยานแหงชาติปา หินงาม มีตน เหียงขึน้ กระจายหาง ๆ พืน้ ปาในฤดูฝน
มีกระเจียว (Curcuma alismatifolia) ออกดอกสวยงามจนเปนแหลงทองเที่ยวที่
สําคัญ

Orchids in the Phu Khieo-Nam Nao Forest Complex 25


ทุงหญาตามธรรมชาติ แมจะมีไฟปาอันเกิดจากมนุษยเขามารบกวนบาง แตอยางไรก็ตาม ดวย
ปจจัยจํากัดหลายอยางจึงมีโอกาสนอยที่จะทดแทนตามธรรมชาติไปสูพื้นที่ปาไมหนาแนนได
ทุงหญาที่พบสวนใหญในพื้นที่กลุมปา (ไมรวมทุงหญาไรรางการเกษตร) ปรากฏในสภาพ
ธรณีสณั ฐานทีเ่ ปนภูเขาหินทราย ทีก่ ระจายตัวสลับไปกับปาละเมาะเขาหินทราย ดังนัน้ จึงมีพรรณไม
เกือบทั้งหมดเหมือนกัน แตมีสัดสวนของพรรณไมตนและไมพุมนอยกวา และสามารถแบงไดเปน
2 สังคมยอย ไดแก
ทุง หญาระดับตํา่ (ภาพที่ 19) พบในพืน้ ทีร่ ะดับความสูงนอยกวา 1,000 เมตร ซึง่ บนภูเขา
หินทรายในชวงเดือนสิงหาคม–ตุลาคม ชัน้ ดินทรายบาง ๆ จะแฉะไปดวยนํา้ มีพรรณไมลม ลุกสะเทินนํา้
สะเทินบกหลายชนิดขึน้ ไดดี เชน พืชวงศผกั ปลาบ (Commelinaceae) กระดุมเงิน (Eriocaulon spp.)
กระถินนา (Xyris spp.) สรัสจันทร (Burmannia coelestis) เปนตน เนื่องจากดินทรายที่ขึ้นอยู
ขาดความอุดมสมบูรณ บนลานหินทรายแหงนีจ้ งึ พบพืชกินแมลงเปนจํานวนมาก เชน สรอยสุวรรณา
(Utricularia bifida) ดุสติ า (U. delphinioides) ทิพเกสร (U. minutissima) หญาฝอย (U. hirta)
หยาดนํ้าคาง (Drosera spp.) และนํ้าเตาพระฤๅษี (Nepenthes smilesii) เปนตน
ทุงหญาระดับสูง (ภาพที่ 20) พบในพื้นที่ระดับความสูงมากกวา 1,000 เมตร ทุงหญา
บริเวณนี้จะอยูสลับกับปาละเมาะเขาหินทรายระดับสูงหรือปาทุงสน ดังนั้นพรรณไมพุมเตี้ยและ
พรรณไมลมลุกในทุงหญาจึงคลายกับที่พบในปาทั้งสอง ตามที่กลาวมาแลว โดยสังคมพืชทุงหญา
ระดับสูงจะพบไดมากบนยอดภูหลวง และภูกระดึง

ภาพที่ 20 ทุง หญาระดับสูงทีภ่ เู รือ มีสนสามใบและหินทรายโผลกระจัดกระจาย แตพนื้ ทีส่ ว นใหญ


ยังถูกปกคลุมดวยหญา กก และไมลมลุก
26 ¡ÅŒ Ç ÂäÁŒ ã ¹¡ÅØ ‹ Á »† Ò ÀÙ à ¢Õ Â Ç-¹íé Ò Ë¹ÒÇ1
ǧȏ¡ÅŒÇÂäÁŒ (Orchidaceae)
กลวยไม เปนพืชหลายป (perennial plant) มีทงั้ ทีม่ ขี นาดเล็กมากทัง้ ตนสูงไมเกิน 1 ซม. ไปจนถึง
ชนิดทีม่ ขี นาดใหญไดมากกวา 3 ม. มีลกั ษณะวิสยั ทีห่ ลากหลาย เชน กลวยไมองิ อาศัย ขึน้ บนหิน ขึน้ บนดิน
หรือเปนพืชนํา้ เชน กลวยไมนาํ้ (Epipactis flava) กลวยไมสว นใหญเปนพืชทีส่ รางอาหารไดเอง พบเปน
สวนนอยทีเ่ ปนกลวยไมอาศัยรา (mycoheterotrophic) เชน กลวยมดดอกขาว (Didymoplexis pallens)
ราก กลวยไมมรี ากพิเศษ (adventitious root) มักพบเปนรากอากาศซึง่ มีชนั้ ของ velamen ทําหนาที่
ดูดความชื้นจากอากาศ ธาตุอาหาร รวมไปถึงชวยในการยึดเกาะกับตนไมที่อาศัยอยู สวนปลายรากมักมี
คลอโรฟลลทําใหสามารถสังเคราะหแสงได
ลําตน ลักษณะเรียวยาว บางชนิดเปลีย่ นแปลงไปเปนหัวเทียม (pseudobulb) หัวใตดนิ แบบหัวหอม
(corm) หรือคลายหัวมันฝรั่ง (tuberoid) ลําตนมีการเจริญเติบโต 2 แบบ คือ เจริญเติบโตทางยอด
(monopodial) และเจริญเติบโตทางขาง (sympodial)
ใบ มี 1 ใบ ถึงจํานวนมาก เปนใบเดี่ยว เรียงสลับหรือตรงขาม ขอบใบเรียบ แผนใบบางคลายเยื่อ
หนาคลายแผนหนัง หรืออวบนํา้ มีลกั ษณะเปนแผนแบนหรือทรงกระบอก อาจมีหรือไมมกี า นใบ บางชนิด
จะทิ้งใบเมื่อเปนดอก เชน เอื้องดินใบบัว (Nervilia crociformis) เอื้องพลายงาม (Pleione maculata)
ชอดอกเปนชอเชิงลด ชอกระจะ หรือชอแยกแขนง อาจตัง้ ขึน้ หรือหอยลง ออกทีป่ ลายยอดหรือดานขาง
ของลําตน มีดอกตั้งแต 1 ดอก ถึงจํานวนมาก เมื่อบานมีขนาดตั้งแตกวางประมาณ 2 มม.ไปถึงขนาดใหญ
สวนใหญมสี มมาตรดานขาง ดอกอาจบานแคเพียงระยะเวลาสัน้ ๆ ถึงบานทนไดหลายวัน มีกลิน่ หอมหรือ
เหม็น ดอกกลวยไมสวนใหญมีกลีบปากอยูทางดานลาง เนื่องจากมีการบิดของดอกในระยะเปนดอกออน
(resupinate) โครงสรางของดอกกลวยไมประกอบดวย
กลีบเลี้ยง 3 กลีบ ไดแก กลีบเลี้ยงบน 1 กลีบ และกลีบเลี้ยงขาง 2 กลีบ ตัวกลีบสวนใหญแยก
จากกันเปนอิสระ มักมีรูปรางและสีสรรคลายกับกลีบดอก
กลีบดอก 3 กลีบ มี 1 กลีบที่มีขนาด รูปราง และสีสรร แตกตางไปจากกลีบอื่น เรียกวา กลีบปาก
ปกติแลวกลีบดอกจะแยกเปนอิสระ พบเปนสวนนอยที่กลีบดอกแนบหรือเชื่อมติดกับกลีบเลี้ยงบน เชน
เอื้องดินนอยปากกาง (Zeuxine affinis) เอื้องดินนอยปากเหลือง (Z. flava)
กลีบปาก มักมีขนาดใหญกวากลีบอื่น อาจไมแยกหรือแยกเปนแฉก อาจมีหรือไมมีเดือย (spur)
หรือบางชนิดพองคลายถุง (sac) และมักมีตอมนํ้าหวาน ผิวกลีบอาจเกลี้ยง มีขนปกคลุม เรียบ มีรอยยน
(rugose) หรือเปนปุมเล็ก ๆ (papillose) และมักมีตุมเนื้อเยื่อ (callus) เปนครีบ (keel) เปนสัน (ridge)
หรือแผออกเปนปก (lateral flanges)
เสาเกสรมีลักษณะเปนแทง เปนโครงสรางที่รวมเกสรเพศผูและเกสรเพศเมีย สวนปลายมีอับเรณูซึ่ง
สวนใหญมี เพียง 1 อัน ภายในมีกลุม เรณู ตัง้ แต 2–8 กลุม มีฝาปดกลุม เรณู (operculum) ซึง่ อาจหลุดรวง
ไดงา ย รังไขของกลวยไมเปนแบบรังไขอยูใ ตวงกลีบ สวนใหญภายในมี 1 ชอง และมีพลาเซนตาตามแนวตะเข็บ
กลวยไมบางชนิดมีสวนโคนเสาเกสรเจริญยาวยื่นเปนคาง (mentum)
ผลสวนใหญเปนผลแหงแตกตามยาวเปน 6 สวน หายากทีแ่ ตกออกเปน 1–3 สวน และมักไมพบทีเ่ ปน
ผลสดและไมแตกออกเมื่อแก เมล็ดขนาดเล็ก มีจํานวนมาก ลักษณะคลายผงฝุนสีนํ้าตาลออน หายาก
ที่มีสีนํ้าตาลเขมถึงสีดํา

Orchids in the Phu Khieo-Nam Nao Forest Complex 2727


àËÂ×Í¡¹íéÒ´ÍÂ
Acanthophippium gougahense (Guillaumin) Seidenf.

28 ¡ÅŒ Ç ÂäÁŒ ã ¹¡ÅØ ‹ Á »† Ò ÀÙ à ¢Õ Â Ç-¹íé Ò Ë¹ÒÇ


ชื่ออื่น ๆ –
ลักษณะทางพฤกษศาสตร
กลวยไมดิน สูงไดถึง 50 ซม.
รากสั้น

Acanthophippium gougahense (Guillaumin) Seidenf.


หัวเทียมรูปไขถงึ รูปทรงกระบอก เสนผาน-
ศูนยกลาง 1–1.5 ซม. ยาวประมาณ 7 ซม.
ใบ มี 2–3 ใบ รูปรีถงึ รูปรีแกมรูปขอบขนาน
กวาง 7–8 ซม. ยาว 19–32 ซม. ปลายแหลม
กานใบยาว 2–16 ซม.
ชอดอกแบบชอกระจะ ออกทีโ่ คนหัวเทียม
กานชอดอกยาวประมาณ 10 ซม. แกนชอดอกสัน้
แตละชอมี 3–6 ดอก ใบประดับรูปใบหอกแกม
รูปไข กวางประมาณ 18 มม. ยาวประมาณ 30 มม.
ดอกสี ข าว สี ค รี ม หรื อ สี เ หลื อ ง มี แ ถบ
สีนาํ้ ตาลแกมแดง กลีบปากสีขาว ดานขางมีแตม
สีมว ง กลางกลีบสีเหลือง กลีบเลีย้ ง มีลกั ษณะมน
กลีบเลี้ยงบนรูปขอบขนาน กวาง 13–17 มม.
ยาว 24–28 มม. ปลายกลีบโคงลง โคนกลีบเชือ่ มติด
กับโคนเสาเกสรเปนคางรูปทรงกลม กลีบดอก
รูปขอบขนานถึงรูปใบหอกแกมรูปขอบขนาน
กวาง 6–10 มม. ยาว 18–22 มม. ปลายมน
กลีบปากแยกออกเปน 3 แฉก แฉกบนมีลกั ษณะ
คลายกานกลีบ แฉกกลางรูปสามเหลี่ยม กวาง นิเวศวิทยาและการกระจายพันธุ
2–5 มม. ยาว 4–5 มม. ปลายกลี บ โค ง ขึ้ น พบตามป า ดิ บ ชื้ น ในจั ง หวั ด เลยและ
แฉกขางรูปขวาน กวาง 5–9 มม. ยาว 5–8 มม. จังหวัดจันทบุรี ทีร่ ะดับความสูง 400–1,300 ม.
กลางกลีบเปนสันมน 3 สัน เสาเกสรยาว 10–12 มม. ออกดอกเดือนเมษายน–พฤษภาคม
โคนเสาเกสรยาว 22–26 มม.
เขตการกระจายพันธุ
ผลแบบผลแหงแตก รูปรี จีนตอนใต เวียดนาม

Orchids in the Phu Khieo-Nam Nao Forest Complex 29


¨Ø¡¾ÃÒËÁ³
Acriopsis indica Wight

30 ¡ÅŒ Ç ÂäÁŒ ã ¹¡ÅØ ‹ Á »† Ò ÀÙ à ¢Õ Â Ç-¹íé Ò Ë¹ÒÇ


ชื่ออื่น ๆ นมหนูหวั กลม
ลักษณะทางพฤกษศาสตร
กล ว ยไม อิ ง อาศัย มีก ารเจริญเติบโตทาง
ดานขาง
รากสั้น สีขาว
หัวเทียมคลายรูปไขหรือรูปกรวย กวาง
0.8–1.2 ซม. ยาว 1.5–2.2 ซม. มีกาบหุม
ใบ มี 2 ใบ รูปแถบถึงรูปขอบขนานแกมรูปรี
กวาง 0.4–0.8 ซม. ยาว 7–10 ซม. ปลายแหลม
เนื้อใบบาง แผนใบเกลี้ยง

Acriopsis indica Wight


ชอดอกแบบชอแยกแขนง โปรง ๆ ออก
จากโคนหัวเทียม แตละชอมีดอกจํานวนมาก
กานชอดอกยาว 8–10 ซม. แกนชอดอกยาว
8–14 ซม. แขนงชอดอกดานขางยาว 7–14 ซม. สีเขียวออนและคอย ๆ เปลี่ยนเปนสีมวงไปทาง
ใบประดับรูปสามเหลี่ยม ยาว 1–2 มม. เกลี้ยง สวนปลายของเสาเกสร สวนปลายของเสาเกสร
ดอกบานในชวงระยะเวลาสั้น ๆ กานดอกยาว แผออกคลายรูปคุม สีมว งออนถึงสีขาว รยางคยาว
6.5–9 มม. 1 มม. สีเขียวออนถึงสีมว งออน
ดอกสีเขียวอมเหลือง กลีบเลี้ยงสีเขียว- ผลแบบผลแหงแตก รูปรี
อมเหลือง เกลี้ยง มีจุดรูปขอบขนานหรือกลม นิเวศวิทยาและการกระจายพันธุ
สีมว ง ขอบกลีบเลีย้ งมวนขึน้ กลีบเลีย้ งบนรูปเรือ พบตามปาเบญจพรรณ ปาดิบชืน้ และสวนยาง
กวาง 1.2–1.5 มม. ยาว 4.3–5 มม. กลีบเลีย้ งขาง ภาคเหนือ ภาคตะวันออก ภาคตะวันออกเฉียงใต
เชื่ อ มติ ด กั น รู ป เรื อ กวาง 1.2–1.5 มม. ยาว และภาคใต ที่สูงจากระดับทะเลถึง 1,150 ม.
4.2–5 มม. กลีบดอก กวาง 1.9–2.5 มม. ยาว ออกดอกเดือนมกราคม–มีนาคม
4–4.5 มม. สีเขียวอมเหลือง เกลีย้ ง มีจดุ รูปไขกลับ เขตการกระจายพันธุ
ถึงรูปชอน เบี้ยวหรือกลม สีมวงขนาดเล็กแตม อิ นเดี ย พม า อิ นโดจี น คาบสมุ ท รมลายู
ประปราย กลีบปากรูปขอบขนานถึงรูปไขกวาง ชวา บอรเนียว ติมอรและฟลิปปนส
หรือรูปซอ กวาง 1–2 มม. ยาว 3.8–4.5 มม.
ปลายกลีบปากมนถึงกลม ขอบกลีบปากเปนคลืน่
สีขาว สีเขียวออน มีแตมสีมว งขนาดเล็ก กลีบปาก
มีแถบบาง ๆ 2 แถบ เสาเกสรยาว 3.3–4 มม. เกลีย้ ง

Orchids in the Phu Khieo-Nam Nao Forest Complex 31


àÍ×éͧ¡ØËÅÒº¾Ç§
Aerides falcata Lindl. & Paxton

32 ¡ÅŒ Ç ÂäÁŒ ã ¹¡ÅØ ‹ Á »† Ò ÀÙ à ¢Õ Â Ç-¹íé Ò Ë¹ÒÇ


ชื่ออื่น ๆ คํ า สบนก เอื้ อ งกุ ห ลาบ-
กระเปาเปด เอื้องกุหลาบปา เอื้องคําสบนก
เอื้ อ งด า มข า ว เอื้องปากเปด
ลักษณะทางพฤกษศาสตร
กลวยไมองิ อาศัย ลําตนอวนสัน้ สูง 10–15 ซม.
ใบ เรียงสลับระนาบเดียว รูปแถบกวาง
กวาง 2–4 ซม. ยาว 19.5–29.5 ซม. ปลายเวาตืน้
ไมสมมาตร แผนใบหนาคลายแผนหนัง

Aerides falcata Lindl. & Paxton


ชอดอกแบบช อ กระจะ ช อ ดอกยาว
20.5–30.5 ซม.
ดอก ขนาดเสนผานศูนยกลาง 1.5–3 ซม.
กลีบเลี้ยงและกลีบดอกสีขาว มีแตมสีมวงหรือ
สีมว งแดง กลีบเลีย้ งบนรูปไขกวางหรือรูปกึง่ วงกลม
กวางประมาณ 10.5 มม. ยาวประมาณ 12.5 มม.
ปลายแหลม กลีบเลีย้ งขางรูปไขกวาง โคนเชือ่ ม
ติดกันถึงโคนเสาเกสร กลีบดอกมีขนาดเล็กกวา
กลีบเลีย้ ง กลีบปากเคลือ่ นไหวได มีเดือย กลีบปาก
แยกเปน 3 แฉก แฉกขางรูปเคียวถึงรูปขอบขนาน
แฉกกลางรูปไขกวาง กวางประมาณ 18.5 มม.
ยาวประมาณ 11.5 มม. ปลายเวาตืน้ โคนมีรอย นิเวศวิทยาและการกระจายพันธุ
แผลเปนรูปกึง่ วงกลมใกล ๆ กับเดือย ขอบหยัก พบตามปาเบญจพรรณ ปาเต็งรัง ปาดิบแลง
ไมเปนระเบียบถึงหยักซีฟ่ น เดือยยาว 2.5–4.5 มม. และปาละเมาะเขาตํ่า ทั่วทุกภาคของประเทศ
มีลักษณะชี้ขึ้นดานบน ขนานไปกับแฉกกลาง ออกดอกเดือนเมษายน–พฤษภาคม
เส า เกสรยาว 2.5–4.5 มม. ฝาป ด กลุ  ม เรณู เขตการกระจายพันธุ
มีลักษณะแคบและมีจะงอยอยูดานบน อินเดียตอนเหนือ กัมพูชา พมา ลาว
ผลแบบผลแหงแตก เวียดนาม

Orchids in the Phu Khieo-Nam Nao Forest Complex 33


Ç‹Ò¹äËÁ¹Ò
Anoectochilus setaceus Blume

34 ¡ÅŒ Ç ÂäÁŒ ã ¹¡ÅØ ‹ Á »† Ò ÀÙ à ¢Õ Â Ç-¹íé Ò Ë¹ÒÇ


ชอดอกแบบชอกระจะ ออกที่ปลายยอด
กานชอดอกสีนํ้าตาลแดง ยาวประมาณ 10 ซม.
มีดอก 3–5 ดอก
ดอกสีขาว กลีบเลี้ยงสีนํ้าตาลแดง ยาว
ประมาณ 1.5 ซม. ดานนอกมีขนสีขาวปกคลุม
กลี บ ดอกสี ข าว เชื่ อ มติ ด กั บ กลี บ เลี้ ย งบน
กลีบปากสีขาวยาวเทากับกลีบเลี้ยง ปลายแยก
เป น 2 แฉก คล า ยใบพาย ด า นข า งมีร ยางค
คลายรูปเสนดายหลายเสน
ชื่ออื่น ๆ –

Anoectochilus setaceus Blume


ผลแบบผลแหงแตก รูปรี
ลักษณะทางพฤกษศาสตร นิเวศวิทยาและการกระจายพันธุ
กลวยไมดนิ ทัง้ ตนรวมชอดอกสูงไดถงึ 25 ซม. พบตามปาดิบแลงและปาดิบเขา ภาคเหนือ
และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ที่ระดับความสูง
หัวเทียมรูปทรงกระบอก 700–1,400 ม. ออกดอกเดือนกันยายน–ธันวาคม
ใบ มี 3–5 ใบ รูปไข กวาง 1.7–4 ซม. เขตการกระจายพันธุ
ยาว 1.5–4.5 ซม. ปลายแหลม แผนใบสีมวงดํา อินเดีย ลาว เวียดนาม
เสนใบสีขาว สีเหลือง หรือสีชมพูแกมแดง

Orchids in the Phu Khieo-Nam Nao Forest Complex 35


Ç‹Ò¹¾ÃŒÒÇ
Anthogonium gracile Wall. ex Lindl.

36 ¡ÅŒ Ç ÂäÁŒ ã ¹¡ÅØ ‹ Á »† Ò ÀÙ à ¢Õ Â Ç-¹íé Ò Ë¹ÒÇ


ชื่ออื่น ๆ วานปาว ผลแบบผลแหงแตก เสนผานศูนยกลาง
ประมาณ 4 มม. ยาว 18 มม.
ลักษณะทางพฤกษศาสตร
นิเวศวิทยาและการกระจายพันธุ
กลวยไมดินหรืออาจพบอาศัยบนหิน พบตามพื้นที่เปดโลง ปาเบญจพรรณหรือ
หัวใตดินรูปทรงกลม กวางและยาว 0.7– ปาดิบเขา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคตะวันออก
1.5 ซม. และภาคกลาง ที่ระดับความสูง 650–2,200 ม.
ใบ มี 2–3 ใบ ชวงเวลาออกดอกอาจจะ ออกดอกเดือนตุลาคม–พฤศจิกายน
มี ใ บหรื อ ไม มี ใ บ รู ปแถบถึ งรูปใบหอก กวาง เขตการกระจายพันธุ

Anthogonium gracile Wall. ex Lindl.


0.3–1.3 ซม. ยาว 14–35 ซม. ปลายแหลม ตะวันออกเฉีย งเหนือ ของอิ นเดี ย เนปาล
กานใบยาว 7–13 ซม. ภูฏาน บังคลาเทศ พมา ทางใตและตะวันตก-
ชอดอกแบบชอกระจะ โปรง ๆ ออกที่ เฉียงใตของจน
ยงใตของจีน กมพู
กัมพููชา ลาว เวยดนาม
เวียดนาม
โคนหั ว ใต ดิ น ก า นช อ ดอกยาว 11–25 ซม.
สีนาํ้ ตาลหรือสีมว ง ใบประดับทีไ่ มมดี อก มี 3–6 ใบ
รูปทรงกระบอกหรือรูปขอบขนานแกมรูปใบหอก
ยาว 0.4–2.5 ซม. ปลายแหลมหรือเรียวแหลม
แกนกลางชอดอกยาว 3–15 ซม. แตละชอมีดอก
5–20 ดอก ใบประดับทีม่ ดี อก รูปไขถงึ รูปใบหอก
กวาง 0.8–2 มม. ยาว 3.5–5.5 มม. ปลายเรียว
แหลม สีเขียวหรือสีแดงอมนํ้าตาลออน
ดอกสีมวง ชมพู หรือสีขาว กลีบเลี้ยงรูปรี
ถึงรูปไข กวาง 0.9–1.8 มม. ยาว 5–9 มม. ปลาย
เกือบแหลม โคนมีลกั ษณะเปนหลอด กลีบเลีย้ งบน
กวาง 2–3 มม. ยาว 13–18 มม. กลีบเลี้ยงขาง
กวาง 3.8–5.6 มม. ยาว 12–15 มม. กลีบดอก
รูปช อ น กวา ง 1.5–3 มม. ยาว 11–17 มม.
ปลายมนหรือแหลม กลีบปากแยกเปน 3 แฉก
กวาง 8–12 มม. ยาว 10–16 มม. แฉกกลาง
รูปสามเหลีย่ มมนหรือรูปพัด กวาง 1.5–3.8 มม.
ยาว 1.2–4 มม. แฉกขางรูปขอบขนานหรือรูปพัด
กวาง 2–4 มม. ยาว 1.2–2.5 มม. ปลายมนหรือ
เกือบตัดตรง เสาเกสรยาว 11–15 มม. สีมว งออน
สีขาว หรือสีครีม อับเรณูสีเหลือง

Orchids in the Phu Khieo-Nam Nao Forest Complex 37


ËÒ§áÁ§à§Ò
Appendicula cornuta Blume

38 ¡ÅŒ Ç ÂäÁŒ ã ¹¡ÅØ ‹ Á »† Ò ÀÙ à ¢Õ Â Ç-¹íé Ò Ë¹ÒÇ


ชื่ออื่น ๆ –
ลักษณะทางพฤกษศาสตร

Appendicula cornuta Blume


กลวยไ
ยไม
ไมองิ อาศัยหรือขึน้ บนหิน
ลําตนมีลกั ษณะเปนกอ ตัง้ ขึน้ หรือหอยลง
ยาว 19.5
19.5–50.5
5–50.5 ซม. เส น ผ า นศู น ย ก ลาง
3.5 มม.
1.5–3.5 ม ไมแตกกิง่ มีปลองจํานวนมาก แตละ
ปลองยาวประมาณ
ยาวปประมาณ 1.5 ซม. มีกาบใบหุม
ใบ มีจี าํ นวนมาก เรียี งสลั
ส บั ระนาบเดียี ว รปไข
รูปไ
ปไข
ถึงรูปรีแคบ ๆ หรือเกือบรูปขอบขนาน กวาง 5.5– 2 มม. ยาว 3–4.5 มม. อยูเ กือบกึง่ กลาง ปลายมน
12.5 มม. ยาว 24.5–35.5 มม. ปลายไมสมมาตร ขอบมีลกั ษณะยับยน สวนปลายมีรยางคคลายครีบ
แยกเปน 2 แฉกหรือเวาตื้น โดยปกติพบเปนติ่ง สวนโคนมีรยางคแผออกรูปกึ่งวงกลมหรือรูปลิ้น
แหลมออน โคนมีกาบหุม กวาง ขอบโคงลง เสาเกสรยาวประมาณ 2.5 มม.
ชอดอกแบบชอกระจะสั้น ๆ ยาว 1–2 ซม. กลุมเรณูมีจํานวน 6 กลุม
ออกทีป่ ลายยอดหรือดานขาง มี 2–6 ดอก ใบประดับ ผลรูปทรงรี กวาง 2–3.5 มม. ยาว 4.5–6.5 มม.
ที่มีดอกโคงพับลง รูปใบหอก ยาว 3.5–5.5 มม. นิเวศวิทยาและการกระจายพันธุ
ดอกสีขาว ขนาดเสนผานศูนยกลางประมาณ พบตามป า ดิ บ ชื้ น ทั่ ว ทุ ก ภาคของประเทศ
5.5 มม. กานดอกยาว 2.5–5.5 มม. กลีบเลีย้ งบน ออกดอกเดือนกรกฎาคม–ตุลาคม
รูปรี กวาง 1.5–2.5 มม. ยาวประมาณ 4 มม. เขตการกระจายพันธุ
ปลายเวาหรือเรียวแหลม กลีบเลีย้ งขางรูปสามเหลีย่ ม ตะวันออกเฉียงเหนือของอินเดีย พมา เวียดนาม
เบี้ยว ๆ กวาง 1.5–3 มม. ยาว 3.5–4.5 มม. คาง กัมพูชา มาเลเซีย อินโดนีเซีย
ยาวประมาณ 1.5 มม. กลีบดอกรูปขอบขนาน
แกมรูปไข กวางประมาณ 2 มม. ยาว 2–3.5 มม.
กลีบปากรูปเกือบรูปขอบขนาน กวางประมาณ

Orchids in the Phu Khieo-Nam Nao Forest Complex 39


àÍ×éͧà¢çÁÁ‹Ç§
Ascocentrum ampullaceum (Roxb.) Schltr.

40 ¡ÅŒ Ç ÂäÁŒ ã ¹¡ÅØ ‹ Á »† Ò ÀÙ à ¢Õ Â Ç-¹íé Ò Ë¹ÒÇ


ชื่ออื่น ๆ เขาแกะ เอื้ อ งขี้ ค รั่ ง
เอื้องเขาแกะใหญ เอื้องครั่งฝอย
ลักษณะทางพฤกษศาสตร
กลวยไมอิงอาศัย
ลําตนตั้งตรง อวนสั้น ยาว 0.5–4.5 ซม.

Ascocentrum ampullaceum (Roxb.) Schltr.


ใบ มี 3 หรือ 4 ใบ รูปขอบขนานแคบ ๆ
กวาง 0.5–2 ซม. ยาว 4.5–20.5 ซม. ปลายตัด
แผนใบหนาคลายแผนหนัง แบนและพับหากัน
ตั้งแตกลางใบถึงโคนใบ หนาใบสีเหลืองอมเขียว
มีจุดสีมวงแดง หลังใบสีแดงออน
ชอดอกแบบชอกระจะ มี 2–4 ชอ ออกตาม
ซอกใบ มีลกั ษณะตัง้ ตรง ยาว 4.5–7.5 ซม. มีดอก
จํานวนมาก กานชอดอกสีแดงอมชมพู ใบประดับ
ที่มีดอกรูปสามเหลี่ยมแกมรูปไข ยาวประมาณ
1.2 มม. ปลายแหลม
ดอกสีแดงอมชมพู ขนาดเสนผานศูนยกลาง การกระจายพันธุและนิเวศวิทยา
1.2–2 ซม. ฝาปดอับเรณูและกลุม เรณูสมี ว งออน พบตามป า เบญจพรรณ ภาคเหนื อ และ
กานดอกรวมรังไข สีแดงอมชมพู กานดอกรวมรังไข ภาคตะวันตก ออกดอกเดือนเมษายน–พฤษภาคม
ยาว 10–20 มม. กลีบเลีย้ งและกลีบดอกรูปไขกวาง เขตการกระจายพันธุ
กวาง 3.5–6.5 มม. ยาว 6.5–9.5 มม. ปลายมน อินเดีย เนปาล ภูฏาน พมา ลาว
กลีบปากแยกเปน 3 แฉก แฉกขางมีลักษณะ
ตัง้ ตรงเกือบรูปสามเหลีย่ ม มีขนาดเล็ก ปลายมน
แฉกกลางรูปขอบขนานแคบ ๆ หรือรูปลิน้ กวาง
0.5–2.5 มม. ยาว 5.5–7.5 มม. ปลายมนถึงแหลม
โคนมีเดือยรูปทรงกระบอก กวางประมาณ 3 มม.
ยาว 7.5–9.5 มม. สวนปลายโคงลงและขยาย
ใหญขึ้น เสาเกสรยาวประมาณ 2.5 มม. หนา
กลุมเรณูมีจํานวน 2 กลุม
ผลแบบผลแหงแตก

Orchids in the Phu Khieo-Nam Nao Forest Complex 41


¤ÙÅÙ»Ò¡áËÅÁ
Brachycorythis acuta (Rchb. f.) Summerh.

42 ¡ÅŒ Ç ÂäÁŒ ã ¹¡ÅØ ‹ Á »† Ò ÀÙ à ¢Õ Â Ç-¹íé Ò Ë¹ÒÇ


ชื่ออื่น ๆ เอือ้ งดอกเทียน เขตการกระจายพันธุ
อินเดีย พมา ลาว กัมพูชา
ลักษณะทางพฤกษศาสตร
กลวยไมดิน สูง 21–29 ซม.
ใบ มี 4–7 ใบ รูปใบหอก กวาง 1.3–2.1 ซม.
ยาว 7–11 ซม. ปลายแหลมถึงมน ใบบนสุดยาว

Brachycorythis acuta (Rchb. f.) Summerh.


6.3–11.2 ซม.
ชอดอกคล า ยช อ เชิ ง ลด มี 2–10 ดอก
ใบประดับลางสุด ยาว 5.8–10.9 ซม.
ดอกสีขาวถึงสีมว งดําหรือสีเหลืองแกมเขียว
กลีบปากมีแตมสีเหลือง กลีบเลีย้ งปลายเรียวแหลม
กลีบเลี้ยงบนรูปขอบขนานถึงรูปใบหอก กวาง
2.2–4.3 มม. ยาว 9.8–12.8 มม. กลีบเลี้ยงขาง
รูปเคียวหรือรูปแถบถึงรูปใบหอก กลีบดอกแยก
เปนอิสระจากเสาเกสร รูปแถบถึงรูปใบหอก
กวาง 4–4.2 มม. ยาว 8.9–11.3 มม. กลีบปาก
รูปรีถงึ รูปไขกลับแคบ ๆ กวาง 6–10.5 มม. ยาว
10.8–14.5 มม. ปลายแหลมถึงมนกลม หายาก
ที่ปลายเวาบุม เดือยรูปทรงกระบอกยาว 6.8–
11.1 มม. เสาเกสรยาว 1–2.5 มม. ปลายเปนติง่
ผลรู ป ทรงขอบขนานถึ ง เกื อ บคล า ย
ทรงกระบอก เสนผานศูนยกลาง 0.5–0.6 ซม.
ยาว 1.6–2.3 ซม. ไมมีกานผล
นิเวศวิทยาและการกระจายพันธุ
พบตามปา เบญจพรรณ ปาดิบชื้น ปาไผ
และสวนยางพารา ที่เปนหินแกรนิต หินทราย
หรือหินปูน ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ภาคตะวันออก ภาคตะวันตกเฉียงใต ภาคกลาง
ภาคตะวั น ออกเฉี ย งใต และภาคใต ที่ ร ะดั บ
ความสูง 50–700 ม. ออกดอกเดือนพฤษภาคม–
ตุลาคม

Orchids in the Phu Khieo-Nam Nao Forest Complex 43


ÊÔ§âμ»ÃÐËÅÒ´
Bulbophyllum affine Wall. ex Lindl.

44 ¡ÅŒ Ç ÂäÁŒ ã ¹¡ÅØ ‹ Á »† Ò ÀÙ à ¢Õ Â Ç-¹íé Ò Ë¹ÒÇ


ชื่ออื่น ๆ สิงโตงาม
ลักษณะทางพฤกษศาสตร
กลวยไมอิงอาศัย
ลําตนอวนสั้น ขนาดเสนผานศูนยกลาง
3.5–5.5 มม. มี กาบหุ มลัก ษณะคล ายเกล็ด
หัวเทียม เกื อ บรู ป ทรงกระบอก ขนาด
เสนผานศูนยกลาง 4.5–8.5 มม. ยาว 2.5–4.5 ซม.

Bulbophyllum affine Wall. ex Lindl.


รากออกบริเวณขอ
ใบ ออกที่ปลายหัวเทียม รูปขอบขนาน
กวาง 0.8–4.5 ซม. ยาว 5.5–26.5 ซม. ปลายมน
เวาตืน้ เล็กนอย โคนสอบไปจนถึงกานใบ แผนใบ
หนาคลายแผนหนัง กานใบยาว 0.7–2.5 ซม.
ดอก มี 1 ดอก ออกบริเวณใกลกับขอของ
ราก บริเวณโคนกานมีกาบหุม จํานวน 3–5 กาบ
ก า นดอกยาว 3–8 ซม. ใบประดั บ ที่ มี ด อก
รูปใบหอก กวางประมาณ 2.5 มม. ยาวประมาณ
7.5 มม. กลีบเลี้ยงและกลีบดอกสีเหลืองออน
มีเสนสีมว งตามความยาวของกลีบดอก กลีบปาก
สีเหลือง ขอบกลีบสีมว ง กลีบเลีย้ งบนรูปใบหอก
กวาง 3.5–5.5 มม. ยาว 16.5–20.5 มม. ปลาย
แหลม มีเสนตามยาว 3 เสน กลีบเลีย้ งขางรูปเคียว ผลรู ป ขอบขนานแกมรู ป ไข ก ลั บ กว า ง
แกมรู ป ใบหอก ขนาดเท า กั บ กลี บ เลี้ ย งบน ประมาณ 0.5 ซม. ยาว 2.5–3 ซม.
ปลายแหลม โคนเชือ่ มถึงโคนเสาเกสรเปนคางกวาง นิเวศวิทยาและการกระจายพันธุ
มีเสนตามยาว 5 เสน กลีบดอกรูปใบหอก กวาง พบตามป า ดิ บ เขา ภาคเหนื อ และภาค
2.5–4.5 มม. ยาว 10.5–15.5 มม. ปลายแหลม ตะวันออกเฉียงเหนือ ออกดอกเดือนพฤษภาคม–
ขอบเรียบ กลีบปากรูปใบหอก ยาว 7.5–10.5 มม. มิถุนายน
โคนเปนรอง เสาเกสรอวนสั้น ยาวประมาณ เขตการกระจายพันธุ
5.5 มม. ฝาปดกลุมเรณู ยาวประมาณ 3.5 มม. ตะวั นออกเฉี ย งเหนื อ ของอิ นเดี ย ภูฏาน
ดานหลังมีปุมเล็กละเอียด เนปาล ญี่ปุน ลาว เวียดนาม

Orchids in the Phu Khieo-Nam Nao Forest Complex 45


ÊÔ§âμ¡ŒÒ¹ËÅÍ´
Bulbophyllum capillipes C. S. P. Parish & Rchb. f.

46 ¡ÅŒ Ç ÂäÁŒ ã ¹¡ÅØ ‹ Á »† Ò ÀÙ à ¢Õ Â Ç-¹íé Ò Ë¹ÒÇ


ชื่ออื่น ๆ – นิเวศวิทยาและการกระจายพันธุ
พบตามปาดิบเขาทั่วทุกภาคของประเทศ ที่
ชื่อสามัญ Hairy column foot ระดับความสูง 700–1,500 ม. ออกดอกเดือน
Bulbophyllum มกราคม–เมษายน

S P. Parish & Rchb. f.


ลักษณะทางพฤกษศาสตร เขตการกระจายพันธุ
กลวยไมอิงอาศัย สูง 3–12 ซม. อินเดีย ภูฏาน พมา
หัวเทียมรูปไข กวางประมาณ 1.5 ซม.
ยาวประมาณ 2.5–3 ซม.
ใบ มี 1 ใบ รูปแถบ กวาง 1–2 ซม. ยาว
9.5–15.5 ซม. ปลายแหลม
ดอก มี 1 ดอก ออกจากโคนหั ว เที ย ม
ดอกบานเต็มทีก่ วางประมาณ 1.5 ซม. กานดอก
ยาว 5.5–7.5 ซม. กลีบเลีย้ งและกลีบดอกสีเหลือง
แกมแดง มี เ ส น ตามยาวสี มม  ว งแดง 3–5 เส น

C. S.
ด า นหลั ง มี ป ระสี ม  ว งเข ม กลี
ก บ ปากสี นํ้ า ตาล
โคนสีมว ง กลีบเลีย้ งบนรูปไขแก แกมรูปรี ปลายแหลม

C
หรือมน กลีบเลีย้ งขางรูปสามเหลี เ ย่ ม ปลายแหลม
เหลี

capillipes
หรื อ มน โคนเบี้ ย ว กลี บ ดอกรู อ ป รี กลี บ ปาก
อกรู

illi
คลายรูปสามเหลี่ยม ปลายมนและโค ม
มนและโค งลง โคน
เวารูปหัวใจเชื่อมกับโคนเสาเก เกสร
กสร กลางกลีบมีหู
ผลแบบผลแหงแตก
Bulbophyllum
B lb h ll

Orchids in the Phu Khieo-Nam Nao Forest Complex 47


àÍ×éͧ¢ÂØ¡¢ÂØÂ
Bulbophyllum dayanum Rchb. f.

48 ¡ÅŒ Ç ÂäÁŒ ã ¹¡ÅØ ‹ Á »† Ò ÀÙ à ¢Õ Â Ç-¹íé Ò Ë¹ÒÇ


ชื่ออื่น ๆ –
ลักษณะทางพฤกษศาสตร
กลวยไมอิงอาศัยหรือขึ้นบนหิน
หัวเทียมรูปไขหรือรูปรี กวาง 1.5–2.5 ซม.
ยาว 2–2.5 ซม. ผิวมันสีมวงเขม
ใบ มี 1 ใบ รูปรี กวาง 2.5–4.5 ซม. ยาว
19–32 ซม. ปลายแหลม ดานบนสีเขียวอมมวง
ดานลางสีมว งเขม กานใบ ยาวประมาณ 2.5 ซม.

dayanum Rchb. f.
ชอดอกแบบช อ กระจุ ก สั้ น ออกที่ โ คน
หัว เทีย ม แต ละชอมี 2–5 ดอก ก านชอดอก
ยาวประมาณ 2 ซม. กานดอก ยาวประมาณ 2 ซม.
ดอก กลีบดอกและกลีบเลีย้ งสีเขียว มีแถบ
สีมวงแดงตามยาว กลีบปากสีเหลืองออนมีปุม
ขนาดเล็กสีมวงแดงตามยาว ขอบกลีบดอกและ
กลีบเลีย้ งมีขนครุย กลีบเลีย้ งบน กวางประมาณ
0.8 ซม. ยาว 1–2 ซม. กลีบเลีย้ งขางเชือ่ มติดกัน นิเวศวิทยาและการกระจายพันธุ

Bulbophyllum
บริเวณขอบดานลาง กลีบปากรูปลิ้น มีปุมสีมวง พบตามป า ละเมาะเขาตํ่ า และป า ดิ บ ชื้ น
แดงปกคลุม โคนกลีบมีสนั ลักษณะคลายฟน 2 ซี่ ภาคตะวั น ออกเฉี ย งเหนื อ ภาคตะวั น ออก-
เสาเกสรสีเหลือง เฉียงใต และภาคใต ที่ระดับความสูง 1,100–
ผลแบบผลแหงแตก รูปรี 1,500 ม. ออกดอกเดือนพฤศจิกายน–มีนาคม
เขตการกระจายพนธ
เขตการกระจายพันธุ
เขตการกระจายพนธุ lb
อินเดีย พมา เวียดนาม กัมพูชา
B

Orchids in the Phu Khieo-Nam Nao Forest Complex 49


àÍ×éͧ¤íÒ´Í¡ÊÃŒÍÂ
Bulbophyllum gymnopus Hook. f.

50 ¡ÅŒ Ç ÂäÁŒ ã ¹¡ÅØ ‹ Á »† Ò ÀÙ à ¢Õ Â Ç-¹íé Ò Ë¹ÒÇ


ชื่ออื่น ๆ เอือ้ งแคระ
ชือ่ สามัญ Naked Bulbophyllum
ลักษณะทางพฤกษศาสตร
เหงาทอดเลือ้ ย เสนผานศูนยกลางประมาณ
4 มม. หัวเทียมรูปรีแกมรูปไข เสนผานศูนยกลาง
0.5–1 ซม. สูง 4–5 ซม. ผิวเรียบ ระยะหางหัวเทียม
7–15 ซม.

Bulbophyllum gymnopus Hook. f.


รากออกเปนกระจุกที่โคนหัวเทียม
ใบ 1 ใบ ที่ปลายหัวเทียม รูปขอบขนาน
กวาง 2–2.5 ซม. ยาว 1.5–2 ซม. ปลายแยก
เปนแฉก 2 แฉก ปลายแฉกมน โคนรูปลิม่ แผนใบ
หนาคลายแผนหนัง กานใบยาว 3–5 ซม. ทิ้งใบ
กอนมีดอก
ชอดอกแบบช อ กระจะ ยาวประมาณ
20 ซม. ออกที่โคนหัวเทียม แกนกลางชอดอก
ยาว 15–18 ซม. ใบประดับยอยรูปสามเหลี่ยม
กว า งประมาณ 1 มม. ยาวประมาณ 3 มม.
แตละช อ มี 30–50 ดอก เรี ยงหาง ๆ กัน
ดอกสี เ หลื อ ง เมื่ อ บานกว า งประมาณ
1 ซม. มี ก ลิ่ น เหม็ น กลี บ เลี้ ย งสี เ หลื อ งอ อ น
ดานหลังกลีบมีจุดประสีแดง กลีบเลี้ยงบนรูป
ใบหอกกลับ กวางประมาณ 1.5 มม. ยาว 5–
5.5 มม. ปลายแหลม กลีบเลี้ยงขางมีขนาดใหญ นิเวศวิทยาและการกระจายพันธุ
กวาเล็กนอย โคนกลีบมวนเขาหากัน ปลายกลีบ กลวยไมอิงอาศัย พบเกาะตามเปลือกไม
แหลม กลีบดอกรูปขอบขนาน กวาง 9–11 มม. ในปาดิบเขาทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือและ
ยาว 3–4 มม. ปลายกลีบมน ขอบจักฟนเลื่อย ภาคตะวันออก ทีร่ ะดับความสูง 1,200−1,500 ม.
กลีบปากรูปลิ้น กวางประมาณ 1.5 มม. ยาว ออกดอกเดือนธันวาคม
ประมาณ 3.5 มม. ปลายกลีบแหลม เสาเกสร เขตการกระจายพันธุ
ยาวประมาณ 2 มม. กานดอกรวมรังไขยาว อินเดีย เนปาล จีน สิกขิม
ประมาณ 8 มม.
ผล ไมมีขอมูล
Orchids in the Phu Khieo-Nam Nao Forest Complex 51
ÊÔ§âμàÁ×ͧ¡ÒÞ¨¹
Bulbophyllum kanburiense Seidenf.

52 ¡ÅŒ Ç ÂäÁŒ ã ¹¡ÅØ ‹ Á »† Ò ÀÙ à ¢Õ Â Ç-¹íé Ò Ë¹ÒÇ


ดอกสีเหลืองแกมสม กวาง 0.5–1 ซม.
ยาว 2–2.5 ซม. กลีบเลี้ยงบนรูปใบหอก กวาง
ประมาณ 1.8 มม. ยาวประมาณ 5.5 มม. ดาน
ในมีขนปกคลุม ขอบเปนชายครุย กลีบเลี้ยงขาง
รูปใบหอกยาว 2.5–4.5 มม. เชื่อมติดกันเพียง
ดานเดียว มีขนครุย กลีบดอกรูปไขถงึ รูปสามเหลีย่ ม
เบี้ยว กวางประมาณ 1.7 มม. ยาวประมาณ
3.5 มม. ด า นในมี ข นปกคลุ ม ขอบมี ข นครุ ย

Bulbophyllum kanburiense Seidenf.


กลี บปากรู ปลิ้ น ยาวประมาณ 4 มม. โค ง ลง
จนถึงโคนเสาเกสร ดานลางและขอบมีขนแผง
ปกคลุม เสาเกสร ยาวประมาณ 2 มม.
ผลแบบผลแหงแตก
นิเวศวิทยาและการกระจายพันธุ
ชื่ออื่น ๆ พายทองเมืองกาญจน พบตามปาดิบเขา ภาคเหนือ ภาคตะวัน-
ออกเฉี ย งเหนื อ และภาคตะวั น ตกเฉี ย งใต
ลักษณะทางพฤกษศาสตร ออกดอกเดือนธันวาคม–มีนาคม
กลวยไมองิ อาศัยหรือขึน้ บนหิน สูง 7–10 ซม. เขตการกระจายพันธุ
หัวเทียมรูปไข ยาว 1.5–2.5 ซม. ลําตน พมา
เจริญทางดานขาง
ใบ มี 2 ใบ รูปขอบขนาน
ชอดอกแบบชอกระจะ ออกจากโคนหัวเทียม
ปลายชอหอยลง ชอดอกยาว
ปลายชอหอยลง ชอดอกยาว 12.5
12.5–15.5
12 5–15
15.55 ซม
ซม.
แตละชอมี 15–20 ดอก

Orchids in the Phu Khieo-Nam Nao Forest Complex 53


ÊÔ§âμ¡ÅÕºÁŒÇ¹
Bulbophyllum khasyanum Griff.

54 ¡ÅŒ Ç ÂäÁŒ ã ¹¡ÅØ ‹ Á »† Ò ÀÙ à ¢Õ Â Ç-¹íé Ò Ë¹ÒÇ


ชื่ออื่น ๆ สิงโตพุม
ลักษณะทางพฤกษศาสตร
กลวยไมอิงอาศัย
รากออกบริเวณโคนของหัวเทียม
หัวเทียมรู ป ไข แ กมกึ่ ง รู ป ทรงกลม เสน-
ผานศูนยกลาง 2.5–5 มม.
ใบ ออกบริเวณปลายหัวเทียม รูปขอบขนาน
แกมรูปรีหรือเกือบรูปขอบขนาน กวาง 2.5–

Bulbophyllum khasyanum Griff.


4.5 ซม. ยาว 11.5–20.5 ซม. ปลายมน กานใบ
ยาว 2.5–4.5 ซม.
ชอดอกแบบช อ กระจะ ออกที่ โ คนของ
หั ว เที ย มมี ลั ก ษณะโค ง ลง ยาว 5–6.5 ซม.
กานชอดอกยาว 14.5–25.5 ซม. ดอกมีจาํ นวนมาก
มี ว งใบประดั บ ลั ก ษณะเหมื อ นเกล็ ด อยู  ที่ โ คน
กวางประมาณ 2.5 มม. ยาวประมาณ 8.5 มม.
ปลายแหลมเหมื อ นเข็ ม ใบประดั บ ที่ มี ด อก
รูปใบหอก ยาวประมาณ 7.5 มม. ปลายแหลม
เหมือนเข็ม
นิเวศวิทยาและการกระจายพันธุ
ดอกสีมว งดํา กลีบปากสีมว งดํา กลีบเลีย้ งบน พบตามปาดิบชื้น ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
รูปไข กวางประมาณ 2.5 มม. ยาวประมาณ ออกดอกเดือนตุลาคม–ธันวาคม
5.5 มม. กลีบเลีย้ งขางรูปไขเบีย้ ว กวางประมาณ
3.5 มม. ยาวประมาณ 5.5 มม. ดานลางของกลีบ เขตการกระจายพันธุ
มีลกั ษณะเหมือนเกล็ด โดยทีข่ อบของแตละกลีบ ตะวันออกเฉี ย งเหนื อ ของอิ นเดี ย ภูฏาน
ไปเชื่อมกับ อีก กลี บหนึ่ง กลีบดอกรู ปใบหอก เวียดนาม มาเลเซีย
กวางประมาณ 2 มม. ยาวประมาณ 4.5 มม.
ปลายแหลมยาว กลีบปากรูปลิ้น โคนเปนรอง
ดานบนของกลีบเปนสัน 3 สัน และมีปุมเล็ก
ปกคลุม เสาเกสรสั้น
ผลแบบผลแหงแตก

Orchids in the Phu Khieo-Nam Nao Forest Complex 55


ÊÔ§âμ¹Ô¾¹¸
Bulbophyllum nipondhii Seidenf.

56 ¡ÅŒ Ç ÂäÁŒ ã ¹¡ÅØ ‹ Á »† Ò ÀÙ à ¢Õ Â Ç-¹íé Ò Ë¹ÒÇ


ชื่ออื่น ๆ –
ลักษณะทางพฤกษศาสตร
กลวยไมอิงอาศัย
หัวเทียมรู ป รี สี นํ้ า ตาลอมม ว ง ผิ ว มั น
สูงประมาณ 10.5 มม. ลําตนเจริญทางดานขาง
ใบ มี 1 ใบ รูปใบหอก กวางประมาณ 1.5 ซม.
ยาวประมาณ 3 ซม. ปลายแหลม ไมมีกานใบ

Bulbophyllum nipondhii Seidenf.


ชอดอกแบบช อ ซี่ ร  ม ออกจากโคนของ
หัวเทียม ชอดอก ยาวประมาณ 4 ซม. แตละชอ
มี 2–5 ดอก ใบประดับทีม่ ดี อก ยาว 4.5–5.5 มม.
ดอกสีมวงแดง กลีบเลี้ยงบนรูปแถบแคบ
กว า ง 1.5–1.7 มม. ยาว 3.5–3.7 มม.
กลี บ เลี้ ย งข า งรู ป แถบยาว 18.5–20.5 มม.
เชือ่ มติดกันยกเวนโคนกลีบ กลีบดอกรูปเกือบกลม
กวาง 1.2–1.5 มม. ยาว 2–2.5 มม. มีเสนตามยาว
3 เส น กลี บ ปากสี ม  ว งแดง รู ป ขอบขนาน
แกมรูปไขโคงลง กวาง 1.–1.5 มม. ยาว 3.5–
4.5 มม. ขอบเปนรอง เสาเกสร ยาวประมาณ
3 มม. มีขนาดเล็ก
ผลแบบผลแหงแตก
นิเวศวิทยาและการกระจายพันธุ
พบตามปาละเมาะเขาตํ่าและปาดิบเขาตํ่า
ภาคตะวั น ออกเฉี ย งเหนื อ ออกดอกเดื อ น
ตุลาคม–ธันวาคม
เขตการกระจายพันธุ
จีน

Orchids in the Phu Khieo-Nam Nao Forest Complex 57


ÊÔ§âμàÅ×éÍÂ
Bulbophyllum reptans (Lindl.) Lindl. ex Wall.

58 ¡ÅŒ Ç ÂäÁŒ ã ¹¡ÅØ ‹ Á »† Ò ÀÙ à ¢Õ Â Ç-¹íé Ò Ë¹ÒÇ


ชื่ออื่น ๆ สิงโตภูหลวง ผลแบบผลแหงแตก
ชือ่ สามัญ Crawling Bulbophyllum นิเวศวิทยาและการกระจายพันธุ
พ บ ต า ม ป  า ดิ บ เข า ภ า ค เ ห นื อ แ ล ะ
ลักษณะทางพฤกษศาสตร ภาคตะวั น ออกเฉี ย งเหนื อ ที่ ร ะดั บ ความสู ง
กลวยไมอิงอาศัย 1,300–2,000 ม. ออกดอกเดือ นมกราคม–
ตุลาคม
รากออกบริเวณโคนของหัวเทียม มีกาบหุม

Bulbophyllum reptans (Lindl.) Lindl. ex Wall.


เขตการกระจายพันธุ
หัวเทียมรู ป ไข ห รื อ รู ป กรวยแกมรู ป ไข ตะวั นออกเฉี ย งเหนื อ ของอินเดี ย เนปาล
เสนผานศูนยกลาง 4.5–10.5 มม. ภูฏาน จีน พมา เวียดนาม
ใบออกบริเวณปลายยอด รูปขอบขนาน
แคบ ๆ กวาง 0.5–1.5 ซม. ยาว 6.5–10 ซม.
ปลายมนและเวาตื้นเล็กนอย โคนสอบไปทาง
กานใบ กานใบยาว 0.7–2.5 ซม.
ชอดอกแบบช อ กระจะ ออกที่ โ คนของ
หัวเทียม ยาว 3.5–6.5 ซม. กานชอดอกมีลกั ษณะ
ตั้ งตรง บาง ยาว 11.5–14.5 ซม. มีก าบหุม
จํ า นวน 3–4 กาบ มี ด อกจํ า นวน 3–6 ดอก
ใบประดั บ ที่ มี ด อกรู ป ใบหอกแกมรู ป ไข ยาว
2.5–6.5 มม. กานดอกรวมรังไขยาว 2.5–5.5 มม.
ดอกสีเหลืองออน กลีบเลีย้ งหนา รูปใบหอก
กวาง 1.5–2.5 มม. ยาว 6.5–10.5 มม. ปลาย
เกือ บแหลม ดา นหลังเป นสัน กลีบเลี้ยงข าง
ยาวกวา กลี บ เลี้ ย งบน ขอบกลี บชวงครึ่ งหนึ่ง
ของโคนกลีบเชื่อมกับกลีบขางอีกอัน โคนกลีบ
เชื่อมจนถึงโคนเสาเกสร กลีบดอกบางรูปรีแกม
รูปไขหรือรูปไขกลับ กวาง 1.2–2.5 มม. ยาว
2.5–4.5 มม. ปลายมนกลม ขอบเรียบ กลีบปาก
โคงลง ยาวกวากลีบดอก ปลายมน ขอบเรียบ
เสาเกสร ยาวประมาณ 0.9 มม. โคนเสาเกสร
ยาวประมาณ 2.5 มม. สวนที่ยื่นออกมาจาก
เสาเกสร รูปเสนดายหรือรูปลิม่ แคบ ยาวประมาณ
0.9 มม. กลุมเรณูมีจํานวน 4 กลุม

Orchids in the Phu Khieo-Nam Nao Forest Complex 59


ÊÔ§âμÊÂÒÁ
Bulbophyllum siamense Rchb. f.

60 ¡ÅŒ Ç ÂäÁŒ ã ¹¡ÅØ ‹ Á »† Ò ÀÙ à ¢Õ Â Ç-¹íé Ò Ë¹ÒÇ


ชื่ออื่น ๆ ลิน้ ฟา 2.5 ซม. ยาวประมาณ 4.5 ซม. ปลายแหลม
กลี บปากรู ปสามเหลี่ ย ม กว า ง 0.5–0.7 ซม.
ลักษณะทางพฤกษศาสตร ยาวประมาณ 1 ซม. สีเหลืองมีเสนตามยาวสีมว ง
กลวยไมอิงอาศัย สูง 10–15 ซม. และมี แ ต ม สี ม วงประปราย ปลายแหลมชี้ล ง
หัวเทียมรู ป ไข กว า งประมาณ 2.5 ซม. โคนกลีบสีเหลืองเขม ขอบพับขึน้ เสาเกสรสีเหลือง
ยาว 2.5–3.5 ซม. ลําตนเจริญทางดานขาง มีเสนสีมวงแดงตามยาว
ใบ มี 1 ใบ รูปแถบแกมรูปรี กวาง 2–3.5 ซม. ผลแบบผลแหงแตก
ยาว 11.5–18.5 ซม. แผนใบหนาคลายแผนหนัง นิเวศวิทยาและการกระจายพันธุ
ดอก มี 1 ดอก ออกตามขอของเหงาหรือ พบตามปาดิบเขา ภาคเหนือ ภาคตะวันออก

Bulbophyllum siamense Rchb. f.


บริเวณโคนหัวเทียม กานดอกยาว 3.5–6.5 ซม. เฉียงเหนือ ภาคตะวันออก ภาคตะวันออกเฉียงใต
ดอกบานกวา ง 3.5–4.5 ซม. กลีบดอกและ และภาคใต ที่ระดับความสูง 500–1,300 ม.
กลีบเลี้ยงสีเหลืองครีม มีเสนสีมวงแกมนํ้าตาล ออกดอกเดือนพฤศจิกายน–เมษายน
ตามยาว กลีบเลี้ยงบนรูปใบหอกแคบ ตั้งตรง เขตการกระจายพันธุ
กวางประมาณ 1.5 ซม. ยาวประมาณ 5.5 ซม. ตะวันออกเฉียงเหนือของอินเดีย บังคลาเทศ
ปลายแหลม กลีบเลี้ยงขางรูปเคียว ปลายแหลม พมา ลาว เวียดนาม กัมพูชา คาบสมุทรมลายู
โคงลง
โคงลง โคนเว
โคนเวาา กลี
กลบดอกรู
บดอกรูปใบหอก กว างประมาณ สุุมาตรา ชวา บอรเนียว จจนถึงฟลิปปนส
กวางประมาณ

Orchids in the Phu Khieo-Nam Nao Forest Complex 61


ÊÔ§âμªŒÍ¹·Í§
Bulbophyllum spathulatum (Rolfe ex E. W. Cooper) Seidenf.

62 ¡ÅŒ Ç ÂäÁŒ ã ¹¡ÅØ ‹ Á »† Ò ÀÙ à ¢Õ Â Ç-¹íé Ò Ë¹ÒÇ


ชื่ออื่น ๆ สิงโตซอน เสาเกสร ยาวประมาณ 1.2 มม. ฝาปดกลุมเรณู
เกือบรูปทรงกลม กลุมเรณูมีจํานวน 4 กลุม
ลักษณะทางพฤกษศาสตร

ex E. W. Cooper) Seidenf.
ผลแบบผลแหงแตก
กลวยไมอิงอาศัย
นิเวศวิทยาและการกระจายพันธุ
รากเกาะเลื้อย อวนสั้น ออกบริเวณโคน พบตามปาดิบเขาและปาสนเขา ภาคเหนือ
หัวเทียม ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคตะวันออก
หั ว เที ย ม รู ป ไข แ คบ ๆ เส น ผ า นศู น ย - ที่ระดับความสูง 800–1,200 ม. ออกดอกเดือน
กลาง 2.5–4.5 ซม. ตุลาคม–พฤศจิกายน
ใบ ออกบริเวณปลายหัวเทียม รูปขอบขนาน เขตการกระจายพันธุ
กวาง 1.5–2.5 ซม. ยาว 9.5–18.5 ซม. ปลายมน สิกขิม พมา ลาว เวียดนาม
กานใบ ยาวประมาณ 1.5 ซม. พับเขาหากัน
ชอดอกแบบชอซีร่ ม ออกทีโ่ คนของหัวเทียม
กานชอดอกยาว 2.5–4.5 ซม. มีกาบหุม 4–5 กาบ
ยาวประมาณ 1.3 ซม. มีดอกมากกวา 20 ดอก

(Rolfe
ใบประดับที่มีดอกรูปไขแกมรูปขอบขนาน ยาว
ประมาณ 1.3 ซม. ปลายเกือบแหลม กานดอก

R
รวมรังไขยาว 1–2.5 ซม.

(
ดอกสีมวงแดง กลีบเลี้ยงบนกึ่งรูปไขขกลั กลับ

spathulatum
กวางประมาณ 4.5 มม. ยาวประมาณ 8.55 มม.

th l t
ปลายเกือบตัดและเปนติ่งแหลมเล็กนอย
กลีบเลี้ยงขาง ยาวประมาณ 18.5 มม.
ปลายมน โคนเบี้ ย ว ขอบด า นบน
และดานลางเชื่อมกันเปนรูปรองเทา
ดานนอกมีปุมเล็กละเอียดปกคลุม
Bulbophyllum

กลีบดอกรูปใบหอกแกมรูปขอบขนาน
lb h l l

แคบ ๆ กว า งประมาณ 1.5 มม.


ยาวประมาณ 5.5 มม. ปลายมน ขอบเรียบ
กลีบปากรูปใบหอก โคงลงมาทางมุมขวา
ปลายมน ครึ่ง หนึ่งของโคนพั บเขาหากัน
l

เกลีย้ ง เสาเกสร ยาวประมาณ 2.5 มม. โคนเสาาเกสร เกสร


B

ยาวประมาณ 3.5 มม. สวนที่ยื่นออกมาจาก า


าจาก

Orchids in the Phu Khieo-Nam Nao Forest Complex 63


ÊÔ§âμ¾Ñ´ÀÙËÅǧ
Bulbophyllum taeniophyllum C. S. P. Parish & Rchb. f.

64 ¡ÅŒ Ç ÂäÁŒ ã ¹¡ÅØ ‹ Á »† Ò ÀÙ à ¢Õ Â Ç-¹íé Ò Ë¹ÒÇ


ชื่ออื่น ๆ –
ลักษณะทางพฤกษศาสตร
ษศศาสตร

R hb f.
กลวยไมอิงอาศัย

f
รากอวนสั้น

i h & Rchb.
หัวเทียมเชื่อมติดกัน
คล า ยรู ป ทรงกระบอก
เสนผานศูนยกลาง 3–4 ซม..

Parish
ใบ ออกบริเวณปลายหัหัวเทียม
รู ป ขอบขนานแคบ ๆ กวว าางง
1.2–2.5 ซม. ยาว 16–19.55 ซม. ซ

P P
ปลายมน แผนใบหนาคลาายยแผ แผนหนัง กานใบ

S P.
สั้นมาก

Bulbophyllum taeniophyllum C. S.
ชอดอกแบบชอซีร่ ม ออกทีโ่ คนหัวเทียม
กานชอดอกรูปทรงกระบอกยาว 12.5–14.5 ซม.
มี ก าบหุ  ม 2–3 กาบ ยาวประมาณ 5.5 มม. ติดแนบไปถึงโคนเสาเกสร ไมสามารถเคลือ่ นไหวได
ดอกมีจํานวนมาก ใบประดับที่มีดอกรูปใบหอก เสาเกสรรูปสามเหลี่ยม ยาวประมาณ 2 มม.
แกมรูปไข ยาวประมาณ 4.5 มม. สวนกลางขยายเปนครีบ โคนเสาเกสร ยาวประมาณ
2.5 มม. สวนทีย่ นื่ ออกมาจากเสาเกสรรูปลิม่ แคบ
ดอกสีขาวถึงสีเขียวออน มีจดุ สีมว ง บางครัง้ สัน้ ๆ ฝาปดกลุม เรณู เกลีย้ ง ปลายแยกเปน 3 แฉก
กลีบปากสีนํ้าตาลอมเหลืองออน กลีบเลี้ยงบน เล็ก ๆ กลุมเรณูมีจํานวน 4 กลุม
รูปไขควํา่ ลง กวางประมาณ 5.5 มม. ยาวประมาณ
8 มม. ปลายแหลม ขอบหยักซีฟ่ น ไปถึงปลายกลีบ ผลแบบผลแหงแตก
กลีบเลี้ยงขางรูปใบหอกแคบ ๆ กวางประมาณ นิเวศวิทยาและการกระจายพันธุ
4.5 มม. ยาวประมาณ 20.5 มม. ปลายเรียวแหลม พบตามปาดิบชืน้ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
โคนเชื่ อ มไปถึ ง โคนเส า เกสรและเบี้ ย ว ขอบ ออกดอกเดือนพฤษภาคม–มิถุนายน และเดือน
ดานบนเชื่อมกัน ขอบดานลางโคงลง กลีบดอก กันยายน–พฤศจิกายน
รูปไขแคบ ๆ กวางประมาณ 2.5 มม. ยาวประมาณ เขตการกระจายพันธุ
4.5 มม. ปลายเกื อ บแหลม ขอบหยั ก ซี่ ฟ  น พมา ลาว เวียดนาม มาเลเซีย อินโดนีเซีย
กลีบปากโคงลง รูปใบหอก กวางประมาณ 1.3 มม.
ยาว ประมาณ 5.5 มม. ปลายเกือบแหลม อวบ
หนา ดานบนมีสนั 2 สัน และมีชอ งตรงกลาง โคน

Orchids in the Phu Khieo-Nam Nao Forest Complex 65


àÍ×éͧ¹íéÒμŒ¹
Calanthe cardioglossa Schltr.

66 ¡ÅŒ Ç ÂäÁŒ ã ¹¡ÅØ ‹ Á »† Ò ÀÙ à ¢Õ Â Ç-¹íé Ò Ë¹ÒÇ


ชื่ออื่น ๆ เฒานั่งฮุง เอื้องเลี่ยม
ลักษณะทางพฤกษศาสตร
กลวยไมดินหรืออาศัยบนหิน หายากที่เปน
กลวยไมอิงอาศัย สูงประมาณ 30–68 ซม.
หัวเทียมรูปทรงกลม กวาง 1.5–3 ซม.
ยาว 2.5–8.5 ซม.
ใบ มี 2–4 ใบ รูปขอบขนานแกมรูปใบหอก
กวาง 4–7 ซม. ยาว 22–47 ซม. ปลายแหลม

Calanthe cardioglossa Schltr.


หรือเรียวแหลม ผิวใบเกลีย้ ง กานใบยาว 3–6 ซม.
ชอดอกออกจากโคนหัวเทียม คอนขางโปรง
มีลกั ษณะหอยลง มีขนสัน้ นุม ปกคลุม กานชอดอก
ยาว 21–53 ซม. ใบประดับทีไ่ มมดี อก มี 2–9 อัน
รูปขอบขนานแกมรูปใบหอก ยาว 1.2–5 ซม.
แกนกลางชอดอกยาว 5–15 ซม. แตละชอมีดอก กลีบกลาง เดือยรูปทรงกระบอก ยาว 15–25 มม.
5–20 ดอก ใบประดับทีม่ ดี อกติดทน รูปใบหอก มีขนสั้นหนานุมปกคลุม เสาเกสรยาว 3–5 มม.
แกมรู ป ไข กว า ง 5–8 มม. ยาว 9–20 มม. เกือบเกลี้ยงหรือมีขนสั้นหนานุมปกคลุม โคน
ปลายแหลมหรือเรียวแหลม เสา เกสร ยาวประมาณ 3 มม. มี จะงอยเล็ ก
ดอก เส น ผ า นศู น ย ก ลาง 14–18 มม. แยกเปน 2 แฉก
สีชมพูถงึ มวงแดงหรือสีขาว มีแตมสีแดง กลีบปาก ผลแบบผลแหงแตก รูปทรงรี เสนผานศูนย-
สีแดง ดอกเมื่อแกเปลี่ยนเปนสีสม กลีบเลี้ยง กลางประมาณ 20 มม. ยาว 8 มม.
รูปใบหอกแกมรูปไข กวาง 3–8 มม. ยาว 9–14 มม. นิเวศวิทยาและการกระจายพันธุ
ปลายแหลม ดานนอกมีขนสั้นหนานุมปกคลุม พบตามปาดิบชื้น ปาเบญจพรรณ ที่เปน
กลีบ ดอกรู ป รี แ กมรูปไข กวาง 2.9–4.5 มม. หินทรายหรือหินแกรนิต ภาคเหนือ ภาคตะวัน-
ยาว 9.3–14 มม. ปลายมน เกลี้ยง กลีบปาก ออกเฉียงเหนือ ภาคตะวันออก ภาคตะวันตก-
กวาง 13–22 มม. ยาว 9–15 มม. ปลายแยก เฉียงใต ภาคกลาง ภาคตะวันออกเฉียงใต และ
เป น 3 แฉก โคนกลี บ เชื่ อ มติ ด กั บ เส า เกสร ภาคใต ทีร่ ะดับความสูง 300–1,640 ม. ออกดอก
แฉกกลางรูปพัด กวาง 7–8 มม. ยาว 3–7 มม. เดือนตุลาคม–ธันวาคม
ปลายมนกลม ตัด หรือเวาตืน้ แฉกขางรูปขอบขนาน
กวาง 4–8 มม. ยาว 3–10 มม. ปลายมนหรือ เขตการกระจายพันธุ
คอนขางกวาง โคนแยกเปนอิสระจากกลีบปาก กัมพูชา ลาว เวียดนาม
มีสนั 3 สัน สันกลางอาจจะยืน่ ยาวออกจากแฉก

Orchids in the Phu Khieo-Nam Nao Forest Complex 67


¡ÅŒÇÂäÁŒ´§
Calanthe lyroglossa Rchb. f.

68 ¡ÅŒ Ç ÂäÁŒ ã ¹¡ÅØ ‹ Á »† Ò ÀÙ à ¢Õ Â Ç-¹íé Ò Ë¹ÒÇ


ชื่ออื่น ๆ พุมขาวบิณฑ เอื้องขาวบิณฑ ผลแบบผลแหงแตก รูปทรงรี เสนผาน-
ศูนยกลาง กวางประมาณ 5 มม. ยาวประมาณ
ลักษณะทางพฤกษศาสตร 10 มม.
กลวยไมดิน
หัวเทียม ยาว 2–3 ซม.
ใบ มี 3–6 ใบ รูปขอบขนานแกมรูปใบหอก
กวาง 6–8 ซม. ยาว 35–89 ซม. ปลายเรียวแหลม
กานใบยาว 9–28 ซม.
ชอดอก ออกจากซอกใบ ดอกมีจาํ นวนมาก

Calanthe lyroglossa Rchb. f.


กานชอดอกยาว 24–46 ซม. ใบประดับทีไ่ มมดี อก
มี 2–4 ใบ รูปขอบขนานแกมรูปใบหอก ยาว
3–7.5 ซม. ปลายแหลมหรื อ เกื อ บแหลม
แกนชอดอกยาว 8–19 ซม. ใบประดับที่มีดอก
หลุดรวงงาย รูปใบหอกแกมรูปไข กวาง 3.5–8 มม.
ยาว 21–35 มม. ปลายแหลมถึงเรียวแหลม
ดอก เสนผานศูนยกลางประมาณ 10 มม.
สี เ หลื อ งถึ ง เหลื อ งอ อ น มี ก ลิ่ น หอมเล็ ก น อ ย
กลีบเลี้ยงรูปใบหอกแกมรูปรี ปลายแหลมหรือ
เรียวแหลม กลีบเลี้ยงบน กวาง 2–5 มม. ยาว
6–9 มม. กลีบเลี้ยงขาง กวาง 2.7–7 มม. ยาว
7.8–9 มม. กลีบดอกรูปรีแกมรูปไข กวาง 2.8–
5.5 มม. ยาว 6.5–9 มม. ปลายแหลมถึงเรียวแหลม นิเวศวิทยาและการกระจายพันธุ
กลีบปาก โคนเชื่อมติดกับดานขางของเสาเกสร พบบริเวณปาดิบชืน้ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ปลายแยกเปน 3 แฉก กวางประมาณ 8.3 มม. ภาคกลาง ภาคตะวันออกเฉียงใต และภาคใต
ยาว 7–10 มม. แฉกกลางรูปไตกวาง กวาง 5.5– ที่ระดับความสูง 725–1,400 ม. ออกดอกเดือน
7 มม. ยาว 3–4.5 มม. ปลายเวาตื้น แฉกขาง กรกฎาคม–กันยายน และเดือนพฤศจิกายน–
รูปติ่งหู ยาวนอยกวา 0.5 มม. บริเวณโคนมีสัน กุมภาพันธ
เล็ก ๆ 2 สัน เดือยรูปคลายกระบอง ยาว 4–6 มม. เขตการกระจายพันธุ
เสาเกสรมีลักษณะเปนจะงอย ยาวประมาณ อินเดีย พมา จีนตอนใต ไตหวัน ญีป่ นุ ตอนใต
3.5 มม. กัมพูชา ลาว เวียดนาม ฟลิปปนส คาบสมุทร-
มาลายู บอรเนียว

Orchids in the Phu Khieo-Nam Nao Forest Complex 69


ÍÑéÇ
Calanthe triplicata (Willemet) Ames

70 ¡ÅŒ Ç ÂäÁŒ ã ¹¡ÅØ ‹ Á »† Ò ÀÙ à ¢Õ Â Ç-¹íé Ò Ë¹ÒÇ


ชื่ออื่น ข า วตอกฤๅษี พุ  ม ข า วตอก รูปขอบขนาน กวาง 2.5–4.5 มม. ยาว 2–8.5 มม.
อั้วดอกขาว ปลายมนหรือตัด หายากที่หยักซี่ฟน กลีบขาง
รูปขอบขนาน กวาง 1.8–4.5 มม. ยาว 4.5–7.5 มม.
ชื่อสามัญ Christmas orchid ปลายมน มีปุมขนาดเล็กที่โคนกลีบ เดือยรูป
ทรงกระบอก ยาว 17.5–27.5 มม. มีขนสั้นนุม
ลักษณะทางพฤกษศาสตร ปกคลุม เสาเกสรยาว 3.5–7.5 มม. มีขนสั้นนุม
กลวยไมดิน สูง 45–85 ซม. ประปราย
หัวเทียม ยาว 1.8–2 ซม. ผลแบบผลแห ง แตก รู ป ทรงกระบอก

Calanthe triplicata (Willemet) Ames


ใบ มี 3–6 ใบ รู ป ขอบขนานแกมรู ป รี กวาง 12.5–15.5 มม. ยาว 27.5–35.5 มม.
กวาง 4–14.5 ซม. ยาว 35–65 ซม. ปลายเรียว นิเวศวิทยาและการกระจายพันธุ
แหลม ผิ ว ใบดา นบนเกลี้ยงหรือเกื อบเกลี้ยง พบตามปาดิบชื้น ใกลลําธารหรือพรุนํ้าจืด
ผิ ว ใบด า นล า งเกลี้ ย งหรื อ มี ข น ก า นใบยาว ภาคเหนือ ภาคตะวันออก ภาคตะวันตกเฉียงใต
7.5–26.5 ซม. ภาคกลาง ภาคตะวันออกเฉียงใต และภาคใต
ชอดอก ออกจากซอกใบ มีขนสัน้ นุม ปกคลุม ที่ ร ะดั บ ความสู ง 150–1,500 ม. ออกดอก
กานชอดอกยาว 45–50 ซม. ใบประดับที่ไมมี เดือนมีนาคม–กรกฎาคม และเดือนตุลาคม
ดอกมี 3–6 ใบ รูปขอบขนานแกมรูปใบหอก เขตการกระจายพันธุ –
ยาว 1.5–6.5 ซม. ปลายเกือบแหลมหรือแหลม
แกนกลางชอดอกยาว 3.5–20.5 ซม. ดอกมี
จํานวนมาก ใบประดับทีม่ ดี อกติดคงทนรูปใบหอก
แกมรูปไข กวาง 5.5–10.5 มม. ยาว 6.5–33.5 มม.
ปลายแหลมหรือเกือบแหลม แตละอันมีลกั ษณะ
โคงลง
ดอก ขนาดเสนผานศูนยกลาง 26–28 มม.
สีขาว กลิ่นหอมออน ๆ โคนกลีบสีเหลือง สีสม
หรือสีแดง กลีบเลี้ยงรูปใบหอกแกมรูปไขกลับ
กวาง 2.5–5.5 มม. ยาว 9.5–15.5 มม. ปลาย
เรียวแหลมหรือเปนติง่ หนาม ดานนอกมีขนปกคลุม
กลี บ ดอกรู ป รี แ กมรู ป ไข ก ลั บ หรื อ กึ่ ง รู ป ช อ น
กวาง 3.5–6.5 มม. ยาว 8–13.5 มม. ปลายมน
หรือตัด บางครั้งอาจมีขนประปราย กลีบปาก
แยกเปน 3 แฉก ยาว 13.5–22.5 มม. โคนกลีบปาก
เชื่ อ มกั บ ด า นข า งของเส า เกสร มี ข นปกคลุ ม
กลี บ กลางปลายแยกเปน 2 แฉก แต ละแฉก
Orchids in the Phu Khieo-Nam Nao Forest Complex 71
àÍ×éͧ¡ÅÕºà¡ÅÕÂÇ
Cephalantheropsis obcordata (Lindl.) Ormerod

72 ¡ÅŒ Ç ÂäÁŒ ã ¹¡ÅØ ‹ Á »† Ò ÀÙ à ¢Õ Â Ç-¹íé Ò Ë¹ÒÇ


ชื่ออื่น ๆ – ผลแบบผลแหงแตก
ลักษณะทางพฤกษศาสตร นิเวศวิทยาและการกระจายพันธุ
พบบริเวณปาดิบแลง ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
กลวยไมดิน สูง 45–95 ซม. ภาคตะวันตกเฉียงใต ภาคกลาง ภาคตะวันตก-
หัวเทียม ยาว 2.5–5.5 ซม. ลํ า ต น เฉียงใต และภาคใต ที่ระดับความสูง 1,100–

Cephalantheropsis obcordata (Lindl.) Ormerod


รูปทรงกระบอกแกมรูปกระสวย กวาง 0.45–1.5 ซม. 1,400 ม. ออกดอกเดือนกันยายน–มีนาคม
ยาว 36.5–55.5 ซม. เขตการกระจายพันธุ
ใบ มี 3–9 ใบ รูปใบหอกแกมรูปรี กวาง ตะวันออกเฉียงเหนือของอินเดีย บังคลาเทศ
2.5–6 ซม. ยาว 21.5–48 ซม. ปลายเรียวแหลม พมา จีนตอนใตและตะวันออกเฉียงใตของจีน
แผนใบเกลี้ยง กานใบยาว 2.5–11.5 ซม. ไตหวัน ญี่ปุนตอนใต ลาว เวียดนาม ฟลิปปนส
ชอดอกแบบชอกระจะโปรง ๆ มี 1–2 ชอ หมูเกาะโมลุกกะ
ออกดานขาง ยาว 25.5–66.5 ซม. มีขนหยาบแข็ง
ปกคลุ ม ก า นช อ ดอกยาว 24.5–45.5 ซม.
ใบประดับทีม่ ดี อกมี 4–8 ใบ รูปใบหอกแกมรูปรี
ยาว 2–4.5 ซม. ปลายแหลม เกือบเกลี้ยงหรือมี
ขนประปราย แกนกลางชอดอกยาว 10.5–21 ซม.
มีดอก 14 ดอกถึงจํานวนมาก ใบประดับทีม่ ดี อก
รวงงาย รูปใบหอก ปลายเรียวแหลม เกลี้ยง
ดอก ขนาดเสนผานศูนยกลาง 20.5–31 มม.
สีเหลืองหรือสีเหลืองอมสม หายากที่สีเหลือง
อมนํ้าตาลออน กลีบปากสีขาวมีแตมสีนํ้าตาล
เมื่อแกสีเหลือง กลีบเลี้ยงรูปแถบหรือรูปรีแกม
รูปขอบขนาน กวาง 2.5–7 มม. ยาว 9.5–19.5 มม.
ปลายแหลม ดานนอกมีขนปกคลุม ดานในเกลีย้ ง
หรือเกือบเกลีย้ ง กลีบปากแยกเปน 3 แฉก กวาง
4.5–10.5 มม. ยาว 7.5–15.5 มม. บริ เวณ
โคนกลีบมีขนปกคลุม กลีบกลางรูปพัด กวาง
4.5–10.5 มม. ยาว 3–8.5 มม. ปลายเวาตื้น
ขอบยับยน และสวนที่มีลักษณะคลายกานกลีบ
ขอบเรียบ กลีบขางรูปเคียว กวาง 0.5–3.5 มม.
ยาว 1.5–5.5 มม. มีสันตามยาว 2 สัน เสาเกสร
ยาว 2.5–6.5 มม. มีขนสั้นนุมปกคลุมหนาแนน

Orchids in the Phu Khieo-Nam Nao Forest Complex 73


¡ŒÒ§»ÅÒ
Cleisostoma fuerstenbergianum Kraenzl.

74 ¡ÅŒ Ç ÂäÁŒ ã ¹¡ÅØ ‹ Á »† Ò ÀÙ à ¢Õ Â Ç-¹íé Ò Ë¹ÒÇ


ดอก กลีบเลี้ยงและกลีบดอกสีมวงแดง
กลีบปากสีขาว ขอบแฉกขางสีมว ง กลีบเลีย้ งบน
รูปรีแกมรูปไขหรือรูปเรือ กวางประมาณ 2.5 มม.
ยาว 4-5.5 มม. โคนเชือ่ มถึงโคนเสาเกสร กลีบดอก
รู ปขอบขนานแคบ ๆ กว า งประมาณ 2 มม.
ยาวประมาณ 4.5 มม. ปลายมน กลีบปากแยก
เปน 3 แฉก แฉกขางตัง้ ตรง รูปคลายสามเหลีย่ ม
หรือรูปเคียว โคงขึน้ ขอบงอ แฉกกลางรูปสามเหลีย่ ม

Cleisostoma fuerstenbergianum Kraenzl.


แกมรูปหัวลูกศร ยาวเทากับแฉกขาง บริเวณ
สวนกลางเวาเขาดานในเล็กนอย โคนมีขนปุม
ขนาดเล็กปกคลุมหนาแนน เดือยเกือบรูปทรงกลม
เส น ผ า นศู น ย ก ลาง 1.7-3.5 มม. เส า เกสร
ยาวประมาณ 3.5 มม. มีจะงอยขนาดเล็ก ฝาปด
ชื่ออื่น ๆ – กลุมเรณูปลายตัด กลุมเรณูมีจํานวน 4 กลุม
ผลแบบผลแหงแตก
ลักษณะทางพฤกษศาสตร
นิเวศวิทยาและการกระจายพันธุ
กล ว ยไม อิ ง อาศั ย พบตามปาดิบเขาทั่วทุกภาคของประเทศ
ลํ า ต น ตัง้ ตรงหรือโคง สูงประมาณ 55 ซม. ออกดอกเดือนพฤษภาคม–มิถุนายน
เสนผานศูนยกลางประมาณ 5.5 มม. อาจจะ เขตการกระจายพันธุ
แตกกิง่ หรือไมแตกกิง่ มีหลายปลอง แตละปลอง กัมพูชา ลาว เวียดนาม
ยาว 2.5–4.5 ซม.
ใบ เรียงตัวดานเดียว ลักกษณะเปนเหลยม
ษณะเปนเหลี่ยม
กว า ง 1.7–3.5 มม. ยาวประมาณ ะมาณ
มาณ 25.5 ซม.
ปลายมน เนื้อใบอวบหนา
ชอดอกแบบชอกระจะ
ออกดานขาง ยาว 19.5–24.55 ซม.
ดอกมีจาํ นวนมาก เรียงตัวแบบโปร โปรง ๆ กานชอดอก
ยาว 1.5–4.5 ซม. กานดอกรวมรั มรัรังไขยาวประมาณ
1.2 ซม. ใบประดับที่มีดอกรูปใ ปใบหอกแกมรูปไข
แคบ ๆ ยาวประมาณ 2.5 มม. ม มีลักษณะบาง
ม.
คลายเยื่อ

Orchids in the Phu Khieo-Nam Nao Forest Complex 75


àÍ×éͧà·Õ¹
Coelogyne brachyptera Rchb. f.

76 ¡ÅŒ Ç ÂäÁŒ ã ¹¡ÅØ ‹ Á »† Ò ÀÙ à ¢Õ Â Ç-¹íé Ò Ë¹ÒÇ


ชื่ออื่น ๆ เอื้องลําเทียน เอื้องลําเทียน 3 สัน สันกลางมีติ่งเรียง 2–3 แถว บริเวณโคน
ปากดํา ของสันขางยกขึ้น โคนกลีบปากสีสม ขอบหยัก
ซีฟ่ น ระหวางแฉกขางมีลกั ษณะเปนคลืน่ เสาเกสร
ชื่อสามัญ Short-Winged Coelogyne มีลกั ษณะเปนปกยาว 13.5–16.5 มม. ปลายตัด
ลักษณะทางพฤกษศาสตร หยักมน
กลวยไมอิงอาศัย ผลแบบผลแหงแตก
หัวเทียมรูปทรงกระบอก กวาง 1.5–3 ซม. นิเวศวิทยาและการกระจายพันธุ
ยาว 5.5–16.5 ซม. มีสัน 4 สัน ตามความยาว พบตามป า เต็ ง รั ง และป า เบญจพรรณ
ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคตะวันออก

Coelogyne brachyptera Rchb. f.


ใบ มี 2 ใบ รูปใบหอกแกมรูปรี กวาง 2– ภาคกลาง และภาคตะวันออกเฉียงใต ที่ระดับ
6.5 ซม. ยาว 11.5–25.5 ซม. เสนใบมี 5–7 เสน ความสูง 200–500 ม. ออกดอกเดือนกุมภาพันธ–
กานใบยาวประมาณ 1.5 ซม. มิถุนายน และเดือนตุลาคม–พฤศจิกายน
ชอดอกแบบชอกระจะ ออกที่ปลายยอด เขตการกระจายพันธุ
มีลักษณะโคงงอ กานชอดอกยาว 3.5–8.5 ซม. พมา ลาว กัมพูชา เวียดนาม
บริเวณกึง่ กลางมีใบเกล็ด 5–7 ใบ เรียงซอนเหลือ่ ม
แกนชอดอกยาว 2.5–15.5 ซม. ใบประดับ
ทีม่ ดี อกติดทน รูปใบหอก ยาว 16.5–40.5 ซม.
ปลายแหลม
ดอก มี 2–7 ดอก เส น ผ า นศู น ย ก ลาง
4.5–6.5 ซม. กลิ่นหอม กลีบเลี้ยงสีเหลืองอม
เขี ย วอ อ นถึ ง สี เขี ย ว กลี บ เลี้ ย งบนแผ อ อก
รูปใบหอกแกมรูปไข กวาง 4.5–11.5 มม. ยาว
29.5–38.5 มม. ปลายเกือบแหลม กลีบเลีย้ งขาง
รูปใบหอกแกมรูปขอบขนาน กวาง 4.5–11.5 มม.
ยาว 29.5–38.5 มม. ปลายแหลม กลี บดอก
รูปแถบ กวาง 2.5–5.5 มม. ยาว 27.5–32.5 มม.
ปลายแหลม กลีบปากสีขาว มีจดุ สีนาํ้ ตาลแกมแดง
หรือสีดาํ ปลายแยก 3 แฉก กวาง 9.5–15.5 มม.
ยาว 20.5–25.5 มม. แฉกขางกึง่ รูปรี ปลายมนกลม
เวาลึ ก 2.5–5.5 มม. แฉกกลางรู ปไขกึ่ งรูปรี
ถึงกึ่ง รูป วงกลม กวาง 12.5–15.5 มม. ยาว
14.5–17.5 มม. ปลายแหลม ขอบเปนคลืน่ มีสัน

Orchids in the Phu Khieo-Nam Nao Forest Complex 77


àÍ×éͧà·Õ¹ÊÕÊŒÁ
Coelogyne brunea Lindl.

78 ¡ÅŒ Ç ÂäÁŒ ã ¹¡ÅØ ‹ Á »† Ò ÀÙ à ¢Õ Â Ç-¹íé Ò Ë¹ÒÇ


ชื่ออื่น ๆ พญาแรด ลิ้นแรด
ลักษณะทางพฤกษศาสตร
กลวยไมอิงอาศัย
หัวเทียมรูปขอบขนานแกมรูปทรงกระบอก
ถึงรูปกระสวย กวาง 1.4–2.5 ซม. ยาว 3.5–11.5 ซม.
ใบ มี 2 ใบ รูปใบหอกกวางถึงรูปขอบขนาน
แกมรูปรี กวาง 3.4–7.5 ซม. ยาว 7.5–28.5 ซม.
ปลายแหลม เสนใบมี 3–5 เสน เสนกลางใบ
เดนชัด กานใบยาว 0.4–4.5 ซม.

Coelogyne brunea Lindl.


ชอดอกแบบชอกระจะ ออกทีป่ ลายหัวเทียม
ชอดอกยาว 3–7.5 ซม. กึง่ กลางชอดอกมีใบเกล็ดหุม
แกนกลางชอดอกมีลักษณะซิกแซก ชอหอยลง
ยาว 4.5–12.5 ซม. ใบประดับที่มีดอกรวงงาย
ดอกมีจาํ นวน 4–8 ดอก เสนผานศูนยกลาง
5.5–6.5 ซม. กลีบเลี้ยงสีเขียวออนหรือสีเหลือง
อมนํ้ า ตาลอ อ น กลี บ เลี้ ย งบนรู ป ขอบขนาน
กว า ง 8.5–12.5 มม. ยาว 31.5–40.5 มม.
ปลายแหลม กลีบเลี้ยงขางรูปใบหอกแกมรูป
ขอบขนาน กวาง 6.5–10.5 มม. ยาว 29.5–
36.5 มม. กลีบดอกรูปแถบ กวาง 0.8–2.5 มม.
ยาว 26.5–35.5 มม. ปลายแหลม สีเขียวออน
หรือสีเหลืองอมนํา้ ตาลออน กลีบปากสีเขียวออน
ปลายแยก 3 แฉก กวาง 11.5–17.5 มม. ยาว
29.5–36.5 มม. แฉกขางกึง่ รูปรี ดานบนมีลกั ษณะ นิเวศวิทยาและการกระจายพันธุ
เปนสามเหลีย่ ม ปลายเวา 2.5–5.5 มม. แฉกกลาง พบตามป า ดิ บ เขาระดั บ ตํ่ า ภาคเหนื อ
รูปคลายทรงกระบอกถึงรูปชอน กวาง 14.5– และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ที่ระดับความสูง
20.5 มม. ยาว 11.5–15.5 มม. ขอบเรียบ ดาน 900–1,700 ม. ออกดอกเดือนตุลาคม–มกราคม
บนมนหรือเวาบุม ปลายรูปสามเหลี่ยม มีสัน เขตการกระจายพันธุ
กวาง 3 สัน เสาเกสรยาว 19–21 มม. ดานบน พมา จีน ลาว เวียดนาม
เปนปก ปลายเรียบ
ผลแบบผลแหงแตก
Orchids in the Phu Khieo-Nam Nao Forest Complex 79
àÍ×éͧËÔ¹
Coelogyne flaccida Lindl.

80 ¡ÅŒ Ç ÂäÁŒ ã ¹¡ÅØ ‹ Á »† Ò ÀÙ à ¢Õ Â Ç-¹íé Ò Ë¹ÒÇ


ชื่ออื่น ๆ เอื้องเทียนนอย แฉกกลางรูปไข กวาง 5.5–8.5 มม. ยาว 7.5–
10.5 มม. ขอบเปนคลื่น มีสัน 3 สัน เสาเกสร
ลักษณะทางพฤกษศาสตร ยาว 15.5–18.5 มม. ดานบนมีลักษณะเปนปก
กลวยไมอิงอาศัย ปลายไมสมมาตร
หัวเทียมรู ป ทรงกลม รู ป ขอบขนาน ผลแบบผลแหงแตก
รู ป ทรงกระบอก หรื อ รู ป กระสวย กว า ง นิเวศวิทยาและการกระจายพันธุ
1.5–4.5 ซม. ยาว 4.5–15.5 ซม. พบตามป า ดิ บ เขาระดั บ ตํ่ า ภาคเหนื อ
ใบ มี 2 ใบ รูปใบหอกถึงรูปใบหอกแกม และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ที่ระดับความสูง
รูปขอบขนาน กวาง 1.5–5.5 ซม. ยาว 11– 900–2,300 ม. ออกดอกเดื อ นกุม ภาพั นธ –
30.5 ซม. ปลายแหลม แผนใบหนาคลายแผนหนัง กรกฎาคม และเดือนพฤศจิกายน

Coelogyne flaccida Lindl.


เสนใบมี 1–3 เสน เห็นชัดทางดานลาง เขตการกระจายพันธุ
ชอดอกแบบชอกระจะ ออกทีป่ ลายหัวเทียม อินเดี ย เนปาล ภูฏาน พม า จี น ลาว
กานชอดอกยาว 3.5–8.5 ซม. แกนชอดอกมี เวียดนาม
ลักษณะซิกแซก ชอดอกโคงลง ยาว 3.5–20.5 ซม.
ใบประดับที่มีดอกรวงงาย
ดอก มี 3–12 ดอก เสนผานศูนยกลาง
22.5–4.5
2.5 5–44.55 ซม.
ซม กลนหอม
กลิน่ หอม กลบเลยงสขาวถงสชมพู
กลบเลยงสขาวถงสชมพ
กลีบเลีย้ งสีขาวถึงสีชมพู
หรื อ สี เ หลื อ งอมนํ้ า ตาลอ อ น กลี บ เลี้ ย งบน
แผออกรูปใบหอกแกมรูปรี กวาง 6.5–9.5 มม.
ยาว 19.5–30.5 มม. กลีบเลีย้ งขางรูปขอบขนาน
กวาง 6.5–9.5 มม. ยาว 19.5–30.5 มม. ปลาย
แหลม กลีบดอกรูปแถบ กวาง 2.5–4.5 มม.
ยาว 19.5–26.5 มม. ปลายแหลม สีขาวถึง
สีชมพูหรือสีเหลืองอมนํ้าตาล กลีบปาก
กวาง 14.5–17.5 มม. ยาว 16.5–23.5 มม.
สีขาวถึงสีชมพูหรือสีเหลืองอมนํา้ ตาล ปลายแยก
3 แฉก แฉกขางกึ่งรูปรี ดานบนมน ปลายเวา
0.8–2.5 มม.

Orchids in the Phu Khieo-Nam Nao Forest Complex 81


àÍ×éͧ©Ø¹
Coelogyne lentiginosa Lindl.

82 ¡ÅŒ Ç ÂäÁŒ ã ¹¡ÅØ ‹ Á »† Ò ÀÙ à ¢Õ Â Ç-¹íé Ò Ë¹ÒÇ


ชื่ออื่น ๆ เอื้องเทียนลําเขียว
เอื้องลําเทียนปากลาย
ลักษณะทางพฤกษศาสตร
กลวยไมอิงอาศัย
หัวเทียมรูปทรงกระบอกหรือรูปกระสวย
กวาง 1.2–2.5 ซม. ยาว 4.5–12.5 ซม.
ใบ มี 2 ใบ รูปใบหอก กวาง 1.5–5 ซม.
ยาว 14.5–31.5 ซม. ปลายแหลม แผนใบบาง

Coelogyne lentiginosa Lindl.


แข็ง เสนใบมี 5–7 เสน เห็นชัดทางดานลาง
กานใบยาว 1.2–3.5 ซม.
ชอดอกแบบชอกระจะ ออกทีป่ ลายหัวเทียม
ชอดอกตั้งตรง ยาว 3.5–8 ซม. มีใบเกล็ดหุม
แกนชอดอกซิกแซก ยาว 3.5–10.5 ซม. ใบประดับ
ทีม่ ดี อกรูปใบหอก ติดคงทน กวาง 5.5–9.5 มม.
ยาว 14.5–25.5 มม.
ดอก มี 3–5 ดอก เส น ผ า นศู น ย ก ลาง
3–5 ซม. สีขาว สีเขียวออน หรือสีเหลืองอมสม รูปสามเหลี่ยม มีแตมสีสมหรือสีเหลืองบริเวณ
กลิน่ หอม กลีบเลีย้ งสีขาว สีเขียวออน หรือสีเหลือง โคนแฉก มีสัน 3 สัน สีขาว เสาเกสรยาว 9.5–
อมสม กลีบเลีย้ งบนขนานไปกับเสาเกสรรูปใบหอก 15.5 มม. ดานบนเปนปก ปลายแยกเปนแฉก
แกมรูปขอบขนาน กวาง 6.5–10.5 มม. ยาว เล็ก ๆ
19.5–30.5 มม. ปลายแหลม กลี บเลี้ยงข าง ผลแบบผลแหงแตก
รูปใบหอกแกมรูปขอบขนาน กวาง 6.5–10.5 มม. นิเวศวิทยาและการกระจายพันธุ
ยาว 19.5–30.5 มม. ปลายแหลม กลี บดอก พบตามพื้ น ที่ เ ป ด โล ง บริ เ วณป า ดิ บ เขา
รูปใบหอก กวาง 2.5–5.5 มม. ยาว 21.5–25.5 มม. ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคตะวันตก-
สีขาว สีเขียวออนหรือสีเหลืองอมสม กลีบปาก เฉีย งใต และภาคใต ที่ ร ะดั บความสู ง 580–
กว า ง 11.5–14.5 มม. ยาว 8.5–11.5 มม. 1,650 ม. ออกดอกเดือนพฤศจิกายน–เมษายน
ปลายแยก 3 แฉก แฉกขางรูปเกือบรี ดานบนมน
เสนกลางแฉกขางและขอบแฉกขางสีนํ้าตาล เขตการกระจายพันธุ
แฉกกลางกึ่งรูปวงกลม กวาง 11.5–14.5 มม. พมา เวียดนาม
ยาว 8.5–11.5 มม. สวนที่คลายกานกลีบยาว
1.5–3.5 มม. ขอบเปนคลืน่ ดานบนมน สวนปลาย

Orchids in the Phu Khieo-Nam Nao Forest Complex 83


àÍ×éͧËÁÒ¡
Coelogyne trinervis Lindl.

84 ¡ÅŒ Ç ÂäÁŒ ã ¹¡ÅØ ‹ Á »† Ò ÀÙ à ¢Õ Â Ç-¹íé Ò Ë¹ÒÇ


ปลายแหลม กลีบดอกรูปแถบถึงรูปใบหอก กวาง
1.5–3.5 มม. ยาว 17.5–20.5 มม. ปลายแหลม
กลีบปาก กวาง 13.5–16.5 มม. ยาว 19.5–22.5 มม.
ปลายแยก 3 แฉก แฉกขางกึ่งรูปรีถึงรูปรี กวาง
5.5–8.5 มม. ยาว 5.5–7.5 มม. ขอบเปนคลื่น
สวนที่คลายกานกลีบยาว 1.5–3.5 มม. ปลายมน
บริเวณกลางกลีบปากมีสัน 3 สัน สันกลางสั้นกวา
สันขาง สันแตละสันมีลักษณะเปนคลื่น เสาเกสร
ยาว 15.5–18.5 มม. ดานบนมีลักษณะเปนปก
ชื่ออื่น ๆ – ปลายเปนรอยบาก

Coelogyne trinervis Lindl.


ลักษณะทางพฤกษศาสตร ผลแบบผลแหงแตก
กลวยไมอิงอาศัยหรือเกาะบนหิน
หัวเทียมทรงรูปไข เสนผานศูนยกลาง 0.8–
3.2 ซม.
ใบ มี 2 ใบ รูปแถบถึงรูปใบหอก กวาง 2.5–
5 ซม. ยาว 11.5–45.5 ซม. ปลายแหลม เสนใบ
3 เสน เห็นชัดทางดานลาง กานใบยาว 1.5–12.5 ซม.
ชอดอกแบบช อ กระจะ ออกด า นข า ง
ก า นช อ ดอกยาว 3.5–7.5 ซม. มี ใ บเกล็ ด หุ  ม
แกนชอดอกซิกแซก มีลกั ษณะโคง ยาว 3.5–8.5 ซม.
แตละปลองยาว 0.8–3 ซม. ใบประดับที่มีดอก
รูปใบหอกรวงงายในระยะออกดอก กวาง 7.5–8 มม.
ยาวไดถึง 25.5 มม.
ดอก มี 5–8 ดอก เส น ผ า นศู น ย ก ลาง
2.5–4.5 ซม. บานพรอมกัน กลิ่นหอม กลีบเลี้ยง นิเวศวิทยาและการกระจายพันธุ
กลีบดอก และเสาเกสร สีขาวถึงสีชมพูออนหรือ พบตามปาผลัดใบระดับตํา่ และปาดิบเขาระดับตํา่
สีเขียวออน กลีบปากสีขาว ขอบของสวนที่คลาย ทัว่ ทุกภาคของประเทศไทย ทีร่ ะดับความสูง 100–
กานกลีบสีเหลือง แฉกขางและแฉกกลางสีนํ้าตาล 2,000 ม. ออกดอกเดือนกันยายน–ธันวาคม
กลี บ เลี้ ย งบนกางออกรู ป รี ถึ ง รู ป ใบหอก กว า ง เขตการกระจายพันธุ
5.5–8.5 มม. ยาว 19.5–25.5 มม. กลีบเลี้ยงขาง อินเดีย พมา ลาว กัมพูชา เวียดนาม คาบสมุทร-
รูปขอบขนาน กวาง 4.5–7.5 มม. ยาว 19.5–25.5 มม. มาเลเซีย สุมาตรา ชวา

Orchids in the Phu Khieo-Nam Nao Forest Complex 85


¡ÐàáÐË͹´ŒÒÁ¢ŒÒÇ
Cymbidium bicolor Lindl.

86 ¡ÅŒ Ç ÂäÁŒ ã ¹¡ÅØ ‹ Á »† Ò ÀÙ à ¢Õ Â Ç-¹íé Ò Ë¹ÒÇ


ชื่ออื่น ๆ – ขอบ 2 ขางเรียบและขนานกันถึงคลายรูปตัวเอส
(S) มี ปุ  ม เล็ ก ละเอี ย ดถึ ง มี ข นสั้ น นุ  ม ปกคลุ ม
ลักษณะทางพฤกษศาสตร เสาเกสรยาว 8.5–11.5 มม. กลุมเรณูมีจํานวน
กลวยไมอิงอาศัย 2 กลุม
หัวเทียม รูปไข แบนดานขาง กวาง ผลแบบผลแห ง แตก รู ป ทรงรี แ กมรู ป
ประมาณ 3 ซม. ยาวไดถึง 5.5 ซม. ขอบขนาน กวาง 1.8–3.5 ซม. ยาว 3.5–6.5 ซม.
ใบ มี 5–7 ใบ รูปลิน้ แคบ ๆ กวาง 1–3 ซม. นิเวศวิทยาและการกระจายพันธุ
ยาว 29.5–68.5 ซม. ปลายมน แยกเปน 2 แฉก พบตามปาผลัดใบและปาดิบชื้น ทั่วทุกภาค
หรือเบี้ยว แผนใบเหนียว แข็ง มีลักษณะโคง ของประเทศ ที่สูงจากระดับทะเล ถึง 1,200 ม.
ชอดอกแบบชอกระจะ ออกทีป่ ลายหัวเทียม ออกดอกเดือนกุมภาพันธ–มิถุนายน

Lindl.
กานชอดอกยาว 7.5–33.5 ซม. ใบประดับยาว เขตการกระจายพันธุ
1.3–5 มม. อินเดียตอนเหนือ เนปาล ภูฏาน พมา จีน
ดอก เสนผานศูนยกลาง 2–5 ซม. กลิน่ หอม ตอนใต อินโดจีน

bicolor
กลีบเลีย้ งและกลีบดอกสีเหลืองถึงสีครีม บริเวณ
กลางกลีบมีรวิ้ สีนาํ้ ตาลแดงถึงสีนาํ้ ตาล กลีบปาก

i l
สีครีม แฉกขางมีจดุ สีนาํ้ ตาลแดงแตม แฉกกลาง

bi
สีขาวจนถึงโคนกลีบสีเหลืองและมีจุดหรือตอม
สี นํ้ า ตาลแดง บริ เวณขอบสี ค รี ม ถึ ง สี เ หลื อ ง

Cymbidium
ด า นหลั ง มี ลั ก ษณะเป น ดวง ๆ สี นํ้ า ตาลแดง

bidi
i
กลีบเลี้ยงบนรูปขอบขนานแคบถึงรูปลิ้นแกม
รูปไขกลับแคบ กวาง 3.7–7 มม. ยาว 16–28.5 มม.
ปลายมนถึงเกือบแหลม บางครั้งเปนติ่งแหลม
C
กลีบเลี้ยงขางรูปรางเบี้ยวแผแบน กลีบดอกรูป
ขอบขนานแคบถึงรูปรีแคบ กวาง 3.5–6.5 มม.
ยาว 14.5–22 มม. ปลายมนถึงแหลม กลีบปากก
แผแบน กวาง 9–15 มม. ยาว 12–18.5 มม..
โคนกลีบเปนถุง มีปุมเล็กละเอียดถึงมีขนสั้นนุม
ปกคลุม ปลายแยก 3 แฉก แฉกขางสัน้ กวา
หรือยาวเทา ๆ กับเสาเกสรแตไมยาวเกินอับเรณู ณู
ปลายมน แฉกกลางรูปรีกวาง กวาง 6.5–9 มม..
ยาว 5–8.5 มม. ปลายมนกลม โคงลงมีปุม
เล็ ก ละเอี ย ดถึ ง มี ต  อ มที่ มี ข นสั้ น นุ  ม ปกคลุ ม

Orchids in the Phu Khieo-Nam Nao Forest Complex 87


¡ÐàáÐË͹ÀÙËÅǧ
Cymbidium devonianum Paxton

88 ¡ÅŒ Ç ÂäÁŒ ã ¹¡ÅØ ‹ Á »† Ò ÀÙ à ¢Õ Â Ç-¹íé Ò Ë¹ÒÇ


ชื่ออื่น ๆ – ถึงบวมเปนตอม 2 ตอม เสาเกสรยาว 11.5–
14.5 มม. โคนเสาเกสรสั้น กลุมเรณูมีจํานวน
ลักษณะทางพฤกษศาสตร 2 กลุม
กลวยไมอิงอาศัย ผลแบบผลแห ง แตก รู ป ทรงรี แ กมรู ป
หัวเทียม กวาง 1.5–2.5 ซม. ยาว 2.5– ขอบขนาน กวางประมาณ 1.5 ซม. ยาวประมาณ
3.5 ซม. เกล็ดหุมยอดสีมวง 3 ซม.
ใบ รูปรี กวาง 3–6.5 ซม. ยาว 16.5–30.5 ซม.
มีลักษณะเกือบตั้งตรงรวมกานใบยาว 19.5–
49.5 ซม. ปลายมนถึงเกือบแหลม เบี้ยว เปนติ่ง

Cymbidium devonianum Paxton


หนาม ขอบเรียบ แผนใบหนาคลายแผนหนัง
เกลี้ยง เสนกลางใบเดนชัด
ชอดอกแบบชอกระจะ ออกทีป่ ลายหัวเทียม
ชอดอกมีลักษณะหอยลง ยาว 23.5–44.5 ซม.
มี 15–35 ดอก ใบประดับยาว 1.5–5.5 มม.
ดอก เสนผานศูนยกลาง 2–4 ซม. ดอก
หันไปในทิศทางเดียวกัน กลีบเลีย้ งและกลีบดอก
สีเหลืองออนถึงสีเขียว มีสีมวงถึงสีนํ้าตาลแตม
เปนดวง กลีบปากสีมวง แยกเปน 3 แฉก แฉก
ขางและแผนกลีบมีสแี ดงเขมแตมเปนวง แฉกกลาง
มี สี แ ดงเข ม แต ม เป น วง ส ว นโคนมี จุ ด สี ม  ว ง
กลี บ เลี้ ย งบน มี ลั ก ษณะตั้ ง ตรง รู ป รี กว า ง
6.5–10.5 มม. ยาว 19.5–29.5 มม. ปลายมน
ขอบโค ง ลง กลี บ เลี้ ย งข า งมี ลั ก ษณะเหมื อ น
กลีบเลี้ยงบน แตแผออก หอยลง ปลายเบี้ยว
กลีบปากกวางรูปสี่เหลี่ยมขาวหลามตัด กวาง
10.5–15.5 มม. ยาว 14.5–19.5 มม. มีปุม นิเวศวิทยาและการกระจายพันธุ
ขนาดเล็กจนถึงโคนเสาเกสร แฉกขางมีลักษณะ พบตามปาดิบชื้น ที่เขตรักษาพันธุสัตวปา
โคงเขาเล็กนอย แฉกกลางรูปสามเหลีย่ มถึงรูปไข ภูหลวง จังหวัดเลย ออกดอกเดือนมีนาคม–
กว า งประมาณ 8 มม. ยาวประมาณ 8 มม. เมษายน
มีลักษณะโคงลงถึงโคงลงเล็กนอย ปลายมนถึง เขตการกระจายพันธุ
เปนติง่ หนาม สวนโคนของแฉกกลางอาจจะลดรูป อินเดียตอนเหนือ เนปาล ภูฏาน จีนตอนใต
ลาว เวียดนาม

Orchids in the Phu Khieo-Nam Nao Forest Complex 89


¹Ò§¤íÒ
Cymbidium ensifolium (L.) Sw.

90 ¡ÅŒ Ç ÂäÁŒ ã ¹¡ÅØ ‹ Á »† Ò ÀÙ à ¢Õ Â Ç-¹íé Ò Ë¹ÒÇ


ชื่ออื่น ๆ จุหลัน ยกขึ้นมา 2 ขาง เสาเกสรยาว 9.5–15.5 มม.
กลุมเรณูมจี าํ นวน 4 กลุม
ลักษณะทางพฤกษศาสตร
ผลแบบผลแหงแตก รูปกระสวย กวาง
กลวยไมอิงอาศัย ประมาณ 2.5 ซม. ยาวประมาณ 6.5 ซม. มีสนั แข็ง
หัวเทียมรูปทรงกลม กวาง 1.2–1.5 ซม.
ยาวไดถึง 3.5 ซม. อยูใตดิน
ใบ มี 2–4 ใบ รูปรีแกมรูปแถบ กวาง 0.5–
3 ซม. ยาว 29.5–94.5 ซม. ปลายแหลม ขอบ
จักฟนเลื่อยถี่ ไมมีกานใบ

Cymbidium ensifolium (L.) Sw.


ชอดอกแบบชอกระจะ ออกทีโ่ คนหัวเทียม
มีลกั ษณะตัง้ ตรง ยาว 14.5–67.5 ซม. มี 3–8 ดอก
ใบประดับยาว 0.5–2.5 ซม.
ดอก เสนผานศูนยกลาง 2.5–4 ซม. กลิน่ หอม
กลี บ ดอกและกลี บ เลี้ ย งสี เ หลื อ งอ อ นหรื อ
สีนํ้าตาลออนแกมสีเขียว มีแถบสีแดง 5 แถบ
ตามความยาว กลีบดอกแถบตรงกลางเห็นเดนชัด
และมี จุ ด สี นํ้ า ตาลแดงแต ม จนถึ ง โคนกลี บ
กลีบปากสีเหลืองออนหรือสีขาวนวล กลีบขาง
มีลายสีแดง กลีบกลางมีแตมสีแดง กลีบเลีย้ งบน
รูปรีแคบ กวาง 4.5–9 มม. ยาว 18.5–31.5 มม. นิเวศวิทยาและการกระจายพันธุ
ปลายแหลม มน หรือเปนติง่ หนาม กลีบเลีย้ งขาง พบตามปาไมกอ ปาเต็งรัง และปาดิบเขา
มี ลั ก ษณะเหมื อ นกลี บ เลี้ ย งบน แต แ ผ อ อก ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคตะวันออก
กลีบดอกรูปรีแกมรูปไข กวาง 5–9.5 มม. ยาว ภาคตะวันตกเฉียงใต และภาคใต ออกดอกเดือน
13.5–26.5 มม. ปลายเกือบแหลมแตสั้นกวา พฤศจิกายน–พฤษภาคม
และกวางกวากลีบเลี้ยง กลีบปากยาว 13.5–
22.5 มม. แฉกขางกลมมน มีปมุ ขนาดเล็กปกคลุม เขตการกระจายพันธุ
แฉกกลางรูปไขถึงรูปสามเหลี่ยม กวาง 5.5– อินเดียตอนใต ศรีลงั กา คาบสมุทรมาเลเซีย
10.5 มม. ยาว 5.5–12.5 มม. ปลายแหลม มีปมุ สุมาตรา ชวา
ขนาดเล็กละเอียดปกคลุม ขอบเรียบ เปนคลื่น
บริเวณตรงกลางมีสวนที่มีลักษณะเหมือนครีบ

Orchids in the Phu Khieo-Nam Nao Forest Complex 91


ÊíÒàÀÒÍÔ¹·¹¹·
Cymbidium mastersii Griff. ex Lindl.

92 ¡ÅŒ Ç ÂäÁŒ ã ¹¡ÅØ ‹ Á »† Ò ÀÙ à ¢Õ Â Ç-¹íé Ò Ë¹ÒÇ


ชื่ออื่น ๆ –
ลักษณะทางพฤกษศาสตร
กลวยไมอิงอาศัยหรือขึ้นบนหิน
หัวเทียมคลายลําตน
ใบ มี 16–17 ใบ เรียงสลับระนาบเดียว
มีลักษณะโคงลง รูปลิ้นแคบ ๆ หรือเปนแถบ

Cymbidium mastersii Griff. ex Lindl.


กวางประมาณ 2 ซม. ยาวไดถงึ 65 ซม. ปลายแหลม
โดยปกติปลายใบไมสมมาตร มีสวนเวาและมี
ติ่งหนาม
ชอดอกแบบชอกระจะ ยาว 24.5–30.5 ซม.
แกนกลางชอดอกยาว 4.5–10.5 ซม. มีลกั ษณะ
โคงคันศรหรือหอยลง มี 5–15 ดอก ใบประดับ
ยาว 1.5–7.5 มม.
ดอก เสนผานศูนยกลางประมาณ 6.5 ซม.
กลีบดอกไมเปดกวาง กลิ่นหอม กลีบเลี้ยงและ
กลีบดอกสีขาวหรือสีชมพูออน กลีบปากสีขาว ขนละเอียดปกคลุมหนาแนนและสวนโคนมีขน
มี แ ต ม สี เ หลื อ งที่ โ คนของแฉกกลางและที่ สั น สัน้ ๆ เปนแตม ขอบเปนคลืน่ มีสนั เล็ก ๆ 2 สัน
กลีบเลี้ยงบนรูปขอบขนานแกมรูปรีแคบ ๆ ถึง บางครั้งอาจจะเปนรูปติ่งหูเล็ก ๆ เสาเกสรยาว
รูปไข ก ลั บ แคบ ๆ กวาง 7.5–11.5 มม. ยาว 32.5–39.5 มม. กลุมเรณูมีจํานวน 2 กลุม
42.5–52.5 มม. ปลายแหลม กลีบมีลกั ษณะงุม เขา ผลแบบผลแหงแตก รูปทรงรีกวาง กวาง
แผออกชวงปลายกลีบ กลีบเลี้ยงขางมีลักษณะ ประมาณ 3 ซม. ยาวประมาณ 3.5 ซม.
เหมื อ นกลีบ เลี้ ย งบน กลีบดอกรูปลิ้ นแคบ ๆ
หรือรูปไขกลับแคบ ๆ กวาง 4.5–7.5 มม. ยาว นิเวศวิทยาและการกระจายพันธุ
38.5–49.5 มม. มี ลั ก ษณะโค ง หรื อ ตั้ ง ตรง พบตามปาดิบชืน้ ภาคเหนือและภาคตะวันออก-
กลีบปาก กวาง 19.5–24.5 มม. ยาว 39.5–44.5 มม. เฉียงเหนือ ออกดอกเดือนกันยายน–ธันวาคม
เชื่อมกันจนถึงโคนของเสาเกสร แฉกขาง กวาง เขตการกระจายพันธุ
9.5–12.5 มม. ติดกับเสาเกสร มีขนปกคลุมเล็ก อินเดียตอนเหนือ พมา จีนตอนใต
นอย ปลายมนกวางถึงเกือบแหลมและตั้งตรง
ขอบดานหนามีลกั ษณะเปนครุยเล็กนอย แฉกกลาง
รูปไข กวาง 9.5–13.5 มม. ยาว 9.5–13.5 มม.
ปลายมนหรือเปนติ่งหนาม บริเวณตรงกลางมี

Orchids in the Phu Khieo-Nam Nao Forest Complex 93


ÊíÒàÀÒ§ÒÁ
Cymbidium seidenfadenii (P. J. Cribb & Du Puy) P. J. Cribb

94 ¡ÅŒ Ç ÂäÁŒ ã ¹¡ÅØ ‹ Á »† Ò ÀÙ à ¢Õ Â Ç-¹íé Ò Ë¹ÒÇ


ชื่ออื่น ๆ – กึง่ วงกลม กวาง 11.5–13.5 มม. ยาว 8.5–10.5 มม.
ปลายแหลม โค ง ลง มี ปุ  ม ขนาดเล็ก ปกคลุ ม
ลักษณะทางพฤกษศาสตร สวนโคนและสวนกลางมีขนเปนแตม ๆ หนาแนน

Cymbidium seidenfadenii (P. J. Cribb & Du Puy) P. J. Cribb


กลวยไมดิน ขอบเรียบ เปนคลืน่ มีสนั 2 สัน สวนโคนเปนแถบ
หัวเทียมรูปทรงกลม ยาวไดถึง 8.5 ซม. และสวนปลายยกสูงขึ้น มีขนปกคลุมหนาแนน
เสนผานศูนยกลางประมาณ 5.5 ซม. เสาเกสรยาว 29.5–32.5 มม. กลุม เรณูมจี าํ นวน
2 กลุม
ใบ มี 6–10 ใบ รูปรีแกมรูปแถบแคบ ๆ
กวาง 0.5–2 ซม. ยาวไดถงึ 100.5 ซม. ปลายแหลม ผลแบบผลแหงแตก รูปกลมถึงรูปกระสวย
ไมมีกานใบ แกมรูปขอบขนาน ยาว 3.5–5.5 ซม.
ชอดอกแบบชอกระจะ ยาว 90.5–150.5 ซม. นิเวศวิทยาและการกระจายพันธุ
กานชอดอกตัง้ ตรง ยาวไดถงึ 120.5 ซม. แกนกลาง พบบริเวณทีเ่ ปนดินทรายปาสนเขา ภาคเหนือ
ชอดอกยาว 16.5–40.5 ซม. มีลักษณะโคงและ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ที่ระดับความสูง
เรี ย วไปทางปลายช อ มี ด อกได ถึ ง 27 ดอก 1,400–1,600 ม. ออกดอกเดือ นธันวาคม–
ใบประดับยาว 2.5–15.5 มม. พฤษภาคม
ดอก เสนผานศูนยกลางประมาณ 7.5 ซม. เขตการกระจายพันธุ
ไมมีกลิ่น กลีบเลี้ยงและกลีบดอกสีขาว บางครั้ง พืชถิ่นเดียวของไทย
อาจจะมีจุดสีแดงแตมที่โคนกลีบและเหนือเสน
ตามยาวกลางกลีบ กลีบปากสีขาว แฉกขางมี
เสนตามยาวสีนํ้าตาลแดงถึงสีแดง แฉกกลางมี
สี เ หลื อ ง บริ เ วณส ว นกลางและโคนมี แ ถบ
สีนํ้าตาลแดงถึงสีแดง สวนปลายมีสันสีเหลือง
ด านหลั ง สี อ  อนกวา กลีบเลี้ยงบนรู ปไข ก ลับ
กวาง 20.5–23.5 มม. ยาว 26.5–29.5 มม.
ปลายแหลม เวา มีลักษณะตั้งตรงขึ้น กลีบเลี้ยง
ขางมีลักษณะเหมือนกลีบเลี้ยงบน แตแผออก
หรืองุมเขาเล็กนอย กลีบดอกรูปไขกลับแคบ ๆ
กวาง 19.5–23.5 มม. ยาว 26.5–29.5 มม.
ปลายแหลม มีลักษณะแผออก กลีบปากเชื่อม
กับโคนเสาเกสร แฉกขางกวาง 11.5–22.5 มม.
ปลายมนกลมกวาง ขอบไมมี ชายครุย มีปุม
ขนาดเล็กหรือขนละเอียดปกคลุม แฉกกลางมี
ลักษณะคลายกานกลีบสั้น ๆ รูปสามเหลี่ยมถึง

Orchids in the Phu Khieo-Nam Nao Forest Complex 95


àÍ×éͧá«ÐÀÙ
Dendrobium bellatulum Rolfe

96 ¡ÅŒ Ç ÂäÁŒ ã ¹¡ÅØ ‹ Á »† Ò ÀÙ à ¢Õ Â Ç-¹íé Ò Ë¹ÒÇ


ชื่ออื่น ๆ เอื้องแซะดอยปุย
ลักษณะทางพฤกษศาสตร
กลวยไมอิงอาศัย
หัวเทียมตั้งตรง อวนสั้น รูปกระสวยหรือ
รู ป คล า ยกระบองสั้ น ๆ เส น ผ า นศู น ย ก ลาง
1.7–5.5 ซม. มีสนั ตามยาว ไมแตกกิง่ มี 2–5 ปลอง
ใบ มี 2–4 ใบ ออกเกือบปลายของหัวเทียม
รูปลิ้น รูปใบหอกแกมรูปไข หรือรูปขอบขนาน
กว า งประมาณ 1.5 ซม. ยาว 1.5–4.5 ซม.

Dendrobium bellatulum Rolfe


ปลายมน เวาไมเทากัน โคนแผเปนกาบหุม ลําตน
แผนใบหนาคลายแผนหนัง แผนใบทั้ง 2 ดาน
และกาบใบมีขนสั้นสีดําปกคลุมเล็กนอย
ดอก มี 1–3 ดอก ออกเกือบปลายหัวเทียม
กานดอกรวมรังไขยาวประมาณ 3 ซม. ใบประดับ
รูปใบหอกแกมรูปไข ยาว 7.5–10.5 มม. บาง
คลายเยื่อ ดอกสีขาว แฉกกลางของกลีบปาก
สีเหลืองทอง แฉกขางสีสม กลีบเลีย้ งบนรูปใบหอก
แกมรูปไข กวางประมาณ 10.5 มม. ยาวประมาณ
25.5 มม. ปลายแหลม มีเสนตามยาว 7 หรือ
8 เสน คางรูปกรวยกวาง ยาวประมาณ 10.5 มม.
กลีบดอกรูปใบหอกกลับ ปลายมน มีเสนตามยาว นิเวศวิทยาและการกระจายพันธุ
5 เสน กลีบปากกึง่ รูปซอ ยาวประมาณ 30.5 มม. พบตามป า ดิ บ เขา ภาคเหนื อ และ
ปลายแยกเปน 3 แฉก แฉกขางกึง่ รูปไข แฉกกลาง ภาคตะวั น ออกเฉี ย งเหนื อ ออกดอกเดื อ น
กึง่ รูปไต ปลายแยกเปนแฉกตืน้ 2 แฉก มีลกั ษณะโคงลง มกราคม–เมษายน
กลางกลีบมีปุมขนาดเล็กเรียงตามยาวเปนแถว เขตการกระจายพันธุ
5 แถว เสาเกสร ยาวประมาณ 5.5 มม. ฝาปด ตะวันออกเฉียงเหนือของอินเดีย พมา ลาว
กลุม เรณูรปู กรวย มีปมุ ขนาดเล็กปกคลุมหนาแนน เวียดนาม
ผลแบบผลแหงแตก

Orchids in the Phu Khieo-Nam Nao Forest Complex 97


àÍ×éͧá«ÐÀÙ¡Ãд֧
Dendrobium christyanum Rchb. f.

98 ¡ÅŒ Ç ÂäÁŒ ã ¹¡ÅØ ‹ Á »† Ò ÀÙ à ¢Õ Â Ç-¹íé Ò Ë¹ÒÇ


ชื่ออื่น ๆ เอื้องแซะหมน ปลายเกื อ บแหลม กลี บ ปาก ยาวประมาณ
25.5 มม. ขอบเปนคลื่น ปลายแยก 3 แฉก
ลักษณะทางพฤกษศาสตร แฉกกลางปลายเวาตืน้ กลางกลีบสีสม และมีสนั
กลวยไมอิงอาศัย นูนตามยาวสีเหลือง
หัวเทียมตั้ ง ตรง รู ป คล า ยกระบองหรื อ ผลแบบผลแหงแตก
รูปกระสวย เส น ผานศู นย ก ลาง 1.5–5 ซม. นิเวศวิทยาและการกระจายพันธุ
ไมแตกกิ่ง มี 2–6 ปลอง พบตามป า ดิ บ เขา ภาคเหนื อ และ
ใบ มี 2 หรือ 3 ใบ ออกใกลปลายหัวเทียม ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ทีร่ ะดับความสูงตัง้ แต

Dendrobium christyanum Rchb. f.


รูปใบหอกแกมรูปไขหรือรูปขอบขนาน กวาง 1,000 ม. ออกดอกเดือนพฤษภาคม–สิงหาคม
ประมาณ 1.5 ซม. ยาว 3.5–4.5 ซม. ปลายมน เขตการกระจายพันธุ
เวาไมเทากัน โคนแผเปนกาบหุมลําตน เวียดนาม
ชอดอกแบบชอกระจะ ออกใกลปลายยอด
มี 1–2 ดอก
ดอกสีขาว กลีบเลีย้ งบนรูปไขถงึ รูปใบหอก
แกมรูปไข กวาง 8.5–10.5 มม. ยาวประมาณ
20.5 มม. ปลายแหลม กลีบเลี้ยงขางมีลักษณะ
เหมื อ นกลีบ เลี้ ย งบน คางรูปกรวยกวาง
ยาวประมาณ 10.5 มม. กลีบดอก
รูปขอบขนานแกมรูปรี ยาวประมาณ
20.5 มม.

Orchids in the Phu Khieo-Nam Nao Forest Complex 99


àÍ×éͧÊÒÂÁáμ
Dendrobium chrysanthum Wall. ex Lindl.

1000 ¡ÅŒ Ç ÂäÁŒ ã ¹¡ÅØ ‹ Á »† Ò ÀÙ à ¢Õ Â Ç-¹íé Ò Ë¹ÒÇ


ชื่ออื่น ๆ – กลีบดอกมีขนบางรูปตะขอปกคลุ ม หนาแน น
ยกเว น บริ เ วณตรงกลาง ปลายมนกลม โคนมี
ลักษณะทางพฤกษศาสตร ลักษณะคลายกานกลีบสัน้ ๆ ขอบเรียบ บริเวณ
กลวยไมอิงอาศัย ตรงกลางมีลกั ษณะเปนขอบกวางและหนาจากโคน
หัวเทียมหอยหรือโคงลง รูปทรงกระบอก ถึงสวนกลางกลีบ เสาเกสร ยาวประมาณ 4.5 มม.
ยาว 50.5–205 ซม. ไมแตกกิ่ง มีปลองจํานวน โคนเสา เกสร ยาวประมาณ 6.5 มม. ฝาป ด
มาก แตละปลอง ยาว 3.5–4.5 ซม. เมื่อแหง กลุม เรณูรปู กรวย ยาวประมาณ 3 มม. เกือบเกลีย้ ง

Dendrobium chrysanthum Wall. ex Lindl.


สีเหลืองออนหรือสีนํ้าตาลอมเหลือง ผลแบบผลแห ง แตก รู ป ทรงกระบอก
ใบเรียงสลับระนาบเดียว รูปใบหอกแกม กวางประมาณ 2 มม. ยาวประมาณ 7.5 มม.
รูปขอบขนาน กวาง 2–5 ซม. ยาว 13.5–19.5 ซม.
ปลายเรีย วแหลม โคนแผ เ ปนกาบหุมลํ าตน
แผนใบบางคลายกระดาษ กาบใบรูปถวยบางคลาย
กระดาษ เมื่อแหงสีขาวหมน
ชอดอกแบบชอกระจุก ออกตรงขามใบ
ดานขาง หรือออกตามลําตนที่แก มี 2–6 ดอก
ใบประดับรูปสามเหลีย่ มแกมรูปไข ยาวประมาณ
3.5 มม. บางคลายเยือ่ กานดอกรวมรังไขยาว 3–
6.5 ซม. กลีบดอกหนา สีเหลือง ดานขางของกลีบปาก
มีแตมสีนาํ้ ตาลแก กลีบเลีย้ งบนรูปรีหรือรูปขอบขนาน
กว า ง 9.5–11.5 มม. ยาว 15.5–20.5 มม.
ปลายมน มีเสนตามยาว 7 เสน กลีบเลี้ยงขาง นิเวศวิทยาและการกระจายพันธุ
รูปสามเหลีย่ มแกมรูปไขเบีย้ ว กวาง 10.5–12.5 มม. พบตามปาดิบเขา ภาคเหนือและภาคตะวัน-
ยาว 15.5–20.5 มม. ปลายมน โคนเบี้ยวเล็กนอย ออกเฉียงเหนือ ทีร่ ะดับความสูง 1,400–1,600 ม.
มี เ ส น ตามยาว 7 เส น คางกว า งและมน ออกดอกเดือนมีนาคม–พฤษภาคม
ยาวประมาณ 4.5 มม. กลีบดอกรูปไขกลับ กวาง เขตการกระจายพันธุ
11.5–14.5 มม. ยาว 16.5–22.5 มม. ปลาย อินเดียตอนเหนือ เนปาล ภูฏาน พมา ลาว
มนกลม ขอบเรียบหรือขอบหยักไมเปนระเบียบ เวียดนาม
ละเอียด มีเสนตามยาว 7 เสน กลีบปากรูปไต
กวางประมาณ 22.5 มม. ยาวประมาณ 18.5 มม.

Orchids in the Phu Khieo-Nam Nao Forest Complex 101


àÍ×éͧ¤íÒ
Dendrobium chrysotoxum Lindl.

1022 ¡ÅŒ Ç ÂäÁŒ ã ¹¡ÅØ ‹ Á »† Ò ÀÙ à ¢Õ Â Ç-¹íé Ò Ë¹ÒÇ


ชื่ออื่น ๆ พอนี้โคะ เอื้องคําตา
ลักษณะทางพฤกษศาสตร
กลวยไมอิงอาศัย
หัวเทียมรู ป กระสวย มี 2–5 ปล อ ง
เสนผานศูนยกลาง 2–5.5 ซม. มีสันตามยาว
ใบ มี 2–5 ใบ รูปขอบขนาน กวาง 2.5–4 ซม.
ยาวประมาณ 20 ซม. ปลายเวาเทากัน โคนแผ

Dendrobium chrysotoxum Lindl.


ออกเปนกาบหุมหัวเทียม แผนใบบาง
ชอดอกแบบช อ กระจะ ออกตามข อ
ชอดอกยาวประมาณ 25 ซม. แตละชอมี 25–
30 ดอก ใบประดั บรูปใบหอกแกมรู ปไขยาว
2.5–3.5 มม. ปลายแหลม บางคลายเยือ่ กานดอก
ยาวประมาณ 6 ซม.
ดอกสีเหลือง อวบหนา มีกลิ่นหอมออน ๆ
กลีบเลี้ยงบนรูปรีแกมรูปขอบขนาน กวาง 5.5–
9.5 มม. ยาว 12.5–20.5 มม. ปลายมน มีเสน
ตามยาว 7 เสน กลีบเลี้ยงขางมีขนาดเทากับ
กลีบเลีย้ งบน คางรูปเกือบทรงกลม กวางประมาณ
5 มม. กลีบดอกรูปใบหอกกลับ กวางประมาณ นิเวศวิทยาและการกระจายพันธุ
3.5 มม. ยาว 5.5–9.5 มม. ปลายมน มีเสนตามยาว พบตามปาดิบแลง ภาคเหนือ ภาคตะวันออก-
ประมาณ 10 เสน กลีบปากรูปวงกลมแกมรูปไต เฉียงเหนือ และภาคตะวันตกเฉียงใต ที่ระดับ
กวางประมาณ 23.5 มม. ยาวประมาณ 20.5 มม. ความสูง 500–750 ม. ออกดอกเดือนกุมภาพันธ
สีเหลือง โคนกลีบสีสม ขอบเปนขนครุย กลางกลีบ เปนผลเดือนมีนาคม–เมษายน
มี ลั ก ษณะเป น ร อ งรู ป ตั ว วี (V) หรื อ ตั ว ยู (U) เขตการกระจายพันธุ
เสาเกสรยาวประมาณ 5.5 มม. ฝาปดกลุมเรณู ตะวันออกเฉียงเหนือของอินเดีย พมา ลาว
รูปเกือบกลม เวียดนาม
ผลแบบผลแหงแตก ทรงรูปไข เสนผาน-
ศูนยกลางประมาณ 3.5 ซม. ยาวประมาณ 5 ซม.

Orchids in the Phu Khieo-Nam Nao Forest Complex 103


àÍ×éͧà·Õ¹
Dendrobium dixanthum Rchb. f.

ชื่ออื่น ๆ เอื้องคําปอน เอื้องคําปา เอื้องคําปว


เอื้องใบไผ เอื้องไผ
ลักษณะทางพฤกษศาสตร
กลวยไมอิงอาศัย สูง 30–50 ซม.
หัวเทียมตัง้ ตรงหรือหอย รูปทรงกระบอก ยาว 45–90 ซม.
ไมแตกกิ่ง มีหลายปลอง แตละปลองยาว 2–3.5 ซม. มีสัน
ตามยาว
ใบ รูปใบหอกแกมรูปไข กวางประมาณ 1.5 ซม. ยาว
7.5–12.5 ซม. ปลายเรียวแหลม โคนแผออกเปนกาบหุมลําตน

1044 ¡ÅŒ Ç ÂäÁŒ ã ¹¡ÅØ ‹ Á »† Ò ÀÙ à ¢Õ Â Ç-¹íé Ò Ë¹ÒÇ


ชอดอกแบบช อ กระจะ ออกตามข อ
ชอดอกยาวไดถึง 40 ซม. ใบประดับรูปไข ยาว
ประมาณ 2.5 มม. ปลายแหลม บางคลายเยื่อ
กานดอกรวมรังไขยาวประมาณ 2.5 ซม.
ดอกสีเหลือง คอนขางบาง กลีบเลี้ยงบน
รูปใบหอกแกมรู ปขอบขนาน กว า งประมาณ
6.5 มม. ยาวประมาณ 23.5 มม. มีเสนตามยาว
5 เสน ปลายแหลม กลีบเลีย้ งขาง กวางประมาณ
6.5 มม. ยาวประมาณ 23.5 มม. ปลายแหลม

Dendrobium dixanthum Rchb. f.


โคนเบี้ ย วเล็ ก น อ ย คางกึ่ ง รู ป ทรงกระบอก
ยาวประมาณ 4.5 มม. กลีบดอกกึง่ รูปขอบขนาน
กวางประมาณ 10.5 มม. ยาวประมาณ 23.5 มม.
มี เ สนตามยาว 5 เส น ปลายแหลม โคนสอบ
ขอบหยักซีฟ่ น ไมสมํา่ เสมอ กลีบปากกึง่ รูปวงกลม
กวางประมาณ 25.5 มม. ยาวประมาณ 22.5 มม.
ปลายเวาตื้น ขอบหยักไมเปนระเบียบ มีขนบาง
รูปตะขอปกคลุม เสาเกสรยาวประมาณ 5.5 มม.
โคนเสาเกสรยาวประมาณ 4.5 มม. ฝาปดกลุม
เรณูรูปกรวย ปลายมน ดานหนาขอบหยักซี่ฟน
ไมสมํ่าเสมอ มีปุมเล็กละเอียดปกคลุม
ผลแบบผลแหงแตก รูปทรงกระบอกแคบ
กวางประมาณ 0.7 มม. ยาวประมาณ 7.5 มม.
กานผลยาวประมาณ 1.5 ซม.
นิเวศวิทยาและการกระจายพันธุ
พบบริ เ วณป า ดิ บ เขา ภาคเหนื อ
ภาคตะวั นออกเฉี ย งเหนื อ และภาคตะวันตก
ที่ ร ะดั บ ความสู ง 300–1,000 ม. ออกดอก
เดือนกุมภาพันธ– เมษายน
เขตการกระจายพันธุ
พมา ลาว

Orchids in the Phu Khieo-Nam Nao Forest Complex 105


àÍ×éͧ·Í§
Dendrobium ellipsophyllum Tang & F. T. Wang

1066 ¡ÅŒ Ç ÂäÁŒ ã ¹¡ÅØ ‹ Á »† Ò ÀÙ à ¢Õ Â Ç-¹íé Ò Ë¹ÒÇ


ชื่ออื่น ๆ –
ลักษณะทางพฤกษศาสตร
กลวยไมอิงอาศัย
หัวเทียมตัง้ ตรง รูปทรงกระบอก ยาวประมาณ
55 ซม. มีสันตามยาว ไมแตกกิ่ง มีหลายปลอง

Dendrobium ellipsophyllum Tang & F. T. Wang


แตละปลอง ยาวประมาณ 2.5 ซม. มีกาบใบหุม
ใบเรียงสลับ รูปรี กวาง 1.2–2 ซม. ยาว
3.5–5.5 ซม. ปลายมน เวาไมเทากัน โคนรูปหัวใจ
แผออกเปนกาบหุมลําตน
ดอกสีขาว มี 1–2 ดอก ออกตามซอกใบ
กลิน่ หอม ใบประดับมีขนาดเล็ก กานดอกหอยลง
เรียว ยาวประมาณ 2.5 ซม. กลีบเลีย้ งบนโคงพับลง
รูปขอบขนานแกมรูปไข กวางประมาณ 5.5 มม.
ยาวประมาณ 8.5 มม. ปลายแหลม กลีบเลีย้ งขาง
โคงพับลง รูปใบหอกแกมรูปขอบขนาน กวาง
ประมาณ 5.5 มม. ยาวประมาณ 8.5 มม.
ปลายแหลม คางมีลกั ษณะเปนเหลีย่ ม ยาวประมาณ
7.5 ซม. กลีบดอกโคงไปดานหลัง รูปใบหอกแคบ
กวางประมาณ 4.5 มม. ยาวประมาณ 7.5 มม.
ปลายแหลม กลีบปากมีขนาดใหญกวากลีบเลีย้ ง
ปลายมี ลั ก ษณะโค ง และพั บ ลง แฉกกลาง
รูปขอบขนานหรือมนกลม กวางประมาณ 15.5 มม. นิเวศวิทยาและการกระจายพันธุ
ยาวประมาณ 10.5 มม. ปลายเกือบตัดและเวาตืน้ พบตามปาดิบแลง ภาคเหนือ ภาคตะวันออก-
ขอบโคงลง กลางกลีบมีแถบตามยาวสีนํ้าตาล เฉียงเหนือ ภาคกลาง ภาคตะวันออกเฉียงใต
3 แถบ เสาเกสร ยาวประมาณ 1 มม. ฝาปด และภาคใต ที่ ร ะดั บ ความสู ง 700–950 ม.
กลุมเรณูรูปคอนขางกลม ปลายเวาตื้น ออกดอกเดือนมิถุนายน–สิงหาคม
ผลแบบผลแหงแตก เขตการกระจายพันธุ
พมา จีน กัมพูชา ลาว เวียดนาม

Orchids in the Phu Khieo-Nam Nao Forest Complex 107


àÍ×éͧ¤íÒ¹ŒÍÂ
Dendrobium fimbriatum Hook.

1088 ¡ÅŒ Ç ÂäÁŒ ã ¹¡ÅØ ‹ Á »† Ò ÀÙ à ¢Õ Â Ç-¹íé Ò Ë¹ÒÇ


ชื่ออื่น ๆ เอื้องคําตาดํา เอื้องแววมยุรา ดอก มีกลิ่นหอมออน ๆ กลีบเลี้ยงและ
กลีบดอกสีเหลืองทอง กลีบปากสีเหลืองทอง
ลักษณะทางพฤกษศาสตร กลางกลีบถึงโคนกลีบมีแตมรูปจันทรเสีย้ วสีมว งดํา
กลวยไมอิงอาศัย กลีบเลี้ยงบนรูปขอบขนาน กวาง 5.5–9 มม.
หัวเทียมตัง้ ตรงหรือหอยลง รูปทรงกระบอก ยาว 12.5–18.5 มม. ปลายมน ขอบเรียบ มีเสน
หรือรูปกระสวย ยาว 45–110 ซม. ไมแตกกิ่ง ตามยาว 5 เสน กลีบเลี้ยงขางรูปใบหอกแกม
มีหลายปลอง แตละปลองยาว 3–5 ซม. มีรอง รูปไข ยาวเทา ๆ กับความยาวของกลีบเลี้ยงบน
ตามยาว เมื่อแห งสี เ หลืองอ อนหรือสีนํ้ าตาล แตมีความกวางนอยกวา ปลายมน โคนเบี้ยว
แกมเหลือง ขอบเรียบ มีเสนตามความยาว 5 เสน คางมี
ลักษณะมน ยาวประมาณ 3.5 มม. กลีบดอก
ใบ รูปขอบขนานหรือรูปใบหอกแกมรูป

Dendrobium fimbriatum Hook.


รูปรีแกมรูปขอบขนาน กวาง 7.5–11 มม. ยาว
ขอบขนาน กวาง 2.5–4 ซม. ยาว 7.5–16 ซม. 12.5–20 มม. ปลายมน ขอบหยักไมเปนระเบียบ
ปลายแหลม โคนมีกาบใบหนาคลายแผนหนังหุม มีเสนตามยาว 5 เสน กลีบปากคอนขางกลม
แผนใบหนาคลายแผนหนัง กวาง 15.5–20.5 มม. ดานบนมีขนสัน้ นุม ปกคลุม
ชอดอกแบบชอกระจะ ยาว 4.5–15.5 ซม. หนาแนน โคนแคบมีลักษณะคลายกานกลีบ
แตละชอมีดอกจํานวน 6–12 ดอก กานชอดอก ยาวประมาณ 3.5 มม. ขอบเปนชายครุย เสาเกสร
ยาว 2.5–5 ซม. แกนชอดอกมีลกั ษณะโคง มีกาบ ยาวประมาณ 2.5 มม. โคนเสาเกสร ยาวประมาณ
หุมอยูที่โคน บางคลายเยื่อ เรียงซอนเหลื่อมกัน 4.5 มม. ฝาปดกลุมเรณูรูปกรวย เกลี้ยง ขอบ
ใบประดับรูปสามเหลีย่ มแกมรูปไข ยาว 3.5–5 มม. ดานหนาหยักซี่ฟนถี่
ปลายแหลม บางคลายเยื่อ กานดอกรวมรังไข ผลแบบผลแหงแตก
ยาว 2–3.5 ซม. สีเขียวออน
นิเวศวิทยาและการกระจายพันธุ
พบตามปาดิบแลง ภาคเหนือ ภาคตะวันออก-
เฉียงเหนือ และภาคตะวันตก ที่ระดับความสูง
400–1,000 ม. ออกดอกเดื อ นกุ ม ภาพั น ธ –
พฤษภาคม
เขตการกระจายพันธุ
อินเดีย เนปาล ภูฏาน พมา จีน เวียดนาม

Orchids in the Phu Khieo-Nam Nao Forest Complex 109


¾Ç§Ë¡
Dendrobium findlayanum C. S. P. Parish & Rchb. f.

1100 ¡ÅŒ Ç ÂäÁŒ ã ¹¡ÅØ ‹ Á »† Ò ÀÙ à ¢Õ Â Ç-¹íé Ò Ë¹ÒÇ


ชื่ออื่น ๆ หวายปม เอื้องขอ กลีบเลีย้ งขางรูปใบหอกแกมรูปไข กวางประมาณ
9.5 มม. ยาว 35.5–37.5 มม. ปลายเกือบแหลม
ลักษณะทางพฤกษศาสตร มีเสนตามยาว 5 เสน คางเกือบรูปทรงกระบอก
กลวยไมอิงอาศัย ยาวประมาณ 5.5 มม. กลีบดอกรูปขอบขนาน
หัวเทียมตั้งตรง ยาวประมาณ 21 ซม. กวาง กวางประมาณ 18.5 มม. ยาว 35.5–37.5 มม.

Dendrobium findlayanum C. S. P. Parish & Rchb. f.


ปลายแหลม โคนมีลักษณะคลายกานกลีบสั้น ๆ
ไมแตกกิง่ มีหลายปลอง แตละปลองรูปกระบอง
ยาว 2.5–4 ซม. โคนมีกาบบางคลายกระดาษหุม มีเสนตามความยาว 5 เสน กลีบปากคอนขางกลม
กวางประมาณ 24.5 มม. ปลายเวา มีขนสั้นนุม
ใบเรียงสลับ รูปใบหอก กวาง 1.5–2.5 ซม.
ปกคลุม เสาเกสร ยาวประมาณ 8.5 มม. ฝาปด
ยาว 5–8.5 ซม. ปลายมนและเวาไม เ ทากัน กลุมเรณูรูปวงกลม สีขาว
แผนใบหนาคลายแผนหนัง
ผลแบบผลแหงแตก
ชอดอกออกจากลําตนทีแ่ กและใบรวงแลว
แตละชอมีดอกจํานวน 2 ดอก ถึงจํานวนมาก นิเวศวิทยาและการกระจายพันธุ
กานชอดอกยาว 6.5–16.5 ซม. กานดอกยาว พบตามป า ดิ บ เขา ภาคเหนื อ และ
5.5–6.5 ซม. สีมวงอมชมพู กาบหุมโคน ยาว ภาคตะวั น ออกเฉี ย งเหนื อ ออกดอกเดื อ น
ประมาณ 5.5 มม. บางคล ายเยื่อ ใบประดับ มกราคม–มีนาคม
รูปสามเหลี่ยมแกมรูปไข ยาวประมาณ 6.5 มม. เขตการกระจายพันธุ
บางคลายเยื่อ พมา จีน ลาวตอนเหนือ
ดอกสีขาวหรือสีมวงออน กลีบเลี้ยงและ
กลีบดอกสีขาวหรือสีมว งอมชมพู กลีบปากสีขาว
หรื อ สี ม  ว งอมชมพู กลางกลี บ สี เ หลื อ งทอง
กลี บ เลี้ ย งบนรู ป ใบหอกแกม
รู ป ขอบขนาน กวางประมาณ
9.5 มม. ยาว 35.5–37.5 มม. ปลาย
เกือบมนถึงแหลม มีเสนตามยาว 5 เสน

Orchids in the Phu Khieo-Nam Nao Forest Complex 111


àÍ×éͧ¡Ô觴íÒ
Dendrobium gratiotissimum Rchb. f.

1122 ¡ÅŒ Ç ÂäÁŒ ã ¹¡ÅØ ‹ Á »† Ò ÀÙ à ¢Õ Â Ç-¹íé Ò Ë¹ÒÇ


ชื่ออื่น ๆ – คลายรูปกรวย สีขาว มีปุมเล็กละเอียดปกคลุม
หนาแนน ขอบดานหนาหยักซี่ฟน
ลักษณะทางพฤกษศาสตร
ผลแบบผลแหงแตก รูปทรงกลม กวาง
กลวยไมอิงอาศัย 1.5–1.7 ซม. ยาวประมาณ 3.5 ซม.
หัวเทียมหอยลง รูปทรงกระบอก ยาวไดถงึ
55 ซม. มีหลายปลอง แตละปลองยาว 2.5–3 ซม.
ใบ รูปขอบขนาน กวาง 1.5–2.5 ซม. ยาว
7.5–11.5 ซม. ปลายมนเล็กนอยและแยกเปน

Dendrobium gratiotissimum Rchb. f.


2 แฉกตื้น
ชอดอกออกจากลําตนทีแ่ ก แตละชอมีดอก
จํานวน 1 หรือ 2 ดอก กานชอดอกยาว 3.5–
5.5 มม. กาบหุมโคนมีจํานวน 2 หรือ 3 กาบ
รูปไขกวาง กวาง 3.5–5.5 มม. ปลายมน บางคลาย
กระดาษ เมื่อแหงสีครีม ใบประดับรูปไขกวาง
กวาง 7.5–10.5 มม. ปลายมน บางคลายกระดาษ
กานดอก ยาวประมาณ 2.5 ซม. สีมวงออน นิเวศวิทยาและการกระจายพันธุ
ดอก มีกลิ่นหอม กลีบเลี้ยงและกลีบดอก พบตามป า ดิ บ เขา ภาคเหนื อ และภาค
สีขาว ปลายกลีบสีมวงออน กลีบปากกลางกลีบ ตะวันออกเฉียงเหนือ ออกดอกเดือนกุมภาพันธ–
สีเหลืองออน ปลายกลีบสีมว งออน กลีบเลีย้ งบน พฤษภาคม
รูปใบหอกแกมรูปไข กวาง 7.5–8 มม. ยาว เขตการกระจายพันธุ
23.5–25.5 มม. ปลายแหลมหรือมนเล็กนอย ตะวันออกเฉียงเหนือของอินเดีย พมา จีน
มีเสนตามยาว 7 เสน คางคอนขางกลม มีขนาด ลาว เวียดนาม
เล็ก กวางประมาณ 3.5 มม. กลีบดอกรูปไขเบีย้ ว
กวาง 13.5 มม. ยาว 23.5–25.5 มม. ปลายมน
โคนมีลกั ษณะคลายกานกลีบสัน้ ๆ มีเสนตามยาว
5 เสน กลีบปากรูปไขกลับกวาง กวางประมาณ
20.5 มม. ยาวประมาณ 23.5 มม. ปลายมนกลม
โคนรูปลิ่ม ขอบมีขนครุยสั้น ดานบนมีขนบาง
รูปตะขอปกคลุมหนาแนน โคนกลีบดานหลัง
มีเสนตามขวางสั้น ๆ สีมวงออน เสาเกสร ยาว
ประมาณ 4.5 มม. สี ข าว ฝาป ด กลุ  ม เรณู

Orchids in the Phu Khieo-Nam Nao Forest Complex 113


àÍ×éͧÊØÃÔÂѹ
Dendrobium henryi Schltr.

1144 ¡ÅŒ Ç ÂäÁŒ ã ¹¡ÅØ ‹ Á »† Ò ÀÙ à ¢Õ Â Ç-¹íé Ò Ë¹ÒÇ


ชื่ออื่น ๆ – ชอดอกออกบริเวณลําตนทีม่ ใี บจํานวนนอย
แตละชอมีดอกจํานวน 1–2 ดอก กานชอดอก
ลักษณะทางพฤกษศาสตร ยาว 2–3 ซม. ตั้งฉากกับลําตน กาบหุมโคนมี
กลวยไมอิงอาศัย จํา นวน 3 หรื อ 4 กาบ มี ลั ก ษณะเป นหลอด
หัวเทียมห อ ยลง รู ป ทรงกระบอก ยาว ยาว 2.5–3.5 มม. บางคลายเยื่อ ใบประดับ
30.5–90 ซม. ไมแตกกิ่ง มีขอปลองจํานวนมาก รูปสามเหลี่ ย มแกมรูปไข ยาว 6.5–9.5 มม.
แตละปลอง ยาว 3.5–5 ซม. ปลายมน บางคลา ยกระดาษ กา นดอก ยาว
ประมาณ 2.5 ซม.
ใบ รู ป ขอบขนานหรื อ รู ป ใบหอกแกม
รูปขอบขนาน กวาง 2–3.5 ซม. ยาว 9–11.5 ซม. ดอกสีเหลืองทอง กลิ่นหอม กลีบเลี้ยงบน
ปลายเรียวแหลมหรือแหลม โคนสั้นและขยาย รูปขอบขนานแกมรูปไข กวาง 10.5–12 มม.

Dendrobium henryi Schltr.


ออกเปนกาบหุม แผนใบหนาคลายแผนหนัง ยาว 23.5–30.5 มม. ปลายมน มีเสนตามยาว
กาบใบหุมลําตน บางคลายกระดาษ 7 เสน เสนตามขวางจํานวนมาก กลีบเลี้ยงขาง
รูปใบหอกแกมรูปไข กวาง 10.5–12 มม. ยาว
23.5–30.5 มม. ปลายเรียวแหลม คางรูปกรวยกวาง
ยาวประมาณ 5.5 มม. ปลายมนกลม กลีบดอก
รูปไขกวางเบี้ยว กวางเทา ๆ กับกลีบเลี้ยงแตมี
ขนาดสั้นกวากลีบเลี้ยง มีเสนตามยาว 7 เสน
ปลายแหลม โคนกลีบมีลักษณะคลายกานกลีบ
สัน้ ๆ กลีบปากคอนขางกลม กวาง 2.5–3.5 ซม.
โคนมีลกั ษณะคลายกานกลีบ ยาวประมาณ 3.5 มม.
หุม เสาเกสร ขอบทัง้ 2 ขาง มวนขึน้ และหยักซีฟ่ น
เสาเกสร ยาวประมาณ 3.5 มม. ฝาปดกลุมเรณู
ยาวประมาณ 2.5 มม. มีปมุ เล็กละเอียดปกคลุม
หนาแนน ขอบดานหนาจักฟนเลื่อย
ผลแบบผลแหงแตก
นิเวศวิทยาและการกระจายพันธุ
พบตามปาดิบเขา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ที่ระดับความสูง 1,000–1,400 ม. ออกดอก
เดือนพฤษภาคม–กันยายน
เขตการกระจายพันธุ
จีน เวียดนามเหนือ

Orchids in the Phu Khieo-Nam Nao Forest Complex 115


àÍ×éͧÊÕμÒÅ
Dendrobium heterocarpum Wall. ex Lindl.

1166 ¡ÅŒ Ç ÂäÁŒ ã ¹¡ÅØ ‹ Á »† Ò ÀÙ à ¢Õ Â Ç-¹íé Ò Ë¹ÒÇ


ชื่ออื่น ๆ เอือ้ งแซะดง เอือ้ งสีจนุ ดานบนมีขนสั้นสีนํ้าตาลแดงปกคลุมหนาแนน
ขอบเรียบ แฉกกลางปลายแหลม เสาเกสร ยาว
ลักษณะทางพฤกษศาสตร ประมาณ 3.5 มม. ดานหนาขยายกวางออก
กลวยไมอิงอาศัย ฝาปดกลุม เรณูรู ปกรวย ยาวประมาณ 3 มม.
หัวเทียมตั้งขึ้น รูปทรงกระบอกยาว 20– มีขนละเอียดปกคลุม ดานหนาหยักซี่ฟน
150 ซม. ไม แ ตกกิ่ ง มี ข  อ ปล อ งจํ า นวนมาก ผลแบบผลแหงแตก
แตละปลองยาว 2.5–3.5 ซม.

Dendrobium heterocarpum Wall. ex Lindl.


ใบ รู ป ใบหอกแกมรู ป ขอบขนาน กว า ง
1.5–2.5 ซม. ยาว 7.5–10.5 ซม. ปลายแหลม
หรื อมนเล็ ก นอย โคนขยายออกเป นกาบหุม
หัวเทียม
ชอดอกแบบชอกระจะ ออกใกลปลายยอด
แตละชอมีดอกจํานวน 1–4 ดอก กานชอดอก
ยาว 2.5–3.5 มม. กาบหุมโคนมีจํานวน 2 หรือ
3 กาบ บางคลายเยื่อ ใบประดับรูปไขกวาง ยาว
4.5–9.5 มม. ปลายมน บางคลายเยื่อ สีขาว
กานดอกรวมรังไขยาวประมาณ 2.5 ซม.
ดอก มีกลิ่นหอม กลีบเลี้ยงและกลีบดอก
สีขาวหรือสีครีม กลีบปากปลายแยกเปนแฉก
แฉกขางสีเหลืองมีแถบสีแดง แฉกกลางสีครีม
เสาเกสรสีขาว ดานขางสีมว งแดง ดานในสีเหลือง
โคนเสาเกสรสีเหลือง กลีบเลีย้ งบนรูปขอบขนาน นิเวศวิทยาและการกระจายพันธุ
กวางประมาณ 1 ซม. ยาว 2.5–3.5 ซม. ปลายมน พบตามปาดิบเขา ภาคเหนือ ภาคตะวันออก-
มีเสนตามยาว 5 เสน กลีบเลี้ยงขางรูปใบหอก เฉียงเหนือ ภาคตะวันออก ภาคตะวันตกเฉียงใต
แกมรูปไขเบี้ยว มีขนาดเทา ๆ กับกลีบเลี้ยงบน ภาคตะวั น ออกเฉี ย งใต และภาคใต ที่ ร ะดั บ
ปลายเกือบแหลม โคนเบี้ยวเล็กนอย มีเสนตาม ความสูงตัง้ แต 1,000 ม. ออกดอกเดือนธันวาคม–
ยาว 7 เสน คางรูปกรวย ยาวประมาณ 7.5 มม. กุมภาพันธ
กลีบดอกรูปขอบขนานแกมรูปไข กวาง 1–1.5 ซม.
ยาว 2.5–3 ซม. ปลายแหลม ขอบเรียบ มีเสน เขตการกระจายพันธุ
ตามยาว 5 เสน กลีบปากรูปใบหอกแกมรูปไข อินเดีย ศรีลังกา เนปาล ภูฏาน พมา ลาว
ยาวเทา ๆ กับกลีบเลี้ยง ปลายแยกเปน 3 แฉก เวียดนาม มาเลเซีย ฟลิปปนส
แฉกข า งมี ลั ก ษณะตั้ ง ตรง แฉกกลางโค ง ลง

Orchids in the Phu Khieo-Nam Nao Forest Complex 117


Dendrobium infundibulum Lindl.

1188 ¡ÅŒ Ç ÂäÁŒ ã ¹¡ÅØ ‹ Á »† Ò ÀÙ à ¢Õ Â Ç-¹íé Ò Ë¹ÒÇ


ชื่ออื่น ๆ เอือ้ งเงินหลวง
ลักษณะทางพฤกษศาสตร
กลวยไมองิ อาศัยหรือขึน้ บนหิน สูง 25–50 ซม.
หัวเทียมตัง้ ตรง รูปทรงกระบอก ยาว 20–
45 ซม. มีสันและรองตื้น ๆ ตามยาว กาบใบมี
ขนละเอียดสีดําปกคลุม
ใบ รูปรีแกมรูปขอบขนาน กวาง 1.5–2.5 ซม.
ยาว 7.5–10.5 ซม. ปลายเวาไมสมมาตร โคนแผ

Dendrobium infundibulum Lindl.


เปนกาบหุมลําตน แผนใบหนาคลายแผนหนัง
ชอดอกแบบชอกระจะ ออกตามขอใกล
ปลายยอด แตละชอมี 1–3 ดอก ใบประดับที่มี
ดอกมีขนละเอียดสีดาํ ปกคลุม กานดอกรวมรังไข
ยาวประมาณ 4 ซม.
ดอก มีกลิ่นหอม เสนผานศูนยกลาง 5.5–
6.5 ซม. กลีบเลีย้ ง กลีบดอก และกลีบปากสีขาว
บริเวณโคนกลีบปากสีเหลืองหรือสีสม กลีบเลีย้ งบน
รู ป ขอบขนาน กว า งประมาณ 1.5 ซม. ยาว
ประมาณ 5.5 ซม. ปลายแหลม กลีบเลี้ยงขาง
รูปใบหอกเบีย้ ว กวางประมาณ 2 ซม. ยาวประมาณ
8 ซม. โคนเชื่อมติดกับคางเสาเกสร กลีบดอก
รูปไขกลับ กวางประมาณ 3.5 ซม. ยาวประมาณ นิเวศวิทยาและการกระจายพัันธธุ
5.5 ซม. ปลายมนและเปนติ่งหนาม กลีบปาก พบตามปาดิบเขา ภาคเหนือ ภาคตะวันออก-
ปลายแยกเปน 3 แฉก แฉกกลางรูปกลม ขอบ เฉียงเหนือ และภาคตะวันตก ที่ระดับความสูง
เปนคลืน่ แฉกขางรูปไขกลับถึงเกือบกลม เสาเกสร ตั้ ง แต 1,000 ม. ออกดอกเดื อ นสิ ง หาคม–
รูปขอบขนาน ยาวประมาณ 5.5 มม. มิถุนายน
ผลแบบผลแหงแตก เขตการกระจายพันธุ
อัสสัม พมา ลาว เวียดนาม

Orchids in the Phu Khieo-Nam Nao Forest Complex 119


àÍ×éͧ¼Öé§
Dendrobium lindleyi Steud.

1200 ¡ÅŒ Ç ÂäÁŒ ã ¹¡ÅØ ‹ Á »† Ò ÀÙ à ¢Õ Â Ç-¹íé Ò Ë¹ÒÇ


ชื่ออื่น ๆ โพดอนแหล
ลักษณะทางพฤกษศาสตร
กลวยไมอิงอาศัย สูง 6–10 ซม.
หัวเทียมรูปกระสวยหรือรูปทรงกระบอก
แกมรูปไข ยาว 1.5–5.5 ซม. มีปลองจํานวน
2–5 ปลอง แตละปลองยาว 1.5–2.5 ซม. มีสัน
ตามยาว 4 สัน มีกาบบางคลายเยื่อสีขาวหุม
ใบ รูปขอบขนาน กวาง 0.5–3.5 ซม. ยาว
3.5–8.5 ซม. ปลายมน แผนใบหนาคลายแผนหนัง

Dendrobium lindleyi Steud.


ขอบเปนคลื่น
ชอดอกออกตามขอ หอยลง แตละชอมีดอก
จํ า นวนมากกว า 10 ดอก ก า นช อ ดอกยาว
15–25 ซม. ใบประดับรูปสามเหลี่ยมแกมรูปไข
แคบ ยาวประมาณ 2.5 มม. กานดอกรวมรังไข
ยาว 6.5–30 มม. สีเขียวอมเหลือง
ดอกสีเหลืองอมสม กลีบเลีย้ งบนรูปใบหอก
แกมรูปไข กวาง 7.5–9.5 มม. ยาวประมาณ
20.5 มม. ปลายมน กลีบเลีย้ งขางมีขนาดครึง่ หนึง่
ของกลีบเลีย้ งบน คางรูปคอนขางกลม ยาวประมาณ
5.5 มม. กลีบดอกรูปรีกวาง กวางประมาณ 1.5 ซม.
ยาวประมาณ 2.5 ซม. ปลายเปนติง่ มน กลีบปาก นิเวศวิทยาและการกระจายพันธุ
รูปขอบขนานหรือเกือบรูปไต กวางประมาณ พบตามป า เบญจพรรณและป า ดิ บ แล ง
2.5 ซม. ยาวประมาณ 2 ซม. หุมปดถึงกึ่งกลาง ภาคเหนื อ และภาคตะวั น ออกเฉี ย งเหนื อ
เส า เกสร ปลายเวาตื้น ขอบเรียบ กลางกลีบ ออกดอกเดือนกุมภาพันธ–พฤษภาคม
มีขนสัน้ ปกคลุมหนาแนน เสาเกสรสัน้ ยาวประมาณ
4 มม. ฝาปดกลุมเรณูรูปคอนขางกลม เขตการกระจายพันธุ
อินเดีย ภูฏาน พมา ลาว เวียดนาม
ผลแบบผลแหงแตก

Orchids in the Phu Khieo-Nam Nao Forest Complex 121


àÍ×éͧÁѨ©Ò³Ø
Dendrobium palpebrae Lindl.

1222 ¡ÅŒ Ç ÂäÁŒ ã ¹¡ÅØ ‹ Á »† Ò ÀÙ à ¢Õ Â Ç-¹íé Ò Ë¹ÒÇ


ชื่ออื่น ๆ เอือ้ งมัจฉา สีเหลือง ปลายกลีบสีขาว กลีบเลีย้ งรูปไข ปลายมน
ขอบเรียบ กลีบดอกรูปไข ขอบมีขนเล็กนอย
ลักษณะทางพฤกษศาสตร กลีบปากรูปกลม มีขนสัน้ นุม ปกคลุม เสาเกสรสัน้
กลวยไมอิงอาศัยหรือขึ้นบนหิน ผลแบบผลแหงแตก
หัวเทียมรูปทรงกระบอก นิเวศวิทยาและการกระจายพันธุ
ใบ มี 3–5 ใบ รู ป ขอบขนานแกมรู ป รี พบตามปาดิบแลงและปาเบญจพรรณ
กวาง 2.5–3 ซม. ยาว 9.5–15.5 ซม. ปลายแหลม ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคตะวันออก-
แผนใบบางและเหนียว เฉียงใต และภาคใต ออกดอกเดือนกุมภาพันธ–
ชอดอกแบบชอกระจะ ออกตามขอแตละ มีนาคม

Dendrobium palpebrae Lindl.


ช อ มี 15–30 ดอก ก า นดอกรวมรั ง ไข ย าว เขตการกระจายพันธุ
3.5–4.5 ซม. อินเดีย จีน พมา ลาว เวียดนาม
ดอก มีกลิน่ หอมออน ๆ เสนผานศูนยกลาง
2.5–3 ซม. กลีบเลีย้ งและกลีบดอกสีขาว กลีบปาก

Orchids in the Phu Khieo-Nam Nao Forest Complex 123


àÍ×éͧäÁŒà·ŒÒÄÒÉÕ
Dendrobium pendulum Roxb.

1244 ¡ÅŒ Ç ÂäÁŒ ã ¹¡ÅØ ‹ Á »† Ò ÀÙ à ¢Õ Â Ç-¹íé Ò Ë¹ÒÇ


ชื่ออื่น ๆ หวายปม คล า ยรู ป วงกลม กว า งประมาณ 25.5 มม.
มีลักษณะคลายกานกลีบสั้น ๆ ขอบกลีบปาก
ลักษณะทางพฤกษศาสตร หุ ม จนถึง สวนกลางของเสา เกสร ขอบกลี บมี
กลวยไมอิงอาศัย ขนครุย ดานบนและดานลางมีขนสัน้ นุม ปกคลุม
หัวเทียมมี ลั ก ษณะตั้ ง ขึ้ น หรื อ ห อ ยลง เสาเกสร ยาวประมาณ 4.5 มม. โคนเสาเกสร
รูปทรงกระบอก ยาว 22.5–41 ซม. ไมแตกกิ่ง ขยายใหญ ดานลางมีปม ุ เล็กละเอียด ฝาปดกลุม เรณู
มีขอปลองจํานวนมาก แตละปลองมีลักษณะ คลายรูปกรวย มีขนเล็กละเอียดปกคลุม
คลายลูกปด ยาว 2.5–3 ซม. ผลแบบผลแหงแตก
ใบ รูปขอบขนาน กวาง 1.5–2.5 ซม. ยาว
9.5–12.5 ซม. ปลายแหลม โคนเปนกาบหุม ลําตน

Dendrobium pendulum Roxb.


แผนใบหนาคลายแผนหนัง
ชอดอกออกตามข อ ห อ ยลง แต ล ะช อ
มีดอกจํานวน 1–3 ดอก กานชอดอกหนาและสัน้
ยาว 2.5–5.5 มม. กาบหุมโคนมีจํานวน 1 หรือ
2 กาบ มีลกั ษณะเปนหลอด ยาวประมาณ 6.5 มม.
ใบประดั บ รู ป ไข ก วาง กวางประมาณ 1 ซม.
ปลายมน บางคลายกระดาษ สีขาวหมน กานดอก
รวมรังไขยาว 3.5–4.5 ซม. สีเขียวอมเหลือง
ดอกมีขนาดใหญ มีกลิ่นหอม กลีบเลี้ยง
และกลีบดอกสีขาว ปลายกลีบสีมวงแดง คาง นิเวศวิทยาและการกระจายพันธุ
สีมว งแดง กลีบปากสีขาว กลางกลีบสีเหลืองทอง พบตามป า ดิ บ แล ง ภาคเหนื อ และภาค
ปลายกลีบสีมว งแดง กลีบเลีย้ งบนรูปขอบขนาน ตะวันออกเฉียงเหนือ ออกดอกเดือนมกราคม–
กวางประมาณ 10.5 มม. ยาวประมาณ 30.5 มม. เมษายน
ปลายแหลม มีเสนตามยาว 5 เสน กลีบเลีย้ งขาง
มีรูปรางและขนาดเหมือนกลีบเลี้ยงบน ปลาย เขตการกระจายพันธุ
แหลม โคนเบี้ยวเล็กนอย มีเสนตามยาว 5 เสน ตะวันออกเฉียงเหนือของอินเดีย บังคลาเทศ
คางคล า ยรู ป กรวย ยาวประมาณ 5.5 มม. พมา จีน ลาว เวียดนาม
กลีบดอกรูปไขกวาง กวางประมาณ 15.5 มม.
ยาวประมาณ 30.5 มม. ปลายมน โคนรูปลิม่ แคบ
ขอบหยักซี่ฟน มีเสนตามยาว 6 เสน กลีบปาก

Orchids in the Phu Khieo-Nam Nao Forest Complex 125


àÍ×éͧÊÒ»ÃÐÊÒ·
Dendrobium polyanthum Wall. ex Lindl.

1266 ¡ÅŒ Ç ÂäÁŒ ã ¹¡ÅØ ‹ Á »† Ò ÀÙ à ¢Õ Â Ç-¹íé Ò Ë¹ÒÇ


ชื่ออื่น ๆ เอือ้ งสายนํา้ เขียว
เอือ้ งสายนํา้ ผึง้ เอือ้ งสายเหลือง
ลักษณะทางพฤกษศาสตร
กลวยไมอิงอาศัย
หัวเทียมมีลกั ษณะหอยลง รูปทรงกระบอก
ยาว 20.5–35.5 ซม. ไม แ ตกกิ่ ง มี ข  อ ปล อ ง

ll ex Lindl.
จํานวนมาก แตละปลองยาว 2.5–3 ซม.

Li dl
ใบ รู ป ใบหอกหรื อ รู ป ใบหอกแกมรู ป ไข
กวาง 2.5–3.5 ซม. ยาว 8.5–11 ซม. ปลายมน
แยกเปนแฉกไมสมมาตร แผนใบบางคลายกระดาษ
กาบใบบางคลายกระดาษหรือบางคลายเยื่อ

Wall.
ชอดอกออกตามข อ ห อ ยลง แต ล ะช อ
มี 1–3 ดอก กานชอดอกมีกาบรูปเรือหุม จํานวน

W
2 กาบ ยาวประมาณ 2.5 มม. ใบประดับรูปไข ยาว

Dendrobium polyanthum
5.5–9.5 มม. ปลายมน บางคลายเยือ่ สีขาวหมน

th
กานดอกรวมรังไขยาว 2.5–3 ซม. สีเขียวอมเหลือง
ดอกมี ลั ก ษณะห อ ยลง กลี บ เลี้ ย งและ

l
กลีบดอกสีชมพูออ นหรือสีขาว กลีบปากสีขาวนวล
ปลายกลี บ สี ช มพู อ  อ น กลี บ มี เ ส น สี ม  ว งแดง
รูปรี สีมวง มีขนละเอียดปกคลุม ขอบดานหนา
เสาเกสรสีขาว กลีบเลีย้ งบนรูปใบหอกแคบ กวาง
เวาตื้น ปลายโคงลง
6.5–10 มม. ยาวประมาณ 30.5 มม. ปลาย
เกือบแหลม โคนเบี้ยว มีเสนตามยาว 3–5 เสน
ผลแบบผลแหงแตก
คางรูปกรวยแคบ ยาวประมาณ 5.5 มม. ปลายมน นิเวศวิทยาและการกระจายพันธุ
กลีบดอกรูปขอบขนานแคบ กวาง 7.5–9.5 มม. พบตามปาดิบเขา ปาเต็งรัง และปาเบญจพรรณ
ยาวประมาณ 30.5 มม. ปลายมน ขอบเรียบ ภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ออกดอก
มีเสนตามยาว 3–5 เสน กลีบปากรูปไขกลับกวาง เดือนกุมภาพันธ–มีนาคม
กวางประมาณ 36.5 มม. ขอบกลีบปากหุมเกิน เขตการกระจายพันธุ
ครึง่ ของเสาเกสร กลีบปากทัง้ 2 ดาน มีขนสัน้ นุม ตะวันออกเฉียงเหนือของอินเดีย เนปาล
ปกคลุมหนาแนน ขอบหยักซี่ฟน เสาเกสร ยาว พมา จีน ลาว เวียดนาม
ประมาณ 3.5 มม. ฝาปดกลุมเรณูรูปกรวยแกม
Orchids in the Phu Khieo-Nam Nao Forest Complex 127
ËÇÒ¹ŒÍÂÀÙËÅǧ
Dendrobium proteranthum Seidenf.

1288 ¡ÅŒ Ç ÂäÁŒ ã ¹¡ÅØ ‹ Á »† Ò ÀÙ à ¢Õ Â Ç-¹íé Ò Ë¹ÒÇ


ชื่ออื่น ๆ ขาวตอกภูหลวง สีมวงแดง 3 แถบ กลีบเลี้ยงบนรูปรีแกมรูปไข
ยาว 4.5–5.5 มม. กลีบเลี้ยงขางรูปสามเหลี่ยม
ลักษณะทางพฤกษศาสตร มีแถบสีมวงแดง 3 แถบ กลีบดอกรูปแถบมีเสน
กลวยไมอิงอาศัย ตามยาวสีมวงแดง 1 เสน กลีบปากรูปรี กวาง
หัวเทียมรูปทรงกระบอก เสนผานศูนยกลาง ประมาณ 2.5 มม. ยาวประมาณ 3.5 มม.
ประมาณ 10.5 มม. มีกาบหุม สีมว งดํา เสาเกสรอวนสัน้ ฝาปดกลุม เรณูรปู กรวย
ใบ รูปขอบขนานแกมรูปรี ปลายแหลม ผลแบบผลแหงแตก
โคนแผเปนกาบหุมลําตน แผนใบบาง ใบมักจะ นิเวศวิทยาและการกระจายพันธุ

Dendrobium proteranthum Seidenf.


รวงกอนออกดอก พบตามป า ดิ บ เขาเขตรั ก ษาพั น ธุ  สั ต ว ป  า
ช อ ดอก แบบช อ กระจะ ออกที่ โ คน ภูหลวง จังหวัดเลย และอุทยานแหงชาติภูหิน-
หัวเทียม ชอดอก ยาวประมาณ 3 ซม. แตละชอ รองกลา จังหวัดพิษณุโลก ทีร่ ะดับความสูง 1,400–
มี 4–7 ดอก กานดอกสั้น ใบประดับที่มีดอก 1,500 ม. ออกดอกเดือนมกราคม–มีนาคม
ยาว 3–5.5 มม. เขตการกระจายพันธุ
ดอกเสนผานศูนยกลางประมาณ 1 ซม. เปนพืชถิ่นเดียวของไทย
กลีบเลีย้ งและกลีบดอกสีเขียวแกมเหลือง มีแถบ

Orchids in the Phu Khieo-Nam Nao Forest Complex 129


àÍ×éͧªÐ¹Õ
Dendrobium senile C. S. P. Parish & Rchb. f.

1300 ¡ÅŒ Ç ÂäÁŒ ã ¹¡ÅØ ‹ Á »† Ò ÀÙ à ¢Õ Â Ç-¹íé Ò Ë¹ÒÇ


ชื่ออื่น ๆ มือชะนี เอือ้ งขนคาง เทากับกลีบเลีย้ งบน โคนเชือ่ มติดกับโคนเสาเกสร
เอือ้ งนางนี เอือ้ งมือคาง เอือ้ งอีฮยุ กลีบดอกรูปไข กวางประมาณ 2.5 ซม. ยาวประมาณ
3.5 ซม. ปลายมน กลีบปากสีเหลือง รูปไขกลับ
ลักษณะทางพฤกษศาสตร กวางประมาณ 2.5 ซม. ยาวประมาณ 3.5 ซม.
กลวยไมอิงอาศัย สูง 5–10 ซม. ปลายแหลม ขอบกลีบเวาและโคงขึ้น โคนกลีบ
เชือ่ มติดกับคางเสาเกสร เสาเกสร ยาวประมาณ

Dendrobium senile C. S. P. Parish & Rchb. f.


หัวเทียมรูปทรงกระบอก ยาว 6.5–8.5 ซม.
มีปลอง 2–5 ปลอง มีขนสีขาวนุม ปกคลุมหนาแนน 2.5 มม. คาง ยาวประมาณ 6.5 มม. ฝาป ด
กลุมเรณูรูปคอนขางกลม ปลายมน
ใบ รูปรี กวาง 1.5–3.5 ซม. ยาว 4.5–6.5 ซม.
ปลายแหลม โคนแผเปนกาบหุม หัวเทียม แผนใบบาง ผลรูปทรงรี เสนผานศูนยกลางประมาณ
3 ซม. ยาวประมาณ 5.5 ซม.
มีขนสีขาวนุม ปกคลุมทัง้ 2 ดาน กาบใบมีขนสัน้ นุม
สีขาวปกคลุม นิเวศวิทยาและการกระจายพันธุ
ดอกมี 1 ดอกออกตามขอ สีเหลือง กวางประมาณ พบตามปา ดิ บแล ง และปา เต็ ง รั ง ผสมสน
4.5 ซม. ยาวประมาณ 5.5 ซม. ใบประดับรูปรี ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคใต
กวางประมาณ 32.5 มม. ยาวประมาณ 4.5 มม. ที่ระดับความสูง 700–950 ม. ออกดอกเดือน
มีขนสั้นนุมสีขาวปกคลุมหนาแนน กลีบเลี้ยงบน เมษายน เปนผลเดือนพฤษภาคม
รูปรี กวางประมาณ 1.5 ซม. ยาวประมาณ 2.5 ซม. เขตการกระจายพันธุ
ปลายแหลม กลีบเลี้ยงขางมีรูปรางและขนาด พมา ลาว

Orchids in the Phu Khieo-Nam Nao Forest Complex 131


àÍ×éͧÁ͹䢋㺢¹
Dendrobium thyrsiflorum Rchb. f. ex André

1322 ¡ÅŒ Ç ÂäÁŒ ã ¹¡ÅØ ‹ Á »† Ò ÀÙ à ¢Õ Â Ç-¹íé Ò Ë¹ÒÇ


ชื่ออื่น ๆ กับแกะ พอซางดี มอนไขใบมน ดอกมี ลั ก ษณะห อ ยลง กลี บ เลี้ ย งและ
กลีบดอกสีขาว กลีบปากสีเหลืองทอง เสาเกสร
ลักษณะทางพฤกษศาสตร สีขาว โคนเสาเกสรสีเหลืองออน กลีบเลี้ยงบน
กลวยไมอิงอาศัยหรือขึ้นบนหิน รูปไข กวางประมาณ 9 มม. ยาวประมาณ 16 มม.
หัวเทียมมีลกั ษณะตัง้ ตรง รูปทรงกระบอก ปลายมน ขอบเรี ย บ มี เ ส น ตามยาว 5 เส น
ยาว 12.5–46.5 ซม. มีขอ ปลองและสันตามยาว กลีบเลี้ยงขางรูปไขถึงรูปใบหอก กวางประมาณ
จํานวนมาก สีเหลืองออนแกมนํ้าตาล 8 มม. ยาวประมาณ 18 มม. ปลายมน ขอบเรียบ
มีเสนตามยาว 5 เสน คางคอนขางกลม กวาง
ใบ มี 3 หรือ 4 ใบ เรียงเวียน รูปใบหอกกลับ

Dendrobium thyrsiflorum Rchb. f. ex André


ประมาณ 4.5 มม. กลี บ ดอกค อ นข า งกลม
กวาง 2–5.5 ซม. ยาว 8.5–16.5 ซม. ปลายแหลม กวางประมาณ 13 มม. ยาวประมาณ 15 มม.
โคนสอบแคบเปนกาน ยาวประมาณ 6.5 มม. ปลายกลมมน โคนมี ลัก ษณะคลา ยกา นกลี บ
แผนใบหนาคลายแผนหนัง ยาวประมาณ 2.5 มม. ขอบหยักซีฟ่ น ไมสมํา่ เสมอ
ชอดอกออกตามขอ หอยลง ชอดอกยาว มีเสนตามยาว 7 เสน กลีบปากคลายรูปวงกลม
9–17 ซม. มีดอกจํานวนมาก กานชอดอกมีกาบ ถึ ง รู ป สามเหลี่ ย ม กว า งประมาณ 19.5 มม.
เปนเยื่อบางคลายกระดาษหุมจํานวน 3–4 กาบ ยาวประมาณ 15.5 มม. ดานลางมีขนสั้นนุม
ใบประดับที่มีดอกรูปไขกลับ กวาง 4–15 มม. ห า ง ๆ ดา นบนมี ข นสั้นนุ ม ปกคลุ ม หนาแน น
ยาว 9.5–15.5 มม. ปลายกลมมน สีขาวหมน ปลายกลมมน โคนมี ลั ก ษณะคลา ยก า นกลี บ
บางคลา ยกระดาษ มี เ สนตามยาวหลายเสน ยาวประมาณ 3.5 มม. ฝาปดกลุมเรณูรูปกรวย
กานดอกรวมรังไขยาว 2–3.5 ซม. สีครีม สีขาว
ผลแบบผลแหงแตก
นิเวศวิทยาและการกระจายพันธุ
พบตามป า ดิ บ เขา ภาคเหนื อ และ
ภาคตะวั น ออกเฉี ย งเหนื อ ที่ ร ะดั บ ความสู ง
1,000–1,500 ม. ออกดอกเดื อ นมกราคม–
เมษายน
เขตการกระจายพันธุ
ตะวั นออกเฉี ย งเหนื อ ของอินเดี ย เนปาล
พมา ลาว เวียดนาม

Orchids in the Phu Khieo-Nam Nao Forest Complex 133


àÍ×éͧ¤íÒàËÅÕèÂÁ
Dendrobium trigonopus Rchb. f.

1344 ¡ÅŒ Ç ÂäÁŒ ã ¹¡ÅØ ‹ Á »† Ò ÀÙ à ¢Õ Â Ç-¹íé Ò Ë¹ÒÇ


ชื่ออื่น ๆ เอือ้ งคําปากไก เอือ้ งคําภู ขอบดานบนหยักซี่ฟน ฝาปดกลุมเรณูรูปกรวย
ยาวประมาณ 0.5 ซม. เกลี้ยง
ลักษณะทางพฤกษศาสตร
ผลแบบผลแหงแตก
กลวยไมอิงอาศัย สูง 5–10 ซม.
หัวเทียมรูปกระสวยหรือรูปกระบอง ยาว
5.5–12 ซม. ไมแตกกิ่ง มีขอจํานวน 3-5 ขอ
แตละขอยาวประมาณ 2.5 ซม.
ใบ มี 3 หรือ 4 ใบ รูปขอบขนาน กวาง

Dendrobium trigonopus Rchb. f.


1.5–4 ซม. ยาว 7.5–10 ซม. ปลายแหลม โคน
มีกาบใบสั้น ๆ หุม แผนใบหนาคลายแผนหนัง
ดานลางมีขนสีดําบริเวณเสนกลางใบ
ชอดอกออกตามขอมี 1–2 ชอ แตละชอ
มี 2–3 ดอก ก า นช อ ดอกยาว 1.5–5 ซม.
ใบประดับที่มีดอกรูปไขถึงรูปสามเหลี่ยม ยาว
ประมาณ 5.5 มม. ปลายแหลม ก า นดอก
รวมรังไขยาว 2.5–4.5 ซม. สีเหลืองออนแกมเขียว
ดอกมีลกั ษณะหอยลง กลีบเลีย้ ง กลีบดอก
และกลีบปากสีเหลือง บริเวณกลางกลีบปากมี
แตมสีเขียวออน กลีบเลี้ยงบนและกลีบเลี้ยงขาง
มีลกั ษณะคลายกัน รูปใบหอกแคบ กวางประมาณ
1.5 ซม. ยาวประมาณ 3.5 ซม. ปลายแหลม
มีสนั ตามยาว เสนกลางกลีบดานลางยกขึน้ เหมือน
เปนรูปปก โคนกลีบเลีย้ งขางเชือ่ มถึงโคนเสาเกสร นิเวศวิทยาและการกระจายพันธุ
คางคอนขางกลม กวางประมาณ 0.5 ซม. กลีบดอก พบตามป า ดิ บ เขา ภาคเหนื อ และ
รูปไขถึงรูปขอบขนาน กวางประมาณ 1.5 ซม. ภาคตะวั น ออกเฉี ย งเหนื อ ที่ ร ะดั บ ความสู ง
ยาวประมาณ 2.5 ซม. ปลายแหลม มีเสนตามยาว 1,000–1,500 ม. ออกดอกเดือนกุมภาพันธ–
8 เส น กลี บ ปากตั้งตรงขนานไปกับเส าเกสร พฤษภาคม
ปลายแยกเปน 3 แฉก แฉกขางรูปคลายไขกลับ เขตการกระจายพันธุ
หุมเสาเกสร ปลายมน ขอบดานบนหยักซี่ฟน ตะวันตกเฉียงใตของจีน พมา ลาว เวียดนาม
แฉกกลางรูปวงกลม บริเวณกลางแฉกมีปุมเล็ก
หนาแน น เส า เกสร ยาวประมาณ 0.5 ซม.

Orchids in the Phu Khieo-Nam Nao Forest Complex 135


àÍ×éͧ¤ÃÑè§áÊ´
Dendrobium unicum Seidenf.

1366 ¡ÅŒ Ç ÂäÁŒ ã ¹¡ÅØ ‹ Á »† Ò ÀÙ à ¢Õ Â Ç-¹íé Ò Ë¹ÒÇ


ชื่ออื่น ๆ เอือ้ งกําลังเอก เอือ้ งสายสีแสด และมวนลง กลีบปากสีสมออนมีลายเสนสีสม
กระจายทัว่ ทัง้ ดานบนและดานลาง บริเวณกลาง
ลักษณะทางพฤกษศาสตร กลีบมีสนั ตามยาว ขอบกลีบมวนเขาหากัน คางสัน้
กลวยไมอิงอาศัย ผลแบบผลแหงแตก
หัวเทียมรูปทรงกระบอก ยาว 5–15 ซม. นิเวศวิทยาและการกระจายพันธุ
มีรองตื้น ๆ ตามยาว พบตามปาดิบแลง ปาผลัดใบ และปาสน
ใบ รูปขอบขนานแกมรูปรี กวาง 1–1.5 ซม. ภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ทีร่ ะดับ
ยาว 3.5–6.5 ซม. ปลายแหลม โคนแผเปนกาบ ความสู ง ประมาณ 1,000 ม. ออกดอกเดื อ น
หุม ลําตน แผนใบบาง ใบมักจะรวงกอนออกดอก กุมภาพันธ–เมษายน

Dendrobium unicum Seidenf.


ชอดอกแบบชอกระจะ ออกตามขอมี 1–2 ชอ เขตการกระจายพันธุ
แตละชอมี 2–4 ดอก กานชอดอกสั้น กานดอก พมา ลาว เวียดนาม
รวมรังไขยาว 2.5–4.5 ซม.
ดอกมีกลิ่นหอม เสนผานศูนยกลาง 2.5–
3.5 ซม. กลีบเลี้ยงและกลีบดอกสีสมแกมแดง
เมื่อบานนานขึ้นกลีบเลี้ยงและกลีบดอกบิดตัว

Orchids in the Phu Khieo-Nam Nao Forest Complex 137


¡ÅŒÇÂÁ´´Í¡¢ÒÇ
Didymoplexis pallens Griff.

138 ¡ÅŒ Ç ÂäÁŒ ã ¹¡ÅØ ‹ Á »† Ò ÀÙ à ¢Õ Â Ç-¹íé Ò Ë¹ÒÇ


ชื่ออื่น ๆ – เสาเกสรรูปกระบอง ยาว 4–6 มม. สวนปลาย
มีครีบ 2 ครีบ กานดอกรวมรังไข ยาว 5–12 มม.
ลักษณะทางพฤกษศาสตร
ผลรูปทรงกระบอกถึงเปนรูปกระสวย ยาว
ทั้งตนรวมชอดอก ยาว 8–25 ซม. 2–3 ซม.
เหงารูปกระสวยถึงคลายลูกปด เสนผาน-
ศูนยกลาง 0.5–0.7 ซม. ยาว 1–3 ซม.
รากขนาดเล็กออกที่โคนตน
ลํ าต น เหนือดินสีนํ้าตาลออน ลักษณะ
เรียวยาวและตัง้ ตรง มีกาบหุม 1–5 กาบ รูปหลอด

Didymoplexis pallens Griff.


ยาว 2–4 มม. ปลายแหลม
ชอดอกแบบช อ กระจะ เรี ย งตั ว ห า ง ๆ
ใบประดับรูปไข กวาง 1–2 มม. ยาว 2–3 มม.
ปลายแหลมถึงเรียวแหลม หลุดรวงงาย มีดอก
2–20 ดอก
ดอกสีขาว คลายรูประฆัง ขนาด 0.5–1.5 ซม.
กลีบเลีย้ งบนและกลีบดอกเชือ่ มติดกันเปนหลอด
สวนปลายแยกเปนแฉก 3 แฉก ตื้น ๆ รูปไข
แกมรูป สามเหลี่ ยม ปลายมน กลีบเลี้ยงข าง
เชื่อมกัน สวนปลายแยกเปนแฉก 2 แฉก รูปไข
พับออกดานนอก ปลายมนถึงกลม กลีบปากสีขาว
รูปไขกลับ กวาง 6–8 มม. ยาว 5–5.5 มม. นิเวศวิทยาและการกระจายพันธุ
ปลายกลีบคอนขางตัด ขอบเรียบหรือหยักเปนคลืน่ กล ว ยไม อ าศั ย รา พบตามพื้ น ป า ดิ บ ใน
ขอบดานขางตั้งตรงหรือมวนขึ้น กลางกลีบปาก ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคตะวัน-
มีปุมสีเหลืองขนาดเล็กจํานวนมาก ออก ภาคกลาง ภาคตะวันตกเฉียงใต และภาคใต
ที่ระดับความสูง 100–1,000 ม. ออกดอกเดือน
มีนาคม–มิถุนายน
เขตการกระจายพันธุ
อัฟกานิสถาน ตะวันออกเฉียงเหนือของ
อินเดีย ภูฏาน บังคลาเทศ จีนตอนใต ใตหวัน
ลาว กัมพูชา เวียดนาม มาเลเซีย ออสเตรเลีย
เหงา และทางตะวันตกเฉียงใตของมหาสมุทรแปซิฟก

Orchids in the Phu Khieo-Nam Nao Forest Complex 139


àÍ×éͧ¡ÃÐμ‹ÒÂËÙÅÙ‹
Diploprora truncata Rolfe ex Downie

1400 ¡ÅŒ Ç ÂäÁŒ ã ¹¡ÅØ ‹ Á »† Ò ÀÙ à ¢Õ Â Ç-¹íé Ò Ë¹ÒÇ


ชื่ออื่น ๆ เอื้องงวงชาง เอื้องหูชาง
ลักษณะทางพฤกษศาสตร
ลํ า ต น ตรง เสนผานศูนยกลางประมาณ
3 มม. สูงประมาณ 10.5 ซม.
ใบรูปแถบ กวาง 0.7–1 ซม. ยาว 4.5–7 ซม.
ปลายแหลม โคนรูปลิ่ม แผนใบหนา

Diploprora truncata Rolfe ex Downie


ชอดอกแบบชอกระจะ ออกทีข่ อ ตรงขามใบ
กานชอดอกยาว 5–6 ซม. แกนกลางชอดอก
ยาวได ถึ ง 17 ซม. ใบประดั บ ย อ ยรู ป คล า ย
สามเหลีย่ ม กวางประมาณ 2 มม. ยาวประมาณ
4 มม. ปลายแหลม
ดอกสี ข าวถึ ง สี เขี ย วอ อ น กลี บ เลี้ ย งบน
รูปไข ก ลั บ แกมรูปขอบขนาน กวางประมาณ
2.5 มม. ยาวประมาณ 6.5 มม. ปลายมน กึ่ง
เปนรูปคุม กลีบเลี้ยงขางรูปชอน กวางประมาณ
25 มม. ยาวประมาณ 6 มม. ปลายกึ่งแหลม
กลี บ ดอกรู ป ไข ก ลั บ ถึ ง รู ป ช อ น โค ง กว า ง
2–2.5 มม. ยาวประมาณ 5.5 มม. กลีบปาก
สีขาว มีแตมมีมว ง กลางกลีบแตมสีเหลืองอมสม
โคนกลี บ ปากกึ่ ง เป นรูปโล แฉกขางรู ปคลาย
สามเหลี่ยม ตั้งขึ้น กลางกลีบมีครีบบาง ๆ สูง
ประมาณ 1.5 มม. คอกลีบปากยาวประมาณ
3.5 มม. ปลายกลีบปากเปนสันโคง กวางประมาณ นิเวศวิทยาและการกระจายพันธุ
1.5 มม. ยาวประมาณ 6 มม. เส า เกสร กลวยไมอิงอาศัย พบตามคาคบไมในปาดิบ
ยาวประมาณ 2.5 มม. กานดอกรวมรังไขยาว ทางภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ที่
ประมาณ 4.5 มม. ระดับความสูงประมาณ 1,650 ม. ออกดอก
ผลกวางประมาณ 0.6 ซม. ยาวประมาณ และเปนผลประมาณเดือนกุมภาพันธ
4 ซม. เขตการกระจายพันธุ
ตะวันออกของเทือกเขาหิมาลัย พมา ลาว
กัมพูชา เวียดนาม สิงคโปร คาบสมุทรมลายู

Orchids in the Phu Khieo-Nam Nao Forest Complex 141


àÍ×éͧ¡ÃÐà¨Õé§
Epigeneium amplum (Lindl.) Summerh.

1422 ¡ÅŒ Ç ÂäÁŒ ã ¹¡ÅØ ‹ Á »† Ò ÀÙ à ¢Õ Â Ç-¹íé Ò Ë¹ÒÇ


ชื่ออื่น ๆ เอือ้ งศรีเทีย่ ง เอือ้ งกวาง สีเหลืองมีจุดประสีนํ้าตาลแดง ยาว 1–1.5 ซม.
คางยาว 1–1.5 ซม. กา นดอกรวมรั ง ไขย าว
ลักษณะทางพฤกษศาสตร 4–8 ซม.
เหงาทรงกระบอก แข็ง เสนผานศูนยกลาง ผล ไมมีขอมูล
ประมาณ 5 มม. มีกาบใบเกาหุม หัวเทียมรูปไข
หรือรูปรี เสนผานศูนยกลาง 1–3 ซม. สูง 2–6 ซม.
เปนพูตามยาวและมีกาบบาง ๆ หุม ระยะหาง

Epigeneium amplum (Lindl.) Summerh.


หัวเทียม 5–10 ซม.
รากออกที่โคนหัวเทียม
ใบ 2 ใบ ออกที่ ป ลายหั ว เที ย ม รู ป รี ถึ ง
รูปขอบขนานแกมรูปรี กวาง 2–5 ซม. ยาว 5
–15 ซม. ปลายมนหรือเวาบุม โคนรูปลิม่ กานใบ
ยาว 1–2 ซม.
ดอก 1 ดอก เกิดที่ปลายยอด กานชอดอก
ยาว 8–12 ซม. มีใบประดับรูปไขหรือรูปขอบขนาน
กวาง 0.5–1 ซม. ยาว 1.5–2 ซม. ปลายแหลม
ดอกสี เ หลื อ งแกมนํ้ า ตาลหรื อ สี นํ้ า ตาลแดง
มีจุดประสีนํ้าตาลแดงกระจายทั่วกลีบ เมื่อบาน
กว า ง 5–6 ซม. มีก ลิ่นหอม กลี บเลี้ ยงบนรูป
ขอบขนานแกมรู ปใบหอก กวาง 1–1.5 ซม.
ยาว 4–5 ซม. ปลายแหลม กลีบเลีย้ งขางรูปเคียว
แกมรูปใบหอก กวาง 1.5–2 ซม. ยาว 4–6 ซม.
ปลายแหลม โคนกลีบเชื่อมติดตามยาวกับโคน นิเวศวิทยาและการกระจายพันธุ
เสาเกสรทีเ่ จริญยืน่ ยาวเปนคางรูปกลม กลีบดอก กลวยไมอิงอาศัยหรือบนลานหินที่คอนขาง
รูปแถบแกมรูปใบหอก กวางประมาณ 1 ซม. โล ง ในป า เบญจพรรณ ปาดิบแล ง ปาดิ บเขา
ยาว 6–7 ซม. ปลายแหลม ขอบเรียบ มี เ สน ระดั บ ตํ่ า และปาสน พบทางภาคเหนื อ
ตามยาว 5–7 เสน กลีบปากสีมวงเขมถึงสีดํา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และตะวันตกเฉียงใต
รูปขอบขนาน กวาง 1.5–3 ซม. ยาว 3.5–5 ซม. ทีร่ ะดับความสูง 1,000 ม. ขึน้ ไป ออกดอกเดือน
แยกเปนแฉก 3 แฉก แฉกกลางคอนขางกลม ตุลาคม–มกราคม
กวางประมาณ 2.5 ซม. ยาวประมาณ 3.5 ซม.
ปลายแหลม ขอบเปนคลื่น กลางกลีบมีสันนูน เขตการกระจายพันธุ
ตามยาว 3 สัน แฉกขางกวางและยาว 8–10 มม. เนปาล ภูฏาน อินเดีย จีน พมา เวียดนาม
ตั้งขึ้น ปลายแหลมถึงมน ขอบเรียบ เสาเกสร
Orchids in the Phu Khieo-Nam Nao Forest Complex 143
àÍ×éͧ¼Õ¾ÃÒÂ
Eria amica Rchb.f.

1444 ¡ÅŒ Ç ÂäÁŒ ã ¹¡ÅØ ‹ Á »† Ò ÀÙ à ¢Õ Â Ç-¹íé Ò Ë¹ÒÇ


ชื่ออื่น ๆ – ผลรูปทรงกระบอก กวาง 0.3–0.4 ซม.
ยาว 2.5–5 ซม. กานผลยาวประมาณ 1 ซม.
ลักษณะทางพฤกษศาสตร มีขนสั้นนุมปกคลุม
หัวเทียมรูปกระสวยถึงรูปทรงกระบอก
ดานขางแบนเล็กนอย มีหลายปลอง เสนผาน-
ศูนยกลาง 0.5–2 ซม. ยาว 3–12 ซม. ผิวยน
และเปนรองตามยาว
รากสีนํ้าตาล ออกที่โคนหัวเทียม
ใบ 3–4 ใบ ออกทีป่ ลายหัวเทียม รูปขอบขนาน
ถึงรูปไขแกมรูปรี กวาง 1–4 ซม. ยาว 5–20 ซม.
ปลายแหลม

Eria amica Rchb.f.


ชอดอกแบบชอกระจะ ยาว 4.5–9 ซม.
ออกทางดานขางหัวเทียมใกลปลายยอด กาน
และแกนกลางชอดอกมีขน กานชอดอกยาว
1–3 ซม. ใบประดับยอยรูปรีถงึ รูปไข กวางประมาณ
5 มม. ยาวประมาณ 1 ซม. ปลายเรียวแหลม
มีดอก 5–12 ดอก
ดอกสีเหลือง มีเสนตามยาวสีแดง เมื่อบาน
กวาง 1–2 ซม. กลีบเลีย้ งบนรูปไขถงึ รูปขอบขนาน
กวาง 3–4 มม. ยาว 8–10 มม. ปลายแหลม
กลีบเลี้ยงขางรูปไขถึงเปนรูปสามเหลี่ยม กวาง
3–6 มม. ยาว 6–10 มม. ปลายแหลม โคนกลีบ
เชื่อมติดตามยาวกับโคนเสาเกสรที่เจริญยื่นยาว
เปนคาง กลีบดอกรูปใบหอกแกมรูปขอบขนาน นิเวศวิทยาและการกระจายพันธุ
กวาง 2–3 มม. ยาว 6–8 มม. ปลายมน กลีบปาก กลวยไมอิงอาศัย พบบริเวณเปดโลงและมี
สีนาํ้ ตาลแดง รูปไขกลับ กวาง 3–6 มม. ยาว 7– แสงแดดปานกลาง ในปาเบญจพรรณ ปาดิบแลง
10 มม. กลางกลีบมีครีบตามยาวสีนํ้าตาลแดง และปาดิบเขาเกือบทุกภาคของไทย ที่ระดับ
3 อัน กลีบแยกเปนแฉก 3 แฉก แฉกกลางสีเหลือง ความสูง 750–1,800 ม. ออกดอกและเปนผล
รูปคอนขางกลม กวางและยาวประมาณ 3 มม. เดือนกุมภาพันธ–กรกฎาคม
ปลายเวาตื้น แฉกขางรูปไข กวางและยาว 2– เขตการกระจายพันธุ
2.5 มม. ตั้งขึ้น เสาเกสรสีเหลือง ยาว 3–6 มม. เนปาล ภู ฏ าน อิ น เดี ย จี น พม า ลาว
คางยาว 2–6 มม. กานดอกรวมรังไขยาว 2–2.5 ซม. เวียดนาม ไตหวัน

Orchids in the Phu Khieo-Nam Nao Forest Complex 145


àÍ×éͧ¹ÔèÁ¡ÅÕº¨Ñ¡
Eria carinata Gibson

1466 ¡ÅŒ Ç ÂäÁŒ ã ¹¡ÅØ ‹ Á »† Ò ÀÙ à ¢Õ Â Ç-¹íé Ò Ë¹ÒÇ


กวางประมาณ 0.5 ซม. ยาว 1–2 ซม. ปลาย
เรียวแหลม กลีบปากสีนํ้าตาลแดง มีลายเสน
รางแหสีแดง กลางกลีบแตมสีชมพูถึงสีนํ้าตาล
แกมเหลื อ ง โคนกลี บ เชื่ อ มกั บ โคนเส า เกสร
ตั วกลี บแยกเป นแฉก 3 แฉก กว า งประมาณ
0.5 ซม. ยาว 1.5–1.7 ซม. แฉกกลางรูปกลม
ถึงกึง่ รูปใบหอก ปลายเปนติง่ แหลมออน แฉกขาง
มีขนาดเล็ก กลมมน และตั้งขึ้น เสาเกสรสีขาว
ชื่ออื่น ๆ – ถึงสีแดงออน รูปทรงกระบอกโคง ยาวประมาณ
1.5 ซม. กานดอกรวมรังไขยาวประมาณ 1 ซม.
ลักษณะทางพฤกษศาสตร
ผล ไมมีขอมูล
ทั้งตน สูง 15–30 ซม.

Eria carinata Gibson


นิเวศวิทยาและการกระจายพันธุ
เหงาทอดเลื้อย ทรงกระบอก เรียวยาว กล วยไม อิง อาศั ย พบทางภาคเหนือ และ
มีกาบสีนํ้าตาลปกคลุม หัวเทียมรูปไขแกมรูป
ภาคตะวั น ออกเฉี ย งเหนื อ ของประเทศไทย
ทรงกระบอกหรือแบนคลายมี 4 สัน เสนผาน-
ที่ระดับความสูง 600–1,400 ม. ออกดอกเดือน
ศูนยกลาง 1–2.5 ซม. ยาว 3–7 ซม.
พฤศจิกายน–มกราคม
ใบ 1 ใบ อยูที่ปลายหัวเทียม รูปขอบขนาน เขตการกระจายพันธุ
แกมรูปใบหอก กวาง 2.5–4 ซม. ยาว 10–20 ซม.
ตะวันออกเฉียงเหนือของอินเดีย
ปลายแหลม โคนรูปลิ่ม กานใบยาว 2–7 ซม.
เปนรองทางดานบน
ชอดอกแบบช อ กระจะตั้ ง ออกที่ โ คน
หัวเทียม กานชอดอกยาว 8–15 ซม. โคนกาน
มีกาบใบ 4–5 กาบ หุม อยู กาบใบรูปใบหอก กวาง
1–2 ซม. ยาว 2–3 ซม. ปลายแหลม แกนกลางใบ
ยาว 4–7 ซม. ใบประดับยอยรูปแถบ กวางประมาณ
0.2 ซม. ยาว 2.5–4.5 ซม. ปลายเรียวแหลม
มีดอก 3–5 ดอก ระยะหางระหวางดอกประมาณ
2 ซม.
ดอกสีสม แดง มีลายตามยาวสีเขียว กลีบเลีย้ ง
รูปใบหอกแกมรูปขอบขนาน กวาง 0.3–0.5 ซม.
ยาว 1.5–2 ซม. ปลายเรียวแหลม โคนกลีบเลีย้ ง
ขา งเชื่ อ มติด ตามยาวกับ โคนเส า เกสรที่เจริ ญ
ยื่นยาวเปนคาง กลีบดอกรูปใบหอกแกมรูปไข
Orchids in the Phu Khieo-Nam Nao Forest Complex 147
àÍ×éͧμÒÅËÔ¹
Eria discolor Lindl.

1488 ¡ÅŒ Ç ÂäÁŒ ã ¹¡ÅØ ‹ Á »† Ò ÀÙ à ¢Õ Â Ç-¹íé Ò Ë¹ÒÇ


ชื่ออื่น ๆ –
ลักษณะทางพฤกษศาสตร
เหงารูปทรงกระบอก เสนผานศูนยกลาง
0.5–1 ซม. หั ว เที ย มรู ป รี มี 4–5 ปล อ ง
เส น ผา นศู น ยก ลาง 2–5 ซม. สูง 4–15 ซม.
ผิวแหงเปนรอง ระยะหางหัวเทียม 6–16 ซม.
รากสีนํ้าตาล ออกที่เหงา
ใบ 3–6 ใบ อยูท ปี่ ลายหัวเทียม แผนใบรูปรี
แกมรูปขอบขนาน กวาง 2.5–4 ซม. ยาว 10–
20 ซม. ปลายมนและเวาตื้น แผนใบหนาคลาย

Eria discolor Lindl.


แผนหนัง
ชอดอกแบบชอกระจะ ยาว 10–15 ซม. มี
2–5 ชอ ออกใกลปลายยอด มีขนสั้นนุมปกคลุม
หนาแนน กานชอดอกยาว 3–10 ซม. ใบประดับยอย
รูปไข กวางและยาว 3–4 มม. ปลายมน มีดอก
1–8 ดอก
ดอกสีเหลืองแกมนํ้าตาล เมื่อบานมีขนาด
1.5–3 ซม. กลีบเลี้ยงรูปรี กวาง 5–8 มม. ยาว
10–15 มม. ปลายมน โคนกลีบเชือ่ มติดตามยาว
กับโคนเสาเกสรทีเ่ จริญยืน่ ยาวเปนคาง กลีบดอก นิเวศวิทยาและการกระจายพันธุ
รูปไขกลับถึงรูปรี กวาง 3–5 มม. ยาวประมาณ กลวยไมอิงอาศัยหรือเกาะหิน ในบริเวณที่
10 มม. ปลายมน กลีบปากสีนํ้าตาลแดง รูปไข เปดโลง มีแสงแดดปานกลาง ในปาเบญจพรรณ
กวาง 3–4 มม. ยาวประมาณ 5 มม. ปลายแหลม ป า ดิ บ แล ง และป า ดิ บ เขา ทางภาคเหนื อ
โคนกลีบแตมสีเหลืองออน กลางกลีบมีเนือ้ เยือ่ นูน ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ตะวันออก ตะวันตก-
รูปรี เส า เกสรสี เหลื องออนถึ งสีนํ้ าตาล ยาว เฉียงใต และภาคใตของไทย ที่ระดับความสูง
ประมาณ 7 มม. คางยาว 3–6 มม. มีขนสั้นนุม 850–1,800 ม. ออกดอกและเป น ผลเดื อ น
สีขาวปกคลุม กานดอกรวมรังไขยาว 1–2 ซม. มกราคม–กรกฎาคม
มีขนสั้นนุมสีขาวปกคลุม เขตการกระจายพันธุ
ผลรูปทรงกระบอก กวาง 0.6–0.8 ซม. อินเดี ย พม า ลาว เวีย ดนาม มาเลเซี ย
ยาว 4–6 ซม. สุมาตรา บอรเนียว

Orchids in the Phu Khieo-Nam Nao Forest Complex 149


àÍ×éͧºÒÂÈÃÕ
Eria lasiopetala (Willd.) Ormerod

1500 ¡ÅŒ Ç ÂäÁŒ ã ¹¡ÅØ ‹ Á »† Ò ÀÙ à ¢Õ Â Ç-¹íé Ò Ë¹ÒÇ


ชื่ออื่น ๆ นิมมานรดี เอื้องคําหิน กวางประมาณ 1 ซม. ยาว 1.5–2 ซม. ปลาย
เอื้องคําขน หยักมนและโคงลง ขอบกลีบโคงขึ้น โคนกลีบ
มี จุ ด ประสี แ ดง กลางกลี บ มี ปุ  ม เนื้ อ เยื่ อ นู น
ชื่อสามัญ Shaggy petaled Eria รูปคอนขางกลม 3 ปุม ขอบกลีบสีแดง โคนกลีบ
ลักษณะทางพฤกษศาสตร เชื่อมติดกับคางเสาเกสร เสาเกสรสีเหลืองออน
ยาว 2–5 มม. คางยาว 4–8 มม. กานดอกรวม
เหงารูปทรงกระบอก เสนผานศูนยกลาง รังไขยาว 1.5–2 ซม. มีขนสั้นนุมสีขาวปกคลุม
4–8 มม. หัวเทียมรูปไขหรือรูปรี มี 4–7 ปลอง หนาแนน

Eria lasiopetala (Willd.) Ormerod


เสนผานศูนยกลาง 2–4 ซม. ยาว 4–12 ซม. มี
รองตื้น ๆ ตามยาว ระยะหางระหวางหัวเทียม ผลรูปทรงกระบอก กวาง 0.5–0.8 ซม. ยาว
2–10 ซม. 4–6 ซม. มีขนสั้นนุมสีขาวปกคลุม
รากออกเปนกระจุกที่เหงา
ใบ 3–7 ใบ ออกที่ปลายหัวเทียม แผนใบ
รูปรีแกมรูปขอบขนาน กวาง 2–5 ซม. ยาว 6–
20 ซม. ปลายแหลม แผนใบหนาคลายแผนหนัง
ชอดอกแบบชอกระจะตั้ง เกิดจากแขนงที่
จะเจริญเปนหนอใหมขา งหัวเดิม สูง 15–35 ซม.
มีขนสั้นนุมสีขาวปกคลุมหนาแนน กานชอดอก
ยาว 7–20 ซม. ใบประดั บ รู ป ใบหอก กว า ง
ประมาณ 1 ซม. ยาวประมาณ 3 ซม. ปลายแหลม นิเวศวิทยาและการกระจายพันธุ
ใบประดับยอยรูปรี กวาง 0.5–1 ซม. ยาวประมาณ กลวยไมอิงอาศัยหรือเกาะหิน พบบริเวณ
2 ซม. ปลายแหลม มีดอก 2–10 ดอก ริมลําธาร ลานหิน ในเกือบทุกประเภทปาและ
ดอกสีเหลืองแกมเขียว เมื่อบานกวาง 2 พบไดทั่วทุกภาคของประเทศ ที่ระดับความสูง
–2.5 ซม. กลีบเลี้ยงมีขนสั้นนุมสีขาวปกคลุม 600–1,200 ม. ออกดอกและเป น ผลเดื อ น
ทางดานนอก กลีบเลี้ยงบนรูปรีถึงรูปขอบขนาน ตุลาคม–มกราคม
กวาง 0.3–0.7 ซม. ยาว 1–1.7 ซม. ปลายมน เขตการกระจายพันธุ
กลีบเลีย้ งขางรูปคลายสามเหลีย่ ม กวาง 0.5–1 ซม. อินเดีย เนปาล จีน ลาว พมา กัมพูชา
ยาว 1–2 ซม. ปลายแหลม มีจุดประและเสน มาเลเซีย อินโดนีเซีย
ตามยาวสีแดงที่โคนกลีบ โคนกลีบเชื่อมติดตาม
ยาวกั บ โคนเส า เกสรที่ เจริ ญ ยื่ น ยาวเป น คาง
กลีบดอกรูปขอบขนาน กวาง 0.2–0.4 ซม. ยาว
0.6–1.3 ซม. ปลายมน กลีบปากสีเหลือง รูปไขกลับ

Orchids in the Phu Khieo-Nam Nao Forest Complex 151


Êͧ͹§¤»Ò¡Á‹Ç§
Eria marginata Rolfe

1522 ¡ÅŒ Ç ÂäÁŒ ã ¹¡ÅØ ‹ Á »† Ò ÀÙ à ¢Õ Â Ç-¹íé Ò Ë¹ÒÇ


ชื่ออื่น ๆ เอือ้ งนิม่ ภู เอือ้ งสะอาง
ลักษณะทางพฤกษศาสตร
ทั้งตน สูง 10–20 ซม.
หัวเทียมรูปทรงกระบอก เสนผานศูนยกลาง
0.2−0.6 ซม. ยาว 5−10 ซม. เกิดชิดกันเปนกลุม
ใบ 2−3 ใบ ออกทีป่ ลายหัวเทียม รูปใบหอก
แกมรู ป ขอบขนานหรื อ รู ป ใบหอกแกมรู ป ไข
กวาง 1−2 ซม. ยาว 5−11 ซม. ปลายแหลม
ช อ ดอก แบบช อ กระจะ มี 1−2 ช อ
ออกใกลปลายยอด กานชอดอกยาวประมาณ

Eria marginata Rolfe


5 มม. ใบประดับย อยมี 2 ใบ เรี ยงตรงข าม
รูปขอบขนานแกมรูปไข กวาง 5−7 มม. ยาว
10−12 มม. ปลายแหลม มักมีดอก 2 ดอก
ดอก สี ข าว มี ก ลิ่ น หอม กลี บ เลี้ ย งกว า ง
ประมาณ 5 มม. ยาวประมาณ 15 มม. ดานหลัง
กลีบมีขนสีขาวปกคลุม กลีบเลี้ยงบนรูปใบหอก
แกมรูปไข กลีบเลีย้ งขางรูปใบหอกโคงคลายเคียว
กลี บ ดอกรู ป ใบหอกแกมรู ป ขอบขนานกว า ง
ประมาณ 4 มม. ยาวประมาณ 12 มม. ปลายมน
กลีบปากรูปไขกลับ ยาวประมาณ 1 ซม. แยก
เปนแฉก 3 แฉก แฉกกลางแผออกคลายรูปพัด
กวางและยาวประมาณ 5 มม. ปลายแหลมหรือ นิเวศวิทยาและการกระจายพันธุ
เวาตืน้ มีแตมสีมว งออน เนือ้ กลีบหนา ผิวเปนปุม กลวยไมอิงอาศัยตามลําตนหรือคาคบไม
เล็ก ๆ แฉกขางตั้งขึ้น เสาเกสรยาวประมาณ ตามชายป า ดิ บ เขา พบทางภาคตะวั น ออก
3 มม. โคนเสาเกสรยาวประมาณ 4 มม. กานดอก เฉียงเหนือ ที่ระดับความสูง 1,000−2,000 ม.
รวมรังไขยาวประมาณ 1.3 ซม. มีขนสีขาวปกคลุม ออกดอกเดื อ นกุ ม ภาพั น ธ − มี น าคม เป น ผล
หนาแนน เดือนพฤษภาคม
ผลรูปทรงกระบอกแกมรูปไขกลับ กวาง เขตการกระจายพันธุ
ประมาณ 0.5 ซม. ยาวประมาณ 3 ซม. จีน พมา

Orchids in the Phu Khieo-Nam Nao Forest Complex 153


¾ÃóÕ
Eria pannea Lindl.

1544 ¡ÅŒ Ç ÂäÁŒ ã ¹¡ÅØ ‹ Á »† Ò ÀÙ à ¢Õ Â Ç-¹íé Ò Ë¹ÒÇ


ชื่ออื่น ๆ พรมหอมไม เอือ้ งชะนีเหลือง ผล ไมมีขอมูล
เอือ้ งนิว้ นาง
ลักษณะทางพฤกษศาสตร
เหงารูปทรงกระบอก เสนผานศูนยกลาง
2–8 มม. ลําตนรูปทรงกระบอก สั้น และแข็ง
กวาง 0.2–8 มม. ยาว 1–2 ซม. ระยะหางระหวาง
ตน 1.5–2 ซม.
รากสีนํ้าตาล ออกเปนกระจุกที่เหงา
ใบ 2–4 ใบ รูปทรงกระบอก กวาง 0.4–
0.6 ซม. ยาว 5–10 ซม. ปลายแหลมหรือมน

Eria pannea Lindl.


แผนใบหนา อวบนํ้า มีขนปกคลุม
ชอดอกแบบชอกระจะตั้ง ยาว 4–8 ซม.
ออกที่ ย อด มี ข นนุ  ม สี ข าวปกคลุ ม ตลอดช อ
กานชอดอกยาว 3–4 ซม. ใบประดับยอยรูปไข
หรือรูปสามเหลีย่ ม กวาง 3–6 มม. ยาว 5–9 มม.
ปลายแหลม ดานนอกมีขนสั้นนุมสีขาวปกคลุม
หนาแนน มีดอก 1–4 ดอก
ดอกสีเหลือง เมื่อบานกวาง 0.6–1.5 ซม.
ดานหลังของกลีบเลี้ยง กลีบดอก และกลีบปาก
มีขนสัน้ นุม สีขาวปกคลุม กลีบเลีย้ งบนรูปไข กวาง
3–8 มม. ยาว 1–15 มม. ปลายมน กลีบเลีย้ งขาง
รูปคลายสามเหลีย่ ม กวาง 6–8 มม. ยาวประมาณ นิเวศวิทยาและการกระจายพันธุ
10 มม. ปลายแหลม โคนกลีบเชือ่ มติดตามยาว กลวยไมอิงอาศัย พบบริเวณพื้นที่เปดโลง
กับโคนเสาเกสรทีเ่ จริญยืน่ ยาวเปนคาง กลีบดอก และได รั บ แสงแดดตามป า เบญจพรรณ
รูปขอบขนาน กวาง 2–3 มม. ยาว 3.5–7 มม. ปาดิบแลง ปาดิบเขาระดับตํ่า และปาสนทั่วทุก
ปลายมน กลีบปากสีนํ้าตาล รูปคลายลิ้น กวาง ภาคของประเทศ ทีร่ ะดับความสูง 750–1,000 ม.
3–4 มม. ยาว 8–10 มม. ปลายแหลมและโคงลง ออกดอกเดือนเมษายน–กรกฎาคม
กลางกลีบเปนสันนูนตามยาว 1 สัน โคนกลีบ เขตการกระจายพันธุ
เชือ่ มติดกับคางเสาเกสร เสาเกสรยาว 3–6 มม. อินเดีย ภูฏาน จีน พมา ภูมิภาคอินโดจีน
คางยาว 4–6 มม. มีขนสั้นนุ มสีขาวปกคลุม มาเลเซีย สุมาตรา บอรเนียว
กานดอกรวมรังไขยาวประมาณ 8 มม. มีขนสั้น
นุมสีขาวปกคลุมหนาแนน
Orchids in the Phu Khieo-Nam Nao Forest Complex 155
àºÕéÂäÁŒÀÙËÅǧ
Eria pusilla (Griff.) Lindl.

1566 ¡ÅŒ Ç ÂäÁŒ ã ¹¡ÅØ ‹ Á »† Ò ÀÙ à ¢Õ Â Ç-¹íé Ò Ë¹ÒÇ


ชื่ออื่น ๆ – สามเหลีย่ มแกมรูปไขเบีย้ ว กวางประมาณ 2 มม.
ยาว 4.5–6 มม. ปลายมนหรื อ เรี ย วแหลม
ลักษณะทางพฤกษศาสตร โคนกลีบเชือ่ มติดตามยาวกับโคนเสาเกสรทีเ่ จริญ
ทั้งตน สูง 1–3 ซม. ยืน่ ยาวเปนคาง กลีบดอกรูปใบหอก กวางประมาณ
เหงาทอดนอน เรียวยาว หัวเทียมเกิดชิดกัน 1 มม. ยาวประมาณ 4 มม. ปลายเรียวแหลม
เปนคู รูปคอนขางกลมหรือแบนดานขาง ขนาด กลีบปากรูปใบหอกหรือรูปกึ่งรี กวางประมาณ
เสนผานศูนยกลาง 3–6 มม. มีกาบคลายเยือ่ สีเทา 1.5 มม. ยาวประมาณ 3.5 มม. ปลายมนหรือ
ปกคลุม ระยะหางแตละคู 2–5 ซม. เรียวแหลม ขอบเรียบ มีขนครุยหรือหยักซี่ฟน
ไม ส มํ่ า เสมอ เส า เกสรยาวประมาณ 1 มม.
ใบ 2–3 ใบ ออกทีป่ ลายหัวเทียม รูปใบหอก โคนเสา เกสรยาวประมาณ 2 มม. กา นดอก
แกมรูปไขกลับ รูปไขกลับ หรือรูปรี กวาง 2–4 มม.

Eria pusilla (Griff.) Lindl.


รวมรังไขยาวประมาณ 1.5 มม.
ยาว 5–16 มม. ปลายมน กลม กึ่งตัด เปนติ่ง
แหลมออน ถึงมีรยางคแข็ง ยาว 1–1.5 มม. ผลสีเขียว รูปรี
มีเสนใบหลัก 3–6 เสน ออกจากโคนใบ กานใบ
ยาว 2–3 มม.
ชอดอกแบบช อ กระจะ ยาว 1–5 ซม.
ออกทีป่ ลายยอด ใบประดับยอยรูปไข ยาวประมาณ
2 มม. ปลายเรียวแหลมหรือมีติ่งหนาม มีดอก
1–2 ดอก

นิเวศวิทยาและการกระจายพันธุ
กลวยไมเกาะหินหรืออิงอาศัย พบทางภาค-
ตะวันออกเฉียงเหนือ ที่ระดับความสูง 600–
ดอกสีขาวหรือสีเหลืองออน กลีบเลี้ยงบน 1,500 ม. ออกดอกเดือนตุลาคม–พฤศจิกายน
รูปไข ห รื อ รู ป ใบหอกแกมรู ปไข กวางประมาณ เขตการกระจายพันธุ
1.5 มม. ยาว 4–6 มม. ปลายมนหรือเรียวแหลม ตะวันออกเฉียงเหนือของอินเดีย พมา ไทย
กลี บ เลี้ ย งข า งรู ป คล า ยสามเหลี่ ย มหรื อ รู ป เวียดนาม

Orchids in the Phu Khieo-Nam Nao Forest Complex 157


àÍ×éͧ»Ò¡§ØŒÁÀÙËÅǧ
Eriodes barbata (Lindl.) Rolfe

1588 ¡ÅŒ Ç ÂäÁŒ ã ¹¡ÅØ ‹ Á »† Ò ÀÙ à ¢Õ Â Ç-¹íé Ò Ë¹ÒÇ


ชื่ออื่น ๆ –
ลักษณะทางพฤกษศาสตร
หัวเทียมรูปไข กวาง 2.5–3 ซม. ยาว 2.8
–4.5 ซม. อาจมีสันตามยาว 5 สัน
รากออกเปนกระจุกที่โคนหัวเทียม
ใบรูปรีแกมรูปใบหอก กวาง 3–7 ซม. ยาว
5–70 ซม. ปลายแหลม กานใบยาว 8–20 ซม.

Eriodes barbata (Lindl.) Rolfe


ชอดอกแบบชอกระจะ ออกทีโ่ คนหัวเทียม
กานชอดอกยาว 20–30 ซม. มีขนสั้นนุมปกคลุม
ใบประดับ มี 6 ใบ รูปใบหอก ยาวไดถึง 3.5 ซม.
แกนกลางชอดอก ยาว 20–40 ซม. มีใบประดับ
ยอยรูปใบหอก กวาง 3–7 มม. ยาว 7–16 มม.
ปลายแหลม มีดอก 4–20 ดอก
ดอกสี เ หลื อ งหรื อ สี เขี ย ว มี เ ส น ตามยาว
สีแดงหรือสีนํ้าตาล เมื่อบานกวาง 2–2.5 ซม.
มีกลิน่ หอม กลีบเลีย้ งรูปไขแกมรูปรี ปลายกึง่ แหลม
และมีขนสั้นนุมปกคลุมโดยเฉพาะดานหลังของ นิเวศวิทยาและการกระจายพันธุ
กลีบ กลีบเลีย้ งบนกวาง 3–5 มม. ยาว 15–18 มม. กลวยไมองิ อาศัยตามปาดิบเขา ทางภาคเหนือ
กลีบเลี้ยงขางกวาง 3–6 มม. ยาว 12–16 มม. และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ที่ระดับความสูง
กลีบดอกรูปขอบขนานแกมรูปแถบ กวาง 1–2 มม. 1,300–1,650 ม. ออกดอกเดื อ นตุ ล าคม–
ยาว 13–17 มม. ปลายมน เกลีย้ ง กลีบปากรูปรี มกราคม
กวาง 3–5 มม. ยาวประมาณ 15 มม. ปลายกลีบ เขตการกระจายพันธุ
ด า นข า งมี ก ลุ  ม เนื้ อ เยื่ อ นู น ขนาดเล็ ก 2 อั น ตะวันออกเฉียงเหนือของอินเดีย ตะวันออก
กลีบมวนออกดานนอกตัวดอก เสาเกสรยาว ของเทือกเขาหิมาลัย ตะวันตกเฉียงใตของจีน
5–8 มม. แผออกเปนครีบ โคนเส าเกสรยาว ภูฏาน พมา เวียดนาม
4–7 มม. กานดอกรวมรังไขยาว 3–4 ซม.
ผลแหงแตก รูปทรงรี กวาง 0.5–0.7 มม.
ยาว 1.8–4 ซม.

Orchids in the Phu Khieo-Nam Nao Forest Complex 159


¹Ò§ÍÑéǾ؋Á
Habenaria rumphii (Brongn.) Lindl.

1600 ¡ÅŒ Ç ÂäÁŒ ã ¹¡ÅØ ‹ Á »† Ò ÀÙ à ¢Õ Â Ç-¹íé Ò Ë¹ÒÇ


ชื่ออื่น ๆ − นิเวศวิทยาและการกระจายพันธุ
กลวยไม ดิน พบตามชายป า ที่เป ดโล ง
ลักษณะทางพฤกษศาสตร ชืน้ แฉะ ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ตะวันออก
หัวใตดนิ รูปรี เสนผานศูนยกลางประมาณ ตะวันตกเฉียงใต ตะวันออกเฉียงใต และภาคใต
0.3 ซม. ยาวประมาณ 1.5 ซม. เกลี้ยง ที่ ร ะดั บ ความสู ง 50−1,300 ม. ออกดอก
รากออกตามโคนตน ระหวางเดือนกรกฎาคม−ตุลาคม
ใบ 2−4 ใบ รูปแถบ กวาง 0.5−1 ซม. เขตการกระจายพันธุ
ยาว 5−12 ซม. ปลายแหลมถึงเปนติ่งหนาม กัมพูชา ลาว เวียดนาม คาบสมุทรมลายู

Habenaria rumphii (Brongn.) Lindl.


โคนแผเปนกาบหุมลําตน เกาะสุมาตรา ชวา บอรเนียว ฟลปิ ปนส สุลาเวสี
เกาะมอลลุกกะ นิวกีนี ออสเตรเลีย (ควีนสแลนด)
ชอดอกแบบช อ กระจะ ยาวประมาณ
20 ซม. ออกที่ยอด ใบประดับที่กานชอดอก
(sterile bract) มี 6−13 ใบ รูปใบหอก ยาว
1−5.5 ซม. ปลายเรียวแหลม ขอบหยักซี่ฟนถี่
ถึงเปนปุม หรือมีขนสั้น ๆ แกนกลางชอดอก
ยาว 1.5−4 ซม. ใบประดับยอยรูปใบหอก
แกมรูปแถบ กวาง 1.5−2.2 มม. ยาว 10−25 มม.
ปลายเรียวแหลม ขอบอาจมีขนสั้น ๆ มีดอก
10−30 ดอก เรียงตัวชิดกัน
ดอกสี ข าว เหลื อ ง นํ้ า ตาล หรื อ สี ม  ว ง
เมื่อบานกวางประมาณ 1 ซม. กลีบเลี้ยงบน
รูปรี กวาง 2−3.5 มม. ยาว 3−5 มม. ปลายมน
กลี บ เลี้ ย งขา งรู ป รีแกมรูปไขเ บี้ยว กวาง 3
−3.5 มม. ยาว 4−6 มม. ปลายมน กลีบพับ
กลับไปดานหลัง กลีบดอกเชือ่ มกับกลีบเลีย้ งบน
เปนรูปคุม รูปรีแกมรูปไขเบีย้ ว กวาง 1−2 มม.
ยาว 3.5−5.5 มม. ปลายมน กลีบปาก ยาว
6−10 มม. เป นแฉก 3 แฉกลึก แฉกกลาง
สอบเรียว กวาง 0.5−0.7 มม. ยาว 3−5.5 มม.
เสาเกสร ยาว 2−2.5 มม. คางยาว 4.3−13 มม.
ปลายคางเปนรูปกระบอง
ผลรูปกระสวย เสนผานศูนยกลาง 2−3.5 มม.
ยาว 10−13 มม. กานผลสั้น

Orchids in the Phu Khieo-Nam Nao Forest Complex 161


àÍ×éͧ»Ò¡¤ÙŒ
Liparis bootanensis Griff.

1622 ¡ÅŒ Ç ÂäÁŒ ã ¹¡ÅØ ‹ Á »† Ò ÀÙ à ¢Õ Â Ç-¹íé Ò Ë¹ÒÇ


ชื่ออื่น ๆ –
ลักษณะทางพฤกษศาสตร
หัวเทียมรูปไขหรือคลายลูกขางหัวกลับ
กวาง 1–1.5 ซม. ยาว 1.5–3.5 ซม. มี 2–3 ปลอง
ผิวเรียบ มีกาบบาง ๆ หุม
ใบ 1 ใบ ออกที่ปลายหัวเทียม รูปใบหอก
แกมรูปขอบขนาน กวาง 2–3 ซม. ยาว 8–23 ซม.
ปลายแหลม โคนสอบ มีกาบสีนาํ้ ตาลหุม แผนใบ
หนาคลายแผนหนัง

Liparis bootanensis Griff.


ชอดอกแบบชอกระจะ ออกทีป่ ลายหัวเทียม
ยาว 7–28 ซม. ก า นและแกนกลางช อ ดอก
เปน สั น ตามยาว ก านชอดอกยาว 8–10 ซม.
ใบประดับยอยรูปใบหอก ยาว 3–8 มม. มีดอก
5–20 ดอก
ดอกสีเขียวอมเหลืองแลวเปลี่ยนเปนสีสม
อมเหลือง กลีบเลี้ยงบนรูปขอบขนานแกมรูป
ใบหอก กวาง 2–2.7 มม. ยาว 5–11 มม. ปลาย
แหลม กลีบเลีย้ งขางรูปขอบขนานแกมรูปใบหอก
เบี้ ย ว กว า ง 1.5–2.8 มม. ยาว 5–10 มม.
ปลายมน กลีบดอกรูปขอบขนานแกมรูปแถบ
กวาง 0.4–1 มม. ยาว 5–11 มม. ปลายมน นิเวศวิทยาและการกระจายพันธุ
กลีบพับชี้ไปทางกานดอก กลีบปากรูปไขกลับ กลวยไมอิงอาศัยเกาะตามลําตนและราก
กวาง 4–8 มม. ยาว 5–10 มม. ปลายหยักไม ของตนไม หรือขึ้นเกาะหิน บริเวณมีแสงรําไร
สมํ่าเสมอ ขอบใกลโคนกลีบเรียบ กลางกลีบหัก หรื อ ตามหุ บ เขาในป า ดิ บ ชื้ น ทางภาคเหนื อ
พับทํา มุ มกั บ ตั ว ดอก โคนกลีบมี ก ลุ มเนื้อเยื่อ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคตะวันตกเฉียงใต
คล า ยฟ น 1 คู  เสาเกสรสี ขาวถึงสีเขี ยวอ อน ภาคกลาง และภาคใต ที่ระดับความสูง 700–
รูปทรงกระบอก โคง ยาว 2–4 มม. ปลายแผ 1,900 ม. ออกดอกเดื อ นมี น าคม–ธั น วาคม
เปนปก กานดอกรวมรังไขยาว 4–15 มม. เปนผลเดือนกรกฎาคม–ธันวาคม
ผลรูปทรงกระบอกแกมรูปกระบอง กวาง การกระจายพันธุ
ประมาณ 5 มม. ยาว 8–10 มม. อินเดีย ภูฏาน พมา จีน ญี่ปุน เวียดนาม
คาบสมุทรมลายู ชวา และฟลิปปนส

Orchids in the Phu Khieo-Nam Nao Forest Complex 163


àÍ×éͧ¢ŒÒǹ¡
Liparis caespitosa (Lam.) Lindl.

1644 ¡ÅŒ Ç ÂäÁŒ ã ¹¡ÅØ ‹ Á »† Ò ÀÙ à ¢Õ Â Ç-¹íé Ò Ë¹ÒÇ


ชื่ออื่น ๆ – นิเวศวิทยาและการกระจายพันธุ
กล ว ยไม อิ ง อาศั ย ตามลํ า ต น หรื อ กิ่ ง ไม
ลักษณะทางพฤกษศาสตร บริเวณทีม่ แี สงรําไร ริมลําธาร หรือมีความชืน้ สูง
เหงาสั้นและแข็ง หัวเทียมรูปไข เสนผาน- พบขึ้ น เป น กลุ  ม ตามป า ดิ บ ชื้ น ในทุ ก ภู มิ ภ าค
ศูนยกลาง 5–8 มม. ยาว 1–2 ซม. ผิวเกลี้ยง มี ของประเทศ ที่ระดับความสูง 200–2,200 ม.
กาบบาง ๆ หุม ออกดอกเดือนมิถุนายน–ตุลาคม เปนผลเดือน
รากออกเปนกระจุกที่โคนหัวเทียม กรกฎาคม–พฤศจิกายน
ใบ 1 ใบ ออกที่ปลายหัวเทียม รูปขอบขนาน เขตการกระจายพันธุ
แอฟริกา เอเชีย และหมูเกาะในมหาสมุทร-

(Lam.) Lindl.
หรือรูปรีแกมรูปใบหอกกลับ กวาง 0.5–1 ซม.
ยาว 2.5–10 ซม. ปลายแหลม แปซิฟก
ชอดอกแบบช อ กระจะตั้ ง สู ง 4–8 ซม.
ออกที่ยอดของหัวเทียมใหม กานชอดอกและ
แกนกลางชอดอกเปนสันตามยาว กานชอดอก
ยาว 2–5 ซม. ใบประดับยอยรูปใบหอก ยาว
2.5–6 มม. มีดอก 15–40 ดอก เรียงชิดกัน

i caespitosa
ดอกสีเขียวออน เมื่อบาน กวาง 3–44 มม.
มีกลิ่นหอม กลีบเลี้ยงบนรูปขอบขนานแกมรู
บขนานแกกมรูป

it
ใบหอก กวางประมาณ 0.5 มม.. ยาวประมาณ
ยาวประะมาณ
2 มม. กลี บ เลี้ ย งขางรูปรี แกมรู
มรูปขอบขนาน
ขอบขขนาน
กวางประมาณ 0.7 มม. ยาวประมาณ ระมาณ 2 มม.
ปลายแหลม กลีบดอกรูปแถบ กวางประมาณ งประะมาณ
Liparis
0.2 มม. ยาวประมาณ 2 มม. ปลายมนและโค
ลายมนแลละโคง
ไปดา นหลั ง กลี บ ปากรูปขอบขนานแกมรู
ขนานแกมมรูปรี
กวาง 1–1.5 มม. ยาว 1.5–2 มม. ม. ขอบหยัยัก
L i

ไมสมํ่าเสมอ หักพับไปดานหลัง กลางกลีบ


กระบอก
เปนรองตามยาว เสาเกสรรูปทรงกระบอก
โคง ยาวประมาณ 1 มม. ปลายแผผเปนปก
กานดอกรวมรังไขยาว 2–4.5 มม. ม.
ผลรูปทรงรีหรือทรงกลม เสน ผานศูนยกลาง
2–3.5 มม. ยาวประมาณ 4 มม. ม. มีสนั ตามยาว
ตามยาว
3 สัน

Orchids in the Phu Khieo-Nam Nao Forest Complex 165


16
ËÞŒÒà»ÃÒй¡
Liparis regnieri Finet

1666 ¡ÅŒ Ç ÂäÁŒ ã ¹¡ÅØ ‹ Á »† Ò ÀÙ à ¢Õ Â Ç-¹íé Ò Ë¹ÒÇ


ชื่ออื่น ๆ ปกกินรี เอือ้ งหางกระรอก ดอกสีเขียวอมเหลือง เมือ่ บานกวาง 6–7 มม.
กลี บ เลี้ ย งบนรู ป ใบหอกแกมรู ป แถบ กว า ง
ลักษณะทางพฤกษศาสตร 1.5–1.8 มม. ยาวประมาณ 7 มม. ปลายมน
หัวเทียมคลายรูปกระสวย สวนปลายหัวยืด กลีบเลีย้ งขางรูปรีแกมรูปไขเบีย้ ว กวาง 2.5–3 มม.
เปนทรงกระบอก มีหลายปลอง ขนาดเสนผาน- ยาวประมาณ 6 มม. ปลายกึ่งแหลม กลีบดอก
ศูนยกลาง 1–1.2 ซม. ยาว 4–6.5 ซม. มีกาบบาง ๆ รูปแถบ กวาง 0.5–0.7 มม. ยาวประมาณ 7 มม.
หุม ปลายกึง่ แหลม กลีบหักพับไปทางกานดอก ขอบกลีบ
รากออกทีโ่ คนหัวเทียม มวน กลีบปากรูปขอบขนาน กวางประมาณ 2 มม.
ยาวประมาณ 6 มม. มวนออกดานนอกตัวดอก
ใบ มี 4–5 ใบ รู ป ไข ห รื อ รู ป ไข แ กมรู ป รี กลางกลีบมีแถบตามยาวสีมว ง โคนกลีบมีเนือ่ เยือ่
กวาง 3–6.5 ซม. ยาว 9–20 ซม. ปลายเรียวแหลม คลายฟน 1 คู เสาเกสรโคง ยาวประมาณ 4 มม.
โคนแผเปนกาบหุมหัวเทียม ยาว 4.5–7 ซม.

Liparis regnieri Finet


ปลายแผ เ ป น ครี บ ก า นดอกรวมรั ง ไข ย าว
ขอบเรียบหรือเปนคลื่น เนื้อใบบาง แผนใบพับ 8–10 มม.
เปนจีบตามยาว
ผล สีมวงอมเขียว รูปไขกลับ เสนผาน-
ศูนยกลาง 1–1.3 ซม. ยาว 2–2.5 ซม. มีครีบ
ตามยาว 6 ครีบ
นิเวศวิทยาและการกระจายพันธุ
กลวยไมดนิ ขึน้ บริเวณทีเ่ ปดโลงและมีชนั้ ดิน
ตืน้ หรือบนซอกหินบนลานหินทราย ตามปาดิบ
ทางภาคเหนือ ที่ระดับความสูง 750–1,400 ม.
ออกดอกและเปนผลเดือนพฤษภาคม–สิงหาคม
เขตการกระจายพันั ธุ
พมา เวียดนาม จีน (ยูนนาน)

ชอดอกแบบชอกระจะตั้ง สูง 12–26 ซม.


เกิดที่ปลายหัวเทียม กานชอดอกและแกนกลาง
ชอดอกเปนสันและมีครีบตามยาว กานชอดอก
ยาวประมาณ 15 ซม. ใบประดับยอยรูปใบหอกก
ยาวประมาณ 3 มม. มีดอกประมาณ 45 ดอก
เรียงตัวใกล ๆ กัน

Orchids in the Phu Khieo-Nam Nao Forest Complex 167


àÍ×éͧÅÔé¹´íÒ
Luisia psyche Rchb. f.

1688 ¡ÅŒ Ç ÂäÁŒ ã ¹¡ÅØ ‹ Á »† Ò ÀÙ à ¢Õ Â Ç-¹íé Ò Ë¹ÒÇ


ชื่ออื่น ๆ –
ลักษณะทางพฤกษศาสตร
ลําตนรูปทรงกระบอก เรียวยาว และแข็ง
เสนผานศูนยกลาง 3–6 มม. ยาว 20–35 ซม.
รากสีนํ้าตาลออกที่โคนตน
ใบรูปทรงกระบอก กวางประมาณ 0.5 ซม.
ยาว 8–16 ซม. ปลายมน โคนแผเปนกาบหุม
ลําตน แผนใบหนา อวบนํ้า
ชอดอกแบบชอกระจะออกตามขอดาน

Luisia psyche Rchb. f.


ขางลําตน ยาวประมาณ 3 ซม. กานชอดอก
ยาวประมาณ 1 ซม. มีใบประดับยอยรูปสามเหลีย่ ม
กวางประมาณ 1 มม. ยาวประมาณ 2 มม. แตละ
ชอมี 3–5 ดอก
ดอกสี เขี ย วหรื อ สี ม  ว ง เมื่ อ บานมี ข นาด
2.5–4 ซม. กลี บ เลี้ ย งรู ป รี กว า ง 3–4 มม.
ยาว 8–10 มม. ปลายแหลม กลีบเลี้ยงขางและ
กลีบ ดอกรู ป ขอบขนาน กวาง 5–6 มม. ยาว นิเวศวิทยาและการกระจายพันธุ
10–15 มม. ปลายมน กลี บ ปากสี เขี ย วแต ม กล ว ยไม อิ ง อาศั ย พบตามป า ดิ บ แล ง
สี ม  ว งดํ า กระจายทั่ ว ทั้ ง กลี บ กวางประมาณ บริเวณพืน้ ทีม่ แี สงแดดปานกลาง ทางภาคเหนือ
8 มม. ยาวประมาณ 1 ซม. แยกเป น แฉก ตะวั น ออกเฉี ย งเหนื อ และภาคตะวั น ออก
3 แฉก แฉกกลางแบงเปน 2 สวน สวนโคนเรียบ ทีร่ ะดับความสูง 700–750 ม. ออกดอกประมาณ
สว นปลายขยายออกคลายสามเหลี่ ยม กว าง เดือนมีนาคม
5–6 มม. ยาว 6–8 มม. ปลายแหลมหรือเวา เขตการกระจายพันธุ
ผิวมีรอยยนเปนรองตืน้ ตามยาว แฉกดานขางสัน้ พมา ลาว
และตัง้ ขึน้ เสาเกสรยาวประมาณ 4 มม. กานดอก
รวมรังไขยาวประมาณ 1.5 ซม.
ผล ไมมีขอมูล

Orchids in the Phu Khieo-Nam Nao Forest Complex 169


§Ùà¢ÕÂǻҡÁ‹Ç§
Luisia thailandica Seidenf.

1700 ¡ÅŒ Ç ÂäÁŒ ã ¹¡ÅØ ‹ Á »† Ò ÀÙ à ¢Õ Â Ç-¹íé Ò Ë¹ÒÇ


ชื่ออื่น ๆ เอือ้ งลิน้ ดําใหญ
ลักษณะทางพฤกษศาสตร
ลําตนตั้งตรง เสนผานศูนยกลางประมาณ
5 มม. สูง 20–50 ซม. มีกาบใบเกาหุมปลอง
รากออกที่โคนตน
ใบ 5–10 ใบ รูปทรงกระบอก เสนผาน-
ศูนยกลาง 3–5 มม. ยาว 10–20 ซม. ปลายมน
แผนใบหนา อวบนํ้า

Luisia thailandica Seidenf.


ชอดอกแบบชอกระจะ ออกตามขอดานขาง
ลําตน กานชอดอกยาว 3–7 มม. แตละชอมี
1–3 ดอก ใบประดับยอยรูปไข กวาง 2–3 มม.
ยาว 3–4 มม. ปลายมน
ดอกสีเหลืองแกมสีมวงแดง เมื่อบานกวาง
1.5–2.5 ซม. กลีบเลีย้ งและกลีบดอกมักงุม ลงมา
คลุมกลีบปาก กลีบเลีย้ งบนรูปใบหอก รูปไข หรือ
รูปรี กวางประมาณ 5–7 มม. ยาว 8–15 มม.
ปลายมน กลีบเลีย้ งขางรูปไขเบีย้ ว กวางประมาณ
5 มม. ยาว 10–15 มม. ปลายแหลม กลีบดอก
รูปไขกลับ กวาง 7–10 มม. ยาว 10–15 มม.
ปลายมน กลีบปากสีมวงเขม รูปไข กวาง 10–
15 มม. ยาว 15–18 มม. แยกเปนแฉก 3 แฉก
แฉกกลางแบงเปน 2 สวน สวนโคนเรียบและแบน
สวนปลายขยายออกเปนรูปไขกวาง ปลายมน นิเวศวิทยาและการกระจายพันธุ
ผิวมีรอยยนเปนรองตามยาว แฉกดานขางสั้น กลวยไมอิงอาศัย พบตามปาดิบเขาทาง
และตัง้ ขึน้ ปลายมน เสาเกสรสีขาวแตมสีมว งเขม ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคตะวัน-
ยาวประมาณ 3 มม. ก านดอกรวมรั งไข ยาว ออก และภาคตะวันตกเฉียงใต ที่ระดับความสูง
ประมาณ 2 ซม. 950–1,800 ม. ออกดอกเดือนมีนาคม–กรกฎาคม
ผล ไมมีขอมูล เขตการกระจายพันธุ
ตะวันออกเฉียงเหนือของอินเดีย พมา ลาว
เวียดนาม

Orchids in the Phu Khieo-Nam Nao Forest Complex 171


àÍ×éͧ´Ô¹ãººÑÇ
Nervilia crociformis (Zoll. & Moritzi) Seidenf.

1722 ¡ÅŒ Ç ÂäÁŒ ã ¹¡ÅØ ‹ Á »† Ò ÀÙ à ¢Õ Â Ç-¹íé Ò Ë¹ÒÇ


ชื่ออื่น ๆ เอือ้ งใบบัวบก นิเวศวิทยาและการกระจายพันธุ
กลวยไมดิน ขึ้นบริเวณที่มีเศษใบไมทับถม
ลักษณะทางพฤกษศาสตร ในที่ ร ม ตามป า เบญจพรรณ ปา ดิบแล ง และ
ลํ าตน ใต ดิ นเป น หั ว สะสมอาหาร ปาดิบเขาระดับตํา่ ทางภาคเหนือ ภาคตะวันออก
รูปคอนขางกลมถึงเปนรูปไข เสนผานศูนยกลาง ตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคตะวันตกเฉียงใต

Nervilia crociformis (Zoll. & Moritzi) Seidenf.


0.5–1.5 ซม. ที่ระดับความสูง 400–1,700 ม. ออกดอกเดือน
รากสีขาว ออกเปนกระจุกที่โคนตน เมษายน–กรกฎาคม
ใบ 1 ใบ รูปหัวใจหรือเปนรูปหลายเหลี่ยม เขตการกระจายพันธุ
กวาง 5–10 ซม. ยาว 2.5–6 ซม. ปลายมน โคน เนปาล อิ น เดี ย ลาว กั ม พู ช า เวี ย ดนาม
เวารูปหัวใจ ขอบเปนคลื่น แผนใบบาง ดานบน อิ น โดนี เซี ย ฟ ลิ ป ป น ส นิ ว กี นี ออสเตรเลี ย
มีขนสั้นนุมสีขาวหนาแนน ชวงออกดอกไมมีใบ (ควีนแลนด) และแอฟริกา
กานใบยาว 2–5 ซม.
ดอก 1 ดอก เมื่อบานกวาง 1–2.5 ซม.
กานดอกสูง 3–6 ซม. มีกาบรูปหลอด 3–4 อัน
ใบประดับรูปใบหอกแกมรูปไข ขนาดเล็ก ปลาย
แหลม กลีบเลี้ยงและกลีบดอกสีเขียวออนหรือ
สีนํ้าตาลออน รูปใบหอก กวาง 2–4 มม. ยาว
10–15 มม. ปลายแหลม กลางกลีบดานนอกมี
เสนตามยาวสีมว งแดง กลีบปากสีขาวถึงสีมว งออน
รูปขอบขนานถึ ง คลายสี่เ หลี่ยมข ามหลามตัด
กวาง 10–15 มม. ยาว 15–20 มม. มีขนสีชมพู
อมมวงปกคลุม กลางกลีบแตมสีเหลือง ปลายกลีบ
สีมวงหยักเปนชายครุย ตัวกลีบแยกเปนแฉก
3 แฉก แฉกขางคลายรูปโลขนาดเล็ก ขอบกลีบ
โคงขึน้ โคนกลีบโอบลอมเสาเกสร เสาเกสรยาว
6–9 มม. กานดอกรวมรังไขยาวประมาณ 8 มม.
ผล ไมมีขอมูล

Orchids in the Phu Khieo-Nam Nao Forest Complex 173


¾Ñ´¹Ò§ªÕ¹ŒÍÂ
Oberonia emarginata King & Pantl.

1744 ¡ÅŒ Ç ÂäÁŒ ã ¹¡ÅØ ‹ Á »† Ò ÀÙ à ¢Õ Â Ç-¹íé Ò Ë¹ÒÇ


ชื่ออื่น ๆ – ผลสี นํ้ า ตาลอ อ น รู ป ไข ถึ ง รู ป รี ยาว
ประมาณ 2 มม.
ลักษณะทางพฤกศาสตร
นิเวศวิทยาและการกระจายพันธุ
ลําตนไมชัดเจน ในตนที่มีชอดอกมีลําตน กลวยไมองิ อาศัยพบตามคาคบไมในปาดิบเขา
ยาว 1.9–4.5 ซม. ทางภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และ
ใบ 6–8 ใบ แผนใบพับแบนเปนรูปแถบ ภาคกลาง ที่ ร ะดั บ ความสู ง 840–1,400 ม.
เบีย้ ว ปลายแหลม กวาง 0.2–0.4 ซม. ยาว 1.8– ออกดอกเดื อ นพฤษภาคม–สิ ง หาคม เป นผล

Oberonia emarginata King & Pantl.


4.8 ซม. ประมาณเดือนธันวาคม
ชอดอกสีเขียวถึงสีเขียวอมเหลือง หอยลง เขตการกระจายพันธุ
กานชอดอก ยาว 0.2–0.5 ซม. แกนกลางชอดอก อัสสัม ตะวันออกของหิมาลัย เวียดนาม
ยาว 5–10 ซม. มีดอกจํานวนมาก เรียงเปนวง
รอบแกนกลางชอดอก ใบประดับยอยสีเขียว
อมเหลือง รูปไขถึงรูปใบหอกแกมรูปไข กวาง
ประมาณ 0.5 มม. ยาวประมาณ 1 มม. ปลาย
เรียวแหลม ขอบเรียบหรือหยักไมเปนระเบียบ
ดอกสีเขียว เหลืองอมเขียว หรือสีเหลืองออน
เมื่อบานกวางประมาณ 1.5 มม. กลีบเลี้ยงบน
รูปไข แผออก กวางประมาณ 0.4 มม. ยาวประมาณ
0.5 มม. ปลายมน กลีบเลี้ยงข างรูปไขเ บี้ยว
กวางประมาณ 0.5 มม. ยาวประมาณ 0.6 มม.
กลี บ ดอกรู ป ไขแ คบ กวางประมาณ 0.3 มม.
ยาว 0.6–0.7 มม. ปลายกึง่ แหลม ขอบหยักซีฟ่ น
ตื้น ๆ กลีบปากกวางประมาณ 0.8 มม. ยาว
ประมาณ 0.75 มม. แยกเปนแฉก 3 แฉก ตื้น ๆ
แฉกขางรูปคลายวงกลมถึงรูปขอบขนานเบี้ยว
กวางประมาณ 0.2 มม. ยาวประมาณ 0.4 มม.
ขอบเปนคลืน่ แฉกกลางรูปไขกวางถึงคลายวงกลม
กวางประมาณ 0.8 มม. ยาว 0.4–0.5 มม. ปลาย
แยกเป น 2 แฉก เส า เกสรรู ป ทรงกระบอก
ยาวประมาณ 0.2 มม. กานดอกรวมรังไขยาว
0.6–0.8 มม.

Orchids in the Phu Khieo-Nam Nao Forest Complex 175


ÊÃŒÍÂÃÐÂŒÒ
Otochilus fuscus Lindl.

176 ¡ÅŒ Ç ÂäÁŒ ã ¹¡ÅØ ‹ Á »† Ò ÀÙ à ¢Õ Â Ç-¹íé Ò Ë¹ÒÇ


ชื่ออื่น ๆ – ผลรูปรีแกมรูปไขกลับ กวางประมาณ 0.5 ซม.
ยาว 0.7–1 ซม. เปนสันตามยาว 6 สัน
ลักษณะทางพฤกษศาสตร
หัวเทียมคลายรูปกระสวยถึงรูปทรงกระบอก
กวาง 0.8–1.5 ซม. ยาว 3–6 ซม. ผิวมีรอยยน
และมีกาบหุม
รากสีนํ้าตาล ออกตามขอ
ใบ 2 ใบ ออกใกลปลายหัวเทียม รูปขอบขนาน
แคบถึงรูปใบหอกแกมรูปแถบ กวาง 1–1.5 ซม.
ยาว 10–20 ซม. ปลายแหลมหรือเรียวแหลม

Otochilus fuscus Lindl.


กานใบยาว 1–1.5 ซม.
ชอดอกแบบชอกระจะหอยลง ยาว 10–
18 ซม.ออกที่ ย อดของหั ว ใหม ข  า งหั ว เดิ ม
กานชอดอกยาว 3–7 ซม. ใบประดับรูปแถบ
แกมรูป ไข กวา ง 1.5–3 มม. ยาว 7–9 มม.
ปลายแหลมหรือมน มีดอก 10–20 ดอก
ดอกสีขาวหรือมีจุดสีเหลืองออนที่โคนแฉก
กลางของกลีบปาก ดอกบานกวาง 1–1.5 ซม.
มี ก ลิ่ น หอมอ อ น กลี บ เลี้ ย งบนรู ป ขอบขนาน
กว า ง 2–2.5 มม. ยาว 7–8 มม. ปลายมน
กลีบเลี้ยงขางแคบกวาและไม ส มมาตร ปลาย
แหลมถึงเรียวแหลม กลีบดอกรูปใบหอกกลับ
แกมรูปแถบ กวางประมาณ 1.2 มม. ยาว 5–7 มม.
ปลายมนหรือแหลม กลีบปากรูปรี ยาว 4–7 มม.
โคนกลีบพองออกเปนแองกลม สวนปลายแยกเปน
3 แฉก แฉกกลางรูปขอบขนานแกมรูปรีแคบ นิเวศวิทยาและการกระจายพันธุ
ปลายแหลมถึงเรียวแหลม โคงพับลง แฉกขางโอบ กลวยไมอิงอาศัยในปาดิบเขา พบไดทั่วทุก
โคนเสาเกสร เสาเกสรสีนํ้าตาลอมสม รูปทรง ภาคของประเทศไทย ที่ระดับความสูง 900–
กระบอก ยาว 4–6 มม. สวนปลายแผออกเปน 1,500 ม. ออกดอกเดือนตุลาคม–กุมภาพันธ
ครีบและแยกเปน 2 แฉก มีจะงอยสั้น ๆ เปน เขตการกระจายพันธุ
รูปไข กานดอกรวมรังไขยาว 4–7 มม. ตะวั นออกเฉีย งเหนือ ของอิ นเดี ย ภู ฏาน
จีนตอนใต พมา กัมพูชา เวียดนาม

Orchids in the Phu Khieo-Nam Nao Forest Complex 177


àÍ×éͧçÃͧ
Panisea uniflora Lindl.

178 ¡ÅŒ Ç ÂäÁŒ ã ¹¡ÅØ ‹ Á »† Ò ÀÙ à ¢Õ Â Ç-¹íé Ò Ë¹ÒÇ


ชื่ออื่น ๆ –
ลักษณะทางพฤกษศาสตร
ทั้งตนรวมชอดอก สูง 10–20 ซม.
หัวเทียมรูปไขถึงรูปรี เสนผานศูนยกลาง
1–1.2 ซม. สู ง 1–3.5 ซม. ผิวยน ขึ้ นชิ ดกัน
เป น กลุ  ม
ใบ 1–2 ใบ ออกที่ปลายหัวเทียม รูปแถบ
ถึงรูปขอบขนาน กวาง 0.7–1.5 ซม. ยาว 6–18 ซม.
ปลายเรียวแหลม โคนรูปลิม่ กานใบยาว 0.5–2 ซม.

Panisea uniflora Lindl.


ดอกมี 1 ดอก เกิดทีย่ อดของหนอทีจ่ ะสราง
หัวใหม กานดอกยาว 1–3.5 ซม. ที่โคนกานมี
ใบประดับรูปไข กวาง 2–3.5 มม. ยาว 4–5 มม.
ปลายแหลม ดอกสีเหลืองออนถึงสีสม เมื่อบาน
กวาง 1–2 ซม. กลีบเลี้ยงรูปขอบขนานแกมรูป
ไขถึงรูปใบหอกแกมรูปไข กวาง 0.3–0.7 ซม.
ยาว 1.5–2 ซม. ปลายแหลม กลี บ ดอกรู ป
ขอบขนานแกมรู ป ไข ถึ ง รู ป ใบหอกแกมรู ป ไข
กวาง 0.3–0.7 ซม. ยาว 1.2–2 ซม. ปลายแหลม
กลีบปากรูปรีแกมรูปไขกลับ กวาง 0.5–1 ซม.
ยาว 1–2 ซม. โคนคลายเปนถุง ปลายแยกเปน
แฉก 3 แฉก แฉกกลางปลายกึง่ ตัดหรือเปนติง่ แหลม
ขอบกลีบดานขางหยักเปนคลืน่ กลางกลีบดานบน
มีสันตามยาว 3 สัน มีจุดสีสม 3 จุดที่ปลายของ นิเวศวิทยาและการกระจายพันธุ
แตละสัน แฉกขางรูปเคียว มีขนาดเล็ก เสาเกสร กล วยไม อิง อาศั ย หรื อ อาจพบเกาะอาศั ย
ยาว 7–10 มม. ดานขางแผออกเปนครีบ กานดอก ตามกอนหิน ในปาดิบเขาและปาเต็งรังเกือบทั่ว
รวมรังไขยาว 0.8–1.5 ซม. ทุกภาคของประเทศ ที่ความสูง 500–1,500 ม.
ผลรูปไขกลับแกมรูปรี กวาง 1–1.5 ซม. ออกดอกและเปนผลเดือนมกราคม–ตุลาคม
ยาว 1.5–2 ซม. มีครีบตามยาวผล 6 ครีบ เขตการกระจายพันธุ
ตะวั นออกเฉีย งเหนือ ของอิ นเดี ย ภู ฏาน
พมา จีนตอนใต กัมพูชา ลาว เวียดนาม

Orchids in the Phu Khieo-Nam Nao Forest Complex 179


Ãͧ෌ҹÒÃÕÊآСÙÅ
Paphiopedilum sukhakulii Schoser & Senghas

1800 ¡ÅŒ Ç ÂäÁŒ ã ¹¡ÅØ ‹ Á »† Ò ÀÙ à ¢Õ Â Ç-¹íé Ò Ë¹ÒÇ


ชื่ออื่น ๆ รองเทานารีปก แมลงปอ
ชือ่ สามัญ Sukhakul’s Paphiopedilum
ลักษณะทางพฤกษศาสตร
เหงาสั้น

Paphiopedilum sukhakulii Schoser & Senghas


ใบ มี 3−4 ใบ รูปรีแกมรูปขอบขนาน กวาง
3−4.5 ซม. ยาวได ถึ ง 13 ซม. ปลายแหลม
แผนใบดานบนมีลายคลายตาราง สีเขียวเขม
และเขียวออน
ดอก 1 ดอก เกิดที่ปลายยอด กานชอดอก
สีมว ง มีขนละเอียดสีขาวปกคลุม ใบประดับสีเขียว
รูปใบหอก กวางประมาณ 0.9 ซม. ยาว 1.8–2 ซม.
มีขนสั้นนุมปกคลุม ดอกบานกวาง 11–14 ซม.
กลีบเลีย้ งสีขาว มีเสนตามยาวสีเขียว โคนกลีบมี
จุดสีมว ง กลีบเลีย้ งบนรูปไข กวาง 2.5–4.5 ซม.
ยาว 4–5.5 ซม. ปลายเรียวแหลม ดานหลังกลีบ
มี ข นสั้ น นุ  มปกคลุม กลี บเลี้ ยงข างรู ปใบหอก
กวาง 1.5–2.5 ซม. ยาว 3.5–4 ซม. เชื่อมกัน
ตามยาว กลีบดอกสีเขียว มีจดุ สีนาํ้ ตาลแดงอมมวง
กลีบรูปลิ้นแกมรูปขอบขนานถึงรูปใบหอกกลับ
กวาง 1.5–2.5 ซม. ยาว 5.5–7.3 ซม. ปลายแหลม
ขอบกลีบมีขนครุย กลีบปากเปนถุง กวาง 2–3 ซม. นิเวศวิทยาและการกระจายพันธุ
ยาว 5–6 ซม. สีเขียว มีเสนรางแหสีแดงอมมวง กลวยไมดิน พบตามริมนํ้าที่แสงแดดรําไร
เสาเกสรสีเขียวออน ยาวประมาณ 5 มม. เกสร ทางภาคตะวันออกเฉี ย งเหนื อ ที่ จั ง หวัดเลย
เพศผูเ ปนหมันกวางประมาณ 11 มม. สูงประมาณ ที่ระดับ 1,400–1,500 ม. ออกดอกระหวาง
8 มม. มีขนสัน้ นุม ปกคลุม กานดอกรวมรังไขสเี ขียว เดือนกุมภาพันธ–พฤษภาคม
ยาว 3.5–6 ซม. เขตการกระจายพันธุ
ผล ไมมีขอมูล พืชถิ่นเดียวของประเทศไทย

Orchids in the Phu Khieo-Nam Nao Forest Complex 181


àÍ×éͧÍÔ¹·¹¹·
Paphiopedilum villosum (Lindl.) Stein

1822 ¡ÅŒ Ç ÂäÁŒ ã ¹¡ÅØ ‹ Á »† Ò ÀÙ à ¢Õ Â Ç-¹íé Ò Ë¹ÒÇ


ชื่ออื่น ๆ เอื้องไขไก เอื้องคางกบ นิเวศวิทยาและการกระจายพันธุ
เอื้ อ งแมงภู  กลวยไมองิ อาศัยตามกิง่ หรือลําตนของตนไม
ในปาทีร่ ม คลึม้ เปนสวนนอยทีเ่ กาะตามกอนหิน
ชื่อสามัญ Hirsute Paphiopedilum พบทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือและตะวันตก-
ลักษณะทางพฤกษศาสตร เฉี ย งใต ที่ ร ะดั บความสู ง 1,100−2,000 ม.
ออกดอกระหวางเดือนตุลาคม−เมษายน
เหงาสั้น มักเกิดใกลกันเปนกลุม

Paphiopedilum villosum (Lindl.) Stein


เขตการกระจายพันธุ
ใบ มี 4–5 ใบ รูปลิ้นแกมรูปแถบ กวาง ตะวันออกเฉียงเหนือของอินเดีย พมา (type)
2.5–4 ซม. ยาว 14–42 ซม. ปลายเรียวแหลม และตะวันตกเฉียงใตของจีน
หรือแยกเปน 2 แฉก แผนใบดานลางสีเขียวออน
โคนใบมีจุดสีมวง ขอบมีขนครุย
ดอก 1 ดอก กานชอดอกสีเขียว มีจุดสีมวง
ยาว 7–24 ซม. มีขนอุยสีมว งปกคลุม ใบประดับ
สีเขียวมีจดุ สีแดงอมมวง รูปรี กวาง 3–3.8 ซม.
ยาว 3.5–6.5 ซม. ปลายมน ดอกบาน กวาง
7.5–13.5 ซม. กลีบเลี้ยงบนสีเขียว กลางกลีบ
สีนาํ้ ตาลแดงอมมวง ขอบกลีบสีขาว กลีบรูปไขกลับ
กว า ง 3–4.6 ซม. ยาว 4.5–7 ซม. ปลายมน
ขอบโคนกลีบ พั บ ไปด านหลัง กลี บเลี้ ยงข าง
สีเขียวออน รูปไข กวาง 1.8–2.6 ซม. ยาว 3.8–
7.6 ซม. ปลายกึ่งแหลม กลีบเชื่อมกันตามยาว
กลีบดอกสีนํ้าตาลแดง เปนมัน กลางกลีบมีแถบ
สีนํ้าตาลแดงอมมวง กลีบรูปชอนแกมรูปไขกลับ
กวาง 2.5–4.6 ซม. ยาว 4.7–8.6 ซม. ปลายมน
ขอบเวาเปนคลืน่ มีขนสีมว งทีโ่ คนกลีบ กลีบปาก
กวาง 3–3.8 ซม. ยาว 4–6.8 ซม. สีเหลืองแกม
นํ้ า ตาล มีเส น รา งแหสีชมพู ห รือสี แดงจาง ๆ
เกสรเพศผูเปนหมัน สีเหลือง กวางประมาณ
14 มม. ยาวประมาณ 16 มม. ผิวเปนปุมและ
มีขนหยาบแข็ง กลางเกสรมีปมุ กลมสีเหลืองหรือ
สีเขียว
ผล ไมมีขอมูล

Orchids in the Phu Khieo-Nam Nao Forest Complex 183


àÍ×éͧâÁ¡¡ØËÅÒº
Papilionanthe teres (Roxb.) Schltr.

1844 ¡ÅŒ Ç ÂäÁŒ ã ¹¡ÅØ ‹ Á »† Ò ÀÙ à ¢Õ Â Ç-¹íé Ò Ë¹ÒÇ


ชื่ออื่น ๆ ดอกผึ้ ง พญาไร ใ บ พึ ง
เอื้ อ งกวาว เอื้ อ งเที ย น เอื้ อ งโมก
ลักษณะทางพฤกษศาสตร
ลําตนทอดเลื้อยและแตกแขนง ยาวไดถึง
3 ม.
ใบรูปทรงกระบอก เสนผานศูนยกลาง

Papilionanthe teres (Roxb.) Schltr.


ประมาณ 5 มม. ยาว 8–18 ซม. ปลายมน เรียงตัว
หาง ๆ กัน
ชอดอกแบบชอกระจะ ยาว 15–30 ซม. ออก
ตามข อ กา นชอดอกมี ก าบบาง ๆ 3–4 กาบ
หุมอยู ใบประดับรูปไขกวางและยาว 4–6 มม.
ปลายมน มีดอก 2–5 ดอก
ดอก สี ช มพู เมื่ อ บาน กว า ง 4–10 ซม.
กลีบเลีย้ งและกลีบดอกสีขาวถึงสีมว ง กลีบเลีย้ งบน
รูปรีกวาง กวางประมาณ 2 ซม. ยาวประมาณ
2.5 ซม. ปลายมน กลีบเลี้ยงข างรูปขอบขนาน
แกมรู ป ไข กวา งประมาณ 2 ซม. ยาวประมาณ
3 ซม. ปลายแหลม โคนกลีบเชือ่ มติดตามยาวกับ
โคนเสาเกสรเปนคางรูปกรวย กลีบดอกคลายรูปโล
กวางประมาณ 2.7 ซม. ยาวประมาณ 3 ซม.
ปลายมน กลีบปากสีเหลือง มีจุดสีนํ้าตาลแดง นิเวศวิทยาและการกระจายพันธุ
เรียงเปนเสนตามยาว กลีบแยกเปนแฉก 3 แฉก กลวยไมอิงอาศัย พบตามชายปาที่คอนขาง
ปลายแฉกสีมวง แฉกกลางรูปสามเหลี่ยมแกม เปดโลง ที่ระดับ 500–900 ม. ออกดอกเกือบ
รูปไขกลับ ปลายแยกเปนแฉก 2 แฉก มีขน แฉกขาง ตลอดทั้งป
รูปไขกลับ กวางประมาณ 1.5 ซม. ปลายมน เขตการกระจายพันธุ
ทัง้ สองขางมวนเขาหากัน เสาเกสรยาวประมาณ ตอนใต ข องยู น นาน บั ง คลาเทศ ภู ฏ าน
5 มม. กานดอกรวมรังไขยาว 2–3 ซม. อินเดีย เนปาล พมา ลาว เวียดนาม
ผล ไมมีขอมูล

Orchids in the Phu Khieo-Nam Nao Forest Complex 185


¡ÅŒÇÂäÁŒ´§
Phaius mishmensis (Lindl. & Paxton) Rchb. f.

1866 ¡ÅŒ Ç ÂäÁŒ ã ¹¡ÅØ ‹ Á »† Ò ÀÙ à ¢Õ Â Ç-¹íé Ò Ë¹ÒÇ


ชื่ออื่น ๆ – 1–2 ซม. กานดอกรวมรังไขยาว 2.5–3 ซม.
ลักษณะทางพฤกษศาสตร ผลรูปรี กวางประมาณ 0.6 ซม. ยาวประมาณ
1.5 ซม.
ลําตนรู ป กระสวยถึ ง เป น ทรงกระบอก

Phaius mishmensis (Lindl. & Paxton) Rchb. f.


เสนผานศูนยกลาง 1–2 ซม. ยาว 15–65 ซม.
รากออกที่โคนตน
ใบ มี 4–7 ใบ รูปใบหอกแกมรูปรี กวาง
5–10 ซม. ยาว 15–50 ซม. ปลายเรียวแหลม
แผนใบพับเปนจีบ
ชอดอกแบบชอกระจะ มี 1–2 ชอ เกิด
ดานขางของลําตน กานชอดอกยาว 20–30 ซม.
ใบประดับ มี 2–3 ใบ รูปใบหอกแกมรูปรี ยาว
2–4 ซม. ปลายแหลม แกนกลางชอดอกยาว
17–32 ซม. ใบประดับยอยรูปใบหอกแกมรูปไข
ปลายแหลม หลุดรวงงาย มีดอก 5–15 ดอก
ดอกสีขาว เหลือง สม หรือสีชมพู เมือ่ บาน
กว า ง 4.5–5 ซม. กลี บ เลี้ ย งรู ป ใบหอกแกม
รูปไขกลับ กวาง 0.5–1 ซม. ยาว 2.5–4 ซม.
ปลายแหลม กลีบดอกรูปรีแกมใบหอก กวาง
0.5–0.8 ซม. ยาว 2–3 ซม. ปลายมนถึงแหลม
กลีบปากสีชมพูหรือสีขาวมีแตมสีชมพูแลวคอย
เปลีย่ นเปนสีเหลืองถึงสีสม ตัวกลีบรูปสามเหลีย่ ม
แกมรูปไขกลับ กวาง 1.5–3 ซม. ยาว 2–3.5 ซม.
แยกเปนแฉก 3 แฉก แฉกกลางคลายรูปสีเ่ หลีย่ ม นิเวศวิทยาและการกระจายพันธุ
ถึงรูปขอบขนาน กวาง 1.2–1.6 ซม. ยาว 0.3–0.7 ซม. กลวยไมดิน พบตามพื้นปาดิบ มีหินแกรนิต
ปลายตัดหรือเวาตืน้ ขอบพับปนคลืน่ กลางกลีบ ในภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และ
มีสันตามยาว สันที่สวนกลางกลีบมีขนปกคลุม ตะวันตกเฉียงใต ทีร่ ะดับความสูง 800–1,300 ม.
และสวนปลายกลีบแผเปนครีบ แฉกขางรูปไข ออกดอกเดือนตุลาคม–พฤศจิกายน
ถึงรูปพัด กวาง 0.8–1 ซม. ยาว 0.4–0.5 ซม. เขตการกระจายพันธุ
ปลายมน ขอบเรี ย บหรื อ พั บ เป น คลื่ น เดื อ ย ตะวันออกเฉียงเหนือของอินเดีย ภูฏาน พมา
สีเขียวออนถึงสีเหลือง รูปทรงกระบอกโคง ยาว ลาว เวียดนาม ตะวันตกเฉียงใตและทางใตของจีน
1–1.8 ซม. เส า เกสรสี เ หลื องหรื อสีขาว ยาว ใตหวัน ตอนใตของญี่ปุน ฟลิปปนส

Orchids in the Phu Khieo-Nam Nao Forest Complex 187


ÁŒÒÇÔè§
Phalaenopsis pulcherrima (Lindl.) J. J. Sm.

1888 ¡ÅŒ Ç ÂäÁŒ ã ¹¡ÅØ ‹ Á »† Ò ÀÙ à ¢Õ Â Ç-¹íé Ò Ë¹ÒÇ


ชื่ออื่น ๆ กลวยไมดนิ กลวยหิน แดงอุบล รูปลิน้ กวาง 2–6 มม. ยาว 5–10 มม. ปลายมน
ละเม็ด หญาดอกหิน ถึ ง แหลม กลางกลี บ มี สั น นู น ตามยาวสี ข าว
3–4 สัน เสาเกสรสีนํ้าตาลแดง ยาว 5–7 มม.
ลักษณะทางพฤกษศาสตร คางยาว 6–8 มม. ปลายเสาเกสรแผเปนปก
ลําตนรูปทรงกระบอก เสนผานศูนยกลาง ฝาครอบกลุมเรณูสีเหลือง รูปกลม เสนผาน-
ศูนยกลางประมาณ 3 มม. ปลายแหลม กานดอก

Phalaenopsis pulcherrima (Lindl.) J. J. Sm.


2–3 มม. ยาว 2–3 ซม.
รากสีนาํ้ ตาล ออกตามขอ รวมรังไขยาว 1.5–2 ซม.
ใบ 3–6 ใบ เรียงสลับชิดกัน แผนใบรูปรี ผลสีเขียว รูปคลายทรงกระบอก
ถึงรูปขอบขนาน กวาง 1.5–4 ซม. ยาว 5–8 ซม. นิเวศวิทยาและการกระจายพันธุ
ปลายมนถึง แหลม โคนแผ เ ปนกาบหุ มลําตน กลวยไมดินหรือขึ้นตามลานหินที่มีชั้นดิน
แผนใบหนาคลายแผนหนัง บาง ๆ บริเวณเปดโลง มีแสงแดดจัด ในปาเต็งรัง
ชอดอกแบบชอกระจะตั้ง สูง 25–50 ซม. ทั่วทุกภาคของประเทศ ที่ระดับความสูงตั้งแต
ออกตามขอ หรือออกที่โคนตน กานช อดอก ใกลระดับนํา้ ทะเลถึงประมาณ 950 ม. ออกดอก
ยาว 10–38 ซม. ใบประดั บ รู ป สามเหลี่ ย ม เดือนมิถุนายน–พฤศจิกายน
กว า งประมาณ 6 มม. ยาวประมาณ 9 มม. เขตการกระจายพันธุ
ปลายแหลม แกนกลางชอดอกยาว 10–13 ซม. ตะวันออกเฉียงเหนือ
ใบประดั บ ยอยรู ปสามเหลี่ยมถึ งรูปไข กวาง ของอินเดีย พมา
ประมาณ 2 มม. ยาวประมาณ 3 มม. ปลายแหลม ลาว กั ม พู ช า
มีดอก 5–10 ดอก เรียงตัวหาง ๆ กัน เวียดนาม มาเลเซีย
ดอกสี ช มพู ดอกบานกว า ง 1.5–2.5 ซม. และ อินโดนีเซีย
มีกลิ่นหอม กลีบเลี้ยงบนรูปไขถึงรูปขอบขนาน
กว า ง 5–8 มม. ยาว 8–15 มม. ปลายมน
กลี บ เลี้ ย งขา งรู ป ไขแกมรู ปสามเหลี่ยม กวาง
7–10 มม. ยาวประมาณ 8–15 มม. ปลายมน
โคนกลี บ เชื่ อ มติ ด ตามยาวกั บ โคนเส า เกสรที่
เจริญยื่นยาวเปนคางคลายรูปกรวย กลีบดอก
รูปไขกลับ กวางประมาณ 8 มม. ยาวประมาณ
1.5 ซม. ปลายมน กลี บ ปากสี ช มพู ถึ ง สี ม  ว ง
เชื่อมติดกับโคนเสาเกสร กานกลีบยาวประมาณ
4 มม. ตัวกลีบแยกเปนแฉก 3 แฉก แฉกขาง
สีนํ้าตาลแดง รูปคลายครึ่งวงกลมถึงรูปรีกวาง
กวางและยาวประมาณ 6 มม. โคงขึน้ แฉกกลาง

Orchids in the Phu Khieo-Nam Nao Forest Complex 189


àÍ×éͧÅíÒμ‹Í
Pholidota articulata Lindl.

1900 ¡ÅŒ Ç ÂäÁŒ ã ¹¡ÅØ ‹ Á »† Ò ÀÙ à ¢Õ Â Ç-¹íé Ò Ë¹ÒÇ


ชื่ออื่น ๆ – ผลรู ป รี กว า งประมาณ 0.5 ซม. ยาว
ประมาณ 1 ซม. มีสันนูนตามยาว
ลักษณะทางพฤกษศาสตร
ทั้งตน สูง 25–50 ซม.
หัวเทียมสีนาํ้ ตาลอมเหลือง รูปทรงกระบอก
คดไปมา มี 5–7 ปลอง เสนผานศูนยกลาง 0.5–
1.5 ซม. ยาว 4–8 ซม. ผิวเรียบหรือยนเล็กนอย
หัวเทียมใหมเจริญที่ยอดของหัวเทียมเกาทําให
ดูคลายมีหลายปลอง

Pholidota articulata Lindl.


รากสีขาว ออกเปนกระจุกที่โคนหัวเทียม
ใบ 2 ใบ ออกทีป่ ลายหัวเทียม รูปขอบขนาน
กวาง 1.5–6 ซม. ยาว 6–15 ซม. ปลายแหลม
แผนใบหนาคลายแผนหนัง
ชอดอกแบบชอกระจะหอยลง ยาว 6–8 ซม.
ออกที่ ป ลายยอด ก านช อดอกยาว 2–4 ซม.
แกนกลางช อ ดอกคดไปมา ใบประดั บ ย อ ย
สีนํ้าตาลออน รูปใบหอก กวาง 2–6 มม. ยาว
5–9 มม. ปลายเรียวแหลม มีดอก 10–20 ดอก
เรียงสลับ
ดอกสีขาวอมสม เมือ่ บานกวาง 0.7–1.5 ซม.
มีกลิ่นหอม กลีบเลี้ยงรูปไข กวาง 3–6 มม. ยาว
6–10 มม. ปลายแหลม ขอบกลีบโคงขึน้ ดานนอก
เปนสันนูนตามยาว 1 สัน กลีบดอกรูปใบหอก
กวาง 2–4 มม. ยาว 6–8 มม. ปลายมน ดานนอก นิเวศวิทยาและการกระจายพันธุ
เปนสันนูนตามยาว 1 สัน กลีบปากสีสมสวน กลวยไมองิ อาศัย พบตามปาดิบแลง ปาดิบเขา
กลางกลีบสีเหลือง กวางประมาณ 5 มม. ยาว ระดับตํ่า และปาสน บริเวณที่มีแสงแดดจัด ใน
ประมาณ 6 มม. กลางกลีบเปนแอง มีสันนูน ทั่วทุกภาคของประเทศ ที่ระดับความสูง 700–
ตามยาว 5 สั น ปลายกลี บ แผ อ อกและแยก 1,800 ม. ออกดอกเดือนเมษายน–มิถุนายน
เปนแฉก 2 แฉก ขอบเปนคลื่น เสาเกสรสีสม เปนผลเดือนสิงหาคม
ยาวประมาณ 4 มม. ปลายแผเปนปก กานดอก เขตการกระจายพันธุ
รวมรังไขยาว 5–7 มม. พบทั่วไปในเอเชียเขตรอนและเขตอบอุน

Orchids in the Phu Khieo-Nam Nao Forest Complex 191


àÍ×éͧ¾ÅÒ§ÒÁ
Pleione maculata (Lindl.) Lindl. & Paxton

1922 ¡ÅŒ Ç ÂäÁŒ ã ¹¡ÅØ ‹ Á »† Ò ÀÙ à ¢Õ Â Ç-¹íé Ò Ë¹ÒÇ


ชื่ออื่น ๆ กระดิง่ ภู เอือ้ งพลายชุมพล
ชือ่ สามัญ Spotted Pleione
ลักษณะทางพฤกษศาสตร
หัวเทียมรูปคลายลูกขางหรือลูกแพร กวาง

Pleione maculata (Lindl.) Lindl. & Paxton


1–1.5 ซม. สูง 1–3 ซม. ปลายหัวยืดยาวและมี
กาบใบเกาหุมอยู
ใบ 2 ใบ รู ป ขอบขนานแกมรู ป รี ถึ ง รู ป
ใบหอกกลับ กวาง 1.7–3.5 ซม. ยาว 8–25 ซม.
ปลายแหลม โคนรูปลิม่ แผนใบบางคลายกระดาษ
ชอดอกแบบชอกระจะ ยาวไดถึง 6 ซม.
ออกทีโ่ คนหัวเทียมหลังจากใบยุบตัวแลว ใบประดับ
รูปไข ก ลับ หรื อ กึ่ง เปนรูปโล ยาว 1.5–3 ซม.
ปลายมนหรือเปนรูปคุม มีดอก 1–2 ดอก
ดอกสี ข าว มี ก ลิ่ น หอม กลี บ เลี้ ย งสี ข าว
กวาง 7–8 มม. ยาว 30–40 มม. กลีบเลี้ยงบน
รูปใบหอกแกมรูปขอบขนาน ปลายมน กลีบเลี้ยง
ขางรูปเคียวแกมรูปใบหอก ปลายแหลม กลีบดอก
สีขาว รูปใบหอกกลับ โคง กวาง 7–8 มม. ยาว
30–40 มม. ปลายแหลม กลีบปากสีขาว มีขีด นิเวศวิทยาและการกระจายพันธุ
ตามยาวสี ช มพู ใกลขอบกลีบมี แถบสี เ หลื อง กลวยไมดินหรือเกาะหิน ในปาดิบเขา ทาง
กลีบรูปขอบขนานแกมรูปไข กวาง 20–25 มม. ภาคเหนือ ตะวันออกเฉียงเหนือ และตะวันตก-
ยาว 25–35 มม. โคนกลีบเปนถุง ปลายแยก เฉี ย งใต ที่ ร ะดั บ ความสู ง 1,500–2,100 ม.
เปน แฉก 3 แฉกตื้น แฉกกลางรูปขอบขนาน ออกดอกเดือนตุลาคม–มกราคม
ปลายเวาตื้น ขอบหยักไมเปนระเบียบและพับ เขตการกระจายพันธุ
เปนคลื่น กลางกลีบมีปุมเรียงเปนแถวตามยาว ตะวันออกเฉีย งเหนือ ของอินเดี ย เนปาล
5–7 แถว เสาเกสรยาว 17–20 มม. ปลายหยัก ภู ฏ าน บั ง คลาเทศ จี น ตอนใต พม า ลาว
ซีฟ่ น ไมสมํา่ เสมอ กานดอกรวมรังไขยาว 4–5 มม. เวียดนาม
ผลรู ป กระสวย กว า ง 0.5–1 ซม. ยาว
1.8–2.5 ซม.

Orchids in the Phu Khieo-Nam Nao Forest Complex 193


àÍ×éͧ¤Ò§ÍŒÁ
Polystachya concreta (Jacq.) Garay & H. R. Sweet

1944 ¡ÅŒ Ç ÂäÁŒ ã ¹¡ÅØ ‹ Á »† Ò ÀÙ à ¢Õ Â Ç-¹íé Ò Ë¹ÒÇ


ขอบกลี บหยั ก มน ช วงกลางขอบกลีบโค ง ขึ้ น
ดานในมีขนสั้นนุมหนาแนน โคนกลีบเชื่อมติด
กั บ คางเส า เกสร เส า เกสรยาว 1– 2 มม.
คางยาวประมาณ 4 มม. กานดอกรวมรังไขยาว

Polystachya concreta (Jacq.) Garay & H. R. Sweet


5–7 มม.
ผล รูปทรงรี กวาง 4–6 มม. ยาว 1–1.5 ซม.
มีสันตามยาว 6 สัน
นิเวศวิทยาและการกระจายพันธุ
กลวยไมอิงอาศัย พบบริเวณที่มีแสงแดด
ชื่ออื่น ๆ หวายเขียว ปกนก ปานกลาง ในปาเต็งรัง ปาดิบแลง และปาดิบเขา
ทัว่ ทุกภาคของประเทศ ที่ระดับความสูง 700–
ลักษณะทางพฤกษศาสตร
1,800 ม. ออกดอกเดือนกรกฎาคม–สิงหาคม
หัวเทียมรูปทรงรี ดานขางแบน เสนผาน เป นผลเดือนสิงหาคม–ตุลาคม
ศูนยกลาง 0.5–2 ซม. ยาว 1–6 ซม.
เขตการกระจายพันธุ
รากสีขาว ออกเปนกระจุกที่โคนหัวเทียม อินเดีย จีน พมา ลาว กัมพูชา เวียดนาม
ใบ 3–5 ใบ รูปขอบขนาน กวาง 2–3 ซม. มาเลเซีย สุมาตรา ฟลิปปนส บอรเนียว
ยาว 8–15 ซม. ปลายใบมนหรือแยกเปนแฉก
2 แฉกไมเทากัน โคนแผเปนกาบหุมลําตน
ชอดอกแบบชอแยกแขนง ยาว 8–20 ซม.
ออกทีป่ ลายยอด ใบประดับยอยรูปใบหอก กวาง
ประมาณ 1 มม. ยาวประมาณ 3 มม. มีดอก
10–25 ดอก
ดอกสีเหลืองออนถึงเหลืองแกมเขียว เมื่อ
บานกวาง 4–6 มม. กลีบเลี้ยงบนรูปไข กวาง
2–3 มม. ยาว 4–6 มม. ปลายแหลม กลีบเลีย้ งขาง
รู ป คล า ยสามเหลี่ ย ม กว า งประมาณ 3 มม.
ยาวประมาณ 5 มม. ปลายแหลม ขอบกลีบ
โคงขึน้ โคนกลีบเชือ่ มติดตามยาวกับโคนเสาเกสร
ที่เจริญยื่นยาวเปนคาง กลีบดอกรูปขอบขนาน
กว า งประมาณ 2 มม. ยาวประมาณ 4 มม.
ปลายมน กลีบปากสีเขียว รูปไขกลับ กวาง 3–
4 มม. ยาว 4–8 มม. ปลายกลีบแผกวางเปนรูปพัด

Orchids in the Phu Khieo-Nam Nao Forest Complex 195


àÍ×éͧ˹Ǵ¾ÃÒËÁ³
Seidenfadenia mitrata (Rchb. f.) Garay

1966 ¡ÅŒ Ç ÂäÁŒ ã ¹¡ÅØ ‹ Á »† Ò ÀÙ à ¢Õ Â Ç-¹íé Ò Ë¹ÒÇ


ชื่ออื่น ๆ เอื้องกุหลาบสระบุรี
เอื้องผมเงือก เอื้องผมผีพราย
ลักษณะทางพฤกษศาสตร
ลําตนสัน้ สูง 2.5–5 ซม.
รากเปนกระจุกที่โคนตน

Seidenfadenia mitrata (Rchb. f.) Garay


ใบทรงกระบอกแข็ง หอยลง เสนผานศูนยกลาง
0.3–0.7 ซม. ยาว 20–90 ซม. ดานบนมีรอง
ตามยาว ปลายใบแหลม
ชอดอกแบบชอกระจะ ยาว 7–25 ซม.
ออกที่โคนตน ใบประดับยอยมีขนาดเล็ก ปลาย
แหลม มีดอกจํานวนมาก
ดอกสีมวงออน เมื่อบานกวาง 1–1.5 ซม.
กลีบเลี้ยงและกลีบดอกสีขาวหรือสีมวงออน ๆ
ปลายกลีบสีมว ง ตัวกลีบรูปขอบขนาน ปลาย
แหลม กลีบปากสีมว งเขม รูปขอบขนาน
มีขนาดใหญกวากลีบเลี้ยงและ
กลีบดอก ปลายเวาบุม
ผล ไมมีขอมูล
นิเวศวิทยาและการกระจายพันธุ
กลว ยไม อิง อาศัย พบตามปาเต็งรั งและ
ปาเบญจพรรณเกือบทุกภาค ยกเวนทางภาคใต
ที่ระดับความสูง 100–600 ม. ออกดอกเดือน
มีนาคม–พฤษภาคม
เขตการกระจายพันธุ
พมา

Orchids in the Phu Khieo-Nam Nao Forest Complex 197


ºÒ¹¨ŒÇ¹
Spathoglottis pubescens Lindl.

1988 ¡ÅŒ Ç ÂäÁŒ ã ¹¡ÅØ ‹ Á »† Ò ÀÙ à ¢Õ Â Ç-¹íé Ò Ë¹ÒÇ


ชื่ออื่น ๆ เตอสี่เรโคะ เอื้องดิน
เอื้องดินลาว เอื้องนวลจันทร
ชื่อสามัญ Buttercup orchid
ลักษณะทางพฤกษศาสตร
ทั้งตนรวมชอดอก สูง 35–60 ซม.
หัวเทียมรูปโคน กวาง 1–2 ซม. ยาว
ประมาณ 2 ซม.

Spathoglottis pubescens Lindl.


ใบ มี 2–3 ใบ รูปแถบแกมรูปใบหอก กวาง
0.5–2 ซม. ยาว 15–35 ซม. กานใบยาว 3–7 ซม.
ชอดอกแบบชอกระจะ ออกที่โคนหัวเทียม
มีขนสัน้ นุม ปกคลุม กานชอดอกยาว 20–55 ซม.
ใบประดับ มี 3–6 ใบ รูปขอบขนานแกมรูปใบหอก
ยาว 1–2 ซม. ปลายแหลมหรื อ เรี ย วแหลม
แกนกลางชอดอกยาว 5–20 ซม. ใบประดับยอย
รูปใบหอกแกมรูปไข กวาง 1–3 มม. ยาว 4–8 มม.
ปลายแหลม มีดอก 3–8 ดอก เรียงตัวหาง ๆ กัน
ดอกสีเหลือง มักมีจดุ หรือแตมสีมว ง กลีบเลีย้ ง
สีเหลืองมีเสนตามยาวสีแดง กลีบรูปรีแกมรูป
ใบหอก กวา ง 5–8.5 มม. ยาว 12–16 มม. นิเวศวิทยาและการกระจายพันธุ
ปลายแหลมหรือกึ่งแหลม กลีบดอกรูปรี กวาง กลวยไมดิน หายากที่ขึ้นบนลานหิน พบตาม
5–8 มม. ยาว 13–17 มม. ปลายมน กลีบปาก พื้ น ป า ดงดิ บ หรื อ ป า เต็ ง รั ง ที่ เ ป น หิ น แกรนิ ต
สีเหลือง กวาง 12–16 มม. ยาว 11–15 มม. หิ น ดิ น ดาน หรื อ หิ น ทราย ทางภาคเหนื อ
แยกเปนแฉก 3 แฉก แฉกกลางรูปไต กวาง 4– ตะวันออกเฉี ย งเหนื อ ตะวันตกเฉีย งใต และ
8 มม. ยาว 7–10 มม. ปลายมน ตัด หรือเวาบุม ตะวันออกเฉียงใต ทีร่ ะดับความสูง 500–1,600 ม.
แฉกขางสีเหลืองมีแตมประสีแดง กลีบรูปขอบขนาน ออกดอกและเปนผลเดือนพฤษภาคม–ธันวาคม
กวาง 2.5–5 มม. ยาว 4.5–8 มม. กลางกลีบมีครีบ เขตการกระจายพันธุ
2 อัน เสาเกสรยาว 7–10 มม. เกลี้ยง มีจะงอย ตะวันออกเฉียงเหนือของอินเดีย บังคลาเทศ
รูปขอบขนาน กานดอกรวมรังไขยาว 12–25 มม. พมา กัมพูชา ลาว เวียดนาม ตะวันตกเฉียงใต
มีขนสั้นนุมปกคลุม ของจีน
ผลรูปรี กวาง 5–8 มม. ยาว 15–18 มม.
มีขนสั้นนุมปกคลุม
Orchids in the Phu Khieo-Nam Nao Forest Complex 199
àÊ×ÍἌÇ
Staurochilus dawsonianus (Rchb. f.) Schltr.

2000 ¡ÅŒ Ç ÂäÁŒ ã ¹¡ÅØ ‹ Á »† Ò ÀÙ à ¢Õ Â Ç-¹íé Ò Ë¹ÒÇ


ชื่ออื่น ๆ เอื้ อ งตุ  ก แก เอื้ อ งเสื อ น อ ย ผลรูปรี กวางประมาณ 1 ซม. ยาว
ประมาณ 4 ซม.
ลักษณะทางพฤกษศาสตร
ลําตนตั้งตรง ทรงกระบอก แข็ง เสนผาน-
ศูนยกลางประมาณ 0.6 ซม. สูง 20–60 ซม.

Staurochilus dawsonianus (Rchb. f.) Schltr.


มีหลายปลอง แตละปลองยาว 1.5−2.5 ซม.
อาจแตกแขนง
ใบเรียงสลับระนาบเดียว แผนใบรูปขอบขนาน
ถึงเปนรูปแถบ กวาง 1.5–2.5 ซม. ยาว 8–18 ซม.
ปลายมน แยกเปนแฉก 2 แฉก ไมเทากัน
ชอดอกแบบชอแยกแขนง ยาว 20–80 ซม.
เกิดตรงขามกับใบ แกนกลางชอดอกแบนหรือ
เปนสันตามยาว 3 สัน ใบประดับยอยรูปสามเหลีย่ ม
แกมรูปไข ยาว 5–7 มม. มีดอกจํานวนมาก
ดอกสีเหลืองออน มีแตมสีนํ้าตาลแดงเรียง
คลายเปนแถวตามขวาง เมือ่ บานกวาง 2–3 ซม. นิเวศวิทยาและการกระจายพันธุ
กลีบเลี้ยงกวางประมาณ 5 มม. ยาวประมาณ กลวยไมองิ อาศัย เกาะตามลําตนและคาคบไม
15 มม. กลี บ เลี้ ย งบนรู ป คล า ยสามเหลี่ ย ม ตามชายปาเต็งรัง เบญจพรรณ ปาดิบแลง และ
หลังกลีบมีสันตามยาว ปลายกลีบเปนติ่งหนาม ปาสน ทางภาคเหนือ ตะวันออกเฉียงเหนือ และ
กลีบเลีย้ งขางรูปขอบขนานเบีย้ ว ปลายมีจะงอย ภาคตะวันตกเฉียงใต ทีร่ ะดับความสูง 500–800 ม.
กลีบปากสีเหลืองแกมสม เสนตามยาวสีนาํ้ ตาลแดง ออกดอกเดื อ นธั นวาคม–กรกฎาคม เป นผล
กลางกลีบ มีข นหนาแนน กลีบยาวประมาณ เดือนกันยายน–ตุลาคม
7 มม. แยกเปนแฉก 5 แฉก แฉกกลางรูปไขกลับ เขตการกระจายพันธุ
ยาวประมาณ 2.5 มม. ปลายมนหรือเวาตื้น จีน ลาว พมา
แฉกขางรูปขอบขนาน กวางประมาณ 1.5 มม.
ยาวประมาณ 4 มม. ปลายมน แฉกใกลโคนกลีบ
รูปขอบขนาน กวางประมาณ 1.7 มม. ยาวประมาณ
4.8 มม. ปลายมน เสาเกสรยาวประมาณ 3 มม.
กานดอกรวมรังไข ยาว 1.5–2 ซม.

Orchids in the Phu Khieo-Nam Nao Forest Complex 20


201
àÍ×éͧàÊ×Íâ¤Ã‹§
Staurochilus fasciatus (Rchb. f.) Ridl.

2022 ¡ÅŒ Ç ÂäÁŒ ã ¹¡ÅØ ‹ Á »† Ò ÀÙ à ¢Õ Â Ç-¹íé Ò Ë¹ÒÇ


ชื่ออื่น ๆ เอื้องลายเสือ ผล รู ป ทรงรี กว า งประมาณ 3 ซม.
ยาวประมาณ 9 ซม. มีสันตามยาว 4 สัน
ลักษณะทางพฤกษศาสตร
ลําตนตัง้ รูปทรงกระบอก เรียวยาวและแข็ง
เสนผานศูนยกลางประมาณ 1 ซม. สูง 25–80 ซม.
มีหลายปลอง

Staurochilus fasciatus (Rchb. f.) Ridl.


รากสีขาว ออกตามขอ
ใบรูปขอบขนานถึงเปนรูปแถบ กวาง 2–3 ซม.
ยาว 8–18 ซม. ปลายเวาไมเทากัน โคนแผเปน
กาบหุมลําตน แผนใบบาง
ชอดอกแบบชอกระจะ ยาว 15–30 ซม.
ออกตามข อ ก า นช อ ดอกยาว 5–10 ซม.
ใบประดับยอยรูปใบหอก กวางประมาณ 0.5 ซม.
ยาวประมาณ 1.5 ซม. ปลายแหลม มี ด อก
4–10 ดอก
ดอก สี เ หลื อ ง มี แ ถบตามขวางสี นํ้ า ตาล
เมื่ อ บานกวา งประมาณ 4 ซม. กลี บเลี้ ยงบน
รูปใบหอก กวาง 0.5–1 ซม. ยาว 2.5–3 ซม.
ปลายเรียวแหลม ดานในมีขนสั้นสีขาวหนาแนน
ด านนอกเป น สั น นูน 1 สัน กลี บเลี้ ยงขางรูป นิเวศวิทยาและการกระจายพันธุ
ขอบขนาน กวาง 0.5–1 ซม. ยาว 2.5– 4 ซม. กลวยไมอิงอาศัย พบบริเวณที่มีแสงแดด
ปลายเรียวแหลม ดานในมีขนสั้นสีขาวหนาแนน ปานกลางในปาดิบแลงและปาสน ทั่วทุกภาค
ดานนอกเปนสันนูน 1 สัน กลีบดอกรูปรีถึงเปน ของประเทศ ที่ ร ะดั บความสู ง 700–750 ม.
รูปใบหอก กวาง 0.5–1 ซม. ยาว 2.5–3 ซม. ออกดอกเดือนกุมภาพันธ–พฤษภาคม เปนผล
ปลายเรียวแหลม ดานในมีขนสั้นสีขาวปกคลุม เดือนมิถุนายน
หนาแนน ดานนอกเปนสันนูน 1 สัน กลีบปาก เขตการกระจายพันธุ
สีเหลือง กลางกลีบแตมจุดประสีนาํ้ ตาล ขอบกลีบ ภู มิ ภ าคอิ น โดจี น มาเลเซี ย สุ ม าตรา
ตั้งขึ้น สวนปลายแยกเปนแฉก 3 แฉก รูปแถบ ฟลิปปนส
ปลายแหลม ดานในมีขนสั้นนุมสีขาวปกคลุม
หนาแนน เสาเกสรยาวประมาณ 7 มม. กานดอก
รวมรังไขยาวประมาณ 2 ซม.

Orchids in the Phu Khieo-Nam Nao Forest Complex 203


àÍ×éͧ¡ÅÕºÁŒÇ¹´Í¡ÊŒÁ
Stichorkis gibbosa (Finet) J. J. Wood

2044 ¡ÅŒ Ç ÂäÁŒ ã ¹¡ÅØ ‹ Á »† Ò ÀÙ à ¢Õ Â Ç-¹íé Ò Ë¹ÒÇ


ชื่ออื่น ๆ –
ลักษณะทางพฤกษศาสตร
เหงาเรียวยาว ทอดนอน หัวเทียมรูปไข
อาจแบนดานขาง ยาวไดถึง 1.2 ซม. ระยะหาง
หัวเทียมประมาณ 3 ซม.
ใบ 1 ใบ ออกที่ ป ลายหั ว เที ย ม รู ป แถบ

Stichorkis gibbosa (Finet) J. J. Wood


กว า งประมาณ 0.8 ซม. ยาวได ถึ ง 20 ซม.
ปลายแหลม โคนรูปลิ่ม
ชอดอกแบบชอกระจะ ออกทีโ่ คนหัวเทียม
กานชอดอกและแกนกลางชอดอกแบน กาน-
ช อ ดอกยาวได ถึ ง 15 ซม. แกนกลางชอดอก
ยาวไดถึง 2 ซม. ใบประดับยาวประมาณ 5 มม.
ดอกสีแดงอมสมถึงสีนาํ้ ตาลอมสม กลีบเลีย้ ง
พับกลับไปดานหลัง กลีบเลีย้ งบน กวางประมาณ
2 มม. ยาวประมาณ 5 มม. กลีบเลี้ยงขางกวาง
ประมาณ 2.5 มม. ยาวประมาณ 5 มม. ปลาย
แหลม กลีบดอกตัง้ และแผออก กลีบกวางประมาณ
1.5 มม. ปลายกลีบแหลม กลีบปากกวางและ
ยาวประมาณ 3.5 มม. แยกเปนแฉก 4 แฉก
รูปคอนขางกลม ปลายมน แฉกคูปลายมีขนาด นิเวศวิทยาและการกระจายพันธุ
เล็กกวา ปลายเสาเกสรสีสม แบน กลวยไมองิ อาศัย พบตามลําตนและคาคบไม
ผลรูปรี ทางภาคเหนื อ ตะวั นตกเฉี ย งใต และภาคใต
ออกดอกเดือนตุลาคม–ธันวาคม
เขตการกระจายพันธุ
พมา อินโดจีน ชวา สิงคโปร คาบสมุทรมลายู

Orchids in the Phu Khieo-Nam Nao Forest Complex 205


àÍ×éͧ·Ñº·ÔÁÀÙËÅǧ
Sunipia minor (Seidenf.) P. F. Hunt

2066 ¡ÅŒ Ç ÂäÁŒ ã ¹¡ÅØ ‹ Á »† Ò ÀÙ à ¢Õ Â Ç-¹íé Ò Ë¹ÒÇ


ชื่ออื่น ๆ – นิเวศวิทยาและการกระจายพันธุ
กลวยไมอิงอาศัยตามลําตนและคาคบไม
ลักษณะทางพฤกษศาสตร พบทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศ
เหงาทรงกระบอก เรี ย วยาว หั ว เที ย ม ที่ระดับความสูงประมาณ 1,300 ม. ออกดอก
รูปไข กวางและยาวประมาณ 1 ซม. ระยะหาง ธันวาคม–มีนาคม
หัวเทียมประมาณ 3 ซม. เขตการกระจายพันธุ
รากออกเปนกระจุกที่โคนหัวเทียม พืชถิ่นเดียวของไทย

Sunipia minor (Seidenf.) P. F. Hunt


ใบ 1 ใบ ออกทีป่ ลายหัวเทียม รูปขอบขนาน
แกมรูป รี กวา ง 1–1.3 ซม. ยาว 4–5.5 ซม.
ปลายใบแยกเปนแฉก 2 แฉก ตื้น ๆ
ชอดอกแบบชอกระจะ ยาว 6–9 ซม. ออกที่
โคนหัวเทียม แกนกลางชอดอก ยาว 2–3.5 ซม.
ใบประดับยอยสีมวงออน ยาวประมาณ 1 ซม.
มีดอก 4–7 ดอก
ดอกสีมวง กลีบเลี้ยงสีมวงออน มีลายตาม
ยาวสีมวงเขม กลีบเลี้ยงบนยาว 7–8.5 มม.
กลีบเลีย้ งขาง ยาวประมาณ 9 มม. เชือ่ มติดตาม
ยาวกลีบดอกรูปคอนขางกลม กวางและยาว
3–4 มม. กลี บ ปากกว า งประมาณ 4 มม.
ยาวประมาณ 8 มม. แยกออกเปน 3 แฉกตืน้ ๆ
แฉกปลายสีเหลือง มีเนื้อคอนขางหนา แฉกขาง
สีข าวมี แ ตมสี ม ว ง เนื้อบาง ขอบจั ก ฟนเลื่อย
เส า เกสรสี เ หลื อ งอ อ นยาวประมาณ 3 มม.
กานดอกรวมรังไขยาวประมาณ 1.4 ซม.
ผล ไมมีขอมูล

Orchids in the Phu Khieo-Nam Nao Forest Complex 207


àÍ×éͧμÒà¢çÁ
Sunipia scariosa Lindl.

2088 ¡ÅŒ Ç ÂäÁŒ ã ¹¡ÅØ ‹ Á »† Ò ÀÙ à ¢Õ Â Ç-¹íé Ò Ë¹ÒÇ


กว า ง 2–3 มม. ยาว 4–5 มม. ปลายแหลม
กลีบเลีย้ งบนเปนอุง กลีบดอกรูปไข กวาง 2–3 มม.
ยาวประมาณ 3 มม. ปลายมน กลีบปากรูปลิ้น
กวางประมาณ 2 มม. ยาว 4–5 มม. ปลายกลีบมน
โคนกลีบเปนอุง เสาเกสรยาวประมาณ 2 มม.
กานดอกรวมรังไขยาว 2–5 มม.
ผล ไมมีขอมูล
นิเวศวิทยาและการกระจายพันธุ
กลวยไมอิงอาศัย พบเกาะตามคาคบไมใน
ปาสนและปาดิบเขา ทางภาคเหนือและภาค-

Sunipia scariosa Lindl.


ชื่ออื่น ๆ เอือ้ งฟนปลา ตะวันออกเฉียงเหนือ ที่ระดับความสูง 1,000–
1,800 ม. ออกดอกเดือนเมษายน–พฤษภาคม
ลักษณะทางพฤกษศาสตร การกระจายพันธุ
เหงาทรงกระบอก เส น ผ า นศู น ย ก ลาง เนปาล อินเดีย จีน พมา ลาว เวียดนาม
ประมาณ 4 มม. หัวเทียมรูปไข เสนผานศูนยกลาง
ประมาณ 1.5–2 ซม. ยาว 1.5–3 ซม. ผิวยน
ระยะหางหัวเทียม 1–4 ซม.
ใบ 1 ใบ ออกทีป่ ลายหัวเทียม รูปขอบขนาน
แกมรู ป รี กว า ง 1–2 ซม. ยาว 5–15 ซม.
ปลายแหลม มน หรือเวาบุม โคนรูปลิ่ม แผนใบ
หนาคลายแผนหนัง
ชอดอกแบบชอกระจะ ยาว 20–30 ซม.
ออกที่โคนหัวเทียม กานชอดอกยาว 10–
15 ซม. ใบประดั บ ย อ ยรู ป ไข กว า ง
ประมาณ 5 มม. ยาวประมาณ 6 มม.
มีดอก 20–50 ดอก เรียงสลับระนาบเดียว
บนแกนกลางช อ ดอก
ดอกสีเหลืองออน
หรือสีเหลืองแกมเขียวออน
เมื่ อ บานกว า ง 3–7 มม.
กลี บ เลี้ ย งรู ป ไข

Orchids in the Phu Khieo-Nam Nao Forest Complex 209


àÍ×éͧäÃŒãº
Taeniophyllum glandulosum Blume

2100 ¡ÅŒ Ç ÂäÁŒ ã ¹¡ÅØ ‹ Á »† Ò ÀÙ à ¢Õ Â Ç-¹íé Ò Ë¹ÒÇ


ชื่ออื่น ๆ – นิเวศวิทยาและการกระจายพันธุ
กลวยไมองิ อาศัยพบตามลําตนและคาคบไม
ลักษณะทางพฤกษศาสตร ทางภาคเหนือและภาคใตของประเทศ ที่ระดับ
ลําตนสั้น ความสูง 400–1,100 ม. ออกดอกและเปนผล
รากแผออก กึ่งทรงกระบอกหรือคอนขาง เดือนมีนาคม–สิงหาคม
แบน กวาง 1–5 มม. ยาว 2–10 ซม. เขตการกระจายพันธุ
ชอดอกแบบช อ กระจะตั้ ง มี 1–4 ชอ จี น ญี่ ปุ  น เกาหลี เวี ย ดนาม มาเลเซี ย
ยาว 1–3.5 ซม. ก านและแกนกลางช อดอก อินโดนีเซีย ออสเตรเลีย นิวกีนี

Taeniophyllum glandulosum Blume


สีเขียวแกมเหลือง แกนกลางชอดอกคดไปมา
ใบประดับยอยรูปไขถึงรูปใบหอก ยาวประมาณ
1 มม. เรียงสลับระนาบเดียว มีดอก 1–4 ดอก
ดอกสี เขี ย วอ อ นถึ ง สี เขี ย วอมเหลื อ ง
กลี บ เลี้ ย งและกลี บ ดอกเชื่ อ มกั น เป น หลอด
ยาว 1–1.5 มม. ปลายกลีบเลี้ยงแยกเปนแฉก
รูปใบหอกถึงรูปไข กวางประมาณ 1.2 มม.
ยาว 1.5–2 มม. ปลายแหลม กลีบโคงออก
ดานนอกตัวดอก กลีบดอกรูปไข กวางประมาณ
1 มม. ยาว 1.2–1.8 มม. กลีบปากคลายรูปเรือ
แกมรูปไข กวาง 0.5–1 มม. ยาว 1.5–2.5 มม.
ปลายเรียวแหลม มีรยางคคลายหนาม เดือย
รูปคลายถุงกลม กวางประมาณ 1 มม. ยาว
1–1.5 มม. เสาเกสรยาวประมาณ 0.5 มม.
ก านดอกรวมรั ง ไขยาว 1.5–2 มม.
ผลรูปทรงกระบอกแกมรูปรี กวางประมาณ
2 มม. ยาวประมาณ 4 มม.

Orchids in the Phu Khieo-Nam Nao Forest Complex 211


àÍ×éͧÊÕÅÒ
Tainia viridifusca (Hook.) Benth. & Hook. f.

2122 ¡ÅŒ Ç ÂäÁŒ ã ¹¡ÅØ ‹ Á »† Ò ÀÙ à ¢Õ Â Ç-¹íé Ò Ë¹ÒÇ


ชื่ออื่น ๆ – โคนเสาเกสรยาว 1–1.5 มม. เดือยยาว 1.5–
2 มม. กานดอกรวมรังไขยาว 1–3 ซม.
ลักษณะทางพฤกษศาสตร
หัวเทียมรูปไขถึงรูปรี เสนผานศูนยกลาง นิเวศวิทยาและการกระจายพันธุ
1.5–3.5 ซม. สูง 2.5–6 ซม. ระยะหางหัวเทียม กล ว ยไม ดิ น พบตามชายป า ดิ บ เขา ทาง

Tainia viridifusca (Hook.) Benth. & Hook. f.


1–2 ซม. ภาคเหนื อ และภาคตะวั น ออกเฉี ย งเหนื อ
ที่ ร ะดั บ ความสู ง 1,000 ม. ขึ้ น ไป ออกดอก
รากออกตามหัวเทียม เดือนพฤศจิกายน–มีนาคม
ใบรูปใบหอกถึงเปนรูปรี กวาง 3–9 ซม.
ยาว 20–66 ซม. ปลายแหลมถึงเรียวแหลม เขตการกระจายพันธุ
แผนใบบาง กานใบยาว 20–50 ซม. ตะวั น ออกเฉี ย งเหนื อ ของอิ น เดี ย พม า
ยูนนาน เวียดนาม
ชอดอกออกที่ ข  อ ยาว 50–150 ซม.
แกนกลางชอดอก ยาว 20–55 ซม. ใบประดับ
ยาว 6–22 มม. มีดอก 18 ดอก หรือมากกวา
ดอกสี นํ้ า ตาลเข ม อมม ว งถึ ง สี เขี ย วอ อ น
เมื่อบานกวางประมาณ
ระมาณ 3 ซม. กลบเลยงบน
กลีบเลี้ยงบน
รู ป ใบหอกกลั บ กว า ง 5.5–6 มม.
ยาว 22–27.5 มม. ม ปลายแหลมถึงเรียวแหลม
ม.
กลีบเลีย้ งขางรูปใ
ปใบหอกโคง กวาง 6–6.4 มม.
ยาว 19–25 มม.. กลีบดอกรูปใบหอกกลับแกม
รูปเคียว กวาง 5.5–6
5 มม. ยาว 17.5–24 มม.
ปลายเรี ย วแหลม ล กลีบปากสีขาว เขี ยว หรือ
ลม
สีสมออน กวางประมาณ

ประมาณ 9 มม. ยาวประมาณ
13.5 มม. แยกเป กเป นแฉก 3 แฉก
แฉกกลางกึ่ ง เปป น รู ป โล
กวางและยาว 5–6 5 มม.
ปลายแหลมถึงเรี เ ยวแหลม ขอบเรียบ
ถึงเปนคลื่น กลางกลี
ลางกลีบมีสันตามยาว
แฉกขางยาวประมาณ ระะมาณ 2 มม.
ปลายมนหรือกล กลม
ลม กลางกลีบ
มีครีบตามยาว 5–7 5 ครีบ
เส า เกสรยาว 8–9 มม.

Orchids in the Phu Khieo-Nam Nao Forest Complex 213


àÍ×éͧμТҺÀÙËÅǧ
Thrixspermum ancoriferum (Guillaumin) Garay

2144 ¡ÅŒ Ç ÂäÁŒ ã ¹¡ÅØ ‹ Á »† Ò ÀÙ à ¢Õ Â Ç-¹íé Ò Ë¹ÒÇ


ชื่ออื่น ๆ –
ลักษณะทางพฤกษศาสตร
ลําตนสั้น
รากสีเขียว หนา

Thrixspermum ancoriferum (Guillaumin) Garay


ใบรู ป ขอบขนานแกมรู ป ไข เรี ย งสลั บ
กวาง 1–1.5 ซม. ยาว 3–4 ซม. ปลายแหลมม
โคนรูปลิม่ ขอบเรียบ แผนใบหนาคลายแผนหนัง
ชอดอกแบบช อ กระจะ ออกที่ โ คนต น
ใบประดับขนาดเล็ก มีดอก 2–3 ดอก
ดอกสี เ หลื อ งอ อ น กลี บ เลี้ ย งบนรู ป ไข
กว า งประมาณ 3 มม. ยาวประมาณ 7 มม..
ปลายมนถึงแหลม กลีบเลี้ยงขางรูปไข กวาง
ประมาณ 2.5 ซม. ยาวประมาณ 7 มม..
ปลายมนถึงแหลม กลีบดอกรูปรี กวางประมาณ ณ
2 มม. ยาวประมาณ 5 มม. ปลายมนถึงแหลม
กลีบปากกวางประมาณ 6 มม. ยาวประมาณ 4 มม.
ปลายแยกเปนแฉก 3 แฉก แฉกกลางสัน้ ปลายมนน

แฉกข า งรู ป รี เบี้ ย ว ปลายมน เส า เกสรสั้ น


ฝาครอบอั บเรณู สีข าว รู ปไต
ผล ไมมีขอมูล
นิเวศวิทยาและการกระจายพันธุ
กลวยไมอิงอาศัย พบเกาะตามเปลือกไม
ในปาละเมาะเขาทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ที่ระดับความสูงประมาณ 1,400 ม. ออกดอก
เดือนพฤษภาคม–กรกฎาคม
เขตการกระจายพันธุ
ลาว เวียดนาม
ที่มา: https://science.mnhn.fr
Orchids in the Phu Khieo-Nam Nao Forest Complex 215
μТҺàËÅ×ͧ
Thrixspermum centipeda Lour.

2166 ¡ÅŒ Ç ÂäÁŒ ã ¹¡ÅØ ‹ Á »† Ò ÀÙ à ¢Õ Â Ç-¹íé Ò Ë¹ÒÇ


ชื่ออื่น ๆ กระต า ยหู เ ดี ย ว ตี น ตะขาบ กวางประมาณ 0.5 ซม. ยาวประมาณ 1.5 ซม.
เอื้องแมงมุมขาว เอื้องกลีบผอม แมงมุมเหลือง ปลายมน ขอบกลีบโคงขึ้น โคนกลีบเปนแอง
กลางกลีบมีปุมเนื้อเยื่อนูนรูปสามเหลี่ยม 1 ปุม
ลักษณะทางพฤกษศาสตร สีขาวแตมจุดประสีสม เสาเกสรยาวประมาณ
ลําตนสั้ น และแข็ ง เส น ผ า นศู น ย ก ลาง 6 มม. คางยาวประมาณ 2 มม. กานดอกรวม
ประมาณ 5 มม. สูง 5–20 ซม. รังไขยาวประมาณ 1.5 ซม.
รากสีขาว ออกเปนกระจุกที่โคนตน ผลรูปทรงกระบอก กวาง 0.6–0.8 ซม.
ใบรูปขอบขนานถึงเปนรูปแถบ กวาง 1– ยาว 3.5–10 ซม. มีสันตามยาว 6 สัน
2 ซม. ยาว 6–12 ซม. ปลายเวา โคนแผเปนกาบ นิเวศวิทยาและการกระจายพันธุ

Thrixspermum centipeda Lour.


หุมลําตน แผนใบหนาคลายแผนหนัง กลวยไมอิงอาศัย พบบริเวณที่รมริมลําธาร
ชอดอกแบบชอกระจะ ยาว 5–15 ซม. ในป า เบญจพรรณและป า ดิ บ ทั่ ว ทุ ก ภาคของ
ออกตามขอ กานชอดอกยาว 3–7 ซม. แกนกลาง ประเทศ ทีร่ ะดับความสูง 700–1,700 ม. ออกดอก
ช อ ดอกแบน มี ใ บประดั บย อยรู ปสามเหลี่ยม เดื อ นกุ ม ภาพั น ธ – กรกฎาคม เป น ผลเดื อ น
กวางประมาณ 4 มม. ยาวประมาณ 8 มม. ปลาย สิงหาคม–กันยายน
แหลม เรียงสลับระนาบเดียว มีดอก 2–5 ดอก เขตการกระจายพันธุ
ดอกสีขาวนวลถึงสีสม เมือ่ บานกวาง 3.5– อิ น เดี ย ภู ฏ าน จี น พม า ลาว เวี ย ดนาม
7 ซม. กลีบเลี้ยงและกลีบดอกรูปแถบ กวาง กั ม พู ช า บอร เ นี ย ว อิ น โดนี เซี ย ฟ ลิ ป ป น ส
0.2–0.5 ซม. ยาว 2–4 ซม. ปลายแหลม กลีบปาก เซเลเบส ออสเตรเลีย
สีขาวแตมจุดประสีสม ตัวกลีบรูปคลายสามเหลีย่ ม

Orchids in the Phu Khieo-Nam Nao Forest Complex 217


ÊÒÁ¡ŒÍÁ
Trichotosia dasyphylla (C. S. P. Parish & Rchb. f.) Kraenzl.

2188 ¡ÅŒ Ç ÂäÁŒ ã ¹¡ÅØ ‹ Á »† Ò ÀÙ à ¢Õ Â Ç-¹íé Ò Ë¹ÒÇ


ชื่ออื่น ๆ เอื้องเบี้ยไมใบขน นิเวศวิทยาและการกระจายพันธุ
กลวยไมอิงอาศัย พบตามชายปาดิบแลง

Trichotosia dasyphylla (C. S. P. Parish & Rchb. f.) Kraenzl.


ลักษณะทางพฤกษศาสตร และป า ดิ บ เขาระดั บ ตํ่ า บริ เวณที่ มี แ สงแดด
เหงารูปทรงกระบอก เสนผานศูนยกลาง ปานกลาง ทางภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
1–3 มม. ลําตนสั้นและแข็ง เสนผานศูนยกลาง ภาคตะวันตกเฉียงใต และภาคใต ระดับความสูง
2–5 มม. ยาวประมาณ 2 มม. 700–1,000 ม. ออกดอกและเป น ผลเดื อ น
รากสีขาว ออกที่เหงา มิถุนายน–สิงหาคม
ใบ 2–4 ใบ เรียงเปนกระจุกที่ปลายยอด เขตการกระจายพันธุ
ใบรูปไขหรือรูปรี กวาง 1–5 มม. ยาว 0.6–3 ซม. จีน เนปาล สิกขิม ภูมภิ าคอินโดจีน มาเลเซีย
ปลายมน โคนแผเปนกาบหุมลําตน แผนใบหนา เกาะสุมาตรา สิงคโปร บอรเนียว
คลายแผนหนัง มีขนสีขาวหนาแนน ใบประดับ
รูปไข กวางประมาณ 3 มม. ยาวประมาณ 6 มม.
ดานนอกมีขนสั้นนุมปกคลุมหนาแนน
ดอกสีเขียวอมเหลืองออกที่ปลายยอด เมื่อ
บานกวาง 0.4–0.7 ซม. กลีบเลี้ยงมีขนสั้นนุม
สีขาวปกคลุมดานนอกกลีบ กลีบเลี้ยงบนรูปไข
กวางประมาณ 2 มม. ยาวประมาณ 4 มม. ปลายมน
กลีบเลี้ยงขางรูปไข กวางประมาณ 3 มม. ยาว
ประมาณ 6 มม. ปลายแหลม โคนกลีบเชื่อมติด
ตามยาวกับโคนเสาเกสรที่เจริญยาวยื่นเปนคาง
กลีบดอกรูปไขกลับถึงรูปขอบขนาน กวาง 1–2 มม.
ยาว 2–5 มม. ปลายมน ขอบกลีบมีขนประปราย
กลี บ ปากรู ป คล า ยลิ้ น กวางประมาณ 3 มม.
ยาวประมาณ 6 มม. ปลายเวาตื้น กลางกลีบ
แตมจุดคอนขางกลมสีแดง 2 จุด เสาเกสรยาว
ประมาณ 2 มม. คางยาวประมาณ 5 มม. มีขน
สั้นนุมปกคลุม กานดอกรวมรังไขยาวประมาณ
4 มม. มีขนปกคลุม
ผลรูปทรงกลม เสนผานศูนยกลางประมาณ
1 ซม. มีขนสั้นนุมสีขาวหนาแนน

Orchids in the Phu Khieo-Nam Nao Forest Complex 219


àÍ×éͧÊÒÁ»ÍÂá¾Ð
Vanda bensonii Bateman

2200 ¡ÅŒ Ç ÂäÁŒ ã ¹¡ÅØ ‹ Á »† Ò ÀÙ à ¢Õ Â Ç-¹íé Ò Ë¹ÒÇ


แฉกข า งสี ข าวครี ม รู ป ไข ข นาดเล็ ก โคนแฉก
มีแตมสีสมถึงสีเหลือง เดือยคลายรูปกรวยสั้น
ปลายมน
ผล ไมมีขอมูล
นิเวศวิทยาและการกระจายพันธุ
กลวยไมอิงอาศัยตามลําตนและคาคบไม
พบตามปาดิบทางภาคเหนือและภาคตะวันออก
เฉียงเหนือ ออกดอกเดือนเมษายน–มิถุนายน
เขตการกระจายพันธุ
พมา มาเลเซีย สิงคโปร

Vanda bensonii Bateman


ชื่ออื่น ๆ สามปอยชมพู สามปอยแพะ
เอื้องนกนอย
ลักษณะทางพฤกษศาสตร
ลําตนเรียวยาว สูง 20–40 ซม.
ใบเรี ย งสลั บ ระนาบเดี ย ว รู ป แถบแกม
รูปรี กวาง 2.5–3.5 ซม. ยาว 10–20 ซม. ปลาย
แยกเปนแฉก 2 แฉก ไมเทากัน ปลายแฉกแหลม
แผนใบหนาคลายแผนหนัง
ชอดอกแบบชอกระจะตัง้ ยาว 20–45 ซม.
เกิดตามลําตน มีดอก 5–10 ดอก
ดอกบานกว า ง 3.5–5 ซม. มี ก ลิ่ น หอม
กลีบเลี้ยงและกลีบดอกรูปไขกลับแกมรูปชอน
สีเขียวแกมเหลือง มีจุดสีนํ้าตาลแดงกระจาย
ทั่ ว ไป หลั ง กลี บ สี ข าวนวล สี ช มพู อ  อ น หรื อ
สี ม  ว งอ อ น กลี บ ปากแยกเป น แฉก 3 แฉก
แฉกกลางสีชมพูหรือสีมว งออน อาจมีเสนตามยาว
สีมวงเขม ตัวแฉกรูปรีปลายแยก
เปนแฉก 2 แฉก คลายหางปลา
ปลายแฉกแหลม
โคนแฉกมีปุมเนื้อเยื่อนูน 2 ปุม
Orchids in the Phu Khieo-Nam Nao Forest Complex 221
àÍ×éͧÊÒÁ»Í´§
Vanda denisoniana Benson & Rchb. f.

2222 ¡ÅŒ Ç ÂäÁŒ ã ¹¡ÅØ ‹ Á »† Ò ÀÙ à ¢Õ Â Ç-¹íé Ò Ë¹ÒÇ


ชื่ออื่น ๆ สามปอยขาว นิเวศวิทยาและการกระจายพันธุ
เอื้องสามปอยขาว เอื้องสามปอยขุนตาล กลวยไมอิงอาศัยตามลําตนและคาคบไม
พบทางภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ลักษณะทางพฤกษศาสตร ออกดอกเดื อ นมี น าคม–พฤษภาคม เป น ผล
ลําตนตั้งหรือโคงงอ สูง 20–60 ซม. เดือนเมษายน–มีนาคม
รากสีขาวออกที่โคนตนหรือตามขอ เขตการกระจายพันธุ
ใบ 6–15 ใบ เรียงสลับระนาบเดียว รูปแถบ พมา ลาว เวียดนาม มาเลเซีย สิงคโปร

Vanda denisoniana Benson & Rchb. f.


กวาง 1.5–3.5 ซม. ยาว 9–30 ซม. ปลายแยก
เปนแฉก 2 แฉก ไมเทากัน ปลายแฉกแหลม
เนื้อใบหนาคลายแผนหนัง
ชอดอกแบบชอกระจะตัง้ ยาว 10–40 ซม.
เกิดตามลําตน กานชอดอกสั้น มีดอก 3–7 ดอก
ดอกสีขาวถึงสีเหลืองอมสม เมื่อบานกวาง
3.5–5.5 ซม. มีกลิน่ หอม กลีบเลีย้ งและกลีบดอก
มักพับเปนคลืน่ กลางกลีบดานนอกมีสนั ตามยาว
1 เส น กลี บ เลี้ ย งบนและกลี บ ดอกรู ป ช อ น
กวาง 1.2–1.8 ซม. ยาว 2–2.5 ซม. ปลายมน
กลีบเลีย้ งขางรูปไขกลับถึงรูปรี กวาง 1.5–2 ซม.
ยาว 2–2.8 ซม. ปลายมน กลีบปากสีเขียวออน
กวาง 1.3–2.5 ซม. ยาว 2–2.7 ซม. แยกเปนแฉก
3 แฉก แฉกกลางรูปคลายหางปลา ปลายแฉกมน
มี ติ่ ง แหลม โคนกลี บ มี ปุ  ม เนื้ อ เยื่ อ 2 ปุ  ม
กลางกลีบเปนสันตามยาว แฉกขางคอนขางกลม
มีขนาดเล็ก โคนแฉกสีขาวมีแตมสีเหลืองและ
เสนตามยาวสีแดง เดือยรูปกรวย เสาเกสรสีขาว
ยาวประมาณ 1 ซม. ก านดอกรวมรังไข ยาว
4–7 ซม.
ผลรูปทรงกระบอก กวาง 1.5–2.5 ซม.
ยาวประมาณ 5 ซม. มีสันตามยาว 6 สัน

Orchids in the Phu Khieo-Nam Nao Forest Complex 223


àÍ×éͧ´Ô¹¹ŒÍ»ҡ¡Ò§
Zeuxine affinis (Lindl.) Benth. ex Hook. f.

2244 ¡ÅŒ Ç ÂäÁŒ ã ¹¡ÅØ ‹ Á »† Ò ÀÙ à ¢Õ Â Ç-¹íé Ò Ë¹ÒÇ


ชื่ออื่น ๆ − กวาง 1.5−5 มม. ยาว 2−7 มม. อาจมีจดุ สีเขียว
หรือเหลือง เสาเกสรอาจมีสันตามยาว 2 สัน ที่
ลักษณะทางพฤกษศาสตร สวนใตจะงอย กานดอกรวมรังไขยาวประมาณ
ทั้งตนรวมชอดอกสูง 15–35 ซม. 6 มม.
เหงารู ป ทรงกระบอก ขนาดเส น ผ า น- ผลรูปขอบขนาน เสนผานศูนยกลาง 0.3−
ศู น ยก ลาง 3–5 มม. ยาว 2–10 ซม. ลํ าตน 0.5 ซม. ยาว 0.7−1.3 ซม. มีขนสั้นนุมปกคลุม

Zeuxine affinis (Lindl.) Benth. ex Hook. f.


ทรงกระบอก เรียวยาว เสนผานศูนยกลางประมาณ ไมมีกานผลหรือมีแตสั้นมาก
2.5–5 มม. มีหลายปลอง นิเวศวิทยาและการกระจายพันธุ
รากออกตามขอ กลวยไมดิน พบไดทั้งบริเวณลานหินทราย
ใบรูปใบหอกแกมรูปแถบถึงรูปใบหอกแกม และหินแกรนิตที่เปดโลง ในปาเบญจพรรณ
รูปไข กวาง 0.5−1.7 ซม. ยาว 1−4.5 ซม. ปลาย ปาดิบ และปาดิบเขา ทัว่ ทุกภาคของประเทศไทย
แหลม โคนใบสอบเปนกานแลวแผออกเปนกาบ ทีร่ ะดับความสูง 20−1,600 ม. ออกดอกระหวาง
หุม ลําตน แผนใบดานบนสีเขียวถึงสีเขียวอมเทา เดือนพฤศจิกายน−มีนาคม
ดานลางสีเขียวออน เขตการกระจายพันธุ
ชอดอกแบบชอกระจะ ออกที่ปลายยอด อินเดี ย ภูฏาน บัง คลาเทศ พม า (type)
มีขนสัน้ นุม ปกคลุม ใบประดับรูปใบหอกถึงรูปไข จีนตอนใต ลาว เวียดนาม คาบสมุทรมลายู
กวาง 2−4 มม. ยาว 3.5−10 มม. ปลายเรียวแหลม ใตหวัน
ถึ ง เป น ติ่ ง แหลม ผิ ว ใบด า นบนมี ข นสั้ น นุ  ม
แกนกลางชอดอก ยาว 1−8 ซม.
ดอกสี เขี ย ว พบบ า งที่ มี สี ช มพู อ  อ นถึ ง
สีนาํ้ ตาลออน กลีบเลีย้ งสีเขียว ผิวดานนอกมีขน
สัน้ นุม กลีบเลีย้ งบนรูปขอบขนานแกมรูปใบหอก
ถึงรูปไข กวาง 3−5 มม. ยาว 4−9 มม. ปลายมน
หรือกลม กลีบเลีย้ งขางรูปขอบขนานถึงรูปใบหอก
กว า ง 2−3.5 มม. ยาว 4−7 มม. ปลายมน
ถึงกึ่งแหลม กลีบดอกสีขาว รูปขอบขนานแกม
รูปใบหอกถึงรูปรี กวาง 1−3 มม. ยาว 4−8 มม.
แนบติ ด ไปกั บ กลี บ เลี้ ย งบน กลี บ ปากสี ข าว
ยาว 4−8 มม. โคนกลีบดานในมีรยางคเปนปุม
2 ปุ  ม ปลายกลี บ แยกเป น แฉก 2 แฉก
รูปสามเหลีย่ มกลับ รูปไขกลับ ถึงรูปคลายวงกลม

Orchids in the Phu Khieo-Nam Nao Forest Complex 225


àÍ×éͧ´Ô¹¹ŒÍ»ҡàËÅ×ͧ
Zeuxine flava (Wall. ex Lindl.) Trimen

2266 ¡ÅŒ Ç ÂäÁŒ ã ¹¡ÅØ ‹ Á »† Ò ÀÙ à ¢Õ Â Ç-¹íé Ò Ë¹ÒÇ


ชื่ออื่น ๆ − ผลรูปรีแกมรูปขอบขนาน เสนผานศูนยกลาง
ประมาณ 0.4 ซม. ยาว 0.8 ซม. ผิวเกือบเกลีย้ ง
ลักษณะทางพฤกษศาสตร กานผลสั้น
เหงารูปทรงกระบอก เสนผานศูนยกลาง
ประมาณ 2 มม. ลําตนรูปทรงกระบอกเรียวยาว
มีหลายปลอง
รากออกตามขอ

Zeuxine flava (Wall. ex Lindl.) Trimen


ใบรูปใบหอก กวาง 0.8−3 ซม. ยาว 2.7−
9.4 ซม. ปลายแหลมหรือเปนติง่ หนาม โคนกานใบ
แผเปนกาบหุมลําตน
ชอดอกแบบชอกระจะ ยาว 8–12 ซม.
ออกที่ยอด
ดอกสี เ หลื อ ง เมื่ อ บานกว า ง 5–6 มม.
ใบประดับรูปแถบแกมรูปใบหอกถึงรูปสามเหลีย่ ม
แกมรูปแถบ กวาง 2−4 มม. ยาว 3−10 มม.
ปลายเรียวแหลมถึงเปนติ่งแหลม มีขนสั้นนุม
ปกคลุม แกนกลางชอดอกยาว 1.5−8.5 ซม.
กลีบเลีย้ งสีเขียวออน ดานนอกมีขนสัน้ นุม ปกคลุม
กลีบเลีย้ งบนรูปไข กวาง 2−3 มม. ยาว 3.5−5 มม.
ปลายมน กลีบเลี้ยงขางรูปขอบขนานแกมรูปรี
เบีย้ ว กวาง 1.5−2 มม. ยาว 2.5−4 มม. ปลายมน
กลีบดอกสีเขียวออนถึงสีเหลือง รูปใบหอกกลับ นิเวศวิทยาและการกระจายพันธุ
ถึงรูปขอบขนาน กวาง 1−2 มม. ยาว 3−5 มม. กลวยไมดิน พบตามลานหินทราย หินปูน
ปลายมน ตัวกลีบดอกแนบติดไปกับกลีบเลีย้ งบน และหินแกรนิต ในปาเบญจพรรณ ปาดิบ และ
กลี บ ปากสีเหลื อง ยาว 3−4.5 มม. โคนกลีบ ปาดิบเขา ทางภาคเหนือ ตะวันออกเฉียงเหนือ
ดานในมีรยางคเปนปุม 2 ปุม ปลายกลีบแยก และตะวันตกเฉียงใต ที่ระดับความสูง 200−
เปนแฉก 2 แฉก ปลายเปนรูปตัววีหรือปลายตัด 1,650 ม. ออกดอกระหวางเดือนกุมภาพันธ−
แตละแฉกคลายรูปสี่เหลี่ยม กวาง 1−3 มม. มีนาคม
ยาว 1.5−3.5 มม. ปลายมน เสาเกสรมีสนั ตามยาว เขตการกระจายพันธุ
2 สัน ใตจะงอย กานดอกรวมรังไขยาวประมาณ หิมาลายาตะวันตก เนปาล (type) ภูฏาน
5 มม. ตะวันออกเฉียงเหนือของอินเดีย พมา ยูนนาน
เวียดนาม

Orchids in the Phu Khieo-Nam Nao Forest Complex 227


บรรณานุกรม
กิตติ กรีตยิ ตุ านนท และนฤมล กฤษณชาญดี. 2550. กลวยไม เขตรักษาพันธุส ตั วปา ภูเขียว. ดานสุทธาการพิมพ, กรุงเทพฯ.
นพรัตน ทูลมาลย. 2557. การศึกษาทางอนุกรมวิธานพืชวงศกลวยไมในอุทยานแหงชาติแกงกระจาน จังหวัดเพชรบุรี.
วิทยานิพนธปริญญาโท, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.
ไพรวัลย ศรีสม และไพรัช รยางคกูล. 2558. กลวยไมหวยขาแขง. หางหุนสวนจํากัดภาพพิมพ, นนทบุรี.
วีระชัย ณ นคร. 2543. กลวยไมไทยเลม 6. โอ. เอส. พริ้นติ้ง เฮาส, กรุงเทพฯ.
สลิล สิทธิสัจจธรรม และนฤมล กฤษณชาญดี. 2545. คูมือกลวยไม. สํานักพิมพสารคดี, กรุงเทพฯ
สลิล สิทธิสัจจธรรม และเพชร ตรีเพ็ชร. 2552. กลวยไมปาเมืองไทย 2. บริษัทอมรินทรพริ้นติ้งแอนดพับลิชชิ่งจํากัด
(มหาชน), กรุงเทพฯ.
เสฐียร ดามาพงศ. 2551. การศึกษาอนุกรมวิธานของพืชวงศกลวยไมบริเวณดอยผาหมปก อุทยานแหงชาติดอยผาหมปก
จังหวัดเชียงใหม. วิทยานิพนธปริญญาโท, มหาวิทยาลัยนเรศวร.
อบฉันท ไทยทอง. 2543. กลวยไมเมืองไทย. บริษัทอมรินทรพริ้นติ้งแอนดพับลิชชิ่ง จํากัด (มหาชน), กรุงเทพฯ.
อมลรัตน บัวคลาย. 2548. ความหลากหลายของกลวยไมบริเวณเขาเขียว อุทยานแหงชาติเขาใหญ. วิทยานิพนธปริญญาโท,
จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.
ออพร เผือกคลาย. 2554. ความหลากหลายของกลวยไมในอุทยานแหงชาติทุงแสลงหลวง. วิทยานิพนธปริญญาโท,
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.
Ansari, R. & Balakrishnam, N. P. 1990. Orchid Monographs vol. 4: A Revision of the Indian Species of
Oberonia (ORCHIDACEAE). Rijksherbarium/Hortus Botanicus, Leiden.
Comber, J. B. 1990. Orchids of Java. Royal Botanic Gardens, Kew, England.
Bunpha, K. 2013. The Genus Oberonia Lindl. (Orchidaceae) in Thailand. A Thesis Submitted in partial Fulfillment
of the Requirements for the Degree of Doctor of Philosophy in Biology. Prince of Songkla University.
Downie, D. G. 1925. Contributions to the Flora of Siam: Additamentum XVI. Bulletin of Miscellaneous
Information Kew 9: 367–394.
Guanghua, Z., Zhanhe J., Wood, J. J. & Wood, H. P. 2009. Dendrobium Swartz. In: Wu, Z., Raven,
P. H. & Hong, D. (eds), Flora of China 25. Orchidaceae. Science Press, Beijing & Missouri Botanical
Garden Press, St. Louis. pp. 367–397.
Holttum, R. E. 1957. A Revised Flora of Malaya vol. 1: Orchids of Malaya. Government Printing Office,
Singapore.
Pearce, N. R. & Cribb, P. J. 2002. The Orchids of Bhutan 3 (3). Royal Botanic Garden Edinburgh.
Pedersen, H. Æ., Kurzweil, H., Suddee, S. & Cribb, P. J. 2011. Orchidaceae. In: Santisuk, T. & Larsen, K.
(eds), Flora of Thailand 12 (1). Prachachon Co. Ltd. pp. 1–302.
Pedersen, H. Æ., Kurzweil, H., Suddee, S., De Vogel, E. F., Cribb, J. P., Chantanaorrapint, S., Watthana,
S., Gale, S. W., Seelanan, T., & Suwanphakdee, C. 2014. Orchidaceae. In: Santisuk, T. & Larsen, K.
(eds), Flora of Thailand 12 (2). Prachachon Co. Ltd. pp. 303–670.
Rchb. f., H. C. 1867. New Plants. The Gardeners’ Chronicle and Agricultural Gazette 1:572.

2288 ¡ÅŒ Ç ÂäÁŒ ã ¹¡ÅØ ‹ Á »† Ò ÀÙ à ¢Õ Â Ç-¹íé Ò Ë¹ÒÇ


บรรณานุกรม
Seidenfaden, G. 1969. Notes on the Genus Ione. Botanisk Tidsskrift 64: 205–238.
Seidenfaden, G. 1971. Notes on the Genus Luisia. Dansk Botanisk Arkiv 27 (4): 1–101.
Seidenfaden, G. 1985. Contributions to the orchid flora of Thailand XI. Nordic Journal of Botany 5 (2):
157–167.
Seidenfaden, G. 1985. Orchid Genera in Thailand XII-Dendrobium Sw. Opera Botanica 83: 1–295.
Seidenfaden, G. & Smitinand, T. 1962. The Orchids of Thailand A Preliminary List. The Siam Society
4 (1): 517–647.
Seidenfaden, G. & Wood. J. J. 1992. The Orchids of Peninsular Malaysia and Singapore. The Royal
Botanic Garden, Kew & Botanic Garden, Singapore.
Tetsana, N. 2013. The Genus Liparis Rich. (Orchidaceae) in Thailand. A Thesis Submitted in partial Fulfillment
of the Requirements for the Degree of Doctor of Philosophy in Biology. Prince of Songkla University.
Thaitong, O. 1999. Orchids of Thailand. Office of Environmental Policy and Planning, Bangkok.
Xinqi, C. & Vermeulen, J. J. 2009. Bulbophyllum Thouars. In: Wu, Z., Raven, P. H. & Hong, D. (eds),
Flora of China 25. Orchidaceae. Science Press, Beijing & Missouri Botanical Garden Press, St. Louis.
pp. 404–440.
Xinqi, C. & Vermeulen, J. J. 2009. Sunipia. In: Zhengyi, W., Raven, P. H. & Deyuan, H. (eds), Flora of
China 25. Orchidaceae. Science Press, Beijing & Missouri Botanical Garden Press, St. Louis. pp. 440–444.
Xinqi, C. & Vermeulen, J. J. 2009. Aerides Loureiro. In: Wu, Z., Raven, P. H. & Hong, D.(eds), Flora of
China 25. Orchidaceae. Science Press, Beijing & Missouri Botanical Garden Press, St. Louis. pp.
485–486.
Xinqi, C. & Wood, J. J. 2009. Appendicula Blume. In: Wu, Z., Raven, P. H. & Hong, D. (eds), Flora of
China 25. Orchidaceae. Science Press, Beijing & Missouri Botanical Garden Press, St. Louis. pp. 363–364.
Xinqi, C. & Wood, J. J. 2009. Ascocentrum. In: Zhengyi, W., Raven, P. H. & Deyuan, H. (eds), Flora of
China 25. Orchidaceae. Science Press, Beijing & Missouri Botanical Garden Press, St. Louis. pp. 502–503.
Xinqi, C. & Wood, J. J. 2009. Cleisostoma Blume. In: Wu, Z., Raven, P. H. & Hong, D. (eds), Flora of
China 25. Orchidaceae. Science Press, Beijing & Missouri Botanical Garden Press, St. Louis. pp. 458–463.
Xinqi, C. & Wood, J. J. 2009. Epigeneium. In: Zhengyi, W., Raven, P. H. & Deyuan, H. (eds), Flora of
China 25. Orchidaceae. Science Press, Beijing & Missouri Botanical Garden Press, St. Louis. pp. 400–404.
Xinqi, C. & Wood, J. J. 2009. Papilionthe. In: Zhengyi, W., Raven, P. H. & Deyuan, H. (eds), Flora of
China 25. Orchidaceae. Science Press, Beijing & Missouri Botanical Garden Press, St. Louis. pp. 477–478.
Xinqi, C. & Wood, J. J. (2009). Staurochilus. In: Zhengyi, W., Raven, P. H. & Deyuan, H. (eds), Flora of
China 25. Orchidaceae. Science Press, Beijing & Missouri Botanical Garden Press, St. Louis. pp. 454–455.
Xinqi, C., Yibo, L. & Wood, J. J. (2009). Cylindrolobus. In: Zhengyi, W., Raven, P. H. Deyuan, H. (eds),
Flora of China 25. Orchidaceae. Science Press, Beijing & Missouri Botanical Garden Press, St. Louis.
pp. 346–348.

Orchids in the Phu Khieo-Nam Nao Forest Complex 229


ดัชนีชื่อพื้นเมือง
กระดิ่งภู 193 พัดนางชีนอย 174 หญาดอกหิน 189
กระตายหูเดียว 217 พายทองเมืองกาณจน 53 หญาเปราะนก 166
กลวยมดดอกขาว 138 พึง 185 หวายเขียว 195
กลวยไมดง 68 พุมขาวตอก 71 หวายนอยภูหลวง 128
กลวยไมดง 186 พุมขาวบิณฑ 69 หวายปม 111
กลวยไมดิน 189 โพดอนแหล 121 หวายปม 125
กลวยหิน 189 มอนไขใบขน 133 หางแมงเงา 38
กะเรกะรอนดามขาว 86 มาวิ่ง 188 เหยือกนํ้าดอย 28
กะเรกะรอนภูหลวง 88 มือชะนี 131 อั้ว 70
กับแกะ 133 แมงมุมเหลือง 217 อั้วดอกขาว 71
กางปลา 74 รองเทานารีปกแมลงปอ 181 เอื้องกระเจี้ยง 142
ขาวตอกภูหลวง 129 รองเทานารีสุขะกูล 180 เอื้องกระตายหูลู 140
ขาวตอกฤาษี 71 ละเม็ด 189 เอื้องกลีบเกลียว 72
เขาแกะ 41 ลิ้นฟา 61 เอื้องกลีบผอม 217
คําสบนก 33 ลิ้นแรด 79 เอื้องกลีบมวนดอกสม 204
คูลูปากแหลม 42 วานปาว 37 เอื้องกวาง 143
งูเขียวปากมวง 170 วานพราว 36 เอื้องกวาว 185
จุกพราหมณ 30 วานไหมนา 34 เอื้องกําลังเอก 137
จุหลัน 91 สรอยระยา 176 เอื้องกิ่งดํา 112
เฒานั่งฮุง 67 สองอนงคปากมวง 152 เอื้องกุหลาบกระเปาเปด 33
ดอกผึ้ง 185 สามกอม 218 เอื้องกุหลาบปา 33
แดงอุบล 189 สามปอยขาว 223 เอื้องกุหลาบพวง 32
ตะขาบเหลือง 216 สามปอยชมพู 221 เอื้องกุหลาบสระบุรี 197
ตีนตะขาบ 217 สามปอยแพะ 221 เอื้องขนคาง 131
เตอสี่เรโคะ 199 สําเภางาม 94 เอื้องขยุกขยุย 48
นมหนูหัวกลม 31 สําเภาอินทนนท 92 เอื้องขอ 111
นางคํา 90 สิงโตกลีบมวน 54 เอื้องขาวนก 164
นางอั้วพุม 160 สิงโตกานหลอด 46 เอื้องขาวบิณฑ 69
นิมมานรดี 151 สิงโตงาม 45 เอื้องขี้ครั่ง 41
บานจวน 198 สิงโตชอน 63 เอื้องเข็มมวง 40
เบี้ยไมภูหลวง 156 สิงโตชอนทอง 62 เอื้องเขาแกะใหญ 41
ปกกินรี 167 สิงโตนิพนธ 56 เอื้องไขไก 183
ปกนก 195 สิงโตประหลาด 44 เอื้องครั่งฝอย 41
พญาแรด 79 สิงโตพัดภูหลวง 64 เอื้องครั่งแสด 136
พญาไรใบ 185 สิงโตพุม 55 เอื้องคางกบ 183
พรมหอมไม 155 สิงโตภูหลวง 59 เอื้องคางอม 194
พรรณี 154 สิงโตเมืองกาญจน 52 เอื้องคํา 102
พวงหยก 110 สิงโตเลื้อย 58 เอื้องคําขน 151
พอซางดี 133 สิงโตสยาม 60 เอื้องคําดอกสรอย 50
พอนี้โคะ 103 เสือแผว 200 เอื้องคําตา 103

2300 ¡ÅŒ Ç ÂäÁŒ ã ¹¡ÅØ ‹ Á »† Ò ÀÙ à ¢Õ Â Ç-¹íé Ò Ë¹ÒÇ


ดัชนีชื่อพื้นเมือง
เอื้องคําตาดํา 109 เอื้องเทียนสีสม 78 เอื้องลิ้นดําใหญ 171
เอื้องคํานอย 108 เอื้องนกนอย 221 เอื้องเลี่ยม 67
เอื้องคําปอน 104 เอื้องนวลจันทร 199 เอื้องแววมยุรา 109
เอื้องคําปา 104 เอื้องนางนี 131 เอื้องศรีเที่ยง 143
เอื้องคําปากไก 135 เอื้องนํ้าตน 66 เอื้องสะอาง 153
เอื้องคําปว 104 เอื้องนิ่มกลีบจัก 146 เอื้องสามปอยขาว 223
เอื้องคําภู 135 เอื้องนิ่มภู 153 เอื้องสามปอยขุนตาล 223
เอื้องคําสบนก 33 เอื้องนิ้วนาง 155 เอื้องสามปอยดง 222
เอื้องคําหิน 151 เอื้องบายศรี 150 เอื้องสามปอยแพะ 220
เอื้องคําเหลี่ยม 134 เอื้องเบี้ยไมใบขน 219 เอื้องสายนํ้าเขียว 127
เอื้องแคระ 51 เอื้องใบบัวบก 173 เอื้องสายนํ้าผึ้ง 127
เอื้องงวงชาง 141 เอื้องใบไผ 104 เอื้องสายประสาท 126
เอื้องเงินหลวง 119 เอื้องปากคู 162 เอื้องสายมรกต 100
เอื้องฉุน 82 เอื้องปากงุมภูหลวง 158 เอื้องสายสีแสด 137
เอื้องชะนี 130 เอื้องปากเปด 33 เอื้องสายเหลือง 127
เอื้องชะนีเหลือง 155 เอื้องผมเงือก 197 เอื้องสีจุน 117
เอื้องแซะดง 117 เอื้องผมผีพราย 197 เอื้องสีตาล 116
เอื้องแซะดอยปุย 97 เอื้องผีพราย 144 เอื้องสีลา 212
เอื้องแซะภู 96 เอื้องผึ้ง 120 เอื้องสุริยัน 114
เอื้องแซะภูกระดึง 98 เอื้องไผ 104 เอื้องเสือโครง 202
เอื้องแซะหมน 99 เอื้องพลายงาม 192 เอื้องเสือนอย 201
เอื้องดอกเทียน 43 เอื้องพลายชุมพล 193 เอื้องหนวดพราหมณ 196
เอื้องดามขาว 33 เอื้องฟนปลา 209 เอื้องหมาก 84
เอื้องดิน 199 เอื้องมอนไขใบขน 132 เอื้องหางกระรอก 167
เอื้องดินนอยปากกาง 224 เอื้องมัจฉา 123 เอื้องหิน 80
เอื้องดินนอยปากเหลือง 228 เอื้องมัจฉาณุ 122 เอื้องหูชาง 141
เอื้องดินใบบัว 172 เอื้องมือคาง 131 เอื้องอินทนนท 182
เอื้องดินลาว 199 เอื้องแมงภู 183 เอื้องอีฮุย 131
เอื้องตะขาบภูหลวง 214 เอื้องแมงมุมขาว 217
เอื้องตาเข็ม 208 เอื้องโมก 185
เอื้องตาลหิน 148 เอื้องโมกกุหลาบ 184
เอื้องตาเหิน 118 เอื้องไมเทาษี 124
เอื้องตุกแก 201 เอื้องรงรอง 178
เอื้องทอง 106 เอื้องไรใบ 210
เอื้องทับทิมภูหลวง 206 เอื้องลายเสือ 203
เอื้องเทียน 76 เอื้องลําตอ 190
เอื้องเทียน 104 เอื้องลําเทียน 77
เอื้องเทียน 185 เอื้องลําเทียนปากดํา 77
เอื้องเทียนนอย 81 เอื้องลําเทียนปากลาย 83
เอื้องเทียนลําเขียว 83 เอื้องลิ้นดํา 168

Orchids in the Phu Khieo-Nam Nao Forest Complex 231


¡
¡ ÅŒÇÂäÁŒ
Orchids in the Phu Khieo-Nam Nao Forest Complex

You might also like