Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 23

การใช้ภาษา

แสดงทรรศนะ
สมาชิกกลุ่ม
1) ณัฐทิชา แก้วทอง เลขที 5

2) เพชรดาว พัฒนบัณฑิต เลขที 10

3) กฤษติยา เหลือลมัย เลขที 7

4) พิสิษฐ์ ภูวัตพุทธวิสัย เลขที 13


ความหมาย
ของทรรศนะ
หมายถึง ความเห็น และการเห็น คือ ความคิดเห็นที
ประกอบด้วยเหตุผล

3
โครงสร้าง
ของทรรศนะ

4
1.) ทีมา

ส่วนทีเปนเรืองราวต่างๆอัน
ทําให้เกิดการแสดงทรรศนะ

5
2.) ข้อสนับสนุน

ข้อเท็จจริงหลักการรวม
ทังทรรศนะและมติของผู้
อืนทีผู้แสดงทรรศนะนํา
มาใช้เพือประกอบกันให้
เปนเหตุผล
3.) ข้อสรุป

สารทีสําคัญทีสุดของ
ทรรศนะ

7
ประเภท
ของทรรศนะ

8
1) ทรรศนะเชิงข้อเท็จจริง

เปนเรืองทีคนในสังคมถกเถียงกันว่า
ข้อเท็จจริงทีถูกต้องเปนอย่างไร
เปนการแสดงข้อเท็จจริงในเชิง
สันนิษฐาน ระดับความน่าเชือถือขึน
อยู่กับเหตุผลทีผู้แสดงทรรศนะนํา
มาสนันสนุน

9
2) ทรรศนะคุณค่า

ประเมินว่าสิงใดเปนสิงทีดี โทษ หรือ เปน มีประโยชน์


อาจเปนวัตถุ บุคคล กิจกรรม โครงการ วิธีการ
สามารถประเมินค่าได้โดยลําพังของตัวมันเอง หรือ
เปรียบเทียบกับสิงทีอยู่ในประเภทเดียวกัน หรือมีลักษณะ
เปนไปในทํานองเดียวกันตามเกณฑ์ทีกําหนดขึน

10
3) ทรรศนะเชิงนโยบาย
เปนทรรศนะทีบ่งชีว่าเราควรทําอะไร อย่างไรต่อไปใน
อนาคต หรือ ควรจะปรับปรุงไปในทิศทางใด
ระดับทางทรรศนะ
-- ระดับบุคคล
--ระดับกลุ่มบุคคล
--ระดับองค์การ
-- ระดับสถาบัน
-- ระดับประเทศชาติ
บ่งชีให้ชัดเจนว่า มีขันตอนอย่างไร เปาหมายอย่างไร
เปนประโยชน์อย่างไร

11
ลักษณะของภาษาทีใช้ใน
การแสดงทรรศนะ

12
1) ใช้คําหรือกลุ่มคําทีแสดงว่าเปนเจ้าของทรรศนะ
เปนคํานาม คําสรรพนาม คํากริยาหรือกลุ่มคํากริยา
ดิฉันเห็นว่า… ข้าพเจ้ามีความเห็นว่า...

2) ใช้คํากริยาทีช่วยให้แสดงถึงการทรรศนะ
เช่น น่า น่าจะ คง ควรจะต้อง

3) ใช้กลุ่มคําอืนๆในการแสดงทรรศนะไปในทาง ประเมินค่า
แสดงความเชือมัน คาดคะเน เปนต้น
เช่น สารวัตรนักเรียนได้สอดส่องความประพฤติ
นักเรียนอย่างเต็มความสามารถ (ประเมินค่า)
นักกีฬาของเรามีทางชนะอย่างไม่ต้องสงสัย
(แสดงความเชือมัน)
13
ปจจัยทีส่งเสริม
การแสดงทรรศนะ

14
1) ปจจัยภายนอก
สือ ผู้รับสาร บรรยกาศสิงแวดล้อม
เวลา สถานที บุคคลอืน

15
2) ปจจัยภายใน
ความสามารถในการใช้ภาษาทัง
วัจนภาษาทังอวัจนภาษา ความเชือ
มันในตัวเอง ความรู้ความ
ประสบการณ์ ทัศนคติ สติปญญา
และคามพร้อมทางกาย

16
การประเมินค่า
ทรรศนะ
ไม่ควรยึดติดทีตัวบุคคลเปนสําคัญ
มนุษย์ไม่สามารถแสดงทีสิงถูกต้อง
เสมอไปได้ในทุกโอกาส
17
1) ประโยชน์และลักษณะสร้างสรรค์
- ก่อให้เกิดประโยชน์ทังส่วนน้อยและส่วนมาก

หากแค่ประโยชนส่วนตนหรือส่วนน้อยอย่างเดียว =
ทรรศนะทีมีคุณค่าน้อย

ยิงโทษส่วนมาก = ยิงเปนทรรศนะทีไม่พึงประสงค์

- ก่อให้เกิดทรรศนะทางสร้างสรรค์
- ก่อให้เกิดสิงแปลกใหม่ทีสามารถนําไปต่อยอด
อันเปนประโยชน์ได้

18
2) ความน่าเชือถือและความสมเหตุสมผล ควรค่าแก่
การยอมรับ
- หากเปนเหตุผผลนิรนัย ประเมินว่า หลักการทีให้มาเปน
เหตุผลหรือข้อสนับสนุนควรให้การยอมรับหรือไม่
- หากเปนข้อสนับสนุน ประเมินว่า ข้อสนับสนุนตรงตาม
ความจริงทังหมดหรือไม่ และใช้วิธีอนุมานทีถูกต้องหรือไม่
อย่างไร
- หากทรรศนะใช้เหตุผลด้วยวิธีนิรนัยอย่างย่อและไม่ระบุ
หลักการ จ้องประเมินว่า ผู้รับสารสามารถเข้าใจและยอมรับได้
หรือไม่

19
2)
- หากเปนเหตุอุปนัย ดูตัวอย่างทีนํามาอ้างเพียงพอหรือไม่
เปนตัวแทนของกรณีทังหมดได้อย่างแท้จริงหรือไม่ และถูก
ต้องตามความเปนจริงหรือไม่
- การอ้างผู้ทรงคุณวุฒิก็ประเมินว่าอ้างได้ถูกต้องโดยไม่
คลาดเคลือนหรือไม่อ้างได้เพียงพอควรแก่กรณีหรือไม่
- ใช้แนวเทียบก็ต้องพิจารณากรณีทีนํามาใช้เทียบว่ามี
ลักษณะทีสอดคล้องต้องกันหรือไม่
- ถ้าใช้เหตุผลทีเปนความสัมพันธ์ระหว่างสาเหตุกับ
ผลลัพธ์ก็ต้องพิจารณาว่าเปนจริงและเปนไปได้เพียงไร มี
อิทธิพลจากสาเหตุอืนๆทีจะทําให้ข้อสรุปคลาดเคลือนไปได้
หรือไม่

20
3) ความเหมาะสมกับผู้รับสารและกาลเทศะ
บางทรรศนะอาจนําเสนอแก่สาธารณชนทัวไปได้
แต่บางทรรศนะก็ไม่สมควร จึงต้องพิจารณาว่าทรรศนะ
นันๆได้เสนออย่างเหมาะให้ถูกกาลเทศะและควรแก่
ประชุมชนหรือไม่ และทรรศนะทีนําเสนอนันมีความ
พอเหมาะพอดีไม่มากเกินไปเหมาะแก่เนือทีหรือเวลาทีมี
อยู่เหมาะแก่สมรรถภาพการรับสารของผู้รับหรือไม่

21
4) การใช้ภาษา
-ภาษาเปนเครืองมือสําคัญทีสุดสําหรับ
การนําเสนอทรรศนะ ว่า มีความ
แจ่มแจ้งชัดเจนแม่นตรงตามต้องการ
และเหมาะสมแก่ระดับการสือสารหรือ
ไม่เพียงใด

22
ขอบคุณครับ/ค่ะ!

23

You might also like