1 Ba 246 A 821998 BD 37 Fba

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 66

การใช้ภาษา

ในการแสดงทรรศนะ

จัดทําโดย
นาย พุ ฒินันท์ จันทพราม เลขที 2 นางสาว อริสรา กรรณสมบัติ เลขที 8
นาย พี ระพั ศ จริยะรัตนรัชต์ เลขที 3 นาย ปรมินทร์ ปยะวัฒนวิโรจน์ เลขที 15
นางสาว ประภัสสร เเจ่มประเสริฐ เลขที 6 นางสาว บุญสิตา พวงกุหลาบ เลขที 16
นางสาว ปนดา กมลศักดาวิกุล เลขที 7 นางสาว ธภัทรา ธนูพราน เลขที 21
ทรรศนะ คืออะไร
ทรรศนะ หรือ ทัศนะ หมายถึง ความคิดเห็นทีมีเหตุผล
การแสดงทรรศนะ
- สังคมประชาธิปไตย
- ตัวอย่าง
โครงสร้างของ
การแสดงทรรศนะ
โครงสร้างของการแสดงทรรศนะ

ทีมา ข้อสนับสนุน ข้อสรุป


ทีมา

คือ ส่วนทีเปนเรืองราวอันทําให้เกิดทรรศนะ

ชีให้เห็น

ความจําเปน
ข้อสนับสนุน

คือ ข้อเท็จจริง หลักการ หรือทรรศนะของผู้อืน เพือ


ประกอบกันและนํ ามาสนับสนุนข้อสรุปของตน
ข้อสรุป

ข้อเสนอแนะ ข้อวินิจฉัย ข้อสันนิ ษฐาน


หรือการประเมินค่า

เพือ

ผู้อืนพิจารณา ยอมรับหรือนํ า
ไปปฏิบัติตาม
ทรรศนะของบุคคล
เเตกต่างกันอย่างไร
สาเหตุของความหลากหลายในการแสดงทรรศนะ

คุณสมบัติตามธรรมชาติของมนุษย์ อิทธิพลของสิงแวดล้อม

ติดตัวมาตังแต่กําเนิ ด ถูกพัฒนาขึนทีหลัง

ต้องอาศัยการส่งเสริมจากสิงแวดล้อม สร้างความแตกต่างส่วนใหญ่
ของทรรศนะ

ความมีไหวพริบ ความถนัด ธรรมชาติ ชุมชน ระบบการศึกษา


เชาวน์ปญญา สือมวลชน
ความรู้และประสบการณ์
● บุคคลทีแสดงทรรศนะได้มากกว่ามักจะ :

○ มีความรู้มากกว่า

○ มีประสบการณ์มากกว่า

● ประสบการณ์มาจากการได้ฟง, ดู, สังเกตด้วยตนเองเพือเก็บเปนความรู้ และ


สะสมต่อเนื องกันเปนเวลานาน

● ทุกคนสามารถพัฒนาความรู้และสะสมประสบการณ์เพิมขึนได้ตลอดเวลา
ความเชือ
● ความเชือเเต่ละคน เเต่ละกลุ่ม มีความเเเตกต่างกัน
ส่งผลทําให้มีเเนวคิด วิธีมองปญหาทีเเตกต่างกันออกไป
○ บุคคลทีมีความเชือเรืองสิงศักดิสิทธิก็จะมีทรรศนะไปใน
ทางสนับสนุนสิงนัน ส่วนบุคคลทีไม่เชือก็จะมีทรรศนะไปทางตําหนิ

● ความเชือของบุคคลมักเกิดจากการอบรมสังสอนจาก ครอบครัว/ สิงเเวดล้อม


โดยความเชือสามารถเปลียนเเปลงไปตามวัยเเละประสบการณ์
ค่านิ ยม

● ค่านิ ยม หมายถึง ความรู้สึกของเเต่ละคนทีตัดสินว่าสิงใด/การกระทําใดมีคุณค่าและความสําคัญ

● ค่านิ ยมมีอิทธิพลต่อพฤติกกรรมเเละทรรศนะของเเต่ละบุคคล

● ค่านิ ยมสามารถหน่ วงเหนี ยวไม่ให้บุคคลเเสดงทรรศนะ

ออกมาในบางครัง

● ค่านิ ยมสามารถเปลียนไปได้ตามวัย ประสบการณ์ เเละสิงเเวดล้อม


ประเภทของทรรศนะ
จําแนกไดเปน 3 ประเภทหลักๆ

1. ทรรศนะเชิงข้อเท็จจริง

2. ทรรศนะเชิงคุณค่า

3. ทรรศนะเชิงนโยบาย
ทรรศนะเชิงข้อเท็จจริง
กล่าวถึง:
เรืองราวทีเกิดขึนแล้ว

แสดงทรรศนะว่า:
มีข้อเท็จจริง ข้อสรุป หรือ เรืองราวเปนอย่างไรกัน
แน่

ลักษณะ:
เปนข้อสันนิ ษฐาน ความน่ าเชือถือ
ขึนอยู่กับหลักฐานทีผู้แสดงทรรศนะ
นํ ามาประกอบ
ตัวอย่าง
สถานการณ์: นักเรียนวิงผ่าน
โต๊ะแจกัน แจกันตกแตก

ทรรศนะที 1: เพราะนักเรียน
ไม่ระวัง จึงชนโต๊ะเปนสาเหตุ ทรรศนะที 2: แจกันมีฐานที
ที แจกันแตก ไม่แข็งแรง จึงตกลงมาเอง
ทรรศนะเชิงคุณค่า
- ประเมินสิงใดดี สิง อาจเปน
ใดด้อย - วัตถุ
- สิงใดเปนประโยชน์ - บุคคล
หรือเปนโทษ - กิจกรรม
- สิงใดเหมาะสม หรือ - โครงการ
ไม่เหมาะสม - วิธีการ
- ทรรศนะ

ผู้เเสดงทรรศนะอาจประเมินสิงนันโดยลําพังของมันเอง หรือ
ประเมินเทียบกับสิงอืนหรือเกณฑ์
ทรรศนะเชิงนโยบาย
บ่งบอกว่าควรทําอะไร อย่างไร หรือปรับปรุงแก้ไขสิงใด ต่อไปในอนาคต
มีหลายระดับ ตังแต่

กลุ่มบุ- ประเทศ
บุคคล คลากร
องค์กร สถาบัน
ชาติ

มักจะต้องบ่งชีว่า
สิงทีเสนอแนะมีขันตอนและ
วิธีปฏิบัติอย่างไร เปาหมายและ
ประโยชน์คืออะไร รวมถึง
วิธีการแก้ไขหากมีอุปสรรคด้วย
ลักษณะของภาษาทีใช้ใน
การแสดงทรรศนะ
ลักษณะของภาษาทีใช้ในการแสดงทรรศนะ
เปนอย่างไร
- ใช้ถ้อยคําทีกะทัดรัด มีความหมายชัดเจน
- ใช้ภาษาถูกต้องกับระดับของภาษา
- ใช้สํานวนภาษาได้ถูกต้อง
- เรียงลําดับเนื อความให้ไม่สับสน
ลักษณะเฉพาะทีควรรู้
1) ใช้คํา หรือ กลุ่มคํา
ทีแสดงความเปนเจ้าของทรรศนะสามารถเปนคํา
นาม คําสรรพนาม ประกอบกับคํากริยา

ตัวอย่างเช่น
พวกเรามีความเห็นร่วมกันว่า อุบัติเหตุรถชนครังนี เกิด
ขึนโดยความประมาทของคนขับ
2) ใช้คํา หรือ กลุ่มคํากริยาทีช่วยในข้อสรุปต่างๆให้เห็นว่าเปน
ทรรศนะ เช่นคําว่า น่ า น่ าจะ คง ควรจะต้อง เปนต้น

ตัวอย่างเช่น
-เรืองนี น่ าจะเปนเรืองทีร้ายแรงต่อสังคม
-คุณครูควรจะต้องสอนพวกเราให้ดีกว่านี
3) ใช้คํา หรือกลุ่มคํา ทีสือความไปในทางทรรศนะ
อาจเปนการประเมินค่า ความเชือมัน คาดคะแน เปนต้น

ตัวอย่าง
- คุณครูได้ทําหน้าทีของเขาอย่างสุดความสามารถแล้ว
(เปนการประเมินค่า)
- ทีมกีฬาสีเขียวชนะแน่ นอน (เปนความเชือมัน)
- งานนี น่ าจะยากนะ (การคาดคะแน)
ปจจัยทีส่งเสริม
การแสดงทรรศนะ
ปจจัยทีส่งเสริมการแสดงทรรศนะ
2 ประการ

ปจจัยภายนอก ปจจัยภายใน

ผู้รับสาร ความสามารถการใช้ภาษา

บรรยากาศ ความเชือมันในตนเอง

เวลา ความรู้

สถานที ประสบการณ์

บุคคลอืน ความพร้อมทางร่างกาย

สติปญญา
การประเมินค่าทรรศนะ
ควรเปนอย่างไร
“ไม่ควรยึดตัวบุคคลเปนสําคัญ”

เพราะ มนุษย์ไม่สามารถเสนอสิงถูกต้องไปเสมอในทุกโอกาส
แนวทางในการประเมินค่าทรรศนะ

● ประโยชน์และลักษณะสร้างสรรค์

● ความน่ าเชือถือและความสมเหตุสมผล

● ความเหมาะสมกับผู้รับสารและกาลเทศะ

● การใช้ภาษา
ประโยชน์และลักษณะสร้างสรรค์

ก่อให้เกิดประโยชน์และคุณค่าในทางสร้างสรรค์

*ไม่ใช่ประโยชน์เฉพาะตน หรือส่วนน้อยอย่างเดียว*
ความน่ าเชือถือและความสมเหตุสมผล

ข้อสนับสนุนทรรศนะจะต้องมีนา้ํ หนักพอ

เช่น
เพือ
เปนเหตุเปนผล

ได้รับความน่ าเชือถือ มีค่าควรแก่การยอมรับ ถูกต้องตามความเปนจริง และเปนไปได้

ตัวอย่างทีนํ ามาอ้างเพียงพอ

มีลักษณะสอดคล้องต้องกัน
ความเหมาะสมกับผู้รับสารและกาลเทศะ

เสนออย่างเหมาะสมและควร เสนอถูกต้องกับกาลเทศะ

มีความพอเหมาะพอดีไม่มากเกินไป
การใช้ภาษา*

ชัดเจนแจ่มแจ้ง แม่นยํา เหมาะสมกับระดับการสือสาร

สําคัญทีสุด!
การประเมินค่าเปนสิงทีละเอียดอ่อน
จะด่วนสรุปไม่ได้ ต้องอาศัยเวลา
และข้อมูลหลายๆด้านประกอบกัน
การใช้ภาษา
ในการแสดงทรรศนะ

จัดทําโดย
นาย พุ ฒินันท์ จันทพราม เลขที 2 นางสาว อริสรา กรรณสมบัติ เลขที 8
นาย พี ระพั ศ จริยะรัตนรัชต์ เลขที 3 นาย ปรมินทร์ ปยะวัฒนวิโรจน์ เลขที 15
นางสาว ประภัสสร เเจ่มประเสริฐ เลขที 6 นางสาว บุญสิตา พวงกุหลาบ เลขที 16
นางสาว ปนดา กมลศักดาวิกุล เลขที 7 นางสาว ธภัทรา ธนูพราน เลขที 21
ทรรศนะ คืออะไร
ทรรศนะ หรือ ทัศนะ หมายถึง ความคิดเห็นทีมีเหตุผล
การแสดงทรรศนะ
- สังคมประชาธิปไตย
- ตัวอย่าง
โครงสร้างของ
การแสดงทรรศนะ
โครงสร้างของการแสดงทรรศนะ

ทีมา ข้อสนับสนุน ข้อสรุป


ทีมา

คือ ส่วนทีเปนเรืองราวอันทําให้เกิดทรรศนะ

ชีให้เห็น

ความจําเปน
ข้อสนับสนุน

คือ ข้อเท็จจริง หลักการ หรือทรรศนะของผู้อืน เพือ


ประกอบกันและนํ ามาสนับสนุนข้อสรุปของตน
ข้อสรุป

ข้อเสนอแนะ ข้อวินิจฉัย ข้อสันนิ ษฐาน


หรือการประเมินค่า

เพือ

ผู้อืนพิจารณา ยอมรับหรือนํ า
ไปปฏิบัติตาม
ทรรศนะของบุคคล
เเตกต่างกันอย่างไร
สาเหตุของความหลากหลายในการแสดงทรรศนะ

คุณสมบัติตามธรรมชาติของมนุษย์ อิทธิพลของสิงแวดล้อม

ติดตัวมาตังแต่กําเนิ ด ถูกพัฒนาขึนทีหลัง

ต้องอาศัยการส่งเสริมจากสิงแวดล้อม สร้างความแตกต่างส่วนใหญ่
ของทรรศนะ

ความมีไหวพริบ ความถนัด ธรรมชาติ ชุมชน ระบบการศึกษา


เชาวน์ปญญา สือมวลชน
ความรู้และประสบการณ์
● บุคคลทีแสดงทรรศนะได้มากกว่ามักจะ :

○ มีความรู้มากกว่า

○ มีประสบการณ์มากกว่า

● ประสบการณ์มาจากการได้ฟง, ดู, สังเกตด้วยตนเองเพือเก็บเปนความรู้ และ


สะสมต่อเนื องกันเปนเวลานาน

● ทุกคนสามารถพัฒนาความรู้และสะสมประสบการณ์เพิมขึนได้ตลอดเวลา
ความเชือ
● ความเชือเเต่ละคน เเต่ละกลุ่ม มีความเเเตกต่างกัน
ส่งผลทําให้มีเเนวคิด วิธีมองปญหาทีเเตกต่างกันออกไป
○ บุคคลทีมีความเชือเรืองสิงศักดิสิทธิก็จะมีทรรศนะไปใน
ทางสนับสนุนสิงนัน ส่วนบุคคลทีไม่เชือก็จะมีทรรศนะไปทางตําหนิ

● ความเชือของบุคคลมักเกิดจากการอบรมสังสอนจาก ครอบครัว/ สิงเเวดล้อม


โดยความเชือสามารถเปลียนเเปลงไปตามวัยเเละประสบการณ์
ค่านิ ยม

● ค่านิ ยม หมายถึง ความรู้สึกของเเต่ละคนทีตัดสินว่าสิงใด/การกระทําใดมีคุณค่าและความสําคัญ

● ค่านิ ยมมีอิทธิพลต่อพฤติกกรรมเเละทรรศนะของเเต่ละบุคคล

● ค่านิ ยมสามารถหน่ วงเหนี ยวไม่ให้บุคคลเเสดงทรรศนะ

ออกมาในบางครัง

● ค่านิ ยมสามารถเปลียนไปได้ตามวัย ประสบการณ์ เเละสิงเเวดล้อม


ประเภทของทรรศนะ
จําแนกไดเปน 3 ประเภทหลักๆ

1. ทรรศนะเชิงข้อเท็จจริง

2. ทรรศนะเชิงคุณค่า

3. ทรรศนะเชิงนโยบาย
ทรรศนะเชิงข้อเท็จจริง
กล่าวถึง:
เรืองราวทีเกิดขึนแล้ว

แสดงทรรศนะว่า:
มีข้อเท็จจริง ข้อสรุป หรือ เรืองราวเปนอย่างไรกัน
แน่

ลักษณะ:
เปนข้อสันนิ ษฐาน ความน่ าเชือถือ
ขึนอยู่กับหลักฐานทีผู้แสดงทรรศนะ
นํ ามาประกอบ
ตัวอย่าง
สถานการณ์: นักเรียนวิงผ่าน
โต๊ะแจกัน แจกันตกแตก

ทรรศนะที 1: เพราะนักเรียน
ไม่ระวัง จึงชนโต๊ะเปนสาเหตุ ทรรศนะที 2: แจกันมีฐานที
ที แจกันแตก ไม่แข็งแรง จึงตกลงมาเอง
ทรรศนะเชิงคุณค่า
- ประเมินสิงใดดี สิง อาจเปน
ใดด้อย - วัตถุ
- สิงใดเปนประโยชน์ - บุคคล
หรือเปนโทษ - กิจกรรม
- สิงใดเหมาะสม หรือ - โครงการ
ไม่เหมาะสม - วิธีการ
- ทรรศนะ

ผู้เเสดงทรรศนะอาจประเมินสิงนันโดยลําพังของมันเอง หรือ
ประเมินเทียบกับสิงอืนหรือเกณฑ์
ทรรศนะเชิงนโยบาย
บ่งบอกว่าควรทําอะไร อย่างไร หรือปรับปรุงแก้ไขสิงใด ต่อไปในอนาคต
มีหลายระดับ ตังแต่

กลุ่มบุ- ประเทศ
บุคคล คลากร
องค์กร สถาบัน
ชาติ

มักจะต้องบ่งชีว่า
สิงทีเสนอแนะมีขันตอนและ
วิธีปฏิบัติอย่างไร เปาหมายและ
ประโยชน์คืออะไร รวมถึง
วิธีการแก้ไขหากมีอุปสรรคด้วย
ลักษณะของภาษาทีใช้ใน
การแสดงทรรศนะ
ลักษณะของภาษาทีใช้ในการแสดงทรรศนะ
เปนอย่างไร
- ใช้ถ้อยคําทีกะทัดรัด มีความหมายชัดเจน
- ใช้ภาษาถูกต้องกับระดับของภาษา
- ใช้สํานวนภาษาได้ถูกต้อง
- เรียงลําดับเนื อความให้ไม่สับสน
ลักษณะเฉพาะทีควรรู้
1) ใช้คํา หรือ กลุ่มคํา
ทีแสดงความเปนเจ้าของทรรศนะสามารถเปนคํา
นาม คําสรรพนาม ประกอบกับคํากริยา

ตัวอย่างเช่น
พวกเรามีความเห็นร่วมกันว่า อุบัติเหตุรถชนครังนี เกิด
ขึนโดยความประมาทของคนขับ
2) ใช้คํา หรือ กลุ่มคํากริยาทีช่วยในข้อสรุปต่างๆให้เห็นว่าเปน
ทรรศนะ เช่นคําว่า น่ า น่ าจะ คง ควรจะต้อง เปนต้น

ตัวอย่างเช่น
-เรืองนี น่ าจะเปนเรืองทีร้ายแรงต่อสังคม
-คุณครูควรจะต้องสอนพวกเราให้ดีกว่านี
3) ใช้คํา หรือกลุ่มคํา ทีสือความไปในทางทรรศนะ
อาจเปนการประเมินค่า ความเชือมัน คาดคะแน เปนต้น

ตัวอย่าง
- คุณครูได้ทําหน้าทีของเขาอย่างสุดความสามารถแล้ว
(เปนการประเมินค่า)
- ทีมกีฬาสีเขียวชนะแน่ นอน (เปนความเชือมัน)
- งานนี น่ าจะยากนะ (การคาดคะแน)
ปจจัยทีส่งเสริม
การแสดงทรรศนะ
ปจจัยทีส่งเสริมการแสดงทรรศนะ
2 ประการ

ปจจัยภายนอก ปจจัยภายใน

ผู้รับสาร ความสามารถการใช้ภาษา

บรรยากาศ ความเชือมันในตนเอง

เวลา ความรู้

สถานที ประสบการณ์

บุคคลอืน ความพร้อมทางร่างกาย

สติปญญา
การประเมินค่าทรรศนะ
ควรเปนอย่างไร
“ไม่ควรยึดตัวบุคคลเปนสําคัญ”

เพราะ มนุษย์ไม่สามารถเสนอสิงถูกต้องไปเสมอในทุกโอกาส
แนวทางในการประเมินค่าทรรศนะ

● ประโยชน์และลักษณะสร้างสรรค์

● ความน่ าเชือถือและความสมเหตุสมผล

● ความเหมาะสมกับผู้รับสารและกาลเทศะ

● การใช้ภาษา
ประโยชน์และลักษณะสร้างสรรค์

ก่อให้เกิดประโยชน์และคุณค่าในทางสร้างสรรค์

*ไม่ใช่ประโยชน์เฉพาะตน หรือส่วนน้อยอย่างเดียว*
ความน่ าเชือถือและความสมเหตุสมผล

ข้อสนับสนุนทรรศนะจะต้องมีนา้ํ หนักพอ

เช่น
เพือ
เปนเหตุเปนผล

ได้รับความน่ าเชือถือ มีค่าควรแก่การยอมรับ ถูกต้องตามความเปนจริง และเปนไปได้

ตัวอย่างทีนํ ามาอ้างเพียงพอ

มีลักษณะสอดคล้องต้องกัน
ความเหมาะสมกับผู้รับสารและกาลเทศะ

เสนออย่างเหมาะสมและควร เสนอถูกต้องกับกาลเทศะ

มีความพอเหมาะพอดีไม่มากเกินไป
การใช้ภาษา*

ชัดเจนแจ่มแจ้ง แม่นยํา เหมาะสมกับระดับการสือสาร

สําคัญทีสุด!
การประเมินค่าเปนสิงทีละเอียดอ่อน
จะด่วนสรุปไม่ได้ ต้องอาศัยเวลา
และข้อมูลหลายๆด้านประกอบกัน

You might also like