Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 5

1

แบบทดสอบหลังเรี ยน
รายวิชาคณิ ตศาสตร์เพิ่มเติม ภาคเรี ยนที่ 1 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3
บทที่ 2 เรื่ อง การแยกตัวประกอบของพหุ นาม
คําชี้แจง แบบทดสอบปรนัย จํานวน 40 ข้อ ให้นกั เรี ยนเลือกคําตอบที่ถูกต้องเพียงข้อเดียว
.............................................................................................................................
1) ข้อใดดําเนินการถูกต้อง
2 2
1. 7 = √7 2. √7 = 7 3. 7 = �√7� 4. 7 = �√−7�
2) ข้อใดดําเนินการไม่ถูกต้อง
2
1. √22 = 2 2. �√2� = 2 3. �√2��√2� = 2 4. (−2)2 = −4
3) ข้อใดดําเนินการไม่ถูกต้อง
1. 𝑥𝑥 2 − 𝑦𝑦 2 = (𝑥𝑥 + 𝑦𝑦)(𝑥𝑥 − 𝑦𝑦) 2. 𝑥𝑥 2 + 2𝑥𝑥𝑥𝑥 + 𝑦𝑦 2 = (𝑥𝑥 + 𝑦𝑦)(𝑥𝑥 + 𝑦𝑦)
3. 𝑥𝑥 2 − 2𝑥𝑥𝑥𝑥 + 𝑦𝑦 2 = (𝑥𝑥 − 𝑦𝑦)(𝑥𝑥 − 𝑦𝑦) 4. 𝑥𝑥 2 + 𝑦𝑦 2 = (𝑥𝑥 + 𝑦𝑦)(𝑥𝑥 + 𝑦𝑦)
4) ข้อใดดําเนินการถูกต้อง
1. 𝑥𝑥 3 + 𝑦𝑦 3 = (𝑥𝑥 + 𝑦𝑦)(𝑥𝑥 2 + 𝑥𝑥𝑥𝑥 + 𝑦𝑦 2 ) 2. 𝑥𝑥 3 − 𝑦𝑦 3 = (𝑥𝑥 − 𝑦𝑦)(𝑥𝑥 2 − 𝑥𝑥𝑥𝑥 + 𝑦𝑦 2 )
3. 𝑥𝑥 3 + 𝑦𝑦 3 = (𝑥𝑥 − 𝑦𝑦)(𝑥𝑥 2 + 𝑥𝑥𝑥𝑥 + 𝑦𝑦 2 ) 4. 𝑥𝑥 3 − 𝑦𝑦 3 = (𝑥𝑥 − 𝑦𝑦)(𝑥𝑥 2 + 𝑥𝑥𝑥𝑥 + 𝑦𝑦 2 )
5) ข้อใดดําเนิ นการไม่ถูกต้อง
1. 𝑥𝑥 2 − 4 = 𝑥𝑥 2 − 22 2. 𝑥𝑥 2 − 9 = 𝑥𝑥 2 − 32
2
3. 𝑥𝑥 2 − 7 = 𝑥𝑥 2 − √72 4. 𝑥𝑥 2 − 3 = 𝑥𝑥 2 − �√3�
6) ข้อใดดําเนินการถูกต้อง
1. (𝑎𝑎 + 𝑏𝑏)2 = 𝑎𝑎2 + 𝑏𝑏 2 2. (𝑎𝑎 − 𝑏𝑏)2 = 𝑎𝑎2 − 𝑏𝑏 2
3. (𝑎𝑎 + 𝑏𝑏)3 = 𝑎𝑎3 + 3𝑎𝑎𝑎𝑎 + 𝑏𝑏 3 4. (𝑎𝑎 − 𝑏𝑏)3 = 𝑎𝑎3 − 3𝑎𝑎2 𝑏𝑏 + 3𝑎𝑎𝑏𝑏 2 − 𝑏𝑏 3

7) จํานวน �√24 เท่ากับข้อใด


1
1. 1 2. 2 3. 4. 4
2
8) จํานวน √2 ยกกําลังเท่าใด จึงเท่ากับ 16
1. 2 2. 4 3. 16 4. 8
2

9) จํานวน √0.0081 เท่ากับข้อใด


1. 0.03 2. 0.003 3. 0.09 4. 0.009
1
10) จํานวน � เท่ากับข้อใด
625
1 1 1 1
1. 2. 3. 4.
5 15 25 35
11) ข้อใดเป็ นตัวประกอบทั้งหมดของ 60
1. ±1, ±2, ±3, ±4, ±5, ±10, ±15, ±20, ±30
2. ±1, ±2, ±3, ±4, ±5, ±10, ±15, ±20, ±30, ±60
3. ±1, ±2, ±3, ±4, ±5, ±6, ±10, ±15, ±20, ±30, ±60
4. ±1, ±2, ±3, ±4, ±5, ±6, ±10, ±12, ±15, ±20, ±30, ±60
12) ข้อใดเป็ นตัวประกอบทั้งหมดของ 𝑥𝑥 2 − 𝑦𝑦 2
1. (𝑥𝑥)(𝑦𝑦)(−𝑥𝑥)(−𝑦𝑦) 2. 𝑥𝑥 2 , ±𝑦𝑦 2 3. (𝑥𝑥 ± 𝑦𝑦)2 4. (𝑥𝑥 + 𝑦𝑦), (𝑥𝑥 − 𝑦𝑦)
13) จํานวน ตัวประกอบทั้งหมดของ 18 − 𝑥𝑥 2 เท่ากับข้อใด
1. 1 ตัว 2. 2 ตัว 3. 3 ตัว 4. 4 ตัว
1
14) จํานวนในข้อใดเป็ นตัวประกอบของ 𝑥𝑥 2 − 15
9
1 1 1 1
1. 𝑥𝑥 + 5 2. 𝑥𝑥 − 5 3. 𝑥𝑥 + √15 4. 𝑥𝑥 − √15
3 3 3 9
15) ข้อใดแยกตัวประกอบของ 𝑥𝑥 2 − 5 ได้ถูกต้อง
1. (𝑥𝑥 + 1)(𝑥𝑥 − 5) 2. (𝑥𝑥 + 5)(𝑥𝑥 − 1)
3. �𝑥𝑥 + √5��𝑥𝑥 − √5� 4. 𝑥𝑥(𝑥𝑥 − 5)
16
16) ข้อใดแยกตัวประกอบของ 49
𝑥𝑥 2 − 13 ได้ถูกต้อง
4 4 4 4
1. � 𝑥𝑥 + √13� � 𝑥𝑥 − √13� 2. � 𝑥𝑥 − √13� � 𝑥𝑥 − √13�
7 7 7 7
4 4
3.
7
�𝑥𝑥 + √13��𝑥𝑥 − √13� 4.
7
�𝑥𝑥 − √13��𝑥𝑥 − √13�
17) ข้อใดแยกตัวประกอบของ 20 − (𝑥𝑥 − 4) ได้ถูกต้อง 2

1. �√20 + 𝑥𝑥 + 4��√20 − 𝑥𝑥 − 4� 2. �√20 + 𝑥𝑥 − 4��√20 − 𝑥𝑥 + 4�


3. �√20 − 𝑥𝑥 + 4��√20 − 𝑥𝑥 − 4� 4 �√20 + 𝑥𝑥 + 4��√20 − 𝑥𝑥 + 4�
3

18) ข้อใดแยกตัวประกอบของ (3𝑥𝑥 − 1)2 − 12 ได้ถูกต้อง


1. (3𝑥𝑥 − 1 + 12)(3𝑥𝑥 − 1 − 12) 2. (3𝑥𝑥 − 1 + 6)(3𝑥𝑥 − 1 − 2)
3. �3𝑥𝑥 − 1 + 4√3��3𝑥𝑥 − 1 − 4√3� 4. �3𝑥𝑥 − 1 + 2√3��3𝑥𝑥 − 1 − 2√3�
19) ข้อใดแยกตัวประกอบของ 50 − (4𝑥𝑥 + 5)2 ได้ถูกต้อง
1. (25 + 4𝑥𝑥 + 5)(25 − 4𝑥𝑥 − 5) 2. �5√2 + 4𝑥𝑥 + 5��5√2 − 4𝑥𝑥 − 5�
3. (25 + 4𝑥𝑥 − 5)(25 − 4𝑥𝑥 + 5) 2. �5√2 + 4𝑥𝑥 − 5��5√2 − 4𝑥𝑥 + 5�
20) ข้อใดไม่เป็ นตัวประกอบของ 9𝑥𝑥 2 − 81𝑦𝑦 2
1. 3 2. 9 3. (𝑥𝑥 + 3𝑦𝑦) 4. (𝑥𝑥 − 𝑦𝑦)
21) ข้อใดดําเนินการแยกตัวประกอบของพหุ นาม 𝑥𝑥 2 + 4𝑥𝑥 + 10 โดยใช้วธิ ี ทาํ เป็ นกําลังสองสมบูรณ์
ได้ถูกต้อง
1. 𝑥𝑥 2 + 4𝑥𝑥 + 10 = 𝑥𝑥 2 + 2 ∙ 𝑥𝑥 ∙ 2 + (2)2 − (2)2 + 10
2. 𝑥𝑥 2 + 4𝑥𝑥 + 10 = 𝑥𝑥 2 + 2 ∙ 𝑥𝑥 ∙ 2 + (2)2 + 10
3. 𝑥𝑥 2 + 4𝑥𝑥 + 10 = 𝑥𝑥 2 + 2 ∙ 𝑥𝑥 ∙ 2 + (10)2
4. 𝑥𝑥 2 + 4𝑥𝑥 + 10 = 𝑥𝑥 2 + 2 ∙ 𝑥𝑥 ∙ 2 − (2)2 + 10
22) ข้อใดดําเนินการแยกตัวประกอบของพหุ นาม 𝑥𝑥 2 − 6𝑥𝑥 + 6 โดยใช้วธิ ี ทาํ เป็ นกําลังสองสมบูรณ์
ได้ถูกต้อง
1. 𝑥𝑥 2 − 6𝑥𝑥 + 6 = 𝑥𝑥 2 − 2 ∙ 𝑥𝑥 ∙ 3 + (3)2 − (3)2 + 2
2. 𝑥𝑥 2 − 6𝑥𝑥 + 6 = 𝑥𝑥 2 − 2 ∙ 𝑥𝑥 ∙ 3 + (3)2 − (3)2 − 2
3. 𝑥𝑥 2 − 6𝑥𝑥 + 6 = 𝑥𝑥 2 − 2 ∙ 𝑥𝑥 ∙ 3 + (3)2 − (3)2 − 6
4. 𝑥𝑥 2 − 6𝑥𝑥 + 6 = 𝑥𝑥 2 − 2 ∙ 𝑥𝑥 ∙ 3 + (3)2 − (3)2 + 6
23) จํานวนที่เติมลงในช่องว่าง จากการดําเนินการแยกตัวประกอบของพหุ นาม
𝑥𝑥 2 + 10𝑥𝑥 + 1 = 𝑥𝑥 2 + 2 ∙ 𝑥𝑥 ∙ (.. . . ) + (5)2 − (5)2 + 1
โดยใช้วธิ ี ทาํ เป็ นกําลังสองสมบูรณ์ได้ถูกต้อง ตรงกับข้อใด
1. 2 2. 5 3. 10 4. 25
24) พหุ นามในข้อใดที่จาํ เป็ นต้องแยกตัวประกอบ โดยใช้วธิ ี ทาํ เป็ นกําลังสองสมบูรณ์ เพียงวิธีเดียว
1. 𝑥𝑥 2 − 16 2. 𝑥𝑥 2 + 4𝑥𝑥 + 4 3. 𝑥𝑥 3 − 27 4. 𝑥𝑥 2 − 7𝑥𝑥 + 11
4

25) จากผลลัพธ์หรื อคําตอบที่ถูกต้องของข้อ 24) สามารถแยกตัวประกอบ เท่ากับข้อใด


1. (𝑥𝑥 + 4)(𝑥𝑥 − 4) 2. (𝑥𝑥 + 2)2
7 5 7 5
3. (𝑥𝑥 − 3)(𝑥𝑥 2 + 3𝑥𝑥 + 9) 4. �𝑥𝑥 + 𝑥𝑥 + � � �𝑥𝑥 + 𝑥𝑥 − � �
2 4 2 4

26) จํานวนที่เติมลงในช่องว่าง (.. . . ) จากการดําเนินการแยกตัวประกอบของพหุ นาม


26 26 2 26 2
−4𝑥𝑥 2 − 26𝑥𝑥 − 4 = (.. . . ) ��𝑥𝑥 2 + 2 ∙ 𝑥𝑥 ∙ + � � � − � � + 1�
8 8 8

เท่ากับข้อใด
1. −2 2. 2 3. 4 4. −4
27) ข้อใดเป็ นขั้นตอนแรกของการแยกตัวประกอบ โดยใช้วธิ ี ทาํ เป็ นกําลังสองสมบูรณ์
ของพหุ นาม −2𝑥𝑥 2 − 12𝑥𝑥 + 4 =.. .. .. ..
2
1. −2[(𝑥𝑥 − 3)2 − 11] 2. −2 �(𝑥𝑥 − 3)2 − �√11� �
3. −2[(𝑥𝑥 2 + 2 ∙ 𝑥𝑥 ∙ 3 + 32 ) − 32 − 2] 4. −2[𝑥𝑥 2 + 6𝑥𝑥 − 2]
28) ข้อใดไม่ใช่ตวั ประกอบของพหุ นาม 𝑧𝑧 3 − 216
1. (𝑧𝑧 − 6) 2. (𝑧𝑧 2 + 6𝑧𝑧 + 36)
2 2
3. �√𝑧𝑧� − �√6� 4. (𝑧𝑧 2 − 6𝑧𝑧 + 36)
29) ข้อใดไม่ใช่ตวั ประกอบของพหุ นาม 𝑥𝑥 4 − 625
1. (𝑥𝑥 2 + 52 ) 2. (𝑥𝑥 + 5) 3. (𝑥𝑥 − 5) 4. (𝑥𝑥 2 − 5)
30) ถ้า (𝑦𝑦 − 1) เป็ นตัวประกอบของพหุ นาม 𝑦𝑦 6 − 1 แล้ว ข้อใดไม่ใช่ตวั ประกอบที่เหลือ
1. (𝑦𝑦 + 1) 2. (𝑦𝑦 2 − 𝑦𝑦 + 1) 3. (𝑦𝑦 2 + 𝑦𝑦 + 1) 4. 𝑦𝑦 2 + 1
31) ข้อใดมาจากการแยกตัวประกอบของ 216𝑥𝑥 6 − 27𝑦𝑦 6
1. (6𝑥𝑥 2 )3 − (3𝑦𝑦 2 )3 2. 63 𝑥𝑥 6 − 33 𝑦𝑦 6
3. (6𝑥𝑥 2 − 3𝑦𝑦 2 )(36𝑥𝑥 4 + 18𝑥𝑥 2 𝑦𝑦 2 + 9𝑦𝑦 4 )
4. (6𝑥𝑥 2 − 3𝑦𝑦 2 )(36𝑥𝑥 4 − 18𝑥𝑥 2 𝑦𝑦 2 + 9𝑦𝑦 4 )
32) พหุ นาม 𝑥𝑥 2 − 2𝑥𝑥 + 3 มีค่าเท่ากับข้อใด
1. −(𝑥𝑥2 + 2𝑥𝑥 + 3) 2. −(−𝑥𝑥2 + 2𝑥𝑥 + 3)
3. −(−𝑥𝑥2 + 2𝑥𝑥 − 3) 4. −(−𝑥𝑥2 − 2𝑥𝑥 − 3)
5

33) พหุ นาม −(5𝑥𝑥 3 + 2𝑥𝑥 2 − 3𝑥𝑥 − 1) มีค่าเท่ากับข้อใด


1. −5𝑥𝑥 3 + 2𝑥𝑥 2 − 3𝑥𝑥 − 1 2. −5𝑥𝑥 3 − 2𝑥𝑥 2 − 3𝑥𝑥 + 1
3. −5𝑥𝑥 3 − 2𝑥𝑥 2 + 3𝑥𝑥 + 1 4. 5𝑥𝑥 3 − 2𝑥𝑥 2 − 3𝑥𝑥 + 1
34) พหุ นาม 𝑥𝑥 3 − 𝑥𝑥 2 − 𝑥𝑥 + 1 มีค่าเท่ากับข้อใด
1. (𝑥𝑥 3 − 𝑥𝑥 2 ) − (𝑥𝑥 − 1) 2. (𝑥𝑥 3 − 𝑥𝑥 2 ) − (𝑥𝑥 + 1)
3. (𝑥𝑥 3 + 𝑥𝑥 2 ) − (𝑥𝑥 − 1) 4. (𝑥𝑥 3 − 𝑥𝑥 2 ) + (𝑥𝑥 − 1)
35) (𝑥𝑥 + 2𝑦𝑦)(6𝑥𝑥 2 + 4𝑦𝑦 2 ) เป็ นตัวประกอบของพหุ นามข้อใด
1. 6𝑥𝑥 3 + 16𝑥𝑥 2 𝑦𝑦 + 4𝑥𝑥𝑦𝑦 2 + 8𝑦𝑦 3 2. 6𝑥𝑥 3 + 12𝑥𝑥 2 𝑦𝑦 + 16𝑥𝑥𝑦𝑦 2 + 8𝑦𝑦 3
3. 6𝑥𝑥 3 + 12𝑥𝑥 2 𝑦𝑦 + 4𝑥𝑥𝑦𝑦 2 + 24𝑦𝑦 3 4. 6𝑥𝑥 3 + 12𝑥𝑥 2 𝑦𝑦 + 4𝑥𝑥𝑦𝑦 2 + 8𝑦𝑦 3
36) จัดรู ปพหุ นามเข้าวงเล็บ 𝑥𝑥 4 − 3𝑥𝑥 3 − 4𝑥𝑥 2 + 12𝑥𝑥 ได้เท่ากับข้อใด
1. (𝑥𝑥 4 − 3𝑥𝑥 3 ) − (4𝑥𝑥 2 + 12𝑥𝑥) 2. (𝑥𝑥 4 − 3𝑥𝑥 3 ) − (4𝑥𝑥 2 − 12𝑥𝑥)
3. (𝑥𝑥 4 − 3𝑥𝑥 3 ) + (4𝑥𝑥 2 − 12𝑥𝑥) 4. (𝑥𝑥 4 + 3𝑥𝑥 3 ) − (4𝑥𝑥 2 + 12𝑥𝑥)
37) กําหนดให้ 𝑃𝑃(𝑥𝑥) = 𝑥𝑥 3 − 𝑥𝑥 2 + 10𝑥𝑥 − 8 และ a = 3 จะได้ 𝑃𝑃(𝑎𝑎) เท่ากับข้อใด
1. 10 2. 20 3. 30 4. 40
38) 5𝑥𝑥 3 − 3𝑥𝑥 2 + 7𝑥𝑥 + 6 หารด้วย 𝑥𝑥 + 2 เหลือเศษเท่ากับข้อใด
1. −40 2. −60 3. −80 4. −120
39) ถ้านํา 𝑥𝑥 + 2 ไปหาร 𝑥𝑥 3 − 2𝑥𝑥 2 − 2𝑥𝑥 + 12 ได้ลงตัว ข้อใดต่อไปนี้กล่าวไม่ถูกต้อง
1. 𝑥𝑥 + 2 เป็ นตัวประกอบของ 𝑥𝑥 3 − 2𝑥𝑥 2 − 2𝑥𝑥 + 12
2. 𝑥𝑥 3 − 2𝑥𝑥 2 − 2𝑥𝑥 + 12 หารด้วย 𝑥𝑥 + 2 ได้เลขเศษเป็ น ศูนย์
3. จากโจทย์กาํ หนดให้และทฤษฎีบทเศษเหลือ ค่าของ 𝑎𝑎 ใน P(𝑎𝑎) = −2
4. จากโจทย์กาํ หนดให้และทฤษฎีบทเศษเหลือ ค่าของ 𝑎𝑎 ใน P(𝑎𝑎) = 2
40) ถ้า 𝑥𝑥 + 3 ไปหาร 𝑥𝑥 3 + 𝑥𝑥 2 − 4𝑥𝑥 − 𝑘𝑘 แล้วเศษเหลือเป็ น 0 ค่า k เท่ากับข้อใด
1. −4 2. −6 3. 4 4. 6
.....................................................................................................................................

You might also like