Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 12

ปีแยร์ เดอ แฟร์มา (ค.ศ.

1607 – 1665)

มีอาชีพเป็นนักกฎหมายแต่ชอบศึกษาค้นคว้าคณิตศาสตร์ ได้รับการยอมรับว่าเป็นผู้พัฒนาทฤษฎีพื้นฐานที่นาไปสู่การค้นพบวิชา
แคลคูลสั เขามีผลงานโดดเด่นในเรื่องทฤษฎีจานวน เรขาคณิตวิเคราะห์ ความน่าจะเป็น รวมไปถึงเรือ่ งคุณสมบัติของแสง แฟร์มาริเริ่มบุกเบิกวิชา
เรขาคณิตวิเคราะห์ในช่วงเวลาที่ใกล้เคียงกับเรอเน เดการ์ตผู้ได้รับการยกย่องว่าเป็นผู้สร้างวิชาเรขาคณิตวิเคราะห์ แฟร์มาเป็นผู้ค้นพบวิธีการ
ต้นแบบของการหาจุดสูงสุด จุดต่าสุด และเส้นสัมผัสของเส้นโค้งซึ่งคล้ายกับในวิชาแคลคูลัสเชิงอนุพันธ์ เขายังเป็นคนแรกที่หาค่าอินทิกรัลของ
ฟังชั่นกาลัง วิธีการของเขาสามารถลดการหาค่าเป็นผลรวมของอนุกรมเรขาคณิต ทาให้ได้สูตรที่ช่วยให้ไอแซก นิวตันและกอทท์ฟรีด ไลบ์นิซ
พัฒนาวิชาแคลคูลสั ได้สาเร็จ แต่สงิ่ ที่ทาให้แฟร์มามีชื่อเสียงโด่งดังทั่วโลกคือการเสนอทฤษฎีที่เรียกว่าทฤษฎีบทสุดท้ายของแฟร์มา

ผลงานเด่น :

– พัฒนาทฤษฎีพื้นฐานที่นาไปสู่การค้นพบวิชาแคลคูลัส

– พัฒนาเรขาคณิตวิเคราะห์

– พัฒนาทฤษฎีความน่าจะเป็นร่วมกับปาสกาล
– ปรับปรุงทฤษฎีจานวน
แบร์นฮาร์ด รีมันน์ (ค.ศ. 1826 – 1866)

เป็นนักคณิตศาสตร์ชาวเยอรมันผูม้ ีผลงานโดดเด่นในสาขาคณิตวิเคราะห์ ทฤษฎีจานวน และเรขาคณิตเชิงอนุพันธ์ที่ไอน์สไตน์นาไปใช้


ในการสร้างทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไป รีมันน์เก่งคณิตศาสตร์ตั้งแต่เด็ก วิทยานิพนธ์ปริญญาเอกของเขาสร้างความประทับใจให้กับฟรีดริช เกาส์สดุ
ยอดนักคณิตศาสตร์แห่งยุคมาก ถึงกับชื่นชมว่ามีคุณค่าสูงส่งเกินมาตรฐานของวิทยานิพนธ์ระดับปริญญาเอกเพราะผลงานนี้ได้ทาให้เกิดองค์
ความรู้ใหม่มากมาย เช่น Riemann Surfaces, Theory of Holomorphic Functions, Topology, Algebraic Geometry และ Differential
Geometry รีมันน์ทางานเป็นอาจารย์สอนคณิตศาสตร์จนได้รับแต่งตั้งเป็นศาสตราจารย์ และได้รับแต่งตั้งเป็นสมาชิกต่างชาติของราชสมาคมแห่ง
ลอนดอน (Royal Society of London) และสภาวิจัยวิทยาศาสตร์ของฝรั่งเศส (French Academy of Sciences)

ผลงานเด่น :

– ทฤษฎีฟังก์ชันตัวแปรเชิงซ้อน

– Riemann surface ซึ่งริเริ่มนาโทโพโลยีมาใช้ในวิชาคณิตวิเคราะห์

– พัฒนาแนวคิดเรื่องอินทิกรัลที่รจู้ ักดีในชื่อ Riemann integral


– พัฒนาเรขาคณิตเชิงอนุพันธ์
กอทท์ฟรีด วิลเฮล์ม ไลบ์นิซ (ค.ศ. 1646 – 1716)

เป็นนักปรัชญาและนักคณิตศาสตร์ชาวเยอรมันผู้เป็นพหูสูตคนหนึ่งของยุคนั้น เป็นเสาหลักของนักปรัชญากลุ่มเหตุผลนิยม
(Rationalism) ร่วมกับเรอเน เดการ์ต ไลบ์นิซเป็นคนแรกที่ใช้คาว่า “ฟังก์ชัน” สาหรับอธิบายปริมาณที่เกี่ยวข้องกับเส้นโค้ง เช่น ความชันของ
เส้นโค้งหรือจุดบนเส้นโค้ง เขายังเป็นผู้ริเริ่มใช้สญ
ั ลักษณ์และเครื่องหมายต่างๆในวิชาคณิตศาสตร์มากมาย ใช้วงเล็บในการแยกเทอมต่างๆในวิชา
พีชคณิต ใช้จุดแสดงการคูณแทนเครื่องหมายคูณที่มักสับสนกับตัวอักษร x และใช้ ∫ แทนผลรวมด้วยมีลักษณะเหมือน s ซึ่งมาจากคาว่า sum
การรู้จักใช้สญ
ั ลักษณ์ต่างๆที่กระชับรัดกุมและสื่อความหมายดีนมี้ ีผลให้ผลงานคณิตศาสตร์ในยุโรปก้าวหน้าอย่างรวดเร็ว แต่ผลงานที่สาคัญที่สุด
ของไลบ์นิซคือการคิดค้นพัฒนาวิชาแคลคูลัสซึ่งส่งผลให้เปลี่ยนโฉมของวิทยาศาสตร์ และทาให้วิทยาศาสตร์โดยเฉพาะฟิสิกส์เป็นวิชาที่ทรงพลัง
มาก เพราะสามารถใช้แคลคูลัสศึกษาปัญหาที่ยากและซับซ้อนจากการมีหลายตัวแปรได้ดี

ผลงานเด่น :

– คิดค้นวิชาแคลคูลัส

– คิดค้นและริเริ่มใช้สัญลักษณ์และเครื่องหมายทางคณิตศาสตร์ทสี่ าคัญจานวนมาก

– คิดค้นระบบเลขฐานสอง
เรอเน เดการ์ต (ค.ศ. 1596 – 1650)

เป็นนักปรัชญาและนักคณิตศาสตร์ชาวฝรั่งเศสผูค้ ิดวิธีหาสัจจะในวิชาวิทยาศาสตร์และในชีวิตโดยเชื่อมั่นว่าตรรกะและวิธีพิสูจน์ของ
คณิตศาสตร์สามารถเชื่อมโยงและเป็นกุญแจไขความลึกลับต่างๆได้ เขาเป็นผู้ที่บุกเบิกปรัชญาสมัยใหม่ แนวคิดของเขามีผลต่อนักคิดร่วมสมัยไป
จนถึงนักปรัชญารุ่นต่อมา เดการ์ตเป็นเจ้าของความคิดและวาทะอันโด่งดัง “เพราะฉันคิด ฉันจึงมีอยู่” (I think, therefore I am) ผลงานสุดยอด
ของเดการ์ตคือการสร้างวิชาเรขาคณิตวิเคราะห์ (Analytic Geometry) ซึ่งได้จากการรวมพีชคณิตกับเรขาคณิตเข้าด้วยกันทั้งๆที่ในอดีตนัก
คณิตศาสตร์ทั้งหลายเคยคิดว่าวิชาทั้งสองนี้ไม่เกี่ยวข้องกันเลย อันมีผลทาให้วิชาทั้งสองได้พัฒนาซึ่งกันและกันมาจนทุกวันนี้

ผลงานเด่น :

– สร้างวิชาเรขาคณิตวิเคราะห์
– วางรากฐานปรัชญากลุม่ เหตุผลนิยม (Rationalism) ซึ่งเป็นแนวคิดปรัชญาหลักในยุโรปสมัยศตวรรษที่ 17 และ 18
พีทาโกรัส (570–495 ปีก่อนคริสต์ศักราช)

เป็นนักคณิตศาสตร์และนักปราชญ์ชาวกรีกโบราณผู้ได้ชื่อว่าเป็น “บิดาแห่งตัวเลข” เป็นลูกศิษย์ของเทลีส (Thales) นักปราชญ์เอกคน


แรกของโลก และเดินทางไปศึกษาในหลายประเทศ เช่น อียิปต์ บาบิโลน และอินเดีย แล้วกลับมาตั้งโรงเรียนที่บ้านเกิดสอนปรัชญา คณิตศาสตร์
และดาราศาสตร์ ใช้รูปดาวห้าแฉกเป็นสัญลักษณ์ มีลูกศิษย์มากมาย สาวกของพีทาโกรัสตั้งชมรม “พีทาโกเรียน” มีความเชื่อว่าคณิตศาสตร์เป็น
พื้นฐานของทุกสิ่งทุกอย่าง ถ้าไม่มีคณิตศาสตร์แล้วทุกอย่างก็จะไม่เกิดขึ้น

พีทาโกรัสเป็นผู้คดิ ค้นสูตรคูณหรือตารางพีทาโกเรียน (Pythagorean Table) ที่ใช้งานมาจนถึงปัจจุบัน เขาเป็นผู้ค้นพบและสร้าง


ทฤษฎีเรขาคณิตมากมาย โดยเฉพาะอย่างยิ่งทฤษฎีสามเหลีย่ มมุมฉากที่ว่า a² + b² = c² หรือทฤษฎีบทพีทาโกรัสอันโด่งดัง ซึ่งแม้ว่าชาวบาบิโลน
จะมีความรู้ในเรื่องนี้มาก่อนหน้านับพันปีแต่เขาเป็นคนแรกที่พิสูจน์ทฤษฎีนี้ได้ พีทาโกรัสเป็นผู้พบว่าผลบวกมุมภายในของสามเหลี่ยมใดๆ จะ
เท่ากับ 2 มุมฉาก (180°) เสมอ รวมไปถึงค้นพบผลบวกของมุมภายในรูป n เหลีย่ ม = (2n – 4) มุมฉาก และยังเป็นผู้ค้นพบตัวเลขอัศจรรย์
มากมาย เช่น จานวนสมบูรณ์และจานวนแห่งมิตรภาพ พีทาโกรัสเป็นผู้คนพบว่าเรามองเห็นวัตถุได้เนือ่ งจากแสงสะท้อนจากวัตถุมากระทบกับตา
เรา ค้นพบว่าเสียงเกิดจากการสั่นสะเทือนของวัตถุ นอกจากนี้เขายังเป็นคนแรกที่ตั้งทฤษฎีเกี่ยวกับโลกกลม และหมุนรอบตัวเองรวมถึงดวง
อาทิตย์ ดวงจันทร์ และดาวเคราะห์ก็หมุนรอบตัวเองเช่นกัน ซึ่งต่อมาได้รบั การพิสจู น์ว่าถูกต้อง

ผลงานเด่น :

– สร้างสูตรคูณ – ทฤษฎีคณิตศาสตร์มากมาย

– สร้างทฤษฎีบทพีทาโกรัส – ทฤษฎีโลกกลมและหมุนรอบตัวเอง
อาร์คิมิดีส (287- 212 ก่อนคริสต์ศักราช)

เป็นนักคณิตศาสตร์ นักดาราศาสตร์ นักปรัชญา นักฟิสิกส์ และวิศวกรชาวกรีก ได้รับการยกย่องว่าเป็นหนึ่งในบรรดานักวิทยาศาสตร์ผู้


ยิ่งใหญ่ของโลกและเป็นนักคณิตศาสตร์ทยี่ ิ่งใหญ่ที่สุดในยุคโบราณ อาร์คิมิดสี มีผลงานด้านวิทยาศาสตร์มากมาย เป็นผู้วางรากฐานให้แก่วิชา
สถิตยศาสตร์, สถิตยศาสตร์ของไหล และกลศาสตร์ เป็นผู้คดิ ค้นนวัตกรรมเครื่องจักรกลหลายชิ้น รวมทั้งอุปกรณ์เครื่องผ่อนแรงที่ยังใช้งานอยู่
จนถึงปัจจุบัน และมีผลงานด้านคณิตศาสตร์ที่สาคัญมากมายเช่นกัน

อาร์คิมิดสี มีงานเขียนหนังสือไว้หลายเล่มแต่ส่วนมากไม่สามารถรอดมาถึงปัจจุบัน ผลงานทีร่ อดมาได้อย่างเช่นหนังสือว่าด้วยด้วยดุลย


ภาพของระนาบที่ใช้คานวณพื้นทีแ่ ละจุดศูนย์กลางมวลของวัตถุรูปทรงต่างๆ หนังสือว่าด้วยการวัดวงกลมที่อาร์คมิ ิดีสแสดงให้เห็นว่าค่า π (pi) มี
ค่ามากกว่า 223/71 แต่น้อยกว่า 22/7 ซึ่งตัวเลขหลังนี้ถูกนามาใช้เป็นค่าประมาณของ π มาตลอดจนถึงปัจจุบัน หนังสือวงก้นหอยอาร์คิมิดสี ที่
เกี่ยวกับเส้นโค้งที่เกิดจากจุดเคลื่อนที่ อาร์คิมิดีสเป็นผูค้ ิดค้นสูตรคณิตศาสตร์สาหรับคานวณพื้นที่และปริมาตรของรูปทรงต่างๆ ทั้งทรงกลม
ทรงกระบอก ทรงกรวย ภาคตัดกรวย รวมทั้งคิดค้นสมการหาปริมาตรของรูปทรงที่เกิดจากพื้นผิวที่ได้จากการหมุน ผลงานของอาร์คิมดิ สี มี
อิทธิพลต่อวงการคณิตศาสตร์อย่างมากตั้งแต่ยุคโบราณจนถึงปัจจุบนั

ผลงานเด่น :

– หนังสือว่าด้วยด้วยดุลยภาพของระนาบและการคานวณจุดศูนย์กลางมวลของวัตถุ
– หนังสือว่าด้วยการวัดวงกลมและการประมาณค่า π (pi)
– คิดค้นสูตรคณิตศาสตร์สาหรับคานวณพื้นที่และปริมาตรของรูปทรงต่างๆมากมาย
– คิดค้นสมการหาปริมาตรของรูปทรงที่เกิดจากพื้นผิวที่ได้จากการหมุน
ยุคลิดแห่งอเล็กซานเดรีย (325 – 270 ปีก่อนคริสต์ศักราช)

เป็นนักคณิตศาสตร์ที่มีอิทธิพลมากที่สุดจนกระทั่งถึงศตวรรษที่ 20 เป็นศาสตราจารย์ด้านคณิตศาสตร์ของมหาวิทยาลัยอเล็กซานเดรีย
ยุคกรีกโบราณต่อจากเพลโตและก่อนหน้าอาร์คีมีดสี ผลงานที่สาคัญของยุคลิดคือการเขียนตาราทางคณิตศาสตร์และดาราศาสตร์ที่มีอย่างน้อย
ที่สุด 9 ชิ้น แต่คงเหลืออยู่ในปัจจุบัน 5 ชิ้น คือ Division of Figures, Data และ Phacnomena ที่เป็นตาราเรขาคณิต, Optics เป็นตารา
เกี่ยวกับปรากฏการณ์ของแสง และ Elements ตาราทางเรขาคณิตและคณิตศาสตร์ที่มีชื่อเสียงที่สุด

ผลงานเด่น :

– หนังสือ Elements ที่เป็นต้นแบบของระบบคณิตศาสตร์ในปัจจุบัน

– หนังสือตาราเรขาคณิต Division of Figures, Data และ Phacnomena


ไอแซก นิวตัน (ค.ศ. 1642 – 1727)

นักคณิตศาสตร์ นักฟิสิกส์ และนักดาราศาสตร์ชาวอังกฤษผู้ซึ่งเป็นที่ยอมรับอย่างกว้างขวางว่าเป็นหนึง่ ในนักวิทยาศาสตร์ที่มีอิทธิพล


มากที่สุดตลอดกาลและมีบทบาทสาคัญในการปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์ นิวตันมีผลงานด้านฟิสิกส์และดาราศาสตร์ที่สาคัญมากมายโดยเฉพาะอย่าง
ยิ่งการคิดค้นกฎการเคลื่อนที่และกฎแรงโน้มถ่วงซึ่งเป็นกฎทางวิทยาศาสตร์ที่เป็นเสาหลักของการศึกษาจักรวาลทางกายภาพตลอดมา ทาให้นิว
ตันได้รับการยกย่องให้เป็นหนึ่งในนักวิทยาศาสตร์ผยู้ ิ่งใหญ่ของโลก แต่ผลงานด้านคณิตศาสตร์ของเขาก็โดดเด่นไม่แพ้กัน

นิวตันได้รับการยกย่องว่าเป็นผู้คดิ ค้นและพัฒนาแคลคูลสั เชิงปริพันธ์และอนุพันธ์ ร่วมกับกอทท์ฟรีด ไลบ์นิซนักคณิตศาสตร์คนสาคัญ


ชาวเยอรมัน นิวตันเป็นผู้คิดค้นทฤษฎีบททวินามที่ใช้ได้สาหรับเลขยกกาลังใดๆ เขาเป็นผู้ค้นพบ Newton’s identities, Newton’s method,
เส้นโค้งบนระนาบลูกบาศก์ (โพลีโนเมียลอันดับสามของตัวแปรสองตัว) เขามีส่วนอย่างสาคัญต่อทฤษฎี finite differences และเป็นคนแรกที่ใช้
เศษส่วนเลขชี้กาลัง (fractional indices) และนาเรขาคณิตเชิงพิกัดมาใช้หาคาตอบจากสมการไดโอแฟนทีน เขาหาค่าผลบวกย่อยโดยประมาณ
ของอนุกรมฮาร์โมนิกได้โดยใช้ลอการิทึม (ก่อนจะมีสมการผลรวมของออยเลอร์) และเป็นคนแรกที่ใช้อนุกรมกาลัง กล่าวกันว่าผลงานของนิวตัน
เป็นความก้าวหน้าอันยิ่งใหญ่ในทุกสาขาของคณิตศาสตร์ในยุคนั้น

ผลงานเด่น :
– คิดค้นวิชาแคลคูลัส – ค้นพบวิธีการกระจายอนุกรม
– เป็นคนแรกที่ใช้เศษส่วนเลขชี้กาลัง (fractional indices) และนาเรขาคณิตเชิงพิกัดมาใช้หาคาตอบจากสมการไดโอแฟนทีน

– คิดค้นทฤษฎีบททวินาม – ผู้ค้นพบ Newton’s identities,Newton’s method


ฟรีดริช เกาส์ (ค.ศ. 1777 – 1855)

นักคณิตศาสตร์ชาวเยอรมัน เจ้าของฉายา “เจ้าชายแห่งคณิตศาสตร์” (Prince of Mathematics) ผูม้ ีผลงานโดดเด่นในหลากหลาย


สาขา ได้แก่ ทฤษฎีจานวน, พีชคณิต, สถิติ, คณิตวิเคราะห์, เรขาคณิต, ทฤษฎีเมตริก, ยีออเดซี, ธรณีฟิสิกส์, กลศาสตร์, ไฟฟ้าสถิต และดารา
ศาสตร์ เกาส์เป็นอัจฉริยบุคคลระดับเดียวกับไอน์ไสตน์ ไม่ว่าเขาจะจับเรื่องใดก็จะพบความรู้ที่สาคัญและพบวิธีคานวณใหม่ซึ่งเป็นรากฐานของ
วิชานั้นอยู่เสมอ นักคณิตศาสตร์รนุ่ หลังต่างก็ยอมรับว่ามีเกาส์อยู่ทุกที่ในวิชาคณิตศาสตร์ “Gauss lives everywhere in mathematics”

ตอนเกาส์อายุ 7 ขวบเขาใช้เวลาไม่กี่วินาทีตอบโจทย์การบวกเลขตั้งแต่ 1 ถึง 100 ในห้องเรียนจนคุณครูตะลึง ยิ่งเมื่อทราบวิธีคดิ ยิ่งทึ่ง


มาก อายุ 19 ปีค้นพบวิธีการสร้างรูป 17 เหลี่ยมด้านเท่าโดยใช้วงเวียนและไม้บรรทัดเท่านั้น ซึ่งยุคลิดได้เคยแสดงการสร้างรูป 3, 4, 5 และ 15
เหลี่ยมด้านเท่าโดยใช้ไม้บรรทัดและวงเวียน แล้วหลังจากนั้นอีก 2,000 ปี ยังไม่มีใครทาได้เพิ่มอีกเลย อายุ 21 ปีค้นพบทฤษฎีจานวน อายุ 23 ปี
ค้นพบวิธีการคานวณที่เรียกว่า “วิธีกาลังสองน้อยที่สุด” ซึ่งเป็นรากฐานสาคัญของทฤษฎีการประมาณค่าที่เรายังใช้กันอยู่ในปัจจุบัน นาไปใช้
คานวณวิถีวงโคจรดาวเคราะห์น้อยซีรีสจากข้อมูลที่มเี พียงน้อยนิดสาเร็จ เกาส์ยังมีผลงานอีกมากมายในหลากหลายสาขาวิชา เขาได้รับการยก
ย่องว่าเป็นนักคณิตศาสตร์ที่ยิ่งใหญ่ที่สุดนับจากยุคโบราณ

ผลงานเด่น :
– คิดค้นทฤษฎีจานวนสมัยใหม่ – ค้นพบทฤษฎีของฟังก์ชันเชิงวงรี
– เป็นผู้แรกทีส่ ามารถพิสูจน์ทฤษฎีบทมูลฐานของพีชคณิตซึ่งเป็นวิทยานิพนธ์ปริญญาเอกของเขา

– คิดค้นวิธีกาลังสองน้อยที่สดุ – พัฒนาเรขาคณิตนอกระบบยุคลิด
เลออนฮาร์ด ออยเลอร์ (ค.ศ. 1707 – 1783)

เป็นนักคณิตศาสตร์และนักฟิสิกส์ชาวสวิส ผู้ซึ่งมีผลงานการคิดค้นทีส่ าคัญทางคณิตศาสตร์ในหลายสาขา เช่น แคลคูลสั และทฤษฎีกราฟ


และยังเป็นผู้รเิ ริ่มพัฒนาในอีกหลายสาขาของคณิตศาสตร์ ได้แก่ โทโปโลยีและทฤษฎีจานวนเชิงวิเคราะห์ เป็นต้น เป็นคนแรกที่นาแคลคูลัสเข้าไป
ประยุกต์ในวิชาฟิสิกส์ และเป็นคนแรกที่ใช้คาว่า “ฟังก์ชัน” ในการบรรยายถึงความสัมพันธ์ที่เกีย่ วข้องกับตัวแปร เช่น y = f(x) รวมทั้งยังเป็นผู้
คิดค้นสัญลักษณ์สาคัญในทางคณิตศาสตร์อีกหลายอย่างซึ่งยังคงใช้จนถึงปัจจุบัน นอกจากนี้เขายังมีผลงานด้านฟิสิกส์ ดาราศาสตร์ ตรรกศาสตร์
และดนตรีอีกด้วย

ออยเลอร์ฉายแววความเป็นอัจฉริยะทางคณิตศาสตร์ตั้งแต่เด็ก หลังเรียนจบได้ทางานเป็นอาจารย์สอนคณิตศาสตร์ที่เซนต์ปีเตอร์สเบิรก์
14 ปี จึงย้ายไปสอนที่เบอร์ลิน 25 ปี แล้วกลับมาสอนที่เซนต์ปเี ตอร์สเบิร์กจวบจนวาระสุดท้ายของชีวิต ออยเลอร์เป็นหนึ่งในนักคณิตศาสตร์ทมี่ ี
ผลงานมากทีส่ ุดในโลก ผลงานที่เขาเขียนมีมากถึง 30,000 หน้า รวบรวมเป็นหนังสือได้ถึง 75 เล่ม ออยเลอร์ตาบอดสนิทตลอด 17 ปีสุดท้ายใน
ชีวิต แต่เป็นช่วงนี้เองที่เขาสามารถผลิตผลงานได้มากถึงครึ่งหนึ่งของผลงานทั้งหมด ออยเลอร์ได้รับการยกย่องว่าเป็นนักคณิตศาสตร์ที่ยิ่งใหญ่
ที่สุดคนหนึ่งของโลก

ผลงานเด่น :

– ริเริ่มวิชาโทโปโลยีและทฤษฎีกราฟ – คิดค้นทฤษฏีจานวนเชิงวิเคราะห์ – เป็นคนแรกที่ประยุกต์แคลคูลัสเข้าไปยังวิชาฟิสิกส์

– เป็นคนแรกที่ใช้ฟังก์ชัน f(x) บรรยายถึงความสัมพันธ์ที่เกี่ยวข้องกับตัวแปร– คิดค้นและริเริม่ ใช้สัญลักษณ์สาคัญทางคณิตศาสตร์


ได้แก่ e แทนลอการิทึมธรรมชาติ, Σ แทนผลรวม, i แทนหน่วยจินตภาพ และยังเป็นผู้นาสัญลักษณ์ π (pi) มาใช้แทนอัตราส่วนเส้น
รอบวงต่อเส้นผ่าศูนย์กลางของวงกลมจนได้รับความนิยม
อันเดรย์ นิโคลาเยวิช คอลโมโกรอฟ (ค.ศ.1903-1987)

เกิดเมื่อวันที่ 25 เมษายน ค.ศ. 1903 เสียชีวิต 20 ตุลาคม ค.ศ. 1987, เป็นนักคณิตศาสตร์ชาวรัสเซีย ยักษ์ใหญ่ในวงการคณิตศาสตร์
ในคริสต์ศตวรรษที่ 20 โดยมีผลงานโดดเด่นมากในงาน ทฤษฎีความน่าจะเป็นและทอพอโลยี. อันที่จริงแล้ว คอลโมโกรอฟมีผลงานในแทบทุก
แขนงของคณิตศาสตร์ เช่น ตรรกศาสตร์, อนุกรมฟูเรียร์, ความปั่นป่วน (turbulence), กลศาสตร์คลาสสิก นอกจากนี้ยังเป็นหนึ่งในผูค้ ิดค้น
ความซับซ้อนแบบคอลโมโกรอฟ ร่วมกับ เกรโกรี ไชตัง และ เรย์ โซโลโมนอฟ ในช่วงช่วงปี ค.ศ. 1960 ถึง ค.ศ. 1970.

คอลโมโกรอฟเสมือนเป็นบิดาของ ทฤษฎีความน่าจะเป็นสมัยใหม่ (บางครั้งเรียกว่าทฤษฎีความน่าจะเป็นเชิงคณิตศาสตร์) เนื่องจากได้


ปูรากฐานของทฤษฎีความน่าจะเป็นใหม่ทั้งหมด ด้วยสัจพจน์ที่เรียบง่ายเพียงไม่กี่ข้อ. โดยงานวิจัยด้านทฤษฎีความน่าจะเป็นเชิงคณิตศาสตร์ใน
ปัจจุบัน (คนละประเภทกับงานวิจยั ด้านทฤษฎีความน่าจะเป็นแบบเบย์) มีรากฐานทั้งหมดอยู่บนสัจพจน์คอลโมโกรอฟนี้
จอห์น เฮอร์เชล (7 มีนาคม ค.ศ. 1792-11 พฤษภาคม ค.ศ. 1871)

นักคณิตศาสตร์ และดาราศาสตร์ชาวอังกฤษ เป็นผู้คิดค้นกระบวนการไซยาโนไทป์ (Cyanotype) ที่เป็นต้นแบบของกระบวนพิมพ์เขียว


(Blue Print) ที่พัฒนาต่อกันมาใช้ในการทาสาเนาแบบพิมพ์เขียว หรือกระดาษคาร์บอนพิมพ์ดดี ที่ใช้กันในปัจจุบันนี้ เนื่องจากว่าสมัยนัน้ การ
บันทึกข้อมูลต้องเขียนด้วยลายมือ และหากต้องการสาเนาก็ต้องคัดลอกซ้าให้เหมือนเดิม ทาให้ต้องใช้เวลามากขึ้นไป เฮอร์เชล จึงพยายามคิด
วิธีการทาสาเนาขึ้นนั่นเอง ในทางการถ่ายภาพ เป็นผู้แนะนาให้ทลั บอท ผู้คิดค้นกระบวนการถ่ายภาพทัลบอทไทป์ (หรือเรียกในอีกชื่อหนึ่งว่า
กระบวเนกาทิฟโพสิทิฟ) ให้ใช้ “ไฮโป” ในการคงสภาพให้ภาพติดถาวร ในยุคแรกของการคงสภาพนัน้ ใช้น้าเกลือเข้มข้นในการคงสภาพ
นอกจากนั้นยังเป็นผู้บัญญัติศัพท์ทใี่ ช้ในทางการถ่ายภาพ คือคาว่า “photograph” “negative” และ “positive”

ผลงานเด่น :

-กระบวนการไซยาโนไทฟ์ (the cyanotype)

You might also like