Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 14

22/01/55

ลวดเชื่อม (Electrode)
ในกระบวนการเชื่อมอาร์กด้วยลวดเชื่อมหุ้มฟลักซ์

ลวดเชื่อม (Electrode)
ในกระบวนการเชื่อมอาร์กด้วยลวดเชื่อมหุ้มฟลักซ์

ลวดเชื่อมหุ้มฟลักซ์ (Coated Electrode)

ประกอบด้วยส่วนที่สาคัญ 2 ส่วน คือ


1. แกนลวดเชื่อม (Core)
2. สารพอกหุม้ หรือฟลั๊กซ์ (Flux)

1
22/01/55

ลักษณะลวดเชือ่ มหุ้มฟลักซ์

แกนลวดเชือ่ ม (Core)

ประกอบด้วยธาตุหลักคือเหล็กกล้าคาร์บอน และธาตุผสมต่าง ๆ
ตามคุณสมบัติที่ตอ้ งการเช่น คาร์บอน (C), แมงกานีส (Mn),
ซิลิกอน(Si) , ฟอสฟอรัส(P) ซึ่งปริมาณของธาตุผสมต่าง ๆ นั้น
ขึ้นอยู่กับประเภทของลวดเชื่อม
แกนลวดเชื่อมมีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางต่าง ๆ กัน เช่น
2.6, 3.2, 4.0, 5.0 มิลลิเมตร

2
22/01/55

ขนาดของความโตนอกรวมฟลักซ์หุ้มลวดเชื่อม

ลักษณะของฟลักซ์หุ้ม ขนาดความโตนอกรวมฟลักซ์หุ้ม

ฟลักซ์หุ้มบาง  115% ของขนาดแกนลวด


ฟลักซ์หุ้มหนาปานกลาง  140% ของขนาดแกนลวด
ฟลักซ์หุ้มหนามาก มากกว่า 140%
ฟลักซ์หุ้มหนาพิเศษ มากกว่า 140%

สารพอกหุ้ม (Fluxs)

สารพอกหุม้ ประกอบด้วยธาตุ และสารประกอบทางเคมีหลายชนิด เพื่อทาหน้าที่


ต่าง ๆ กัน เช่น ซิลิกอนไดออกไซด์ (Silicon dioxide : SiO2) แคลเซียมฟลูออไรด์
(Calcium fluoride : CaF2) เซลลูโลส (Cellulose : C6 H10O5) เป็นต้น

สารพอกหุ้นสาหรับลวดเชื่อมแต่ละประเภทจะมีส่วนผสมแตกต่างกัน ขึน้ อยู่กับ


คุณลักษณะ การใช้งาน และคุณสมบัติที่ตอ้ งการ

3
22/01/55

หน้าที่ของสารพอกหุ้ม

1. ทาให้เกิดการอาร์กได้ง่ายและสม่าเสมอ
2. สร้างสแลกและแก๊สปกคลุมรอยเชือ่ ม
3. ทาให้เกิดสแลกปกคลุมรอยเชื่อมในขณะทีน่ ้าโลหะกาลังหลอมละลาย
4. ช่วยรักษาส่วนผสมบางอย่างที่ตอ้ งการให้คงมีอยู่ในรอยเชื่อม
5. ปรับปรุงสมบัติทางฟิสกิ ส์ของรอยเชื่อมให้ดีขนึ้
6. ช่วยให้ประสิทธิภาพการเชือ่ มดีขึ้น

คุณลักษณะที่ดีของสารพอกหุม้

1. มีการหลอมละลายได้ดีขณะเกิดการอาร์ก และกลายสภาพเป็นสแลกต่อไป
2. มีความถ่วงจาเพาะ(Specific gravity)ต่า จึงจะสามารถลอยขึ้นบนผิวหน้าของน้า
โลหะที่กาลังหลอมละลายได้
3. ในขณะที่เกิดการอาร์กสามารถสร้างแก๊สซึ่งมีคุณสมบัตใิ นการขับไล่ก๊าซที่
ก่อให้เกิดผลเสียต่อรอยเชื่อมออกไป และยังป้องกันไม่ให้ สิ่งแปลกปลอมหรือสาร
มลทินเข้าไปรวมตัวกับน้าโลหะที่กาลังหลอมละลาย เนื่องจากสิ่งแปลกปลอม
เหล่านี้จะทาให้รอยเชื่อมเกิดความบกพร่องได้
4. ไม่แตกหรือหลุดออกจากแกนลวดเชื่อมได้ง่าย ในขณะที่กลายเป็นสแลกแล้ว
จะต้องปกคลุมรอยเชื่อมได้อย่างสม่าเสมอ และทาการเคาะออกได้ง่าย

4
22/01/55

การเลือกลวดเชือ่ ม

1. ความแข็งแรง (Strength) ของงานทีจ่ ะทาการเชือ่ ม


2. ส่วนผสมของงานที่จะทาการเชื่อม
3. รูปร่างลักษณะและความหนาของงาน ตลอดจนการออกแบบรอยต่อ
4. กระแสไฟฟ้าที่ใช้ในการเชื่อมและท่าเชื่อม
5. สภาพการใช้งานเช่น ทนต่อกรด ด่าง อุณหภูมิ เป็นต้น
6. ประสิทธิภาพของลวดเชื่อมต่อผลผลิต

ส่วนผสมของฟลักซ์ (Composition of Flux)

1. สารที่เป็นฟลักซ์
2. สารลดออกซิเจน
3. สารทีเ่ ป็นสแลก
4. สารทีเ่ ป็นกาว
5. ธาตุทผี่ สมลงในรอยเชื่อม
6. สารทีล่ ดแก๊สในรอยเชือ่ ม
7. สารทีท่ าให้การอาร์กคงที่
8. สารทีท่ าให้เกิดแก๊สปกคลุม

5
22/01/55

ชนิดของลวดเชือ่ มหุ้มฟลักซ์ (Type of Flux)

ลวดเชื่อมหุ้มฟลักซ์ชนิดกรด (Acid)

ลวดเชื่อมหุ้มฟลักซ์ชนิดเซลลูโลส (Cellulose)

ลวดเชื่อมหุ้มฟลักซ์ชนิดรูไทล์ (Rutile) หรือติตาเนีย (Titania)

ลวดเชื่อมหุ้มฟลักซ์ชนิดด่าง (Basic)

ลวดเชื่อมหุ้มฟลักซ์ชนิดกรด (Acid)

ส่วนผสมของฟลักซ์ประกอบด้วย เหล็กออกไซด์ แมงกานีสออกไซด์ และซิลิกา สแลกจะมีลักษณะ


คล้ายรังผึ้งหลุดออกง่าย การหลอมลึกใช้ได้ทั้งไฟกระแสตรงและกระแสสลับ ฟลักซ์ชนิดนี้
มีแนวโน้มที่จะก่อให้เกิดแตกร้าวขณะร้อน ( Hot Cracking) ได้ง่าย

1 แกนลวด
2 สารพอกหุ้ม
3 น้าโลหะเหลว
4 สแลกแข็ง
5 รอยเชื่อม
6 บ่อหลอมเหลว
7 ชิ้นงาน
8 ลวดเชื่อมหุ้มฟลักซ์

6
22/01/55

ลวดเชื่อมหุ้มฟลักซ์ชนิดเซลลูโลส (Cellulose)

ฟลักซ์จะมีส่วนผสมของสารอินทรีย์เป็นหลัก ทาให้เกิดแก๊สไฮโดรเจนปกคลุมบริเวณการอาร์ก
รอยเชื่อมที่ได้จะมีลักษณะเป็นคลื่น สแลกบางและหลุดออกได้ง่าย ใช้เชื่อมได้ทุกแนว เช่น
แนวหลอมลึก แนวเติมและแนวทับหน้า

1 แกนลวด
2 สารพอกหุ้ม
3 น้าโลหะเหลว
4 สแลกแข็ง
5 รอยเชื่อม
6 บ่อหลอมเหลว
7 ชิ้นงาน
8 ลวดเชื่อมหุ้มฟลักซ์

ลวดเชื่อมหุ้มฟลักซ์ชนิดรูไทล์ (Rutile) หรือติตาเนีย (Titania)

มีส่วนผสมของรูไทล์หรือติตาเนียเป็นหลัก รอยเชื่อมที่ได้จะเรียบไม่เหมาะสมกับการเชื่อมความ
แข็งแรงสูงเพราะมีปริมาณของแก๊สไฮโดรเจนสูงทาให้รอยเชื่อมไม่แข็งแรงเท่าที่ควรการส่งถ่าย
น้าโลหะเป็นหยดเล็กๆ พุ่งลงสู่บ่อโลหะหลอมเหลว ลักษณะของการอาร์กไม่รุนแรง ควบคุมการ
อาร์กได้ง่าย สร้างรอยเชื่อมนูนหรือราบได้ เคาะสแลกออกง่าย

1 แกนลวด
2 สารพอกหุ้ม
3 น้าโลหะเหลว
4 สแลกแข็ง
5 รอยเชื่อม
6 บ่อหลอมเหลว
7 ชิ้นงาน
8 ลวดเชื่อมหุ้มฟลักซ์

7
22/01/55

ลวดเชื่อมหุ้มฟลักซ์ชนิดด่าง(Basic)หรือไฮโดรเจนต่า (Low Hydrogen)


มีส่วนผสมของแคลเซียมคาร์บอเนตหรือคาร์บอเนตประเภทอื่นๆ สแลกมีสีเข้มเป็นมันเงาหนา
เคาะออกยาก ขณะอาร์กมีควันมาก ก่อนการใช้งานจะต้องทาการอบไล่ความชื่นลักษณะของการส่ง
ถ่ายน้าโลหะหลอมเหลวเป็นหยดโต หรือเป็นสายน้าโลหะพุ่งลงสู่บ่อหลอมเหลว การอาร์กควบคุม
ได้ยาก ปลายลวดติดกับชิ้นงานได้ง่าย สแลกแข็งเคาะออกยาก รอยเชื่อมที่ได้ทนแรงดึงดี ใช้เชื่อม
เหล็กกล้าความแข็งแรงสูง เพราะมีปริมาณไฮโดรเจนต่า

1 แกนลวด
2 สารพอกหุ้ม
3 น้าโลหะเหลว
4 สแลกแข็ง
5 รอยเชื่อม
6 บ่อหลอมเหลว
7 ชิ้นงาน
8 ลวดเชื่อมหุ้มฟลักซ์

มาตรฐานลวดเชือ่ มหุ้มฟลักซ์
มาตรฐานสัญลักษณ์ลวดเชือ่ ม AWS
กลุ่ม A5.1 สาหรับงานเชื่อมเหล็กกล้าละมุนและเหล็กกล้าโครงสร้าง
AWS A5.1 – 91 E XX XX
A5.1 หมายถึง กลุ่มลวดเชื่อมหุ้มฟลักซ์สาหรับเชื่อมเหล็กกล้าละมุน
91 หมายถึง ปีที่กาหนดมาตรฐาน
E หมายถึง ลวดเชื่อมหุ้มฟลักซ์ (Electrode)
XX หมายถึง ค่าความต้านทานแรงดึงต่าสุด มีหน่วยเป็นปอนด์ต่อตารางนิ้ว (PSI)
คูณ ค่าคงที(่ 1,000)
X หมายถึง ตาแหน่งการเชื่อม
X หมายถึง สมบัติต่างๆ ของลวดเชื่อม เช่น กระแสไฟ, การอาร์ก, การหลอมลึกและ
ชนิดของฟลักซ์

8
22/01/55

สัญลักษณ์มาตรฐานสาหรับลวดเชื่อมไฟฟ้ามีสารพอกหุ้มสาหรับ
เหล็กกล้าคาร์บอน และเหล็กกล้าผสมต่า AWS A5.1, 5.5

ลวดเชื่อมไฟฟ้า

ค่าความต้านทานแรงดึงต่าสุด x 1,000
(หน่วยเป็น ปอนด์ / ตารางนิ้ว : PSI)

ตาแหน่งของการเชื่อม

สมบัตติ ่าง ๆ ของลวดเชื่อม

ตัวอย่าง ลวดเชื่อมหุ้มฟลักซ์ในกลุม่ A5.1–91

E 6010 เป็นลวดเชือ่ มหุ้มฟลักซ์เซลลูโลสค่าความต้านทานแรงดึงต่าสุด 60,000 ปอนด์/ตารางนิ้ว(60)


เชื่อมได้ทุกตาแหน่ง (1) ใช้กระแสไฟเชื่อม DCEP (Direct Current Electrode Positive) การอาร์ก
รุนแรงกินลึกสูง
E 6013 เป็นลวดเชือ่ มหุ้มฟลักซ์รูไทล์ ค่าความต้านทานแรงดึงต่าสุด 60,000 ปอนด์/ ตารางนิ้ว (60)
เชื่อมได้ทุกตาแหน่ง (1) ใช้กระแสไฟเชื่อม AC และ DCEP และ DCEN การอาร์กนิ่ม
การหลอมลึกต่า
E 7016 เป็นลวดเชื่อมหุ้มฟลักซ์ด่าง ค่าความเค้นแรงดึงต่าสุด 70,000 ปอนด์ / ตารางนิ้ว (70)
เชื่อมได้ทุกตาแหน่ง (1) ใช้กระแสไฟเชื่อม AC และ DCEP การอาร์กปานกลาง
การหลอมลึกปานกลาง

ตัวเลขตาแหน่งที่ 3 หรือ 4 แสดงถึงตาแหน่งของท่าเชื่อมดังนี้


1. หมายถึง เชื่อมได้ทุกท่า (All Position)
2. หมายถึง เชื่อมได้ท่าราบและท่าระดับ (Flat and Horizontal Position)
3. หมายถึง เชือ่ มได้ท่าราบเท่านั้น (Flat Position)

9
22/01/55

มาตรฐานลวดเชือ่ มหุ้มฟลักซ์ประเทศไทย
(Thai Industrial Standard :TIS มอก.)
มอก. 49 – 2538 สาหรับงานเชื่อมเหล็กกล้าละมุน

E XX XB X X มีความหมายดังนี้

E หมายถึง ลวดเชื่อมหุ้มฟลักซ์
XX หมายถึง ความต้านทานแรงดึงของเนื้อโลหะเชื่อม
X หมายถึง ค่าความต้านทานแรงกระแทก , ความยืดหยุ่นของเนื้อโลหะ
เชื่อม
B หมายถึง ชนิดของฟลักซ์
X หมายถึง ตาแหน่งท่าเชื่อม
X หมายถึง กระแสไฟเชื่อม

ตัวอย่างลวดเชื่อมหุ้มฟลักซ์ในกลุม่ มอก. 49 – 2538

E 43 2R 13 เป็นลวดเชื่อมหุม้ ฟลักซ์รไู ทล์ เนื้อโลหะเชื่อมมีสมบัติทางกล


ดังนี้ ความต้านทานต่อแรงดึง 430–510 เมกาปาสกาล (43) ความยืด 22%
ความต้านทานแรงกระแทกที่ 28 จูลา ณ อุณหภูมิ 0°C (2) เชื่อมได้ทุกตาแหน่ง (1)
ใช้กระแสไฟเชื่อม DCEP (3)

รหัส ความต้านทานของโลหะเชื่อม หมายเหตุ


43 430-510 เมกาปาสกาล
สูงกว่าค่าสูงสุดได้ไม่เกิน
51 510-610 เมกาปาสกาล 40 เมกาปาสกาล

10
22/01/55

ความหมายของตัวเลขตัวที่ 3

% การยืดตัวต่าสุดที่ L=5d อุณหภูมิขณะทดสอบแรง


รหัส กระแทกที่ 28 จูลเป็นองศา C
E43 E51
0 ไม่กาหนด ไม่กาหนด ไม่กาหนด
1 20 18 +20
2 22 18 0
3 24 20 -20
4 24 20 -30
5 24 20 -40

ความหมายชนิดของฟลักซ์

รหัส ชนิดของฟลักซ์
A กรดผสมเหล็กออกไซด์
AR กรดผสมรูไทล์
B ด่าง
C เซลลูโลส
O ออกซิไดซ์ (ประกอบด้วยเหล็กออกไซด์)
R รูไทล์ (ผสมเซลลูโลส 15%)
RR รูไทล์ (ผสมเซลลูโลสไม่เกิน 5%)
S ประเภทอื่น ๆ

11
22/01/55

ตาแหน่งท่าเชื่อม

รหัส ตาแหน่งการเชื่อม
1 เชื่อมได้ทุกท่าเชื่อม

2 เชื่อมได้ทุกท่าเชื่อม ยกเว้นท่าตั้งเชื่อมขึ้น

3 เชื่อมท่าราบและรอยเชื่อมมุมท่าระดับ

4 เชื่อมท่าราบทั้งรอยต่อชนและรอยเชื่อมมุม

5 เชื่อมท่าราบ , ท่าเชื่อมลงและรอยเชื่อมมุมท่าระดับ

9 อื่น ๆ นอกเหนือจากที่ระบุไว้

ตัวเลขตัวที่ 5 กระแสและแรงดันไฟฟ้าที่ใช้

ไฟฟ้ากระแสตรง(DC)ลวดเชื่อมเป็น
รหัส ไฟฟ้ากระแสสลับ (AC)(โวลท์)
ขั้ว
0 บวก ไม่กาหนด
1 บวกหรือลบ 50
2 ลบ 50
3 บวก 50
4 บวกหรือลบ 70
5 ลบ 70
6 บวก 70
7 บวกหรือลบ 90
8 ลบ 90
9 บวก 90

12
22/01/55

มาตรฐานลวดเชือ่ มหุ้มฟลักซ์ญี่ปนุ่
(Japanese Industrial Standard ; JIS)
กลุ่ม Z 3211 – 1991 สาหรับงานเชื่อมเหล็กกล้าละมุน
D XX XX ซึ่งมีความหมายดังนี้
D หมายถึง ลวดเชื่อมหุ้มฟลักซ์ (Electrode) ภาษาญี่ปุ่น เรียกว่า Denkoyosetubo
XX หมายถึง สมบัติทางกลและค่าความเค้นต่าสุดของเนื้อโลหะเชื่อม N / mm2
X หมายถึง ตาแหน่งท่าเชื่อม
X หมายถึง สมบัติต่าง ๆ ของลวด เชื่อม กระแสไฟและชนิดของ ฟลักซ์

ตัวอย่างลวดเชื่อมในกลุม่ Z 3211–1991

D 4313 เป็นลวดเชื่อมหุ้มฟลักซ์ไทเทเนียมออกไซด์
ค่าความต้านทานแรงดันต่าสุด 420 N / mm2 (43)
เชื่อมได้ทุกตาแหน่ง(1)
ใช้กระแสไฟเชื่อม AC และ DCEN(3 )

13
22/01/55

ความหมายของตัวเลขตามรหัสลวดเชื่อม JIS (Z3211-1991)

ทนต่อแรงดึง ตาแหน่ง
รหัส ชนิดฟลักซ์ ชนิดกระแสไฟ
ต่าสุด N/mm2 การเชือ่ ม
D 4301 420 อินเมไนต์ F,V,O,H AC,DCEP or EN

D 4303 420 ไลม์-ไทเทเนีย F,V,O,H AC,DCEP or EN

D 4311 420 เซลลูโลสสูง F,V,O,H AC,DCEP or EN

D 4313 420 ไทเทเนียมออกไซด์ F,V,O,H AC,DCEN

D 4316 420 ไฮโดรเจนต่า F,V,O,H AC,DCEP

D 4324 420 ไทเทเนียมออกไซด์,ผงเหล็ก F,H AC,DCEP or EN

D 4326 420 ไฮโดรเจนต่า , ผงเหล็ก F,H AC,DCEP

D 4327 420 เหล็กออกไซด์ , ผงเหล็ก F,H AC,DCEP or ENAC,DCEN

D 4340 420 ชนิดพิเศษ F,V,O,H AC,DCEP or EN

14

You might also like